95
“ Social Network Online ” มิติใหม่สําหรับการฝึกอบรม จัดโดย นศ.ปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วันที13 ตุลาคม .. 2555 ห้องประชุม QS1 206 ชั้น 2 ห้อง 206 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

Social network training

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การสัมมนาเรื่อง “Social Network Online...มิติใหม่ของการฝึกอบรม” ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2555 สาขาวิชาเทคโนโลยีการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ณ ห้องประชุม QS1 206 ชั้น 2 ห้อง 206 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Citation preview

Page 1: Social network training

“ Social Network Online ”

มิติใหม่สําหรับการฝึกอบรม จัดโดย นศ.ปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์  วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ณ ห้องประชุม QS1 206 ชั้น 2 ห้อง 206 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 

ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ-

ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา-

คณะครุศาสตรอุตสาหกรมและเทคโนโลยี-

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี-

Page 2: Social network training

สิ่งที่เรา จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 

เราเชื่อว่า ทุกคนมีความรู้ไม่แตกต่างกัน              

              1Modern Training 

                     2  Social 

Network 

                      3Adop7on         

Page 3: Social network training

              

            

         การฝึกอบรม ยุคใหม่MODERN TRAINING 

กลยุทธ์ในการปรับเปลี่ยน การฝึกอบรม “กระบวนการเรียนรู้สําคัญกว่าความรู้”  

1

Page 4: Social network training

21st Century Skills 

•  "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” •  ได้ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอก

การศึกษา รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills)

•  หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 

Page 5: Social network training

ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 3R และ 4C

3R การอ่าน (Reading), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) 4 C Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์, Communication - การสื่อสาร Collaboration - การร่วมมือ  Creativity - ความคิดสร้างสรรค์   รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ 

Page 6: Social network training

ความหมายของ “ศตวรรษที่ ๒๑” •  โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้นๆๆ และไม่แน่นอน •  ความรู้เปลี่ยนชุด งอกเร็ว •  สารสนเทศเพิ่มแบบระเบิด คนถูกกระแสรอบทิศ •  วัตถุมากล้น จิตวิญญาณจาง •  โลกถึงกันหมด •  คนเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน งานเปลี่ยน

•  นพ.วิจารณ์ พานิช

Page 7: Social network training

การศึกษาที่มีคุณภาพ0

ศตวรรษที่ ๒๐, ๑๙- ศตวรรษที่ ๒๑-

•  Teaching0

•  Teach content0

•  Teacher0

•  Content-Based0

•  Classroom0

•  Lecture0

•  Teaching – personal0

•  Sequential learning0

•  Assessment : P - F0

•  Learning0

•  Inspire0

•  Coach, Facilitator0

•  Skills – Based0

•  Studio0

•  PBL0

•  PLC 0

•  Integrated learning0

•  Assessment : Reform 30

Page 8: Social network training

คุณภาพของระบบการเรียนรู้

•  21st Century Skills •  Transforma7ve Learning  (จาก informa7ve & forma7ve)  

•  มี Change Agent Skills, Leadership •  ความเป็นพลเมือง

ต้องไปให้ถึง

Page 9: Social network training

5 อันดับแรกของคุณลักษณะของลูกจ้างที่นายจ้างต้องการ -

Source: 21 centuryedtech.

Page 10: Social network training

SMART Thailand 2020

Page 11: Social network training

การฝึกอบรมแก้ปัญหาได้จริงๆหรือ 

•  คงไม่ใช่ยาวิเศษที่จะสามารถแก้ไขปัญหาทุกอย่างขององค์กรได้

•  คงเป็นเพียงแต่แนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหาของพนักงาน และก่อให้เกิด ลักษณะตามที่ต้องการ

ความรู้ (Knowledge)  

ทักษะ (Skill)

และทัศนคติ (Attitude)

Page 12: Social network training

ความหมายของการฝึกอบรม

"ฝึก" หมายถึง ทําเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชํานาญ "อบรม" หมายถึง แนะนําพร่ําสอนให้ซึบซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัยหรือแนะนํา ชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ  ถ้าแปลตามรูปศัพท์ การฝึกอบรม จึงหมายถึง การแนะนํา การสอนเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชํานาญในเรื่องที่ต้องการ  0

0

พจนานุกรรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 25250

Page 13: Social network training

กลยุทธ์ในการฝึกอบรมสมัยใหม่ (Modern Training Strategies) 6 อย่าง 

•  1.การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) •  2. การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ (Informal learning) •  3. การเรียนรู้ตามความต้องการ (real- time learning) •  4. การเรียนรู้บนพื้นฐานของความสามารถ (Competency- Base Learning) •  5.การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนเพื่อการเรียนรู้ (ROI Learning) •  6. การเป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา (Academic Partnership)

