กลุม 5 Young Blood Knight - SMI · 2016. 11. 29. · ปรับ SME ให้เป็น...

Preview:

Citation preview

1

กลุ่ม 5 Young Blood Knight

2

สมาชิกกลุ่ม

1. นางสาว กีรติกาญจน์ พุฒิหิรัญญาวัศ 2. นาย ณัฐฎ์เอก โชติปรีชารัตน์ 3. นางสาว สุดาจิตร มหากายนันท ์4. นางสาว ณัฏนรา จุลเวช 5. นาย รัฐวิชญ์ ลิ้มพรชัยเจริญ 6. นางสาว อรพรรณ ลิ่มบุตร 7. นาย อัศวิน เจียรนิลกุลชัย

8. นางสาว กนกวรรณ พรหมณเรศ 9. นาย วีรพล ยิ้มสินสมบูรณ์ 10. นาย พิเชษฐ เกลี้ยงมะ 11. นางสาว อรศิริ อุ่นจิตติกุล 12. นาย สืบสวัสดิ์ โตศะศุข 13. นาย ดินทร์บดี เลาติเจริญ 14. นาย เศรษวุฒิ ธรรมวรานนท์

15. นาย วรพินิต อิงคโรจน์ฤทธิ์ 16. นางสาว อัจฉริยา มีธรรม

สรุปสิ่งที่ได้จากการอบรมหลักสูตร

3

หมวดหัวข้อ สรุปสิ่งที่ได้รับจากหลักสูตร ประเด็นที่สามารถน าไปต่อยอดปรับใช้ใน

การพัฒนาธุรกิจต่อไป

หมวดที่ 1 [Thailand 4.0] นโยบาย

การส่งเสริม SME สู่ Thailand 4.0

ของภาครัฐ

เพิ่มมูลค่าด้วยการท าน้อยได้มาก

ปรับ SME ให้เป็น smart enterprise (cost down,value up,collaborative)

เปิดมุมมองตลาดและมาตรฐานระดบัโลก

ท าให้เกิดความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องในเรื่อง Thailand 4.0

ท าให้รับทราบความพยายามของภาครัฐที่ต้องการขับเคลื่อนให้ประเทศไทยพ้นกับดักทางเศรษฐกิจ

ท าให้รับทราบความคิดและการสนับสนุน SME ไทยว่าจะมีส่วนสนับสนุนการไปสู่ 4.0 ได้อย่างไร

เข้าใจ Cluster อุตสาหกรรมที่รัฐบาลให้ความส าคัญ เพื่อน ามาสร้างกลยทธ์ในการวางแผนธุรกจิที่สอดคล้องทั้งระยะสั้นและระยะยาว

เข้าถึงแหล่งสนับสนุนของภาครัฐและเอกชนในการขับเคลื่อน SME 4.0

สรุปสิ่งที่ได้จากการอบรมหลักสูตร

4

หมวดหัวข้อ สรุปสิ่งที่ได้รับจากหลักสูตร ประเด็นที่สามารถน าไปต่อยอดปรับใช้ใน

การพัฒนาธุรกิจต่อไป

หมวดที่ 2 [Smart SME] การเป็นผู้น า

องค์กรสู่ความส าเร็จอย่างเป็นเลิศ

ผู้บริหารยุคใหม่ต้องมี Mind Set 4 ข้อ Indentify ปัญหาได้ Analytical ตัดสินใจ Collaborative บริหารความสัมพันธ์ Action กล้าเปลี่ยนแปลง

Coaching ต้องฟังอย่างตั้งใจ ตั้งค าถามปลายเปิด อ่านภาษากาย

การเป็นผู้น าด้วยการโค้ช

การมี Mindset ที่ถูกต้องในการน าธุรกิจในปัจจุบัน

การน าหลักการทางจิตวิทยามาใช้ในการบรหิารงาน

ค้นคว้าเพิ่มเติมในส่วนท่ีสามารถน ามาปรับใช้ได้เลยเช่นเรื่องการมีหลักจิตวิทยาในการปกครอง

เข้าฝึกฝนกระบวนการ Coaching ตามหลักวิชาการที่ถูกต้องและน ามาใช้จริงเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร

