41
กฎหมายที่มีผลตอการจัดการ เครือขายสังคมออนไลน .อิทธิพล ปรีติประสงค สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว .มหิดล

Law and SocialNetwork

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสารประกอบการบรรยาย กฎหมายที่มีผลต่อการจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์

Citation preview

Page 1: Law and SocialNetwork

กฎหมายที่มีผลตอการจัดการเครือขายสังคมออนไลน 

อ.อิทธิพล ปรีติประสงค สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล 

Page 2: Law and SocialNetwork

ประเด็นในการพูดคุย 

๑. 

แนวคิดพื้นฐาน 

๒.กฎหมายที่เกี่ยวของ 

๓. 

ปญหาทาทาย 

Page 3: Law and SocialNetwork

(๑) แนวคิดพื้นฐานของเรื่อง 

กฎหมายที่เกี่ยวของกับเครือขายสังคมออนไลน 

Page 4: Law and SocialNetwork

กฎหมายที่มีผลตอการจัดการเครือขายสังคมออนไลน 

กฎหมาย 

•  กฎหมายคืออะไร 

•  การปกครองโดยกฎหมาย (The Rule of Law) 

จัดการ 

•  การปราบปราม  

•  การกำกับดูแล 

•  การคุมครอง •  การสงเสริม 

เครือขายสังคมออนไลน 

•  เครือขายสังคมออนไลนคืออะไร ? 

•  มีความสำคัญอยางไร ? 

การบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย 

Page 5: Law and SocialNetwork

นิยาม เครือขายสังคมออนไลน 

หลักนิติศาสตร 

หลักสังคมศาสตรและเศรษฐศาสตร 

ตามขอเท็จจริงทางเทคโนโลย ี

•  บุคคล นิติสัมพันธ ทรัพย •  จุดเกาะเกี่ยว ความสัมพันธที่แทจริง ชีวิตเสมือนที่สอง 

•  ระบบนิเวศนทางเศรษฐกิจ หรือ Ecosystem 

•  เทคโนโลยีการสื่อสาร 

Page 6: Law and SocialNetwork

การนิยามเครือขายสังคมออนไลน 

Interested Network 

Collaboration Network 

Gaming/Virtual Reality 

Identity Network 

มีความสัมพันธตอกันตอเนื่องในฐานะสมาชิกที่มีพื้นที่ของตนเอง 

Professional 

Page 7: Law and SocialNetwork

ความหมายของเครือขายสังคมออนไลน โดยใช หลักเกณฑทางนิติศาสตร 

"   เปนการปรากฎตัวของสมาชิกในเครือขายสังคมออนไลนที่ไมใชเครือขายสังคมทางกายภาพโดยมีการกอนิติสัมพันธระหวางสมาชิกภายในเครือขายหรือระหวางเครือขายโดยสมาชิกในเครือขายจะมีความสัมพันธแนนแฟนในฐานะที่เปน "ชีวิตเสมือนที่สอง" หรือ Second Life  

"   ในการกำหนดคำนิยามโดยใชเกณฑทางนิติศาสตรนำมาซึ่งประเด็นปญหาในทางขอเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะ "ความเปน" ของเครือขายสังคมออนไลน และสงผลมายัง ปญหาในทางหลักกฎหมายเกี่ยวกับการรับรองสถานะของเครือขายสังคมออนไลน 

Page 8: Law and SocialNetwork

กฎหมาย ? นิติรัฐ ? 

"   กฎหมาย หมายถึง กฎเกณฎฑที่ใชบังคับกับความสัมพันธของมนุษย 

"  ที่ไหนมีสังคมที่นั่นมีกฎหมาย 

"   นิติรัฐ หมายถึง การปกครองโดยกฎหมาย 

"   รัฐกระทำการใดๆไดตองมีกฎหมายใหอำนาจ 

"   จะจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนไดตอเมื่อมีกฎหมายบัญญัติไว 

"   กฎหมายที่วานี้หมายถึงกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ 

Page 9: Law and SocialNetwork

กฎหมายกับการจัดการ 

ใครเปนคนจัดการ รัฐ หรือ เอกชน 

รัฐมอบอำนาจใหเอกชน 

กฎหมายที่มีผลตอการจัดการ กฎหมายระหวางประเทศ - กฎหมายภายใน 

กฎหมายเอกชน -กฎหมายมหาชน 

แนวคิดในการจัดการ 

ปราบปราม 

คุมครอง 

สงเสริม 

กำกับดูแล 

 