กลยุทธ์การฝึกอบรมสมัยใหม่ (Modern Training Strategies) HR Magazine Online ฉบับที่ 18 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 

Page 14: Social network training

แหลงความรู ที่เปลี่ยนไป0

1 ส่วน

10 ส่วน

Page 15: Social network training

1.การแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)

•  องค์กรจะมีพนักงานที่มีการสะสมความรู้ประสบการณ์ทั้งจากการฝึกอบรมหรือเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง (Learning by doing) ซึ่งเรียกว่า ความรู้ภายใน ( Tacit Knowledge)

•  ซึ่งถ้านํามาแลกเปลี่ยนกันโดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่าการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)

•  ซึ่งจะทําให้ได้ความรู้ที่เรียกว่าความรู้ภายนอก (Explicit Knowledge ) •  ทุกคนที่เกี่ยวข้องสามารถรู้ เข้าใจ เข้าถึง และสามารถนําไปเก็บไว้ใน

รูปของเอกสารหรือสารสนเทศอื่นๆขององค์กรซึ่งเรียกว่าคลังความรู้ (Data Warehouse)

•  ซึ่งกระบวนการการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ (Knowledge Management) หรือ เรียกย่อ ๆ ว่า KM ที่ได้รับความสนใจอย่างมากในยุคปัจจุบัน

Page 16: Social network training

มิติในทางการศึกษา Dimension of Education-

Ubiquitous -

Blended Learning-

-

Page 17: Social network training

2. การเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ (Informal learning)  

•  “ การเรียนรู้กับการทํางานเหมือนเหรียญสองด้าน ” ซึ่งหมายความถึงต้องควบคู่กันไม่สามารถแยกออกจากกันได้

•  ในการฝึกอบรมคงไม่ใช่การหยุดงานเพื่อไปเข้าห้องฝึกอบรมและนําเอาความรู้ในห้องฝึกอบรมมาใช้ในการทํางาน

•  เรามักพบว่าในความเป็นจริงแล้วความรู้ที่ได้จากห้องฝึกอบรมอาจจะไม่สามารถนําไปใช้ในการทํางานได้ทั้งหมด

•  ดังนั้นการฝึกอบรมที่ถือว่าดีที่สุดวิธีหนึ่งคือการฝึกอบรมที่ควบคู่ไปกับการทํางานจริง (On The job ‒ training) จะเห็นได้ว่าวิธีนี้ได้รับความนิยมมากในประเทศญี่ปุ่น โดยผู้ที่จะมีบทบาทสําคัญในการส่งเสริมวิธีนี้คือหัวหน้างานนั่นเอง

Page 18: Social network training

3. การเรียนรู้ตามความต้องการ (real- time learning)  

•  เหตุการณ์ที่พนักงานที่กําลังปฏิบัติงานอยู่เกิดความสงสัยไม่แน่ใจในวิธีการทํางาน หรือต้องการความรู้เพิ่มเติมอย่างเร่งด่วนในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทํางาน

•  วิธีการตอบสนองความต้องการดังกล่าว ในรูปของสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning)

•  และสุดท้ายอาจต้องมีบุคลากรที่เรียกว่าที่ปรึกษาการเรียนรู้ (Learning Consultant) ประจําอยู่เพื่อช่วยให้พนักงานเรียนรู้ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น

Page 19: Social network training

4. การเรียนรู้บนพื้นฐานของความสามารถ (Competency- Base Learning)  

การฝึกอบรมสมัยใหม่มีการนําแนวคิดเรื่องของ •  ความสามารถ (Competency) มาใช้เพื่อกําหนดว่าพนักงานแต่และคนควรมี

ความสามารถในเรื่องใดบ้าง •  และในแต่ละปีจะมีการประเมินความสามารถ (Competency Assessment) •  เพื่อหาว่าพนักงานแต่ละคนมีจุดแข็งและจุดอ่อนในเรื่องใด ที่จะนําไปสู่การฝึก

อบรมต่อไป ซึ่งจะทําให้การนํางบประมาณ หรือทรัพยากรขององค์กรไปใช้ได้อย่างคุ้มค่ามากที่สุด

Page 20: Social network training

5. การประเมินความคุ้มค่าในการลงทุนเพื่อการเรียนรู้ (ROI Learning) 

