7
บทที4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความใน การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท5/1 โรงเรียนกันทรวิชัย อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม จานวน 1 ห้องเรียน ใช้เวลาในการทดลอง 8 คาบ คาบละ1 ชั่วโมง จานวน 8 ชั่วโมง ผู้ศึกษาได้เสนอผลการวิเคราะห์ตามลาดับ ดังต่อไปนี1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ในการสื่อความหมายของข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้าได้กาหนด ความหมายของสัญลักษณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนีN แทน จานวนนักเรียน X แทน คะแนนเฉลี่ย S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t แทน ค่าวิกฤติเพื่อทราบความมีนัยสาคัญ ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับขั้นตอน ดังนีตอนที1 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษก่อนและหลัง เรียนโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ตอนที2 วิเคราะห์และศึกษาผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ขณะเรียนโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที1 วิเคราะห์และเปรียบเทียบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนโดย ใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

Chapter 4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Chapter 4

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนกันทรวิชัย อ าเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม จ านวน 1 ห้องเรียน ใช้เวลาในการทดลอง 8 คาบ คาบละ1 ชั่วโมง จ านวน 8 ชั่วโมง ผู้ศึกษาได้เสนอผลการวิเคราะห์ตามล าดับ ดังต่อไปนี้ 1. สัญลักษณ์ท่ีใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สัญลักษณ์ท่ีใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ในการสื่อความหมายของข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ก าหนดความหมายของสัญลักษณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ N แทน จ านวนนักเรียน X แทน คะแนนเฉลี่ย S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t แทน ค่าวิกฤติเพ่ือทราบความมีนัยส าคัญ ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับขั้นตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียนโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ตอนที่ 2 วิเคราะห์และศึกษาผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ขณะเรียนโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่ 1 วิเคราะห์และเปรียบเทียบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนโดย

ใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

Page 2: Chapter 4

59

ตาราง 15 ผลการวิเคราะห์และเปรียบเทียบทักษะการเขียนภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียนโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

คะแนน N X S.D. T

หลังเรียน

ก่อนเรียน

38

38

7.72

2.05

0.53

0.37 36.80

มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (เปิดตาราง t ที ่ df = 37, α= .05 ได ้ t = 1.6871) จากตาราง 15 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่รับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายมีการฝึกการเขียนตามแผนการเรียนรู้แต่ล่ะเรื่องพบว่าทักษะการเขียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ส่วนที่ 2 วิเคราะห์และศึกษาผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขณะใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ตาราง 16 วิเคราะห์และศึกษาผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของแผนการ

จัดการเรียนรู้ที่ 1 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขณะใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

Unit : People Topic : Friend Sub topic : Activity and Friends

Page 3: Chapter 4

60

คะแนน เกณฑ์

N X ร้อยละ

1. ประสบการณ์ขั้นต้น 38 2.92 74.34 2. การจัดการเวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 38 2.76 69.08 3. ความรับผิดชอบในตนเอง 38 2.76 69.08 4. การประเมินตนเอง 38 2.63 65.79 5. แรงจูงใจ 38 2.87 71.71

รวม 2.79 70 จากตาราง 16 พบว่าร้อยละของพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย แผนการเรียนรู้ที่ 1 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย พบว่า นักเรียนใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายได้อย่างดี มีประสบการณ์ในการใช้การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สายบ่อยครั้งเท่ากับ 74.34 ผู้เรียนสามารถจัดการเวลาของตนเองได้อย่างเหมาะสมในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายในระดับดีเท่ากับ 69.08 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย และส่งงานที่ได้รับมอบหมายเกือบทุกครั้งเท่ากับ 65.79 ผู้เรียนสามารถประเมินผลงานของตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์ในการโต้ตอบเพื่อประเมินผลงานของตนเองจากเพ่ือนร่วมชั้นเกือบทุกครั้งเท่ากับ 65.79 ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย และมีความกระตือรือร้นในการท ากิจกรรมอย่างดี เทา่กับ 71.71 ตาราง 17 วิเคราะห์และศึกษาผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของแผนการ

จัดการเรียนรู้ที่ 2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขณะใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

Unit : Myself Topic : Family : Member and Details คะแนน เกณฑ์

N X ร้อยละ

1. ประสบการณ์ขั้นต้น 38 3.05 76.32 2. การจัดการเวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 38 2.76 69.08 3. ความรับผิดชอบในตนเอง 38 2.95 73.68 4. การประเมินตนเอง 38 2.39 59.87 5. แรงจูงใจ 38 2.92 73.03