Page 10: Law and SocialNetwork

แนวคิดสำคัญ ที่สงผลตอพัฒนากฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการ 

"   IC4D 

"   ICT4Edu 

"   Information Society  

"  Universal Access & Digital Didive & Digital Bridge (ICT Regulation Toolkit by ITU) 

"  สิทธิและเสรีภาพในการเขาถึงขอมูลขาวสารและการเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น 

Page 11: Law and SocialNetwork

(๒) กฎหมายที่มีผลตอการจัดการเครือ

ขายสังคมออนไลน 

Page 12: Law and SocialNetwork

การจำแนกกลุมของกฎหมาย ที่มีผลตอการจัดการเครือขายสังคมออนไลน : จำแนกตามแนวคิดพื้นฐาน 

กฎหมายดานการสงเสริม 

การสรางความเทาเทียมในโครงสรางพื้นฐาน 

การสงเสริมการพัฒนานิติสัมพันธ โดยเฉพาะเรื่องการประกอบธุรกิจ 

กฎหมายในการกำกับดูแล 

องคกรในการกำกับดูแลและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย 

กฎหมายดานการคุมครอง 

คุมครองการเขาถึงเนื้อหาที่ไมเหมาะสม 

คุมครองขอมูลสวนบุคล 

คุมครองสิทธิ เสรีภาพในการเขาถึงและแสดงความคิดเห็น 

กฎหมายดานการปราบปราม 

การกระทำที่เปนภัยตอความมั่นคง ศลธรรมอันดี ความสงบสุขของสังคม 

Page 13: Law and SocialNetwork

๒.๑ กฎหมายที่เกี่ยวของกับสงเสริม " สงเสริมใหเกิดความเทาเทียมในการเขาถึงและใชประโยชน "   มาตรา ๗๘ กฎหมาย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ 

"   มาตรา ๗๘ รัฐตองดำเนินการตามแนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน ดังตอไปนี้ 

"   (๓) กระจายอำนาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการดำเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ พัฒนาเศรษฐกิจของทองถิ่นและระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ตลอดทั้งโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศในทองถิ่น ใหทั่วถึงและเทาเทียมกันทั่วประเทศ รวมทั้งพัฒนาจังหวัดที่มีความพรอมใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญ โดยคำนึงถึงเจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั้น 

Page 14: Law and SocialNetwork

กฎหมายที่เกี่ยวของกับสงเสริม " สงเสริมการประกอบการเชิงพาณิชย พาณิชยอิเล็กทรอนิกส 

"   พรบ.วาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.๒๕๔๔ 

"   รับรองนิติสัมพันธที่เกิดขึ้นในทางอิเล็กทรอนิกส "   มาตรา ๗ หามมิใหปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใชทางกฎหมายของขอความใดเพียงเพราะเหตุที่ขอความนั้นอยูในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกส 

"   การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส "   มาตรา ๙ ในกรณีที่บุคคลพึงลงลายมือชื่อในหนังสือ ใหถือวาขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นมีการลงลายมือชื่อแลว ถา 

"   (๑) ใชวิธีการที่สามารถระบุตัวเจาของลายมือชื่อ และสามารถแสดงไดวาเจาของลายมือชื่อรับรองขอความในขอมูลอิเล็กทรอนิกสนั้นวาเปนของตน และ 

"   (๒) วิธีการดังกลาวเปนวิธีการที่เชื่อถือไดโดยเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการสรางหรือสงขอมูลอิเล็กทรอนิกส โดยคำนึงถึงพฤติการณแวดลอมหรือขอตกลงของคูกรณี 

Page 15: Law and SocialNetwork

" การสงเสริมความนาเชื่อถือในธุรกรรมพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 

"   มาตรา ๒๖ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่มีลักษณะดังตอไปนี้ใหถือวาเปนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่เชื่อถือได "   (๑) ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสนั้นไดเชื่อมโยงไปยังเจาของลายมือชื่อโดยไมเชื่อมโยงไปยังบุคคลอื่นภายใตสภาพที่นำมาใช 

"   (๒) ในขณะสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสนั้น ขอมูลสำหรับใชสรางลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสอยูภายใตการควบคุมของเจาของลายมือชื่อโดยไมมีการควบคุมของบุคคลอื่น 