5

หมวดหัวข้อ สรุปสิ่งที่ได้รับจากหลักสูตร ประเด็นที่สามารถน าไปต่อยอดปรับใช้ใน

การพัฒนาธุรกิจต่อไป

หมวดที่ 3 [Innovation Driven

Entrepreneur : IDE] การน า

เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับองค์กร

มอง trend สร้างสินค้าใหม่/พัฒนาตัวสินค้าท่ีม ี

ใช้สื่อ online ในการสร้างตลาด ดีท าต่อไม่ดีเลิก

ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิต

เห็นภาพของนวัตกรรมในระดับ Global

แนวความคิดในการท านวัตกรรมต้องดู Trend และโอกาส

ตัวอย่างการใช้นวัตกรรมน าธุรกิจในด้านสินคา้ การตลาด และบริการ

หลักความคิดในการเป็นองค์กรที่ยั่งยืน

ท า SWOT Analysis บ่อยขึ้นเพื่อมองภาพให้ออก ใน Timeframe ที่เหมาะสม

คิดในมุมมองลูกค้า หาวิธีน าความต้องการลูกค้าท่ีแท้จริงมาเป็นข้อมูลในการพัฒนาสินค้าและบริการเพื่อตอบโจทย์สรา้งนวัตกรรม

น าหลักการที่ดีจากตวัอย่างจริงมาปรับใช้

สรุปสิ่งที่ได้จากการอบรมหลักสูตร

6

หมวดหัวข้อ สรุปสิ่งที่ได้รับจากหลักสูตร ประเด็นที่สามารถน าไปต่อยอดปรับใช้ใน

การพัฒนาธุรกิจต่อไป

หมวดที่ 4 [Industry 4.0] การปรับ

องค์กรเข้าสู่ยุค Industry 4.0

ใช้ Lean ในการจัดการเพื่อลดต้นทุน คุณภาพสูง และใช้เวลาในการผลิตสั้น

เชื่อมโยงข้อมูลทั้งระบบเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ

มุมมองจากภาคอุตสาหกรรม 4.0

หลักการ LEAN ที่มีการใช้จริง โดยการท า Crossing จากอุตสาหกรรมหนึ่งไปสู่อุตสาหกรรมหนึ่งได้

รับทราบแนวความคิด คนไทย บริษัทไทย ที่มีความสามารถสร้างองค์กรเหนือช้ัน เหนือกาลเวลา

สร้างก าลังใจให้กับตัวเอง หาหนทางเป็นเลิศ

เข้าไปศึกษาเรื่อง Supply Chain มากข้ึนเพ่ือท าความเข้าใจในความสัมพันธ์ของทุกองค์ประกอบธุรกิจ แล้วปรับแก้จุดอ่อน

สรุปสิ่งที่ได้จากการอบรมหลักสูตร

7

หมวดหัวข้อ สรุปสิ่งที่ได้รับจากหลักสูตร ประเด็นที่สามารถน าไปต่อยอดปรับใช้ใน

การพัฒนาธุรกิจต่อไป

หมวดที่ 5 [Spring Up] การบริหาร

องค์กรให้มีประสิทธิภาพ

หลักการการเป็นผู้น าที่ดี หลักการสื่อสารในองค์กร การสร้างแรงจูงใจในการท างาน

หลักการ 5 จ (จริงใจ ขอบใจ ตั้งใจ มั่นใจ เปิดใจ)

ผู้น า 5 ประเภท (ฉลาม เต่า จิ้งจอง นกฮูก ตุ๊กตาหมี)

หมวดที่ 6 [Connect to the world]

เรียนรู้เทคนิคการตลาดและเชื่อมโยง

การค้าโลก

การ apply มาตรฐานสากลต่างๆ ที่จ าเป็นต่อธุรกิจ

พัฒนาองค์กรเพื่อปรับเข้าสู่มาตรฐานของประเทศคู่ค้า

สรุปสิ่งที่ได้จากการอบรมหลักสูตร

8

หมวดหัวข้อ สรุปสิ่งที่ได้รับจากหลักสูตร ประเด็นที่สามารถน าไปต่อยอดปรับใช้ใน

การพัฒนาธุรกิจต่อไป

หมวดที่ 7 [Ease of Doing

Business] กฎหมาย/กฎระเบียบ ที่เอื้อ

ต่อการด าเนินธุรกิจ

ได้รับทราบข้อปฏิบัติและกฎเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดตั้งบริษัทตามกฎหมายใหม่ที่เอื้อต่อ SME มากขึ้น

