47
ผศ.นพ.สุรศักดิ กันตชูเวสศิริ ประธานเครือข่ายลดบริโภคเค็ม โครงการลดบริโภคเกลือและโซเดียม ในประเทศไทย

5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ

Embed Size (px)

Citation preview

ผศ.นพ.สรุศกัด์ิ กนัตชเูวสศิร ิ

ประธานเครือขา่ยลดบรโิภคเค็ม

โครงการลดบรโิภคเกลอืและโซเดยีม ในประเทศไทย

• ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย • ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม

สุขภาพ (สสส.) • ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

(สปสช.) • สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย • สมาคมโรคหัวใจแห่งประเทศไทย • สมาคมความดันโลหิตสูง แห่งประเทศไทย • สมาคมนักก าหนดอาหารแห่งประเทศไทย • สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย • ส านักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค • ส านักโภชนาการ กรมอนามัย

• ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

• ส านักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย

• มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

• มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย

• สถาบันมูลนิธิโรคไตภูมิราชนครินทร์

• แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ

• ส านักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

• สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

• สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ม.เกษตรฯ

• สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย

• คณะวิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.มหิดล

เกลือ คืออะไร? เกลือส าหรับคนทั่วๆ ไป หมายถึง เกล็ดผลึกสีขาวใช้ส าหรับปรุงแต่งรสชาติอาหาร หรือใช้ในการถนอมอาหาร

เกลือส าหรับนักเคมี หมายถึง ส่วนผสมทางเคมีที่เกิด

จากโซเดียม (40%) และคลอไรด์ (60%)

อาหารเค็มท าให้ความดันโลหิตสูงเพราะมีเกลือ

ซึ่งประกอบด้วย“แร่ธาตุโซเดียม”

คนเราได้รับเกลือจาก…

กนิจากอาหารตามธรรมชาต ิเนือ้สัตว์ ผัก ผลไม้

เครื่องปรุงรสต่างๆ น าปลา ซีอิ๊ว กะปิ ปลาร้า

ผงชูรส ซุปก้อน มีโซเดียมมากแต่ไม่เค็ม

LOGO

กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร

ประชาชนยิ่งบริโภคเกลือสูง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงยิ่งเพิ่ม

บรโิภคเกลือนอ้ยท ำใหภ้ำวะควำมดนัโลหิตลดลง

ความดนั

โลหติ

โซเดียม:กรัม/วัน (mM)

ความดนัโลหติสูงท าให้เกดิโรคแทรกซ้อน

หวัใจวาย อัมพฤกษ์ อัมพาต

ไตวาย

โรคท่ีสมัพนัธก์บักำรบริโภคเกลือในประชำกรไทยปี 2551-2 (1)

โรคควำมดนัโลหิตสูง เป็นรอ้ยละ 21.4 หรือ11.5 ลำ้น

คน

โรคหลอดเลือดสมองเป็นรอ้ยละ 1.1% หรือ 0.5 ลำ้นคน

โรคหวัใจขำดเลือดเป็นรอ้ยละ 1.4% หรือ 0.75 ลำ้นคน

โรคไตเป็นรอ้ยละ 17.5% หรือ 7.6 ลำ้นคน (2)

1. วชิยั เอกพลากร รายงานการส ารวจสุขภาพประชาชนครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2551-2

2. Ingsathit A, Nephrol Dial Transplant. 2010 May;25(5):1567-75.

เกลือในอำหำร : เรำสำมำรถขำดมนัไดห้รือไม่

ตอ่มรบัรสของเรำชินกบัปริมำณเกลือที่สูง

กำรค่อยๆ ลดปริมำณของเกลือ จะท ำใหต้อ่ม

รบัรสมีควำมไวตอ่ปรมิำณเกลือมำกข้ึน

มีกำรศึกษำแสดงใหเ้ห็นว่ำ ใชเ้วลำเพียงไม่ก่ี

สปัดำห ์ ท่ีจะท ำใหช้อบทำนอำหำรท่ีมีปริมำณ

เกลือนอ้ยลง

งบประมาณกองทุนสปสช.

ควำมคุม้ค่ำของกำรลดบริโภคเกลือ(โซเดียม)ในประชำกร

ในประเทศสหรฐัอเมริกำ กำรลดกำรบริโภคเกลือใน

ประชำกร 3 กรมั/วนั จะสง่ผลใหเ้พิ่มชีวิตคณุภำพ

194,000-392,000 QALYs และประหยดัค่ำ

รกัษำพยำบำล 10,000-24,000 ลำ้นดอลลำรต์อ่ปี นัน่

หมำยถึงกำรไดร้บัผลตอบแทน 6-12 ดอลลำรต์อ่ทุก

ดอลลำรท่ี์ใชใ้นมำตรกำรควบคมุ

N Engl J Med 2010;362:590–9.