•  ในปัจจุบันเริ่มนําแนวคิดเรื่อง ROI มาใช้อธิบายกันอยู่บ้าง •  เพื่อตอบโจทย์ว่าองค์กรได้ผลประโยชน์อะไรบ้างในการฝึกอบรมแต่ละครั้ง •  มีนักวิชาการหลายท่านเห็นว่า ROI เป็นสิ่งที่จับต้องได้ยาก เพราะการฝึกอบรม

แต่ละครั้งอาจไม่ส่งผลประโยชน์ทันทีทันใด โดยจะต้องใช้ระยะเวลา หรือโอกาสที่จะนําไปใช้ก็ได้

Page 21: Social network training

6. การเป็นหุ้นส่วนกับสถาบันการศึกษา (Academic Partnership)  

•  ในการฝึกอบรมในยุคที่มีองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้นอย่างมาก พบว่าองค์กรแต่ละแห่งจะต้องพยายามตามกระแสของความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่ให้ทัน  

•  โดยเฉพาะหน่วยงานฝึกอบรมต้องรู้ว่าแนวโน้มในอนาคตจะมีองค์ความรู้ หรือเครื่องมือใหม่ๆอะไรเกิดขึ้นบ้าง ซึ่งถือว่าเป็นภาระอันหนักยิ่งขององค์กร ดังนั้น

•  แนวโน้มการฝึกอบรมสมัยใหม่ควรมีการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาที่เป็นแหล่งที่สร้างองค์ความรู้ เช่นการทําวิจัย (Research) เพื่อให้ได้องค์ความรู้มาใช้พัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางาน

•  โดยองค์กรอาจมีการส่งพนักงานเข้าไปฝึกอบรมในหลักสูตรระยะสั้นที่ออกแบบร่วมกับสถาบันการศึกษา หรือมีการให้ทุนสถาบันการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และถ่ายทอดให้กับพนักงานในองค์กรที่ถือได้ว่าเป็นวิธีหนึ่งในการฝึกอบรมที่มีประสิทธิภาพ

Page 22: Social network training

วิทยากรฝกอบรมยุคใหมที่ HR สมัยใหมตองการ0

•  1. ต้องเข้าใจว่า ผู้เรียนหรือผู้เข้าอบรมคือคนที่รู้ดีที่สุดในงานของเขา •  2. ไม่จําเป็นต้องแจกเอกสารประกอบการบรรยายที่เต็มไปด้วยทฤษฎีต่าง ๆ •  3.  ไม่จําเป็นต้องอยู่ในห้องฝึกอบรมทุกวัน •  4.  วิทยากรยุคใหม่ควรเข้าใจเรื่อง  Action Learning  •  5.  ควรจัดเตรียมอุปกรณ์หรือเครื่องมือค้นหาข้อมูลความรู้ในขณะที่ฝึกอบรม •  6. ควรสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนอยากเรียน อยากรู้ อยากแลกเปลี่ยน  •  7.  ควรใช้เทคนิคการฝึกอบรมที่แตกต่าง และหลากหลายมากขึ้น

ไชยยศ ปั้น

Page 23: Social network training

ระดับของขอบเขตการเรียนรู ที่เปลี่ยนไป 

Bloom’s Taxonomy 

Page 24: Social network training

Bloom’s Taxonomy 

Create

Evaluate

Analyze

Apply

Understand

Remember

Evaluation

Synthesis

Analysis

Application

Comprehension

Knowledge

1956 - Original 2001 - Revised

Page 25: Social network training
Page 26: Social network training

วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้

•  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความรู้เป็นพื้นฐานในการนําไปสู่ความเข้าใจ •  2. เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความชํานาญ หรือทักษะในการทํางาน คือ

ความคล่องแคล่วในการปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งได้โดยอัตโนมัติ •  3. เพื่อเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การฝึกอบรมสามารถเปลี่ยนแปลง

ทัศนคติไปในทางที่ดีที่พึงปรารถนา ซึ่งเป็นพื้นฐานทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล 0

Page 27: Social network training

ความสําคัญของการฝึกอบรม.

