4
ENNEAGRAM @ WORK BESTPRACTICES ENNEAGRAM IN BUSINESS Overview: best practices benchmark study บทเรียนจาก 72 บริษัท ที่ใช้เอ็นเนียแกรมในองค์กรอย่างต่อเนื ่อง a 2011 benchmark study conducted by The Enneagram in Business Network ในปัจจุบัน องค์กรหลายพันแห่ง ทั่วโลกใช้เอ็นเนียแกรมในด้านต่างๆ มากมาย แต่บริษัท 72 แห่ง ที่เรา ท�าการศึกษาในครั้งนี้ใช้เครื่องมือ ดังกล่าวอย่างจริงจัง เพื่อพัฒนา ผู้น�าและทีมงานอย่างก้าวกระโดด เพื่อเพิ่มพูนความฉลาดทางอารมณ์ และปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพนักงาน รวมไปถึงใช้เร่งกระบวนการปรับ เปลี่ยนวัฒนธรรมให้รวดเร็วยิ่งขึ้น ความเป็นมา: เราสัมภาษณ์ ผู้บริหารบริษัทและที่ปรึกษาองค์กร จ�านวน 39 คนทั่วโลกที่ประสบ ความส�าเร็จในการใช้เอ็นเนียแกรม ในองค์กร ซึ่งครอบคลุมพื้นที5 ทวีป จ�านวน 20 ประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย โบลีเวีย บราซิล แคนาดา ชิลี จีน โคลัมเบีย สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิหร่าน อิตาลี ญี่ปุ ่น แอฟริกาใต้ ไทย สหรัฐอเมริกา และอุรุกวัย ที่ปรึกษาและผู้บริหารที่เรา สัมภาษณ์มีทั้งผู ้ที่เป็นและไม่ได้เป็น สมาชิกของ The Enneagram in Business Network (EIBN) ผู้ให้ สัมภาษณ์ทุกคนได้ใช้เอ็นเนียแกรม ในองค์กรมาอย่างน้อย 18 เดือน และบางแห่งใช้มานานถึง 12 ปี บริษัทที่ใช้ในการสัมภาษณ์: เรา ท�าการสัมภาษณ์ภายใต้เงื่อนไขว่า จะไม่เปิดเผยชื่อบริษัท อย่างไร ก็ตาม บริษัท 21 แห่งอนุญาตให้ เราเปิดเผยชื่อ ได้แก่ Adcock In- gram, Avon, Banco Itaú, Banco Nossa Caixa, Beacon, Best Buy, Culture Technology, Daimler/ Mitsubishi, Genentech/Roche, Hanfubuki, Hui Ho’olana, Huron Hospital, La Clinica, Milling Hotels, NuEar, Parker Hinneafen, Shahid Ghandi, StarPoint, Sucromiles, Toyota และ Veloso Consultores ภาคธุรกิจ: บริษัทที่เราท�าการ ศึกษาในครั้งนี้อยู่ในภาคธุรกิจต่างๆ เช่น ไบโอเทคโนโลยี เคมี การ ศึกษา การเงิน รัฐบาล สุขภาพ โรงแรม ประกันภัย ไอที การผลิต องค์กรไม่หวังก�าไร ปิโตรเลียม ยา สมาคมวิชาชีพ การวิจัย ค้าปลีก บริการและการขนส่ง ค�าถามหลักที่ใช้: ค�าถามส�าคัญ ที่ใช้ในการสัมภาษณ์คือ องค์กรที่ใช้ เอ็นเนียแกรมในบริษัทประสบผล ส�าเร็จในด้านใดบ้าง ท�าได้อย่างไร และที่ผ่านมาได้บทเรียนอะไรบ้าง ผลการศึกษา: เราเชื่อว่าผล การศึกษาซึ่งสรุปอยู ่ในหน้าถัดไป จะช่วยผู้น�าองค์กร เจ้าหน้าที่ฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์ และที่ปรึกษา ต่างๆ ในการสร้างองค์กรที่มีผลิต ภาพ ความยั่งยืน และจิตส�านึก 10 @ 2011 The Enneagram in Business Network 1 July 2011