การขอจดทะเบียนต่างๆ รวดเร็วมากข้ึน และสะดวกขึ้นจากการใช้ช่องทางอินเตอร์เน็ต

หมวดที่ 8 [SME Think Big] MAI

ค าตอบสู่การเติบโต

ได้รับทราบหลักเกณฑ์การน าบรษิัทเข้าตลาด SET และ MAI รวมทั้งโครงสร้างของตลาด

ได้รับฟังประสบการณข์องผู้บรหิารที่ประสบความส าเร็จจากการน าบริษัทเข้าสู่ตลาด MAI

ได้ทราบแนวทางและข้อควรทราบในการเตรียมน าบรษิัทเข้าตลาด เช่น การตรวจสอบด้านบัญชี

สรุปสิ่งที่ได้จากการอบรมหลักสูตร

9

ปัญหาอุปสรรค ที่พบในการด าเนินธุรกิจในปัจจุบัน

10

ปัญหาจากภายนอก คู่แข่งเยอะ

ปัญหาด้านการกีดกันทางการค้า

ภาษีน าเข้าสูงเกินไป

ปัญหาด้านสินค้าน าเข้าท่ีหลีกเลี่ยงภาษี

ปัญหาด้านราคาตลาด

ปัญหาด้านมาตรฐานสากลท่ีลูกค้าต้องการซึ่งแตกต่างกันออกไปตามแต่ละประเทศ

ปัญหาด้านการเมืองซึ่งส่งผลต่อความมั่นใจในการลงทุน

เทคโนโลยี/นวัตกรรมของประเทศอื่นน าหน้าเราไปไกลแล้ว

ภัยธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง น้ าท่วม แผ่นดินไหว

ปัญหาอุปสรรค ที่พบในการด าเนินธุรกิจในปัจจุบัน

11

ปัญหาภายในองค์กร 1. การบริหารจัดการ ปัญหาความขัดแย้งทางความคิดของคนต่างรุ่น ขาดที่ปรึกษาด้านการบรหิารและสร้างธุรกิจให้ยั่งยืน วิสัยทัศน์ยังไม่กว้างพอ ขาดการรวมกลุ่มการค้า

2. การตลาดและการขาย แข่งขันทางการตลาดได้ยากเนื่องจากต้นทุนสูง ขาดการวางแผนงบการตลาด ขาดการวางแผนการขาย

3. ประสิทธิภาพการผลิต มีอัตราของเสียจากการผลิตสูงมาก ขาดอ านาจต่อรองกับซัพพลายเออร์ท าให้การวางแผนผลติเป็นไปได้ยาก ขาดการวางแผนการผลิตที่สอดคล้องกับความตอ้งการของตลาด

4. การบริหารการเงินและต้นทุน SME กู้เงินยาก เงินทุนหมุนเวียนต่ า อ านาจการต่อรองต่ า ต้นทุนทางการเงินสูง ขาดที่ปรึกษา/ความรูท้างด้านวางแผนการเงิน

ปัญหาอุปสรรค ที่พบในการด าเนินธุรกิจในปัจจุบัน

12

ปัญหาภายในองค์กร 5. บุคลากร อัตราการย้ายงานสูง ประสิทธิภาพการท างานต่ ากว่าอัตราค่าจ้าง ขาดแคลนแรงงานท่ีมีทักษะ และ แรงงานท่ัวไป ทัศนคติต่องานท่ีรับผิดชอบไม่ดี ไม่มีความพยายามในการก้าวหน้า หรือพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

6. เทคโนโลยีและนวัตกรรม ขาดการวิจัยอย่างเป็นระบบ ขาดงบประมาณในการซื้ออุปกรณส์ าหรบังานวิจัย บางครั้งกล้าคิดแต่ไม่กลา้เปลี่ยนแปลง กลัวความผิดพลาด เนื่องจากข้อมูลทางการตลาดไม่เพียงพอ ไม่มีเวลาท าวิจัย ขาดทีมงาน

7. สังคมและสิ่งแวดล้อม ขาดการก าจัดของเสียอย่างถูกต้องและปลอดภัย ให้ความส าคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมค่อนข้างน้อย

ปัญหาอุปสรรค ที่พบในการด าเนินธุรกิจในปัจจุบัน

13

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

14

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านผลิตภาพ (Productivity) เรื่อง ผลิตภาพทางด้านแรงงาน

ที่มาของนโยบาย ปัญหาและขอบเขตของปัญหาดังนี้ ขาดแคลนแรงงานฝีมือในตลาด วิเคราะห์ผลกระทบจากปัญหาดังนี ้ - ใช้เวลามากในการฝึกฝนแรงงาน - ของเสียมากเนื่องจากขาดความเชี่ยวชาญในการผลิต - ใช้เวลาในการผลิตมาก - อัตราการย้ายงานสูง

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

15

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านผลิตภาพ (Productivity) เรื่อง ผลิตภาพทางด้านแรงงาน