ในประเทศที่มีรำยไดต้ ำ่ถึงปำนกลำง กำรลดบริโภค

เกลือ 15% ในประชำกรจะป้องกนักำรเสียชีวิตได ้

13.8 ลำ้นคนในเวลำ 10 ปีโดยใชค้่ำใชจ้ำ่ยเพียง

0.4 ดอลล่ำรต์อ่คนตอ่ปี

Lancet 2007;370:2044–53.

ควำมคุม้ค่ำของกำรลดบริโภคเกลือ(โซเดียม)ในประชำกร

ในประเทศแถบตะวนัออกกลำง กำรรณรงค ์โดยใชท้ั้ง

มำตรกำรใหค้วำมรู ้กำรตดิฉลำกท่ีผลิตภณัฑอ์ำหำร และ

กำรบงัคบัปรบัสูตรเพ่ือลดเกลือในอำหำรส ำเร็จรูป นั้น

สำมำรถลดกำรบริโภคเกลือไดป้ระมำณ 30% และมีควำม

คุม้ค่ำ โดยประมำณว่ำในระยะเวลำ 10 ปี จะประหยดั

ค่ำใชจ้ำ่ย ประมำณ 6 ลำ้นดอลลำ่ร ์และสง่ผลใหเ้พิ่มชีวิต

คณุภำพ 2,700 QALYs

PLoS one 2014;9:e84445

ควำมคุม้ค่ำของกำรลดบริโภคเกลือ(โซเดียม)ในประชำกร

WHO ก ำหนด 9 เป้ำหมำยเพื่อลดกำรเกิดโรคไม่ตดิตอ่

*

กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร?

ไตจะเป็นอวัยวะส าหรับปรับโซเดียมในร่างกายให้สมดุล ถ้าโซเดียมในร่างกายมากเกินไป ไตก็จะขับออกทางปัสสาวะ การกินเกลือมากเกินไปท าให้ไตต้องท างานหนกัมากขึ้นจนเป็นโรคไตได้

กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร?

การกินเกลือมากเกินไปท าให้ บวมน้้า ท้าให้ปริมาณน้้าของเนื้อเยื่อภายใน

และภายนอกเพิ่มขึ้น

กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร?

การกินเกลือมากเกินไปท าให้

เกิดความดันโลหิตสูง

ปริมาณโซเดียมทีม่ากเกินพอดีจะท้า ให้ร่างกายเก็บน้้ามากขึ้น ท้าใหป้ริมาณเลือดเพิ่มขึ้น ส่งผลใหเ้กิดภาวะความดันสูงในหลอดเลือด

กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร?

• เมื่อเกิดความดันโลหิตสูง ท้าให้หัวใจท้างานหนกัขึ้น(เต้นเร็วขึ้น)

•ท้าให้เกิดอาการหัวใจวายได้

กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร?

การกินเกลือมากเกินไปท าให้

•อัมพาต อัมพฤกษ์ เมื่อเกิดความดันโลหิตสูงนานๆ ท้าให้เพิ่มโอกาสที่หลอดเลือดสมองจะตีบและแตกได ้

กิน "เค็ม" มากไปอันตรายอย่างไร? การกินเกลือมากเกินไปท าให้ กระดูกพรุน ผลการวิจัยระบุว่า การบริโภคเกลือมีส่วนเกี่ยวข้องกับ

ความแข็งแรงของกระดูก เพราะท าให้เกิดการสูญเสียแคลเซียม ผลคือกระดูกเสื่อม

มะเร็งกระเพาะอาหาร การบริโภคเกลือมาก ๆ จะไปท าลายผนังกระเพาะอาหาร จึงเกิดการติดเชื้อแบคทีเรียที่เป็นต้นเหตุของโรคแผลในกระเพาะอาหาร และมะเร็งกระเพาะอาหาร

หอบหืด การบริโภคเกลือมาก ๆ ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ การบริโภคเพียงเล็กน้อยช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น จะได้พ่ึงยาน้อยลง