"   (๓) การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่เกิดแกลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส นับแตเวลาที่ไดสรางขึ้นสามารถจะตรวจพบได และ 

"   (๔) ในกรณีที่กฎหมายกำหนดใหการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสเปนไปเพื่อรับรองความครบถวนและไมมีการเปลี่ยนแปลงของขอความ การเปลี่ยนแปลงใดแกขอความนั้นสามารถตรวจพบไดนับแตเวลาที่ลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส 

"   บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง ไมเปนการจำกัดวาไมมีวิธีการอื่นใดที่แสดงไดวาเปนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสที่เชื่อถือได หรือการแสดงพยานหลักฐานใดเกี่ยวกับความไมนาเชื่อถือของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส 

"   มีการกำหนด ผูประกอบการรับรอง หรือ Certificate Authority (CA) ที่จะเปนตัว

สำคัญในการออกรหัส ที่ใชเปนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกสนี้ดวย 

กฎหมายที่เกี่ยวของกับสงเสริม 

Page 16: Law and SocialNetwork

๒.๒ กฎหมายที่เกี่ยวของกับกำกับดูแล "   การกำกับดูแลคลื่นความถี่ในฐานะที่เปนทรัพยากรที่เปนสาธารณะ 

"   มาตรา ๔๗ กฎหมาย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ "   มาตรา ๔๗ คลื่นความถี่ที่ใชในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และโทรคมนาคมเปนทรัพยากร

สื่อสารของชาติเพื่อประโยชนสาธารณะ "   ใหมีองคกรของรัฐที่เปนอิสระองคกรหนึ่งทำหนาที่จัดสรรคลื่นความถี่ตามวรรคหนึ่ง และกำกับการ

ประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ "   การดำเนินการตามวรรคสองตองคำนึงถึงประโยชนสูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับทองถิ่น

ทั้งในดานการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ ประโยชนสาธารณะอื่น และการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม รวมทั้งตองจัดใหภาคประชาชนมีสวนรวมในการดำเนินการสื่อมวลชนสาธารณะ 

"   การกำกับการประกอบกิจการตามวรรคสองตองมีมาตรการเพื่อปองกันมิใหมีการควบรวมการครองสิทธิขามสื่อ หรือการครอบงำ ระหวางสื่อมวลชนดวยกันเองหรือโดยบุคคลอื่นใด ซึ่งจะมีผลเปนการขัดขวางเสรีภาพในการรับรูขอมูลขาวสารหรือปดกั้นการไดรับขอมูลขาวสารที่หลากหลายของประชาชน 

Page 17: Law and SocialNetwork

๒.๓ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครอง " การคุมครองสิทธิ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น 

"   ปฎิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ๑๙๔๘ "   ขอ ๑๙ บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพในความเห็น และการแสดงออก สิทธินี้รวมถึงเสรีภาพที่จะยึดมั่น ในความคิดเห็นโดยปราศจากการสอดแทรก และที่จะแสวงหา

รับ ตลอดจนการแจงขาว รวมทั้งความคิดเห็นโดยผานสื่อใดๆ โดยมิตองคำนึงถึง

เขตแดน 

"   Declaration of Internet Freedom โดยมีหลักการพื้นฐาน ๕ เรื่อง คือ (๑) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นโดยไมถูกปดกั้น (๒) รับรองสิทธิในการเขาถึงและใชประโยชน (๓) ความเทาเทียมในการใชงานไดทุกที่ทุกเวลาเพื่อตอบสนองตอการสื่อสาร การเขียน การอาน การพูด การฟงการสรางสรรคและการสรางนวัตกรรม (๔) การพัฒนานวัตกรรมและ (๕) สิทธิในความเปนสวนตัว 

Page 18: Law and SocialNetwork

๒.๓ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครอง " การคุมครองสิทธิ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น กฎหมาย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ 

"   มาตรา ๓๖ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทางที่ชอบดวยกฎหมาย "   การตรวจ การกัก หรือการเปดเผยสิ่งสื่อสารที่บุคคลมีติดตอถึงกัน รวมทั้ง การกระทำดวยประการอื่นใดเพื่อใหลวงรูถึงขอความในสิ่งสื่อสารทั้งหลายที่บุคคลมีติดตอถึงกัน จะกระทำมิไดเวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 

"   มาตรา ๔๕ บุคคลยอมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ การโฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น 