Enneagram best practice

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Enneagram best practice

ENNEAGRAM @ WORK

BESTPRACTICES ENNEAGRAMIN BUSINESS

Overview: best practices benchmark studyบทเรียนจาก 72 บริษัท ที่ใช้เอ็นเนียแกรมในองค์กรอย่างต่อเนื่องa 2011 benchmark study conducted by The Enneagram in Business Network

ในปัจจุบัน องค์กรหลายพันแห่ง ทั่วโลกใช้เอ็นเนียแกรมในด้านต่างๆ มากมาย แต่บรษิทั 72 แห่ง ทีเ่รา ท�าการศึกษาในครั้งนี้ใช้เครื่องมือดังกล่าวอย่างจริงจัง เพื่อพัฒนาผู้น�าและทีมงานอย่างก้าวกระโดด เพื่อเพิ่มพูนความฉลาดทางอารมณ์ และปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างพนักงาน รวมไปถึงใช้เร่งกระบวนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมให้รวดเร็วยิ่งขึ้น ความเป็นมา: เราสัมภาษณ์ผู้บริหารบริษัทและที่ปรึกษาองค์กรจ�านวน 39 คนทั่วโลกที่ประสบ ความส�าเรจ็ในการใช้เอน็เนยีแกรม ในองค์กร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 5 ทวีป จ�านวน 20 ประเทศ ได้แก่ อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย โบลีเวีย บราซิล แคนาดา ชิลี จีน โคลัมเบีย สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิหร่าน อิตาลี ญี่ปุ่น แอฟริกาใต้ ไทย สหรัฐอเมริกา

และอุรุกวัย ที่ปรึกษาและผู้บริหารที่เราสัมภาษณ์มีทั้งผู้ที่เป็นและไม่ได้เป็นสมาชิกของ The Enneagram in Business Network (EIBN) ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนได้ใช้เอ็นเนียแกรมในองค์กรมาอย่างน้อย 18 เดือน และบางแห่งใช้มานานถึง 12 ปี บรษิทัทีใ่ช้ในการสมัภาษณ์: เรา ท�าการสัมภาษณ์ภายใต้เงื่อนไขว่า จะไม่เปิดเผยชื่อบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษัท 21 แห่งอนุญาตให้เราเปิดเผยชื่อ ได้แก่ Adcock In-gram, Avon, Banco Itaú, Banco Nossa Caixa, Beacon, Best Buy, Culture Technology, Daimler/ Mitsubishi, Genentech/Roche, Hanfubuki, Hui Ho’olana, Huron Hospital, La Clinica, Milling Hotels, NuEar, Parker Hinneafen, Shahid Ghandi, StarPoint, Sucromiles, Toyota และ Veloso

Consultores ภาคธุรกิจ: บริษัทที่เราท�าการศึกษาในครั้งนี้อยู่ในภาคธุรกิจต่างๆ เช่น ไบโอเทคโนโลยี เคมี การศึกษา การเงิน รัฐบาล สุขภาพ โรงแรม ประกันภัย ไอที การผลิต องค์กรไม่หวังก�าไร ปิโตรเลียม ยา สมาคมวิชาชีพ การวิจัย ค้าปลีก บริการและการขนส่ง ค�าถามหลกัทีใ่ช้: ค�าถามส�าคญัทีใ่ช้ในการสมัภาษณ์คอื องค์กรทีใ่ช้เอ็นเนียแกรมในบริษัทประสบผล ส�าเร็จในด้านใดบ้าง ท�าได้อย่างไร และที่ผ่านมาได้บทเรียนอะไรบ้าง ผลการศกึษา: เราเชื่อว่าผลการศึกษาซึ่งสรุปอยู่ในหน้าถัดไปจะช่วยผู้น�าองค์กร เจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ และที่ปรึกษาต่างๆ ในการสร้างองค์กรที่มีผลิตภาพ ความยั่งยืน และจิตส�านึก

10 @ 2011 The Enneagram in Business Network

1

July 2011

Page 2: Enneagram best practice

คือ ทั้งวิทยากรหรือที่ปรึกษา ผู้บริหาร และองค์กรเองต้องสร้างสภาพแวดล้อมที่จะป้องกันไม่ให้มีการตีตรา หลีกเลี่ยงค�าศัพท์ทางจิตวิทยาหรือค�าที่เข้าใจได้ยาก แต่มุ่งเน้นการพัฒนา การเพิ่มพูน ศักยภาพ และการเปิดใจต่อความแตกต่างด้วยความเคารพ“หลีกเลี่ยงการตีตรา ก้าวพ้นความเป็นเบอร์ไปสู่บุคลิกภาพที่สมดุล”