•  1. เพื่อความอยู่รอดขององค์การเอง เพราะปัจจุบันมีสภาพการแข่งขันระหว่างองค์การรุนแรงมาก การฝึกอบรมจะช่วยให้องค์การเข้มแข็ง และช่วยให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทํางานยิ่งขึ้น

•              2. เพื่อให้องค์การเจริญเติบโต มีการขยายการผลิต การขาย และการขยายงานด้านต่าง ๆ ออกไป ในการนี้จําเป็นต้องสร้างบุคคลที่มีความสามารถเพื่อที่จะรองรับงานเหล่านั้น

•              3. เมื่อรับบุคลากรใหม่จําเป็นต้องให้เขารู้จักองค์การเป็นอย่างดีในทุก ๆ ด้าน และต้องฝึกอบรมให้รู้วิธีทํางานขององค์การ แม้จะมีประสบการณ์มาจากที่อื่นแล้วก็ตาม เพราะสภาพการทํางานในแต่ละองค์การย่อมแตกต่างกัน            0

Page 28: Social network training

ความสําคัญของการฝึกอบรม.

•  4. ปัจจุบันเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้าไปรวดเร็วมาก จึงจําเป็นต้องฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ทันสมัยเสมอ ถ้าบุคลากรมีความคิดล้าหลัง องค์การก็จะล้าหลังตามไปด้วย

•  5. เมื่อบุคลากรทํางานมาเป็นเวลานานจะทําให้เฉื่อยชา เบื่อหน่าย ไม่กระตือรือร้น การฝึกอบรมจะช่วยกระตุ้นให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

•  6. เพื่อเตรียมบุคลากรสําหรับรับตําแหน่งใหม่ที่สูงขึ้น โยกย้ายงานหรือแทนคนที่ลาออกไป 0

Page 29: Social network training

ประเภทของการฝึกอบรม

•  1. การฝึกอบรมก่อนประจําการ (Pre-Service Training)  

•  2. การฝึกอบรมระหว่างประจําการ (In-Service Training) 0

1. Pre-Service Training�            

 2. In-Service Training 

Orienta<on 

Page 30: Social network training

ขั้นตอนของการฝึกอบรม

A  D  D  I  E 

ขั้นการวิเคราะห์ความจําเป็นในการฝึกอบรม (analyze) ขั้นการออกแบบโปรแกรมการฝึกอบรม (design) ขั้นการพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรม (develop)  ขั้นการนําโปรแกรมการฝึกอบรมไปสู่การปฏิบัติ (implement) และขั้นการประเมินผลโปรแกรมการฝึกอบรม (evaluation)0

วิเคราะห์ ออกแบบ 

พัฒนา นําไปใช้ 

ประเมินผล 

Page 31: Social network training

ADDIE Model-

Summative Formative

Analysis-

 Design -

 Development-

 Implementation-

 Evaluation-

Page 32: Social network training

รูปแบบการสอนการฝึกอบรม

จอนสันและโฟย์  (Kerry A.Johnson  and  Lin  J. Foa) 

1. Classroom  training  methods 

2. Interactive  videodise

3.  Face plate  simulators

4.  Hand-on  training      

Page 33: Social network training

กิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม สู่ เครือข่่ายสังคม

จอนสันและโฟย์  (Kerry A.Johnson  and  Lin  J. Foa) 

Social Media Training 

1 การจัดฝึกอบรมเองภายในองค์กร �

(In house training) 

2 การส่งบุคลากรไปอบรม

ภายนอกองค์กร �(Public Training)  

3 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ �(workshop) 

4 การศึกษาดูงาน �

(Field Trip) 

5 การฝึกอบรมในขณะปฏิบัติงานจริง �(On the job training) 0

Page 34: Social network training

การฝึกอบรมออนไลน์

 ความหมายของ อินเตอร์เพื่อการฝึกอบรม  •  เป็นการใช้ทักษะหรือความรู้ต่าง ๆ ถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์

ไวด์เว็บ เป็นช่องทางในการเผยแพร่สิ่งเหล่านั้น ถ้าแบ่งตามรูปแบบของเครื่องมือที่ใช้บนอินเทอร์เน็ตก็จะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ  

•  1. แบบที่เป็นข้อมูลอย่างเดียว (Text-Only) •  2. แบบที่เป็นมัลติมีเดีย (Multimedia)0

ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 

Page 35: Social network training

1. แบบที่เป็นข้อมูลอย่างเดียว (Text-Only)

•  - ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail: e-mail) •  - กระดานข่าวสาร (Bulletin Board) •  - ห้องสนทนา (Chat Room) •  - โปรแกรมดาวน์โหลด (Software downloading)0

ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 

Page 36: Social network training

2. แบบที่เป็นมัลติมีเดีย (Multimedia)