"   การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได เวนแตโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิ เสรีภาพ เกียรติยศ ชื่อเสียง สิทธิในครอบครัวหรือความเปนอยูสวนตัวของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อปองกันหรือระงับความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน 

Page 19: Law and SocialNetwork

๒.๓ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครอง " การคุมครองขอมูลสวนบุคคล 

"   สหภาพยุโรป หรือ EU 

"   “Privacy and Electronic Communications Directive on the processing of personal data  

"   พรบ.คุมครองผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว ๒๕๕๑ "   ม. ๙ หามมิใหผูใดลงพิมพโฆษณา หรือเผยแพรตอสาธารณชน ซึ่งภาพ เรื่องราว หรือขอมูลใด ๆ อันนาจะทำใหเกิดความเสียหายแกผูกระทำหรือผูถูกกระทำดวยความรุนแรงในครอบครัว 

"   มาตรา ๒๗ พรบ.คุมครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ 

"   มาตรา ๒๖ ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงกฎหมายอื่น ไมวาเด็กจะยินยอมหรือไม หามมิใหผูใดกระทำการ ดังตอไปนี้ 

"   (๔) โฆษณาทางสื่อมวลชนหรือเผยแพรดวยประการใด เพื่อรับเด็กหรือยกเด็กใหแกบุคคลอื่นที่มิใชญาติของเด็ก เวนแตเปนการกระทำของทางราชการหรือไดรับอนุญาตจากทางราชการแลว 

Page 20: Law and SocialNetwork

๒.๓ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครอง " การคุมครองขอมูลสวนบุคคล 

"   ประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกสเรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการคุุมครองขอมูลสวนบุคคลของหนวยงานรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๓ 

"   ขอ ๑ ใหหนวยงานของรัฐซึ่งรวบรวม จัดเก็บ ใช เผยแพร หรือดำเนินการอื่นใดเกี่ยวกับ ขอมูลของผูใชบริการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส จัดทำนโยบายในการคุมครองขอมูลสวนบุคคลไว เปนลายลักษณอักษร โดยใหมีสาระสำคัญอยางนอย ดังนี้ "   (๓) การระบุวัตถุประสงคในการเก็บรวบรวม ใหบันทึกวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมขอมูลสวนบุคคลในขณะที่มีการรวบรวมและจัดเก็บ รวมถึงการนำขอมูลนั้นไปใชในภายหลัง และหากมีการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมขอมูลใหจัดทำบันทึกแกไขเพิ่มเติมไวเปนหลักฐาน 

"   (๔) ขอจำกัดในการนำขอมูลสวนบุคคลไปใช หามมิใหมีการเปดเผย หรือแสดง หรือทำใหปรากฏในลักษณะอื่นใดซึ่งขอมูลสวนบุคคลที่ไมสอดคลองกับวัตถุประสงคของการรวบรวมและจัดเก็บขอมูล เวนแตจะไดรับความยินยอม จากเจาของขอมูล หรือเปนกรณีที่มีกฎหมายกำหนดใหกระทำได 

Page 21: Law and SocialNetwork

๒.๓ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครอง 

" การคุมครองเด็กและเยาวชนในการเขาถึงเนื้อหาสื่อที่ไมเหมาะสม "   พรบ.ประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน พ.ศ.๒๕๕๑ 

"  มาตรา ๓๔ ผูรับใบอนุญาตตองจัดทำผังรายการใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการประกอบกิจการที่ไดรับใบอนุญาต ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการประกาศกำหนดสำหรับใบอนุญาตแตละประเภท 

"   ในกรณีจำเปนเพื่อคุมครองเด็กและเยาวชน คณะกรรมการอาจประกาศกำหนดชวงเวลาของการออกอากาศรายการบางประเภทได 

"   ใหผูรับใบอนุญาตเสนอผังรายการใหคณะกรรมการอยางนอยสิบหาวันกอนวันเริ่มใหบริการกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน 

Page 22: Law and SocialNetwork

การจัดระดับความเหมาะสม/ของรายการโทรทัศน/

ระบบ +๖/การประเมินคุณภาพเนื้อหา/ ระบบ -๓/

การจำแนกเนื้อหาตามชวงอายุ/+/๖ เรื่อง/

เพื่อการศึกษา/และการเรียนรู/

การจำแนกเนื้อหา/โดยเกณฑ ๓ มิติ/

นำไปสูการ/สนับสนุนการผลิต/

นำไปสูการจัดสรรชวงเวลา/

Page 23: Law and SocialNetwork

เกณฑเชิง

คุณภาพ.