ปัจจัยส่งเสริมความส�าเร็จตัวที่4 คุณภาพของวิทยากร ที่ปรึกษา เวิร์กช็อบ และเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลง (56%)ปัจจัยเรื่องคุณภาพมีความส�าคัญยิ่งยวด ทั้งเรื่องวิทยากรหรือที่ปรึกษาที่เลือกใช้ กระบวนการสัมมนา และกิจกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลง วิทยากรหรือที่ปรึกษาต้องมีความรอบรู้ทั้งในเรื่องเอ็นเนียแกรม และกระบวนการเปลี่ยนแปลงองค์ก ต้องสามารถน�าการสัมมนาได้อย่างน่าสนใจในแบบ interactive น�าเสนอ เนื้อหาอย่างถูกต้อง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจได้ลึกซึ้ง ไม่ตัดสินกัน กระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วม และวิทยากรยังต้องสามารถตอบค�าถามและข้อสงสัยต่างๆ ได้ เวิร์กช็อบ โปรแกรม และเครื่องมือต้องมีรูปแบบแปลกใหม่ ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวัฒนธรรมและความต้องการขององค์กร และด�าเนินไปในบรรยากาศการเรียนรู้ที่สนุก ตื่นเต้น และรู้สึกปลอดภัย“ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริงของวิทยากรมีความ

ส�าคัญยิ่งที่จะท�าให้เอ็นเนียแกรมมีความน่าเชื่อถือ และสามารถเชื่อม

โยงไปยังความต้องการขององค์กร”

ปัจจัยส่งเสริมความส�าเร็จตัวที่5 การประยุกต์ใช้อย่างรอบด้านภายในองค์กร (54%)องค์กรต้องน�าเอ็นเนียแกรมไปประยุกต์ใช้ในด้านใดก็ตามที่ก�าหนดไว้ ให้ได้นานพอจนเป็นส่วนหนึ่งของการท�างานในแต่ละวัน สิ่งนี้จะช่วยให้มีการฝึกฝนหรือปฏิบัติจริง และเอื้อให้การปรับพฤตกิรรม (transfer of learning) เป็นไปได้ง่ายยิง่ขึน้ นอกจากนี้ ยงัจ�าเป็นทีต้่องส่งเสรมิให้มกีารเรยีนรูอ้ย่างต่อเนือ่งในรปูแบบต่างๆ เช่น โค้ชชิ่งหรือระบบพี่เลี้ยง การจัดเวิร์กช็อบอย่างต่อเนื่อง อีเลิร์นนิ่ง เว็บไซต์ แอพพลิเคชั่นในสมารต์โฟน หนังสือ การพูดคุยกัน ปฏิสัมพันธ์ในทีม และโครงการน�าร่องใหม่ๆ เป็นต้น

“ใช้เอ็นเนียแกรมในรูปแบบผสมผสาน ภายใต้แผนการ

ที่ต่อเนื่อง ยืดหยุ่นและสอดประสานกัน”

ปัจจยัส่งเสรมิความส�าเรจ็ตวัที่6 ความพร้อมขององค์กร (33%)เพื่อให้คนในองค์กรเปิดใจรับเอ็นเนียแกรม ในองค์กรเองต้องมีความไว้เนื้อเชื่อใจกันมากพอ มีการเปิดใจ ความสนใจใคร่รู้ ความเคารพซึ่งกันและกัน และความยินดีที่จะลองสิ่งใหม่ๆ

“หากปราศจากความพร้อม พนักงานจะกลัวว่า

เอ็นเนียแกรมจะถูกใช้เป็นอาวุธท�าร้ายกัน”