เป็นการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการฝึกอบรม ที่มีโครงสร้างลักษณะเป็นกราฟิก การสืบค้นโดยใช้ภาพในรูปแบบของเว็บ ซึ่งทําให้มีชื่อเรียกหลายลักษณะ ได้แก่ ‐ เว็บฝึกอบรม (Web‐Based Training) - เว็บช่วยสอน (Web-Based Instruction) - เว็บเพื่อการศึกษา (Web-Based Edcuation) - เว็บช่วยการเรียนรู้ (Web-Based Learning) - อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) - อินเทอร์เน็ตช่วยสอน (Internet-Based Instruction) - เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) - เวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction)0

ไดรสคอลส์ (Driscoll, 1997) 

Page 37: Social network training
Page 38: Social network training

เทคโนโลยีสนับสนุนการเข้าถึง Social Network  

1. มือถือชองทางใหมของการเขาสูอินเทอรเน็ต02. รูปแบบขอมูลที่ตอบรับระบบอินเทอรเน็ต0 และระบบ Social Network -

3. ระบบอินเทอรเน็ต-

0

Page 39: Social network training

ข้อดีของ การจัดฝึกอบรม ด้วย Social Network  

1.  ใช้ได้กับ กลุ่มบุคคล ที่อยู่ทางไกล 2.  ใช้ได้กับ บุคคล ที่เดียวกันแต่มีปริมาณมาก 3.  ใช้ได้กับ บุคคลปริมาณมาก และอยู่ไกลกัน 4.  ลักษณะไม่เป็นทางการ 0

Page 40: Social network training

              

            

        

              

        2 เครือข่ายสังคมSOCIAL NETWORK 

1. เป็นการสื่อสารยังลูกค้าโดยตรง  

Page 41: Social network training

WBT 

Page 42: Social network training

การทํางานของ Social Media 

Internet  

Wikipedia (2009) ให้ความหมาย (Social Network) ว่า เป็นโครงสร้างสังคมที่ประกอบด้วยโหนด (Node) ต่างๆ เชื่อมต่อกัน ซึ่งแต่ละโหนดที่เชื่อมโยงกันก็อาจมีความสัมพันธ์กับโหนดอื่นๆ ด้วย โดยอาจมีระดับของความสัมพันธ์กัน มีความซับซ้อน มีเป้าหมาย -

Page 43: Social network training

เหตุผลที่องค์กรควรปรับสู่ Social Network  

1 ใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารรูปแบบใหม่ 2 แนบชิดกับลูกค้า และคนในองค์กร 3 ลดการนินทาว่าร้ายจากคนในองค์กร 4 สร้างภาพลักษณ์ที่ดีกับองค์กร 5 ช่องทางกระจายองค์ความรู้ 6 สร้างความได้เปรียบในการเข้าถึงข้อมูลและเทคโนโลยีใหม่ๆ 0

มีลักษณะไมเปนทางการ ทำใหลูกคารูสึกเปนกันเอง0

Page 44: Social network training

ความแตกต่างของ web 1.0 – 2.0 

Page 45: Social network training

The Changing Web 

เว็บในยุคนี้จะ  เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เหมือนกระแสไฟฟ้า  โทรทัศน์  โทรศัพท์ 

Page 46: Social network training

The Growth of Communication media 50 Million

Page 47: Social network training
Page 48: Social network training
Page 49: Social network training

แนวคิดและความหมายของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) 

การที่มนุษย์สามารถเชื่อมโยงถึงกัน

ทําความรู้จักกัน สื่อสารถึงกันได้ ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต

ในรูปแบบการให้บริการผ่านเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงระหว่างบุคคลต่อบุคคล ไปจนถึงบุคคลกับกลุ่มบุคคล ไว้ด้วยกันนั่นเอง  

Page 50: Social network training

ประเภทของ Social Network 

•  1 ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Iden7ty Network) •  2 ประเภทเผยแพร่ผลงาน (Crea7ve Network) •  3 ประเภทความสนใจตรงกัน (Interested Network) •  4 ประเภทร่วมกันทํางาน (Collabora7on Network) •  5 ประเภทPeer to Peer (P2P) •  6 ประเภทโลกเสมือน (Gaming / Virtual Reality) 

•    

Page 51: Social network training

1 ประเภทเผยแพร่ตัวตน (Iden7ty Network) 

เว็บไซต์เหล่านี้ใช้สาหรับนาเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของตนเองทางอินเตอร์เน็ตสามารถเขียน blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพื่อน และสร้างเครือข่ายขึ้นมาได้ ตัวอย่างเช่น facebook , hi 5, My Space ดังภาพ  

