9
OLED เทคโนโลยีจอแสดงผล กาวที่กําลังมาแรงของนาโนเทคโนโลยี น.ส.ศรินลักษณ สุธารส 13510242

oled technology

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: oled technology

OLED เทคโนโลยีจอแสดงผล กาวท่ีกําลังมาแรงของนาโนเทคโนโลยี

น.ส.ศรินลักษณ สุธารส 13510242

Page 2: oled technology

• มีคุณสมบัติคลายฟลม

• คือมีความโปรงใสจนสามารถมองเห็นทะลุได

• บางกวา1% ของเสนผม

• เปลงแสงเมื่อไดรับ พลังงานไฟฟา

• นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพในขณะที่จอถูกดัดใหโคงงอได

• เหนือกวาจอที่ทําจาก แกวที่แตกราวไดงาย

FEATURE

Page 3: oled technology

คือ อุปกรณที่ทําดวยฟลมของวัสดุอินทรียกึ่งตัวนํา ที่สามารถเปลงแสงไดเองเม่ือไดรับพลังงานไฟฟา เรียกวากระบวนการ Electroluminescence (อิเล็กโทรลูมิเนสเซนซ) เม่ือนํามาใชเปนจอภาพจึงไมจําเปนตองมี Backlight ฉายแสงดานหลังไปทั่วทั้งจอภาพ อยางที่ทํากันในจอ LCD หรือ Plasma ซึ่งยังทําใหจุดสีดําใดๆในภาพ ก็จะไดสีที่ดําสนิทมืดมิดจริงๆ เพราะไมมีแสงสวางออกมาเลยนั่นเอง

OLED (Organic Light-Emitting Diodes )

Page 4: oled technology

โครงสรางและหลักการทํางาน1. กระแสไฟฟาจะไหลจาก Cathode ผานชั้น

สารอินทรียไปยัง Anode โดย Cathode จะใหกระแสelectrons แกชั้น Emissive layer ขณะเดียวกัน

2. Anode จะดึง electrons ในชั้น Conductive layer ใหเคลื่อนที่เขามา เกิดเปน electron holes ขึ้น

3. ระหวางชั้น Emissive และ Conductive layer จะเกิดปฏิกิริยา electron (-) เขาจับคูกับ hole (+) ขึ้น ซึ่งกระบวนนี้เอง ที่จะเกิดการคายพลังงานสวนเกินออกมา นั่นก็คือแสงสวางที่เราตองการ

Page 5: oled technology

• สามารถเปลงแสงไดดวยตัวเอง ทําใหใชพลังงานนอยกวาจอแบบอื่นๆ• จอมีความบางกวา เบากวา และมีความยืดหยุนสูงจนสามารถโคงงอได• ใหความสวางมากกวา เนื่องจากจอทําจากพลาสติกที่มีความบางมาก การผาน

ของแสงจึงดีกวา• งายตอการขยายขนาด เพราะทําจากพลาสติก จึงสามารถสรางใหมีขนาดใหญ

ได และปลอดภัย

จุดเดน

Page 6: oled technology

• อายุการใชงานของฟลมที่ใหกําเนิดสีน้ําเงิน ยังมีอายุการใชงานสั้นเพียง 1,000ชั่วโมง (แตสําหรับสีแดง และเขียว มีอายุการใชงานที่ยาวนาน ประมาณ 10,000 ถึง 40,000 ชั่วโมง

• ปจจุบันขั้นตอนการผลิตยังคงมีราคาสูง เนื่องจากยังไมสามารถผลิตเปนผลิตภัณฑเชิงปริมาณได

• สารอินทรียที่ใชทํา OLED จะเสียหายไดงายเม่ือโดนน้ําหรือออกซิเจน

จุดดอย

Page 7: oled technology

OLED อาจแบงออกเปน 2 ประเภท ข้ึนอยูกับวัสดุเปลงแสง

1. วัสดุเปลงแสงน้ําหนักโมเลกุลต่ํา ถูกคิดคนขึ้นในป ค.ศ. 1987 โดยนักวิทยาศาสตรของบริษัทโกดักดวยความบังเอิญ ระหวางที่กําลังทําการพัฒนาเซลลสุริยะอินทรีย โดยพวกเขาสังเกตเห็น แสงสีเขียวที่เปลงออกมาจากรอยตอระหวางวัสด ุ2 ชนิด ที่ชนิดหนึ่งเปนตัวนําที่ดีของโฮล ในขณะที่อีกชนิดหนึ่งเปนตัวนําที่ดีของอิเล็กตรอน การเตรียม OLED ชนิดนี้นิยมทําดวยการระเหยในสุญญากาศ (Vapor Deposition)

Page 8: oled technology

2. วัสดุเปลงแสงน้ําหนักโมเลกุลสูง หรือ พอลิเมอร คิดคนขึ้นครั้งแรกในป ค.ศ. 1990 ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ โดยการใชพอลิเมอรนําไฟฟาเปนวัสดุเปลงแสง ซึ่งมีขอดีคือ พอลิเมอรที่ใช มีความสามารถในการนําไฟฟาไดดีกวา พวกโมเลกุลน้ําหนักตํ่า ทําใหสามารถใชศักยไฟฟาไมตองสูงมาก (เชน 2-5โวลต) อีกทั้ง มีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานแสงที่ดีกวา ที่สําคัญการเตรียมอุปกรณสามารถทําไดในสภาวะเปยก

Page 9: oled technology

ท่ีมา• บรรณานุกรม• http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/e-plastic/oled.html• http://www.itday.in.th/• http://www.tistr.or.th/tistrblog/?p=446