ระบบคิด.

วิชาการ.

คุณธรรม จริยธรรม.

ทักษะชีวิต.

ความหลากหลาย.

ครอบครัว สังคม.

ระบบ +๖/การประเมินคุณภาพเนื้อหา/

Page 24: Law and SocialNetwork

การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน.

๖ กลุมเพื่อการศึกษาและการเรียนรู.

Page 25: Law and SocialNetwork

การจำแนกเนื้อหาตามชวงวัย โดยเกณฑ ๓ มิติ.

เกณฑ/• พฤติกรรม.• เพศ.• ภาษา.

Page 26: Law and SocialNetwork

หมิ่นเหม.

หยาบคาย .

กาวราว.

แสลง.

ทำรายตัวเอง ทำรายคนอื่น ทำลายสิ่งของ ใชอาวุธ การดัดแปลง จินตนาการ.

พื้นที่ เหตุการณ อคติ ไสยศาสตร.การแสดงใหเห็นเหตุการณ.

พฤติกรรม รุนแรง.

ภาษา. เพศ.

Page 27: Law and SocialNetwork

เพศ.ภาษา .

ความรุนแรง.

ไมมี.

นอย.

กลาง.

มาก.

ไมเนนผลของการกระทำ ผูถูกกระทำไมนำเสนอภาพการทรมาน ทุรนทุราย.

ไมมี เวนแตเลี่ยงไมได ไมพบบอย เปนไปตามบริบทของเรื่อง ไมแสดงขั้นตอน ผลการกระทำ.

มาก แสดงขั้นตอน ผลของการกระทำ แตไมผิดกฎหมาย.

Page 28: Law and SocialNetwork

ระดับ. พฤติกรรม รุนแรง. เพศ. ภาษา.

๐. ๐. ๐.

๑. ๐. ๐.

๑. ๑. ๑.

๒. ๑. ๑.

๒. ๒. ๒.

๓. ๓. ๓.

แนวทางการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน.

ไมมี.

นอย.

กลาง.

มาก.

Page 29: Law and SocialNetwork

๒.๓ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครอง " การคุมครองดานทรัพยสินทางปญญา "   พรบ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๓๗ 

"   มาตรา ๑๕ ภายใตบังคับมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔ เจาของลิขสิทธิ์ยอมมีสิทธิแตผูเดียวดังตอไปนี้ 

"   (๑) ทำซ้ำหรือดัดแปลง "   (๒) เผยแพรตอสาธารณชน "   (๓) ใหเชาตนฉบับหรือสำเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร และสิ่ง

บันทึกเสียง "   (๔) ใหประโยชนอันเกิดจากลิขสิทธิ์แกผูอื่น "   (๕) อนุญาตใหผูอื่นใชสิทธิตาม (๑) (๒) หรือ (๓) โดยจะกำหนดเงื่อนไขอยางใดหรือไมก็ได แต

เงื่อนไขดังกลาวจะกำหนดในลักษณะที่เปนการจำกัดการแขงขันโดยไมเปนธรรมไมได "   การพิจารณาวาเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ง (๕) จะเปนการจำกัดการแขงขันโดยไมเปนธรรมหรือไม

ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง 

Page 30: Law and SocialNetwork

๒.๓ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครอง " การคุมครองดานทรัพยสินทางปญญา "   พรบ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๓๗ 

"   มาตรา ๑๕ ภายใตบังคับมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ และมาตรา ๑๔ เจาของลิขสิทธิ์ยอมมีสิทธิแตผูเดียวดังตอไปนี้ "   มาตรา ๙ งานที่ผูสรางสรรคไดสรางสรรคขึ้นในฐานะพนักงานหรือลูกจาง ถามิไดทำเปนหนังสือตกลงกันไวเปนอยางอื่น ใหลิขสิทธิ์ในงานนั้นเปนของผูสรางสรรค แตนายจางมีสิทธินำงานนั้นออกเผยแพรตอสาธารณชนไดตามที่เปนวัตถุประสงคแหงการจางแรงงานนั้น 

"   มาตรา ๑๐ งานที่ผูสรางสรรคไดสรางสรรคขึ้นโดยการรับจางบุคคลอื่น ใหผูวาจางเปนผูมีลิขสิทธิ์ในงานนั้น เวนแตผูสรางสรรคและผูวาจางจะไดตกลงกันไวเปนอยางอื่น 