บทน�าผู้เชี่ยวชาญทั้ง 39 คนชี้ให้เห็นว่า มี 6 ปัจจัยส�าคัญที่ส่งผลต่อการใช้เอ็นเนียแกรมในการปรับเปลี่ยนองค์กรอย่างได้ผลยั่งยืน ไม่ว่าผู้บริหารบริษัทหรือที่ปรึกษา ไม่ว่าขนาดขององค์กรจะเล็กหรือใหญ่ ไม่ว่าองค์กรนั้นจะอยู่ในประเทศไหน หรือภาคธุรกิจอะไร ค�าตอบที่ได้ล้วนมีความคล้ายคลึงกันอย่างน่าแปลกใจ ปัจจัยส่งเสริมความส�าเร็จตัวที่1 มุ่งเน้นที่ความต้องการที่แท้จริง ทั้งเรื่องงานและชีวิตส่วนตัว (82%)ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้ให้ความเห็นว่า ปัจจัยส�าคัญที่สุดส�าหรับการใช้เอ็นเนียแกรมในการเปลี่ยนแปลงองค์กรคือ การมุ่งเน้นที่ความต้องการที่แท้จริงขององค์กร เช่นเดียวกับความต้องการที่เจาะจงของผู้บริหาร ของทีม และของพนักงาน แม้การใช้เอ็นเนียแกรมในการท�างานมีความหลากหลายมาก เช่น ใช้สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ภาวะผู้น�า การขาย ความผูกพันของพนักงาน การพัฒนาผลงาน อีคิว การบริหารความขัดแย้ง การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม การเพิ่มผลผลิต และการขยายตลาดไปสู่ระดับโลก แต่สิ่งที่ผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้เห็นตรงกันคือ ต้องมีการก�าหนดเป้าหมายที่ส�าคัญต่อองค์กรจริงๆ ไว้อย่างชัดเจน และต้องท�าให้เห็นว่าได้บรรลุเป้าหมายเหล่านั้น นอกจากนี้ ที่ส�าคัญมากพอกันคือ การน�าเอ็นเนียแกรมไปใช้ในชีวิตส่วนตัวให้เป็นประโยชน์ด้วย“มีโจทย์ส�าคัญทั้งในที่ท�างานและที่บ้านที่ยังไม่ได้รับค�าตอบ ถ้าในที่

ท�างาน คือเรื่องความคิดสร้างสรรค์ ความเข้าอกเข้าใจกัน

ความยืดหยุ่น การลดล�าดับชั้นให้น้อยลง และให้องค์กรมีลักษณะ

แบบเครือข่ายมากขึ้น ส่วนที่บ้านก็เป็นเรื่องความเครียดและภาระ

ต่างๆ ที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งความยุ่งยากซับซ้อนในชีวิตที่มีมากขึ้นด้วย

เอ็นเนียแกรมช่วยตอบโจทย์เหล่านี้ได้ทั้งหมด”

ปัจจัยส่งเสริมความส�าเร็จตัวที่2 การสนับสนุนที่เข้มแข็งจาก ผู้บริหาร และความมุ่งมั่นขององค์กร (69%)ผู้บริหารระดับสูงสามารถช่วยในด้านต่างๆ เช่น แสดงออกถึงการยอมรับ ให้อ�านาจ ความช่วยเหลือที่ชัดเจน ทรัพยากรต่างๆ ที่จ�าเป็นต่อการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งให้ถ้อยค�ารับรองซึ่งจะโน้มน้าวคนอื่นให้เห็นประโยชน์ของเอ็นเนียแกรม นอกจากนี้ สิ่งส�าคัญคือ ขอการสนับสนุนและความมุ่งมั่นจากผู้บริหารระดับกลาง ซึ่งจะสร้างแรงกระตุ้นให้ด�าเนินการอย่างได้ผล

“ผู้น�าต้องมีความปรารถนาอย่างมากที่จะพัฒนา

ทั้งส�าหรับตัวเองและผู้อื่น”

ปัจจัยส่งเสริมความส�าเร็จตัวที่3 การค้นหาเบอร์เอ็นเนียแกรม (typing) – การค้นหาตัวเองอย่างถูกต้องและเหมาะสม (66%)วิธีค้นหาเบอร์เอ็นเนียแกรมที่ได้ผลที่สุดคือ การค้นหาด้วยตัวเอง ภายใต้ค�าแนะน�าจากมืออาชีพ เพราะจะได้ความแม่นย�า รู้สึกสนุกสนานและช่วยให้เกิดความเข้าใจได้ดีที่สุด สิ่งที่ส�าคัญพอกัน