องคก์ารอนามัยโลก

ประกาศใหก้ารด าเนนิการเพือ่ลดการบรโิภคโซเดยีมในประชากรเป็นภารกจิหนึง่ในเกา้

และคุม้คา่ตอ่การลงทนุเพือ่ลดความชกุของโรคเรือ้รัง โดยตัง้เป้าหมายในระดบัประเทศวา่ตอ้ง”ลดการบรโิภคโซเดยีมในประชากรลง 30% ภายในปี 2025” นอกจากนัน้ยังไดแ้นะน าใหป้ระชากรบรโิภคโซเดยีมไมเ่กนิ 2000 มลิลกิรัมตอ่คนตอ่วัน

ปริมาณการบริโภคเกลือโซเดียมคลอไรดเ์ฉลี่ยของประชากรไทย (พ.ศ. 2550-2551)

กองโภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

ทีถ่กูตอ้งคอื ไมเ่กนิ 5 กรมัตอ่วนั หรอืเทา่กบั โซเดยีม 2.0 กรมัตอ่วนั

10.8 กรมัตอ่วนั

www.themegallery.com

Company Logo

แหล่งของเกลือ

แนะน าบริโภคโซเดยีมไม่เกนิ 2,000

มิลลกิรัมต่อวัน

แนะน าบริโภคโซเดยีมไม่เกนิ 2,000

มิลลกิรัมต่อวัน

LOGO

โซเดียม 60% ละลายอยู่ในน้ า

ปริมาณโซเดียมที่มีในอาหารต่างๆ โซเดียม 1,832 มิลลิกรัม

โซเดียม 1,100 มิลลิกรัม

Public Health Impact

~3,500 mg/day

(current) ~1,500 mg/day

• Decrease hypertension prevalence by 30% (CJC 2007 23:437)

• Prevent 30 premature deaths per day from Stroke and IHD, ~15% all CV events (CJC 2008 24:497)

• Likely positive impact on obesity, osteoporosis, stomach cancer, kidney disease, asthma, etc…

BP ~5 mmHg

มาตรการเพือ่ลดการบรโิภคโซเดยีม

สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

WHO แนะน า

1) การรณรงคเ์พือ่สรา้งความรับรูใ้นประชากร(Public Campaign) 2) การลดปรมิาณโซเดยีมในผลติภณัฑอ์าหาร มุง่เนน้การลดในกระบวนการผลติ (Food Reformulation) 3) การตดิฉลาก(Food Labeling) 4) การใชข้อ้บงัคบั,กฎหมายหรอืภาษี(Regulation)

Spot TV

website&Facebook

http://www.lowsaltthailand.com

www.themegallery.com Company Logo

บรรยายให้ความรู้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้ประกอบการร้านค้าอาหาร จ. ศรีสะเกษ

โครงการวิจัยฯ ของแต่ละกลยุทธ์ โครงการที่ 1:

เครือข่ายความร่วมมือการพฒันาและปรับสูตรอาหารใหม้ีความเค็ม

ลดลงเพื่อคนไทยมีสุขภาพดี (Food reformulation)

โดย ดร. เนตรนภิส วัฒนสุชาติ และคณะ

สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปริมาณโซเดียมในอาหารที่เตรียมจากผลิตภัณฑ์น้ าปรุงส าเร็จรูป “สูตรลดโซเดียม”

ชนิดอาหาร หน่วยบริโภค

(กรัม)

ปริมาณโซเดียม (มิลลิกรัม) ต่อหน่วยบริโภค อาหารที่จ าหน่ายใน

ท้องตลาด * อาหารที่เตรียมจากน้ าปรุงลดโซเดียม **

% โซเดียมที่ลดลง

กับข้าว แกงส้ม 220 1,334 537 60 แกงเลียง 200 775 517 33 แกงเขียวหวานไก ่ 190 949 515 46 พะแนงหม ู 145 869 207 76 ผัดกะเพราไก ่ 130 1,053 628 40 ผัดผักรวม 125 494 469 5 ไข่พะโล้ 200 1,000 326 67 อาหารจานเดียว ผัดไทย 300 1,451 602 59 ข้าวผัด 350 843 530 37 ส้มต า 155 1,113 522 53 หมูปิ้ง 75 520 499 4 ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า 400 1,366 396 71 ข้าวหมกไก ่ 310 934 857 8 โจ๊ก 300 804 275 66 น้ าซุปใส 200 848 378 55

ต้นแบบผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงส าหรับ

การเตรียมอาหารลดโซเดียม โดยใช้เทคนิคด้านกลิ่นรสจากสมุนไพรไทย

นางสาวชุษณา เมฆโหรา ดร. เนตรนภิส วัฒนสุชาติ นางเย็นใจ ฐิตะฐาน นางสาวสมจิต อ่อนเหม นางสาวศิริพร ตันจอ