Page 52: Social network training

2 ประเภทเผยแพร่ผลงาน (Crea7ve Network)  

เราสามารถใช้เว็บไซต์เหล่านี้ในการนาเสนอผลงานของตัวเองได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงเพลง ว่าเว็บไซต์ประเภท VDO Sharing นี้สามารถเผยแพร่ผลงานได้ดี 

Page 53: Social network training

3 ประเภทความสนใจตรงกัน (Interested Network) 

มีลักษณะของเว็บไซต์ที่มีการรวมกันของสมาชิก ซึ่งมีความสนใจที่ตรงกันหรือสนใจในเรื่องเดียวกัน ตัวอย่างเช่น del.icio.us เป็น Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่เราจะ Bookmark เว็บที่เราชอบเก็บไว้ในเครื่องของเราคนเดียว ก็เปลี่ยนรูปแบบให้สามารถแบ่งให้ผู้อื่นดูได้ด้วย และสามารถรู้ได้ด้วยว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก เป็นที่น่าสนใจ โดยดูได้จากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์นั้นถูก Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ นั่นเอง 

Page 54: Social network training

4 ประเภทร่วมกันทํางาน (Collabora7on Network) 

มีลักษณะของเว็บไซต์ที่มีการทางานร่วมกัน หรือมีการใช้ข้อมูลร่วมกันในเรื่องเดียวกัน ตัวอย่างเช่น  WikiPedia เป็นสารานุกรม ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแก้ไขบทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรมออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และเหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย และมีภาษาไทยด้วย  Google Maps ปัจจุบันสร้างแผนที่ของตัวเอง หรือแชร์แผนที่ให้คนอื่นได้ จึงทาให้มีสถานที่สาคัญ หรือสถานที่ต่างๆ ถูกปักหมุดเอาไว้ พร้อมกับข้อมูลของสถานที่นั้นๆ ไว้ พร้อมทั้งแสดงผลจากการค้นหาได้อีกด้วย    

Page 55: Social network training

5 ประเภทPeer to Peer (P2P) 

P2P เป็นการเชื่อมต่อกันระหว่าง Client (เครื่องผู้ใช้, เครื่องลูกข่าย) กับ Client โดยตรง โปรแกรม Skype จึงได้นาหลักการนี้มาใช้เป็นโปรแกรมสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต และก็มี BitTorrent เกิดขึ้นมาเป็นเทคโนโลยีที่ทาให้เกิดการแบ่งปันไฟล์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว    

Page 56: Social network training

6 ประเภทโลกเสมือน (Gaming / Virtual Reality) 

โลกเสมือนในที่นี้ คือเกมส์ออนไลน์ตัวอย่างเช่น Second Life เป็นโลกเสมือนจริง สามารถสร้างตัวละครโดยสมมุติให้เป็นตัวเราเองขึ้นมาได้ มีการใช้ชีวิตอยู่ในเกมส์ อยู่ในชุมชนเสมือน(Virtual Community) สามารถซื้อขายที่ดิน และหารายได้จากการทากิจกรรมต่างๆ ได้    

Page 57: Social network training

Social Network  

Page 58: Social network training
Page 59: Social network training
Page 60: Social network training
Page 61: Social network training

•  มีการกด Like แลวทั้งหมด 1.3 ลานลานครั้ง0

•  มีการอัพโหลดรูปภาพไปแลวกวา 2.19 แสนลานรูป0

•  เช็คอิน 1.7 หมื่นลานครั้ง0

•  อายุเฉลี่ยของผูใชอยูที่ 22 ป0

•  ผูใช Facabook บนอุปกรณพกพา กวา 500 ลานคน0

Page 62: Social network training

Link  

•  เครือข่ายสังคม •  Facebook  Training 

Page 63: Social network training

เแสดงแนวโน้มจํานวนผู้เข้าใช้เว็บไซต์และแนวโน้มระยะเวลาการใช้ Social Network The Nielsen Company 

 สําหรับพฤติกรรมผู้บริโภคของคนไทยนั้น พบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคจะใช้เวลา บนโลกอินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น และเลือกที่จะเสพสื่อออนไลน์แทนสื่อดั้งเดิม ทาให้บทบาทของ Social Media ในช่วงนี้ถึงมาแรงและเป็นกระแสหลักของการตลาดออนไลน์ ในปัจจุบัน   

Page 64: Social network training

ความถี่ในการเข้าใช้  

สําหรับพฤติกรรมผู้บริโภคของคนไทยนั้น พบว่า พฤติกรรมของผู้บริโภคจะใช้เวลาบนโลก อินเทอร์เน็ตเพิ่มมากขึ้น และเลือกที่จะเสพสื่อออนไลน์แทนสื่อดั้งเดิม ทาให้บทบาทของ  Social Media มาแรงและเป็นกระแสหลักของการตลาดออนไลน์ในปัจจุบัน   

Page 65: Social network training

การเข้าใช้ Social Network 

Page 66: Social network training

              

            

                              3 แนวทาง การนําไปใช้

Adop<on  

View your slides from anywhere! 