แปลโดย: วาจาสิทธิ์ ลอเสรีวานิช

Best practices: ปัจจัยที่มีความสำ คัญอย่างยิ่งยวด 6 อันดับแรกปัจจัยที่ผู้เชี่ยวชาญ 39 คนระบุว่ามีความส�าคัญยิ่งต่อการใช้เอ็นเนียแกรมเพื่อปรับเปลี่ยนองค์กรอย่างได้ผลและยั่งยืน

CRITICAL SUCCESS FACTORS ผูเ้ชีย่วชาญจ�านวน 82% เหน็พ้องต้องกนัว่า การมุง่เน้นทีค่วามต้องการ ที่แท้จริง เป็นปัจจัยที่ส�าคัญต่อความส�าเร็จ ปัจจัยที่เห็นตรงกันอีก 4 ประการได้แก่ การสนับสนุนจากผู้น�าองค์กร การประเมนิบคุลกิ (typing) คณุภาพ และการใช้อย่างรอบด้าน เราได้ค�าตอบ ที่สอดคล้องกันในปัจจัยเหล่านี้จากองค์กรในทุกภาคธุรกิจ ทุกประเทศ ทั้งจากที่ปรึกษาและผู้บริหารองค์กร ส่วนความพร้อมขององค์กร ซึ่งเป็นปัจจัยสุดท้าย แม้จะมีความส�าคัญ แต่ก็ไม่มากเท่าปัจจัย 5 ตัวแรก

2

Page 3: Enneagram best practice

ENNEAGRAM @ WORK

การใช้เอ็นเนียแกรมในบริษัทชั้นนำาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บ่งชี้ว่า มีการน�าเอ็นเนียแกรมไปประยุกต์ใช้ในงานมาก กว่า 25 ด้าน ต่อไปเป็น 10 อันดับแรกที่เป็นที่นิยมมากที่สุดอันดับ 1 การสื่อสาร: การใช้ในด้านการสื่อสารได้แก่ ใช้เพื่อเพิ่มความเข้าใจในสไตล์การสื่อสารที่แตกต่างกันของคน ลดอุปสรรคและความเข้าใจผิดที่เกิดจากความแตกต่างทางบุคลิกภาพ และพัฒนาปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนทั้ง 9 แบบอันดับ 2 ภาวะผู้น�า: ได้แก่ โปรแกรม อบรมภาวะผู้น�าให้กับพนักงานทั้งองค์กร การพฒันาขดีความสามารถผูน้�าในรปูแบบ ชมุชนเรยีนรู ้(learning community) โค้ชชิง่ และจดัอบรมเป็นการเฉพาะกลุม่ ลกัษณะการจัดโปรแกรมอาจเป็นรายเดือน จัดติด กันยาว 1 สัปดาห์ หรือเป็นเวิร์คช๊อบ 1 วันหลายๆ ครั้ง โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น สร้างภาวะผู้น�าโดยใช้จุดแข็งในตัว ให้มากขึ้น ปลูกฝังวัฒนธรรมของการ พัฒนาตนเอง และลดล�าดับชั้นของการ บังคับบัญชา ลดการแข่งขัน เพิ่มการ กระจายอ�านาจอันดับ 3 ทีมงาน: ทีมในที่นี้รวมถึงระดับ ผู ้บริหารสูงสุด ทีมผู้บริหาร และทีมซึ่ง ท�างานร่วมกัน ไม่ว่าจะอยู ่ในที่ท�างาน เดียวกัน หรือท�างานด้วยกันผ่านออนไลน์ หรือผสมผสานกัน วัตถุประสงค์ของการ