"   มาตรา ๑๔ กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐหรือของทองถิ่นยอมมีลิขสิทธิ์ในงานที่ไดสรางสรรคขึ้นโดยการจางหรือตามคำสั่งหรือในความควบคุมของตน เวนแตจะไดตกลงกันไวเปนอยางอื่น 

" ปญหาการละเมิดทรัพยสินทางปญญาในเครือขายสังคมออนไลน ปญหาอยูที่ประสิทะิภาพของการบังคับใชกฎหมาย 

Page 31: Law and SocialNetwork

แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการทรัพยสินยุค ๒.๐ 

"   แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยสินในเครือขายสังคมออนไลน 

"   ปรากฏชัดในเรื่องของทรัพยสินทางปญญา โดยมีแนวคิดเกี่ยวกับการเปนทรัพยสินรวมของเครือขายสังคมออนไลน ที่เรียกวา Creative Common 

"   ยังมีแนวคิดสนับสนุนในเรื่องของวัฒนธรรมการแบงปน  

แนวคิดวัฒนธรรมเสรีและการใชสัญญาอนุญาตของ CC กับงานสรางสรรค ใหความคิดสรางสรรคสามารถเผยแพรไหลเวียนและ

ตอยอดไดโดยเสร ี

Page 32: Law and SocialNetwork

(๓) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินยุค ๒.๐

COPYRIGHTS

Public Domain

Creative Common

Page 33: Law and SocialNetwork

แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการทรัพยสินยุค ๒.๐ �  รายละเอียดของแตละสัญญาอนุญาตนั้น ขึ้นอยูกับรุนของสัญญา และประกอบไปดวยตัวเลือกจากสี่เงื่อนไข 

�  แสดงที่มา (Attribution - by) : อนุญาตใหผูอื่นทำซ้ำ แจกจาย หรือแสดงและนำเสนอชิ้นงานดังกลาว และสรางงานดัดแปลงจากชิ้นงานดังกลาว ไดเฉพาะกรณีที่ผูนั้นไดแสดงเครดิตของผูเขียนหรือผูใหอนุญาตตามที่ระบุไว 

�  ไมใชเพื่อการคา (Noncommercial - nc) : อนุญาตใหผูอื่นทำซ้ำ แจกจาย หรือแสดงและนำเสนอชิ้นงานดังกลาว และสรางงานดัดแปลงจากชิ้นงานดังกลาว ไดเฉพาะกรณีที่ไมนำไปใชในทางการคา 

�  ไมดัดแปลง (No Derivative Works - nd) : อนุญาตใหผูอื่นทำซ้ำ แจกจาย หรือแสดงและนำเสนอชิ้นงานดังกลาวในรูปแบบที่ไมถูกดัดแปลงเทานั้น 

�  อนุญาตแบบเดียวกัน (Share Alike - sa) : อนุญาตใหผูอื่นแจกจายงานดัดแปลง ไดเฉพาะกรณีที่ชิ้นงานดัดแปลงนั้นเผยแพรดวยสัญญาอนุญาตที่เหมือนกันทุกประการกับงานตนฉบับ (ดู copyleft) 

Page 34: Law and SocialNetwork

(๓) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการทรัพยสินยุค ๒.๐ "   เงื่อนไข CC สามารถใชประกอบไดมากที่สุด 6 แบบ ไดแก 

"   แสดงที่มา (cc-by) 

"   แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา (cc-by-nc) 

"   แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-ไมดัดแปลง (cc-by-nc-nd) 

"   แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน (cc-by-nc-sa) 

"   แสดงที่มา-ไมดัดแปลง (cc-by-nd) 

"   แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน (cc-by-sa) 

ผูอื่นสามารถนำผลงานไปใชตอไดโดยไมตองขออนุญาต เพียงแตตองทำตามเงื่อนไขที่กำหนดไว หากจะนำไปใชนอกเหนือจากที่กำหนด ตองติดตอเพื่อขออนุญาตอีกที 

Page 35: Law and SocialNetwork

๒.๔ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปราบปราม " พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๑ 

"   หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร "   มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสำหรับตน 

"   มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทำขึ้นเปนการเฉพาะถานำมาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่น 

"   มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิไดมีไวสำหรับตน 

"   มาตรา ๘ ผูใดกระทำดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไวซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลทั่วไปใชประโยชนได 