รวม 2.82 70.40

Page 4: Chapter 4

61

จากตาราง 15 พบว่าร้อยละของพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย แผนการเรียนรู้ที่ 2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย พบว่า นักเรียนใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายได้อย่างดี มีประสบการณ์ในการใช้การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สายบ่อยครั้งเท่ากับ 76.32 ผู้เรียนสามารถจัดการเวลาของตนเองได้อย่างเหมาะสมในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายในระดับดีเท่ากับ 69.08 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย และส่งงานที่ได้รับมอบหมายเกือบทุกครั้งเท่ากับ 73.68 ผู้เรียนสามารถประเมินผลงานของตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์ในการโต้ตอบเพื่อประเมินผลงานของตนเองจากเพ่ือนร่วมชั้นเป็นบางครั้งเท่ากับ 59.87 ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย และมีความกระตือรือร้นในการท ากิจกรรมอย่างดี เท่ากับ 73.03 ตาราง 18 วิเคราะห์และศึกษาผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของแผนการ

จัดการเรียนรู้ที่ 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขณะใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

Unit : Interpersonal Topic : Relationship Sub topic : Invitation letter คะแนน เกณฑ์

N X ร้อยละ

1. ประสบการณ์ขั้นต้น 38 3.21 80.92 2. การจัดการเวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 38 2.97 75.66 3. ความรับผิดชอบในตนเอง 38 3.16 80.92 4. การประเมินตนเอง 38 2.74 71.05 5. แรงจูงใจ 38 3.11 80.92

รวม 3.04 77.89 จากตาราง 18 พบว่าร้อยละของพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย แผนการเรียนรู้ที่ 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย พบว่า นักเรียนใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายได้อย่างดี มีประสบการณ์ในการใช้การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สายบ่อยครั้งเท่ากับ 80.92 ผู้เรียนสามารถจัดการเวลาของตนเองได้อย่างเหมาะสมในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายในระดับดีเท่ากับ 75.66 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้

Page 5: Chapter 4

62

สาย และส่งงานที่ได้รับมอบหมายเกือบทุกครั้งเท่ากับ 80.92 ผู้เรียนสามารถประเมินผลงานของตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์ในการโต้ตอบเพื่อประเมินผลงานของตนเองจากเพ่ือนร่วมชั้นเกือบทุกครั้งเท่ากับ 71.05 ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย และมีความกระตือรือร้นในการท ากิจกรรมอย่างดี เท่ากับ 80.92 ตาราง 19 วิเคราะห์และศึกษาผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของแผนการ

จัดการเรียนรู้ที่ 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขณะใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

Unit : Shopping Topic : Price คะแนน เกณฑ์

N X ร้อยละ

1. ประสบการณ์ขั้นต้น 38 3.11 78.29 2. การจัดการเวลาในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 38 3.11 78.95 3. ความรับผิดชอบในตนเอง 38 3.21 82.24 4. การประเมินตนเอง 38 3.00 77.63 5. แรงจูงใจ 38 3.24 84.21

รวม 3.13 80.26 จากตาราง 19 พบว่าร้อยละของพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย แผนการเรียนรู้ที่ 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย พบว่า นักเรียนใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายได้อย่างดี มีประสบการณ์ในการใช้การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สายบ่อยครั้งเท่ากับ 78.29 ผู้เรียนสามารถจัดการเวลาของตนเองได้อย่างเหมาะสมในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายในระดับดีเท่ากับ 78.95 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย และส่งงานที่ได้รับมอบหมายเกือบทุกครั้งเท่ากับ 82.24 ผู้เรียนสามารถประเมินผลงานของตนเอง และมีปฏิสัมพันธ์ในการโต้ตอบเพื่อประเมินผลงานของตนเองจากเพ่ือนร่วมชั้นเกือบทุกครั้งเท่ากับ 77.63 ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย และมีความกระตือรือร้นในการท ากิจกรรมอย่างดี เท่ากับ 84.21

Page 6: Chapter 4

63

แผนภาพ 1 แผนภูมแิสดงค่าเฉลี่ยผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายตามแผนการ

เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขณะใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

จากแผนภาพ 1 พบว่าค่าเฉลี่ยผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ขณะใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย

2.79

2.82

3.04

3.13

2.6

2.7

2.8

2.9

3

3.1

3.2

แผนฯ 1 แผนฯ 2 แผนฯ 3 แผนฯ 4

พฤติกรรม

ค่าเฉลี่ย

Page 7: Chapter 4

64

ตาราง 16 ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้แผนการเรียนรู้ที่ 1 เท่ากับ 2.79 ตาราง 17 ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้แผนการเรียนรู้ที่ 2 เท่ากับ 2.82 ตาราง 18 ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้แผนการเรียนรู้ที่ 3 เท่ากับ 3.04 ตาราง 19 ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้แผนการเรียนรู้ที่ 4 เท่ากับ 3.13