ใช้งาน เช่น พัฒนาพฤติกรรมทั้งตัวสมาชิก และทมีงานโดยรวม สร้างทมีทีม่ปีระสทิธภิาพ สูง และเรียนรู้ที่จะบริหารทีมกันเอง ลดปัญหาที่บั่นทอนทีมงาน และการยุบทีมงานไว้ด้วยกัน ระยะเวลาของโปรแกรมมีตั้งแต่หลายวันไปจนถึงมากกว่า 1 ปี อันดับ 4 อีคิว การพัฒนาตนเอง: อาจใช้ชื่อว่า อีคิว การชนะตนเอง และ การพัฒนาตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในตัวเอง และการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น รูปแบบของโปรแกรมคือเวิร์คช๊อบและโค้ชชิ่ง เพื่อให้เกดิความเข้าใจและยอมรบัในตนเอง การบรหิาร ตนเอง เพิ่มความเข้าอกเข้าใจกัน และพัฒนาปฏิสัมพันธ์อันดับ 5 โค้ชชิ่ง: ใช้เอ็นเนียแกรมโค้ชชิ่ง ทั้งแบบพบหน้ากัน และทางโทรศัพท์ โดยมีจุดประสงค์ต่างๆ เช่น ใช้เพื่อพัฒนา คนเก่ง (talent) พัฒนาผลงาน พัฒนาภาวะผู้น�า อีคิว และอื่นๆ บริษัทบางแห่งฝ ึกอบรมผู ้จัดการให ้สามารถใช ้ เอ็นเนียแกรมเพื่อโค้ชชิ่งให้ลูกน้องด้วยอนัดบั 6 ความขดัแย้ง: ใช้เอน็เนยีแกรมใน ธุรกิจครอบครัว บริษัทกฎหมาย บริษัท และองค์กรไม่หวังผลก�าไร เพื่อลดความขดัแย้ง และลดความรูส้กึของความขดัแย้งที่เป็นเรื่องส่วนตัวให้น้อยลง รูปแบบการใช้ได้แก่ ใช้กับคู่กรณีทุกฝ่าย ใช้ในการฝึกอบรม หรือใช้ลดความขัดแย้งภายในทีม เป็นต้นอันดับ 7 ฟีดแบ็ค: ปกติ ใช้ร่วมกับ ด้านอื่น เช่น การสื่อสาร การจัดการความขัดแย้ง ภาวะผู้น�า เป็นต้น หรืออาจใช้อบรมเป็นการเฉพาะให้กับผู้บริหารและพนักงาน

อันดับ 8 การตัดสินใจ: การประยุกต์ใช้ในเรื่องการตัดสินใจช่วยลดอคติที่เกิดจากบุคลิกตามเอ็นเนียแกรมได้ มักรวมอยู่ในหลักสูตรพัฒนาภาวะผู้น�าและทีมงานอนัดบั 9 และ 10 การขายและการเจรจา ต่อรอง: การใช้ทั้ง 2 ด้านนี้ช่วยเพิ่ม ทักษะการขายและการเจรจาต ่อรอง และยังครอบคลุมถึงการปรับแนวทาง ที่ใช ้ให ้ เหมาะกับสไตล์เอ็นเนียแกรม ของอีกฝ่ายด้วย

@ 2011 The Enneagram in Business Network

เรื่องเซอร์ ไพรส์ผลการศึกษายังทำาให้เราพบเรื่องเซอร์ ไพรส์ดังต่อไปนี้

เรื่องที่ 1 ประโยชน์ในวงกว้างบริษัทต่างๆ กล่าวว่าเอ็นเนียแกรมช่วยให้เกิดสิ่งเหล่านี้เพิ่มขึ้น เช่น ความผูกพันของพนกังาน การสือ่สาร ปฏสิมัพนัธ์ในชงิบวก และความร่วมมอืกนัระหว่างบคุคล ภายในทมี และระหว่างหน่วยงาน สิ่งดีๆ เหล่านี้เกิดขึ้นทั้งภายในหน่วยงาน และขยายไปทั่วทั้งองค์กร เมื่อวัดในเชิงปริมาณ ผลการส�ารวจจากทีมงาน หน่วยธุรกิจ และบริษัทต่างๆ พบว่า มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญในตัวชี้วัดหลายชนิด รวมทั้งความพึงพอใจของลูกค้า ในเชงิการเงนิ หน่วยธรุกจิแสดงผลประการทางการเงนิทีเ่พิม่ขึน้ ยอดขายเพิม่ขึน้มากกว่า 10 % บริษัทสามารถรักษาผู้บริหารที่ส�าคัญ บริษัทแห่งหนึ่งบอกว่า “ความไว้เนื้อเชื่อใจ และการสื่อสารที่เพิ่มมากขึ้นนี้ช่วยให้ประหยัดเงินได้ถึง 1 ล้านดอลลาร์ จากการลด ข้อผิดพลาด

“ข้อมูลนี้แสดงให้เห็นว่า ทุกบริษัทไม่ได้ใช้เอ็นเนียแกรมเพียงด้านเดียว องค์กรส่วนใหญ่ใช้งานอย่างน้อย 4 – 5 ด้าน บางองค์กร ใช้มากถึง 13 ด้าน”