"   มาตรา ๙ ผูใดทำใหเสียหาย ทำลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ 

"   มาตรา ๑๐ ผูใดกระทำดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทำงานของระบบคอมพิวเตอรของผูอื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทำงานตามปกติได 

"   มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่นโดยปกปดหรือปลอมแปลงแหลงที่มาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของบุคคลอื่นโดยปกติสุข 

Page 36: Law and SocialNetwork

๒.๔ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปราบปราม " พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๑ 

"   หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร "   มาตรา ๑๒ ถาการกระทำความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ "   (๑) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันทีหรือในภายหลังและไมวาจะเกิดขึ้นพรอมกันหรือไม ตองระวางโทษจำคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองแสนบาท 

"   (๒) เปนการกระทำโดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอรที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเปนการกระทำตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรที่มีไวเพื่อประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจำคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหกหมื่นบาทถึงสามแสนบาท 

"   ถาการกระทำความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ตองระวางโทษจำคุกตั้งแตสิบปถึงยี่สิบป 

Page 37: Law and SocialNetwork

๒.๔ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปราบปราม 

" พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๑ "   หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 

"   มาตรา ๑๓ ผูใดจำหนายหรือเผยแพรชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนำไปใชเปน

เครื่องมือในการกระทำความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน

สองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 

Page 38: Law and SocialNetwork

๒.๔ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปราบปราม " พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๑ 

"   หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร "   มาตรา ๑๔ ผูใดกระทำความผิดที่ระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ "   (๑) นำเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่นหรือประชาชน 

"   (๒) นำเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศหรือกอใหเกิดความตื่นตระหนกแกประชาชน 

"   (๓) นำเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา 

"   (๔) นำเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงได 

"   (๕) เผยแพรหรือสงตอซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรโดยรูอยูแลววาเปนขอมูลคอมพิวเตอรตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) 

"   มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอรที่อยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทำความผิดตามมาตรา ๑๔ 

Page 39: Law and SocialNetwork

๒.๔ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการปราบปราม " พรบ.การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๑ 

"   หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร "   มาตรา ๑๖ ผูใดนำเขาสูระบบคอมพิวเตอรที่ประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงไดซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่ปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติมหรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่นาจะทำใหผูอื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจำคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ "   ถาการกระทำตามวรรคหนึ่ง เปนการนำเขาขอมูลคอมพิวเตอรโดยสุจริต ผูกระทำไมมีความผิด "   ความผิดตามวรรคหนึ่งเปนความผิดอันยอมความได "   ถาผูเสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งตายเสียกอนรองทุกข ใหบิดา มารดา คูสมรส หรือบุตรของผูเสียหายรองทุกขได และให

ถือวาเปนผูเสียหาย 

"   หมวด ๒ พนักงานเจาหนาที่ "   มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวันนับแตวันที่ขอมูลนั้นเขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจำเปนพนักงานเจาหนาที่จะสั่งใหผูใหบริการผูใดเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวเกินเกาสิบวันแตไมเกินหนึ่งปเปนกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได 

"   ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาที่จำเปนเพื่อใหสามารถระบุตัวผูใชบริการนับตั้งแตเริ่มใชบริการและตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันนับตั้งแตการใชบริการสิ้นสุดลง 

"   ความในวรรคหนึ่งจะใชกับผูใหบริการประเภทใด อยางไร และเมื่อใด ใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา 

Page 40: Law and SocialNetwork

(๓) ปญหาสำคัญเกี่ยวกับกฎหมายกับการจัดการเครือขายสังคมออนไลน 

Page 41: Law and SocialNetwork

เรากำลังเผชิญปญหาสำคัญอะไรบาง ??? 

"   ปญหาการพิสูจนยืนยันตัวบุคคลที่แทจริง "   ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ??? "   IP Address ??? "   ID No. ??? 

"   ปญหาการบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย "   การจัดระดับความเหมาะสมของเนื้อหาสื่อ 

"   การคุมครองทรัพยสินทางปญญา 

"   ปญหาสถานะของเครือขายสังคมออนไลน 

"   ปญหาในการใชอำนาจอธิปไตยเหนือรัฐอื่น 

"   กรณี SOPA 

ปญหาในเรื่องเครือขายอินเทอรเน็ต  ปญหาในเรื่องเครือขายสังคมออนไลน