Page 67: Social network training

นวัตกร  INNOVATORS0

ผู้รับค่อนข้างเร็ว  EARLY0

MAJORITY0

ผู้รับค่อนข้างช้า LATE0

MAJORITY0

ผู้ล้าหลัง LAGGARDS0

16%034%034%013%02.5%0

ผู้รับเร็ว  EARLY0

ADOPTERS0

ROGERS & SHOEMAKER0

Page 68: Social network training

การเลือกสื่อการสอน0

  

Simple Co

nten

Complex Con

tent 

Dynamic (Flexible)   

Sta7c 

eBook  CMI, CBT 

Presenta7on 

Sharable Content 

Virtual Classroom  

Kiosk 

Print Media 

Web Page 

Page 69: Social network training

มิติในทางการศึกษา Dimension of Education-

Ubiquitous -

Blended Learning-

-

Page 70: Social network training

Dimension of online Learning 7

Page 71: Social network training

องคประกอบของอีเลิรนนิง > การฝกอบรมออนไลน7

Page 72: Social network training

การเลือก ชองทางการใช-

Page 73: Social network training

แลวเราจะขามผานไปไดอยางไร-

Page 74: Social network training

การประยุกต์ใช้ Social Media : Google 

Page 75: Social network training

Google App 

 •  Google App •  Google Doc •  Google Mobile,Photo •  Google Map •  You Tube Chanel •  Google Analy<c •  My Block  

Page 76: Social network training

ขั้นตอนของการ.ใช ้Social Media กับการฝึกอบรม

A  D  D  I  E วิเคราะห์ 

ออกแบบ พัฒนา 

นําไปใช้ ประเมินผล 

Google Doc Google Doc 

Google Doc 

You tube 

Wikipedia 

Google Doc 

Face Book 

Twister 

Google Map 

Google Analy<c 

Google Calendar 

My Block  

Page 77: Social network training

Google Doc 

Page 78: Social network training

Google Mobile,Photo 

Page 79: Social network training

Google Map 

Page 80: Social network training

You Tube Chanel 

Page 81: Social network training

Google Hangout 

•  Extent from Youtube 

Page 82: Social network training

Google Calendar 

•  Manage Your life •  Agenda •  Bookmark •  Manage Group •  Sent e‐mail,SMS 

Page 83: Social network training

Google Analy<c 

•  Analy<c Your Web 

Page 84: Social network training

My Block :  drsurapon.blogspot.com 

Page 85: Social network training

การออกแบบสถาพแวดล้อมจําลอง  

•  ด้านกายภาพ,ในห้องเรียนจริงและห้องเรียนออนไลน์ •  ด้านจิตภาพ •  ด้านสังคม 

Page 86: Social network training

แนวทางที่น่าสนใจในการจัดกิจกรรมทางด้านการฝึกอบรม

KM  ในองค์กร กิจกรรมด้านการวางแผนพัฒนาอาชีพ (Career Path หรือ Career Planning) กิจกรรมร่วมระหว่างพนักงาน กิจกรรม 5 ส. 0

Page 87: Social network training

Wikis 

Page 88: Social network training

การสอนบนฐานความเป็นมนุษย์ (Humanism‐based Instruc7on) 

1.  การสอนแบบ A เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์ต่ํา และใช้เทคโนโลยีต่ํา ผู้สอนไม่สามารถจะสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้เรียนแต่ละคนได้ การสอนแบบนี้พบได้ในการเรียนที่มีผู้เรียนจํานวนมาก และใช้เทคโนโลยีพื้นฐาน เช่นการบรรยายในห้องเรียนขนาดใหญ่

2.  การสอนแบบ B เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์ต่ํา แต่ใช้เทคโนโลยีสูง การสอนแบบนี้มีการออกแบบการสอนสําหรับการเรียนทางไกล ที่ต้องใช้เทคโนโลยีสูง เช่น มีการใช้ E‐learning 