Application

Area

Companies

using this

application

1. Communication 49/72

2. Leadership 44/72

3. Teams 41/72

4. EQ 36/72

5. Coaching 35/72

6. Conflict 33/72

7. Feedback 31/72

8. Decision Making 18/72

9. Sales 13/72

10. Negotiations 12/72

“เครื่องมือชนิดอื่นถึงจะมีประโยชน์ แต่ไม่ได้ช่วยในด้านการเอาชนะตนเอง เครื่องมือเหล่านัน้ใช้ประเมนิตวัคณุได้ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าจะพัฒนาหรือท�าตัวให้สมดุลมากขึ้นอย่างไร”

“เอ็นเนียแกรมเปิดโลกทัศน์ของเราให้กว้างขึ้น เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราเปลี่ยนชีวิตตัวเอง”

Page 4: Enneagram best practice

15

ต้องการที่จะพัฒนา) การประยุกต์ใช้ที่หลากหลายและลงลึก การติดตามผลและ การสนับสนุนที่ตามมา ขอบเขตของการประยุกต์ใช้ก็มีส่วน หากมีขนาดใหญ่และหลากหลายก็ต้องใช้เวลามากขึ้น แต่ถ้าใช้ในระดับทีมงานและพนักงานก็จะใช้เวลาน้อยกว่าแนวโน้มที ่3 เอน็เนยีแกรมในวนัข้างหน้า จะมีองค์กรจ�านวนมากขึ้นหันมา ใช้เอ็นเนียแกรม จากการขยายผลทั้ง

แนวโน้มที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต

จากข้อมูลที่รวบรวมมา เราคาดว่าจะเห็นแนวโน้มในอนาคตดังต่อไปนี้แนวโน้มที่ 1 ขั้นของนวัตกรรม (Stage of Innovation) การวิจัยของเราแสดงให้เห็นว่า การใช้เอ็นเนียแกรมในองค์กรยังอยู ่ในขั้นของผู้ริเริ่ม (early adopter stage ดูกราฟ) แต่บริษัทต่างๆ ทีใช้เอ็นเนียแกรมในขณะนี้มีความหลากหลายมาก ผู้ใช้มีทั้ง innovators ไปจนถึง laggards สิ่งนี้ชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนว่า แม้บริษัทของคุณ จะไม่ได้เป็น innovator ตามนิยาม แต่ก็ สามารถเป็นได้ ส่วนจะท�าอย่างไรดไูด้จากบริษัท 72 แห่งที่เราศึกษา เอ็นเนียแกรมได้เข้าสู่องค์กรเหล่านี้ด้วยการสนับสนุนจากบุคคลที่เป็นที่เคารพนับถือ เช่น ผู้น�า ผูบ้รหิารฝ่าย HR โค้ช หรอืทีป่รกึษา บคุคลเหล่านี้ “เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ เห็นภาพและเข้าใจว่าเอ็นเนียแกรมจะช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดผลลัพธ์ที่ส�าคัญยิ่งต่อความส�าเร็จขององค์กรได้อย่างไร” แนวโน้มที่ 2 ระยะเห็นผล ค�าตอบคือ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลาย อย่าง ปัจจัยที่จะช่วยให้เห็นผลอย่าง รวดเร็วได้แก่ ทรัพยากรที่จัดสรรไว้ (เช่น เวลา เงิน การสนับสนุนจากผู้น�า) ความ เชี่ยวชาญของวิทยากรหรือที่ปรึกษา ความเกี่ยวข้องกับความจ�าเป็นของงาน หรือองค์กร ความพร้อมขององค์กร (ความ

2011 Enneagram Benchmark Report

แปลโดย วาจาสิทธิ์ ลอเสรีวานิชSenior Member - The Enneagram in Business Network

ENNEAGRAM @ WORK

ภายในองค์กรและในระดับสากล จากผู้ใช้ ประเภทผู้ริเริ่ม (early adopter) ไปสู่ผู้ใช้กลุ่มใหญ่ระยะแรก (early majority) คาดว่าเอ็นเนียแกรมจะเป็นที่ยอมรับ เชื่อถือ และมีการใช้อย่างเด่นชัดยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการวิจัย กรณีศึกษา หลักฐานต่างๆ ของการใช้ที่ประสบความส�าเร็จ และการ น�าไปสอนในสถาบันการศึกษา รวมทั้งในคณะบริหารธุรกิจ เป็นต้น