ข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางของนโยบาย (Policy means) 1. ตั้งศูนย์อบรมเฉพาะด้านส าหรับอุตสาหกรรมเก่ียวเนื่องกับ Industry 4.0 2. จัดตั้งมาตรฐานทางวิชาชีพ ให้มีการสอบวัดระดับความสามารถ เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการปรับค่าแรงตามระดับความสามารถของแรงงาน 3. สนับสนุนโครงการพัฒนากระบวนการผลิตโดยใช้นวัตกรรมเพ่ือลดการพึ่งพิงทักษะแรงงาน และความสามารถในการแข่งขันโดยร่วมมือกับสถาบันการศึกษา 4. ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนสายในอาชีพให้สามารถเข้าระบบการผลิตได้ทันทีหลังเรียนจบยกระดับ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

16

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านผลิตภาพ (Productivity) เรื่อง การใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า

ที่มาของนโยบาย ปัญหาและขอบเขตของปัญหาดังนี้ ผู้ประกอบการหลายรายใช้วัตถุดิบอย่างไม่เต็มมูลค่าหรือใช้งานไม่เกิดประสิทธิภาพสูงสุด วิเคราะห์ผลกระทบจากปัญหาดังนี ้ เกิดภาระการก าจัดของเสีย เกิดของเสียด้อยค่า ส่งผลให้ต้นทุนสินค้าสูง แข่งขันในตลาดโลกได้ล าบากโดยเฉพาะเมื่อต้องแข่งขันกับจีน

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

17

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านผลิตภาพ (Productivity) เรื่อง การใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า

ข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางของนโยบาย (Policy means) 1. ส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพเบื้องต้นของอุตสาหกรรมแต่ละสาขาแก่ผู้ประกอบการรายย่อย 2. หน่วยงานภาครัฐจัดท าวิจัยพัฒนาวัสดุศาสตร์เพ่ือให้มีคุณสมบัติที่ดีข้ึนในต้นทุนที่ถูกลง 3. ลดอัตราภาษีนิติบุคคลเพื่อให้สิทธิพิเศษแก่ผู้ประกอบการรายย่อยท่ีปริมาณการใช้วัตถุดิบลดลง, ใช้ วัตถุดิบรีไซเคิล หรือใช้วัตถุดิบภายในประเทศเป็นหลัก โดยลดเป็นขั้นบันได

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

18

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านผลิตภาพ (Productivity) เรื่อง การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

ที่มาของนโยบาย ปัญหาและขอบเขตของปัญหาดังนี้ สินค้ามีการพัฒนาน้อยท าให้มูลค่าเพ่ิมต่ า วิเคราะห์ผลกระทบจากปัญหาดังนี ้ - มูลค่าเพิ่มต่ า - ลอกเลียนแบบได้ง่ายท าให้มีการแข่งขันรุนแรง

ข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางของนโยบาย (Policy means) 1. สนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มากขึ้น เช่น การให้ทุนวิจัย, กระจายศูนย์พัฒนาสินค้าให้ครอบคลุมทุกจังหวัด 2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างเข้มข้นโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางให้กับผู้ประกอบการรายย่อยที่มีศักยภาพให้เกิดนวัตกรรม 3. ปรับปรุงกระบวนการการจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญให้เร็วขึ้นและทันต่อความต้องการของผู้ประกอบการ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

19

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านนวัตกรรม (Innovation) เรื่อง สนับสนุนให้ SME สร้างนวัตกรรมหรือน านวัตกรรมมาใช้ตั้งแต่จุดเริ่มต้น

ที่มาของนโยบาย ปัญหาและขอบเขตของปัญหาดังนี้ ปัจจุบันมีแต่การสนับสนุนทุนเพียงส่วนหนึ่งเช่น คูปองนวัตกรรม ITAP แต่เป็นการสนับสนุนให้บริษัทที่มีนวัตกรรมแล้ว ซึ่งส่วนใหญ่บริษัทที่ได้ใช้ประโยชน์ตรงนี้ส่วนใหญ่ก็เป็นบริษัทขนาดใหญ่ท่ีมีทุนมากอยู่แล้วท าเองก็ได้ เช่น PTT SCG Thai Summit วิเคราะห์ผลกระทบจากปัญหาดังนี ้ ส่วนใหญ่ที่ต้องการความช่วยเหลือจริงจะเข้าไม่ถึงทุนส่วนนี้และบางครั้งก็ไม่มีความสามารถและต้นทุนในการคิดค้นพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ออกมาได้

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

20

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านนวัตกรรม (Innovation) เรื่อง สนับสนุนให้ SME สร้างนวัตกรรมหรือน านวัตกรรมมาใช้ตั้งแต่จุดเริ่มต้น