นางสาววาสนา นาราศี นายญาธิปวีร ์ปักแก้ว นางสาวสมัชญา ตาทองศร ี

คณะท างาน

ประเภทอาหาร รายการอาหาร สมุนไพรที่ศึกษา

แกง ต้มย ากุ้ง ใบมะกรูด, ตะไคร,้ พริกขี้หน,ู

มะนาว

ต้มข่าไก ่ ข่า, ใบมะกรูด

ขนมจีนน้ ายาปลาช่อน กระชาย, พริก

อบ/ย่าง/ทอด ไก่ย่างสมุนไพร ตะไคร้, ข่า, ใบมะกรูด

หมูย่างพริกไทยด า พริกไทยด า, รากผักชี, กระเทียม

ลาบหมูปั้นก้อนทอด พริก, ผักชีฝรั่ง, ข้าวคั่ว

ผัด ผัดฉ่าทะเล กระเทียม, กระชาย,พริก,

พริกไทย

ผัดกระเพรา พริก, ข่า, รากผักชี

ย า น้ าตกหม ู พริก, ผักชีฝรั่ง, ข้าวคั่ว

ย าตะไคร้กุ้งสด ตะไคร้, พริกขี้หนู, มะนาว, ข่า, รากผักชี

รายงานผลการด าเนินงาน (มี.ค. 2557)

LOGO

การผลิตเครื่องตรวจความเค็มในตัวอย่างอาหารและปัสสาวะ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพของประชาชนทั่วไป

ดร. พรพิมล ศรีทองค า

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ ์ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะ

วิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล

วัตถุประสงค์

พัฒนาเครื่องตรวจวัดปริมาณโซเดียมในอาหารและปัสสาวะ

โดยแบ่งเป็น

เครื่องวัดปริมาณโซเดียมชนิดแผ่นทดสอบ

เครื่องวัดปริมาณโซเดียมคลอไรด์ดว้ยหลักการวัดแบบ Conductivity

กลยุทธ์โครงการโรงพยาบาลต้นแบบ

ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการปรุงอาหารลดเค็ม (เกลือ)ส าหรับบุคลากรฝ่ายโภชนาการ ร้านค้า

สื่อสารรณรงค ์ สื่อสารรณรงค์และให้ความรู้ทางทีวี เสียงตามสายและจัดนิทรรศการและปรับ

สิ่งแวดล้อมในโรงอาหาร จัดโครงการประกวดค้าขวัญ ลดบริโภคเค็ม (เกลือโซเดียม)

จัดโครงการประกวดร้องเพลง ลดบริโภคเค็ม (เกลือโซเดียม)

จัดโครงการประกวดเมนูอาหารลดเค็ม (เกลือโซเดียม)ที่โรงอาหาร เพื่อเพิ่มเมนูทางเลือก

ประเมินผล โดยติดตามปริมาณโซเดียมในอาหารที่โรงอาหารและปัสสาวะในนักศึกษา

พยาบาล (ที่ ๓ เดือน)

LOGO

กระทรวงสาธารณสขุ

เครอืขา่ยลดบรโิภคเค็ม สสส.

NCD net

ยทุธศาสตรล์ดบรโิภคเกลอืและโซเดยีม ในประเทศไทย

ยทุธศาสตรล์ดบรโิภคเกลอืและโซเดยีมในประเทศไทย

วสิยัทศัน ์ ประชาชนการบรโิภคโซเดยีมลดลง 20% จากการมสีว่นรว่มของทกุภาคสว่นผา่น

การจัดการตนเองและสิง่แวดลอ้ม ภายในปี 2562

เป้าประสงค ์ ประชาชนมวีถิชีวีติทีล่ดการบรโิภคโซเดยีม เป้าหมาย

1. สรา้งและขยาย ภาคเีครอืขา่ยความรว่มมอืลดการบรโิภคโซเดยีม 2. สง่เสรมิการสรา้งองคค์วามรูแ้ละวฒันธรรมการบรโิภคอาหารโซเดยีมต า่ 3. เพิม่ชอ่งทางในการเขา้ถงึ ผลติภณัฑท์ีม่โีซเดยีมต า่ 4. ผลกัดนัภาคอตุสาหกรรมอาหารและ

Thanks you

“ลดเค็มครึง่หนึง่ คนไทยหา่งไกลโรค”

http://www.lowsaltthailand.com