3.  การสอนแบบ C เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์สูงและใช้เทคโนโลยีสูง การสอนแบบนี้จะเป็นการสอนในห้องเรียนขนาดเล็ก มีผู้เรียนประมาณ 10 คน มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนมาก

4.  การสอนแบบ D เป็นแบบที่ใช้ความเป็นมนุษย์สูง แต่ใช้เทคโนโลยีต่ํา การออกแบบการสอนแบบนี้เหมาะกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

5.  การสอนแบบ E เป็นการสอนที่ใช้ทั้งความเป็นมนุษย์และใช้เทคโนโลยีเท่าๆ กัน เป็นการสอนที่น่าจะให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการสอนในระดับที่น่าพอใจ เป็นสายกลางระหว่างความเป็นมนุษย์และเทคโนโลยี และที่สําคัญมนุษย์ยังคงเป็นผู้สอนมนุษย์ด้วยกันอีกด้วย ซึ่งต่อไปจะเรียกว่าการสอนแบบ Heutagogy 

Page 89: Social network training

อภิปราย00

0

0

Training0

สื่อจะเปนอยางไร0

การสื่อสารจะเปน

ลักษณะใด0

การฝกอบรม

อนาคต0

อุปกรณจะเปน

อยางไร0

Page 90: Social network training

กระแสพระราชดำรัส พระราชดำรัส -

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว -

เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 2539 -

ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต-

7

>“เทคโนโลยีชั้นสูงนี ้คนสวนมาก เดี๋ยวนี้ก็เขาใจ วามีโทรทัศน มีดาวเทียม มีเครื่องคอมพิวเตอร. แตวาเครื่องเหลานี ้หรือสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ไมมีชีวิต ดูรูปรางทาทางเหมือนมีชีวิต แตอาจจะไมมีชีวิต มีสีก็มีสีได แตวาไมมีสัน. คือสีสันนั่นรวมแลวมันครบถวน และยังไมครบ ยังไมมีจิตใจ.  อาจจะทำใหคนที่มีจิตใจออนเปลี่ยนเปนคนละคนก็ได แตวาที่จะอบรมโดยใชสื่อที่กาวหนาที่มีเทคโนโลยีสูงนี่ยากที่สุด ที่จะอบรมบมนิสัยดวยเครื่องเหลานี ้ฉะนั้นไมมีอะไร แทนคนสอนคน ”7

Page 91: Social network training

ขอคิดสุดทาย00

0

0

“อยาคิด จะครอบครองเทคโนโลยี0

แตจงคิดที่จะอยูกับเทคโนโลยีและนำมาใชกับงานของเรา”0

ผศ.ดร.สุรพล บุญลือ0

081-4289275 0

[email protected]

Page 92: Social network training

แนวทางการพัฒนาศักยภาพ ที่ได้จากการสัมมนา

Social Network Online  

Page 93: Social network training

แนวทางการนํา Social Network Online 

ไปปรับใช้ในการทํางานและเผยแพร่  

Page 94: Social network training

[1] เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ” แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการฝกอบรม ” , การฝกอบรมหลักสูตรความรูพื้นฐานดานการฝกอบรม, สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน, สำนักงานก.พ.,2533-[2] ,การฝกอบรมหลักสูตรการบริหารงานฝกอบรม, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2523-[3] เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ” แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการฝกอบรม ” -[4] สมคิด บางโม. (2544). เทคนิคการฝกอบรมและการประชุม (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: จูนพับลิชชิ่ง.-[5] กลยุทธการฝกอบรมสมัยใหม (Modern Training Strategies)-

HR Magazine Online ฉบับที่ 18 ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ-

[6] ปรัชญนันท นิลสุข การพัฒนาครูและบุคคลากรทางการศึกษา0

[7] ธีระ  ประวาลพฤกษ.  การพัฒนาบุคคลและการฝกอบรม.  (กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพการศาสนา,2538):63.-

[8] ไชยยศ ปน วันเสาร ที่ 19 เมษายน 2551วิทยากรฝกอบรมยุคใหมที่ HR สมัยใหมตองการ0

http://www.oknation.net/blog/chaiyospun-

[9] Clark, G. Glossary of CBT/WBT Terms, 1996. [on-line] Available: http://www.clark.net/pub/

nractive/alts.html, page1 and 2-

[10] Driscoll, M. Defining Internet-Based and Web-Based Training. Performance Improvement. 36(4),

April 1997: 5-9.--

เอกสาร อ้างอิง 

Page 95: Social network training

h_p://www.slideshare.net/SuraponBoonlue [email protected]     

Download This Slide