ข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางของนโยบาย (Policy means) 1. มีโครงการสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมให้แก่ SME โดยให้มีผู้เชี่ยวชาญเข้าไปวิเคราะห์ตัวธุรกิจและหาหรือสร้างนวัตกรรมที่เหมาะสม โดยประสานกับมหาลัยและนักวิจัย โดยสามารถน างบกระทรวงอุตสาหกรรมที่ปกติมีแต่เรื่องผลิตภาพและการตลาดมาใช้ตรงนี้แทนได้ เป็นการสนับสนุน SME เล็กๆ ให้ Spring Up ได้ตั้งแต่จุดเริ่มต้น 2. สนับสนุนงบการวิจัยและพัฒนาสินค้าของผู้ประกอบการ ตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ รวมถึงการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 3. การน าเข้าวัตถุดิบ/ชิ้นส่วน/อุปกรณ์ต่างๆ ที่น ามาสร้างหรือต่อยอดทางนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศ สามารถขอคืนภาษีน าเข้าได้เม่ือนวัตกรรมนั้นได้รับการรับรองจากหน่วยงานภาครัฐแล้ว เช่น กรณีน าชิ้นส่วนเข้าเพ่ือน ามาประกอบหุ่นยนต์อัจฉริยะ 4. มีการจัดตั้งหน่วยงานรับรองผลงานด้านนวัตกรรมอย่างเป็นรูปธรรม

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

21

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านมาตรฐานอุตสาหกรรม (Industry Standard) เรื่อง มาตรฐานกับ Thailand 4.0

ที่มาของนโยบาย ปัญหาและขอบเขตของปัญหาดังนี้

• ไม่มีมาตรฐานรองรับ เช่น สินค้านวัตกรรม (หุ่นยนต์ดูแลผู้ป่วยดินสอ) • ผู้บริโภคเน้นราคามากกว่าคุณภาพ • เพ่ิมต้นทุนให้กับสินค้า

วิเคราะห์ผลกระทบจากปัญหาดังนี ้

• ไม่สามารถผลิตขายได้ ขาดความน่าเชื่อถือในเรื่องคุณภาพสินค้า • ขายสู้สินค้าราคาถูกจากต่างประเทศไม่ได้ • ต้องปรับกระบวนการผลิตเพ่ือให้สินค้ามีคุณภาพตามมาตรฐาน

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

22

ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านมาตรฐานอุตสาหกรรม (Industry Standard) เรื่อง มาตรฐานกับ Thailand 4.0

ข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางของนโยบาย (Policy means) 1. ในส่วนของนวัตกรรมควรมี One Stop Service เพ่ือให้ค าแนะน า/ปรึกษาในเรื่องมาตรฐานของแต่ละหน่วยงาน เช่น มอก. อย. GMP 2. ลดขั้นตอน ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการยื่นขอมาตรฐาน เช่น การขอเครื่องหมายการค้า การขอเลขจดแจ้ง อย. 3. สร้างความตระหนักโดยเน้นเยาวชนคนรุ่นใหม่ให้ใช้ของคุณภาพแทนการเลือกซ้ือจากราคา 4. น าผลงานวิจัย/นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์กับกระบวนการผลิตเพื่อลดต้นทุน

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

23

ข้อเสนอเชิงนโยบายผู้น าการเปลี่ยนแปลง (Transformation Leadership) เรื่อง ผู้น าการเปลี่ยนแปลงไปสู่ Thailand 4.0

ที่มาของนโยบาย ปัญหาและขอบเขตของปัญหาดังนี้

• วิสัยทัศน์ของผู้บริหารในการพัฒนาองค์กรเพื่อแข่งขันกับตลาดโลก • ขาดความรู้ ความเข้าใจในโลกที่มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างไปอย่างรวดเร็ว • ขาดเงินทุนในการจัดการเปลี่ยนแปลงระบบและพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิต

วิเคราะห์ผลกระทบจากปัญหาดังนี ้

• องค์กรไม่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับโลกในยุคปัจจุบันได้ • ไม่สามารถการพัฒนาระบบต่างๆ ภายในองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อเสนอเชิงนโยบาย แนวทางของนโยบาย (Policy means) 1. การจัดสัมมนาและอบรมให้กับผู้ประกอบการ 2. จัดหาและช่วยเหลือทางด้านแหล่งเงินทุน

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส าหรับเสนอภาครัฐ

24

กิจกรรมที่สมาชิกกลุ่มจะร่วมกันท า หลังจบโครงการ

โครงการ Site Visit สมาชิกในกลุ่ม เพื่อศึกษารูปแบบการท าธุรกิจ ช่วยกันวิเคราะห์ และแนะน า

เพื่อพัฒนาธุรกิจร่วมกัน

25

THANK YOU

Recommended