ผลลัพธ์ : “เกิดผลลัพธ์ที่เห็นชัดภายใน 6 เดือน แต่ผลลัพธ์ที่ยั่งยืนจะต้องใช้เวลานานกว่า 1 ปี ซึ่งคล้ายกบัการไปออกก�าลังในยมิ ตอนแรกคณุจะรู้สกึเหนือ่ยแต่กด็ขีึ้น หลังจากนัน้สักพกั คุณจะรูส้กึดขีึน้มาก แล้วกจ็ะคดิว่า ไม่ต้องไปอกีแล้ว อย่างไรกต็าม คณุจ�าเป็นต้องใช้เอน็เนยีแกรม อยู่เสมอเพื่อให้ได้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ยิ่งคุณใช้นานเท่าไหร่ ก็จะได้ประโยชน์มากเท่านั้น จนกลายเป็นธรรมชาติของตัวคุณและขององค์กร

Innovators คือองค์กรที่มองไปข้างหน้า กล้าเสี่ยงที่จะริเริ่มใช้แนวทางหรือเครื่องมือใหม่ๆ โดยไม่ต้องเห็นใครใช้เป็นตัวอย่างก่อน Early adopter จะถามว่ามีใครใช้อยู่ ถ้าเห็นมีบริษัทอื่นที่ตนเชื่อถือใช้ ก็จะกล้าเสี่ยงที่จะใช้ตาม Early adopters จะรวมถึงองค์การที่ไม่อยากถูกทิ้งให้อยู่ข้างหลัง Late majority คือองค์กรที่จะท�าหรือใช้อะไรก็ต่อเมื่อสิ่งนั้นได้รับการพิสูจน์แล้ว ส่วน Laggards คือองค์กรที่อาจจะไม่ได้ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ เลย องค์กรที่ต้องการใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ในการเพิ่มส่วนแบ่งตลาด จ�าเป็นต้องอยู่ในกลุ่ม 50% แรกของ adopters (หรือต้องเป็น Early majority) โมเดลนี้มีชื่อว่า Diffusion of Innovations คิดค้นโดย Everett M. Rogers ในปี 1662

ในระดับตัวบุคคล มีผลการประเมิน 360º ที่ดีขึ้น และยังมีตัวอย่างจ�านวนมากที่ผู้บริหารใช้เอ็นเนียแกรมในการพัฒนาตนเองจนได้รบัเลือ่นต�าแหน่งให้สงูขึน้ 2 ถงึ 3 ระดบัภายในระยะเวลาสั้นๆเรื่องที่ 2 ผลทวีคูณ (Magnifier Effect) ผู้ให้สัมภาษณ์หลายคนอธิบายถึงการแพร่หลายของเอ็นเนียแกรมในองค์กร ผู้บริหารคนหนึ่งใช้ค�าว่า “ผลทวีคูณ” โดยเล่าว่า “ผลกระทบเชิงบวกและการแพร่หลายของเอ็นเนียแกรม ได้รับการขยายผลมากยิ่งขึ้น นับว่าการใช้เอ็นเนียแกรมในองค์กรเป็นไปโดยไม่มีขอบเขตจ�ากัดจริงๆ”

เรื่องที่ 3 ความกระตือรือร้นอย่างมาก (High Enthusiasm) ผู ้ให้การสัมภาษณ์กล่าวว่า เมื่อพนักงานได้เรียนรู ้ เอ็นเนียแกรมแล้ว ก็อยากจะรู้มากยิ่งขึ้น พวกเขาน�าเรื่องนี้ไปเล่าให้เพื่อนฟัง เอาไปใช้ที่บ้าน บางคนน�าไปใช้ในที่ท�างานใหม่ “ในงานสังสรรค์ของบริษัท คู่สามีหรือภรรยาที่มาร่วมงานด้วยพูดคุยกันว่า เอ็นเนียแกรมช่วยครอบครัวของพวกเขาได้อย่างไร การพูดคุยท�านองนี้ไม่เคยเกิดขึ้นเกี่ยวกับคอร์สอบรมทางการเงินเลย”

InnovationInnovators (2.5%)

Early Adopters (13.5%)

Early Majority (34%)

Late Majority (34%)

Laggards (16%)