นครปฐม โมเดลต้นแบบจังหวัด ... · 2018-07-06 ·...

Preview:

Citation preview

นครปฐม: โมเดลตน้แบบจงัหวดัเกษตรและอาหารปลอดภยัในโรงพยาบาล และการสง่เสรมิสุขภาพดสี าหรบัประชาชน

นครปฐม – โมเดลต้นแบบจังหวัดเกษตรและอาหารปลอดภัยใน

โรงพยาบาลและการส่งเสริมสุขภาพดีส าหรับประชาชน

Food Innopolis รองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยตามแนวทาง THAILAND 4.0 และการพัฒนาพื้นที่จังหวัด

นครปฐมอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชด าริเศรษฐกิจพอเพียง

3

วิสัยทัศน์จังหวัดนครปฐม "เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตร อุตสาหกรรมที่ปลอดภัยได้มาตรฐานสากล

การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี"

“From Farms to Hospitals and Markets”

ภาพกิจกรรมการศึกษาดูงานและประชุมหารือการด าเนินโครงการร่วมกัน ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 17 มกราคม 2560

ภาพกิจกรรมการศึกษาดูงานและประชุมหารือการด าเนินโครงการร่วมกัน ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 17 มกราคม 2560

ภาพกิจกรรมการศึกษาดูงานและประชุมหารือการด าเนินโครงการร่วมกัน ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ 17 มกราคม 2560

นายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม

นพ.เสรี ตู้จินดา ประธานท่ีปรึกษา รมว.สธ.

นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย รอง ปลัด สธ.

10

สธ.จับมือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาการผลิตผักผลไม้ ประกาศปี 60 เป็น “ปีแห่งการบริโภคผักผลไม้ปลอดภัย” และมุ่งขับเคลื่อนให้นครปฐมเป็นโมเดลน าร่องเมืองอาหารปลอดภัยสู่โรงพยาบาลและประชาชน

23 มกราคม 2560

11

การประชุมปรึกษาหารือเพื่อวางแผนแนวทางปฏิบัติเพ่ือการขับเคลื่อนโครงการฯ วันที่ 27 มกราคม 2560 ณ คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล วิทยาเขตศาลายา - ส านักงานเกษตรจังหวัด นฐ. - ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร นฐ. - เกษตรและสหกรณ์จังหวัด นฐ. - เกษตรอ าเภอพุทธมณฑล - สสจ. นฐ. - รพ.นครปฐม - รพ.สามพราน - รพ.พุทธมณฑล - รพ.หลวงพ่อเป่ิน - คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล

12

แนวคิดโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย

ส่วนการบริโภค ส่วนการตรวจสอบ สารเคมีเกษตรตกค้าง ส่วนการผลิต

โรงพยาบาลในสังกัด สธ

จัดท าเมนูอาหารผู้ป่วยล่วงหน้า ๒ เดือน

จัดซื้อ และส่งมอบ ผักผลไม้ปลอดภัย

โรงครัวโรงพยาบาล

อาหารปลอดภัยส าหรับผู้ป่วย

ส ารวจพื้นท่ีเกษตรปลอดภัย

เป้าหมาย แหล่งผลิต ผักผลไม้ปลอดภัย

เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ประชารัฐ

แปลงสาธิตเกษตรในโรงพยาบาล

ตลาดเกษตรปลอดภัย

จุดขายผักผลไม้ปลอดภัย

ในโรงพยาบาล

มหาวิทยาลัยมหิดล (LAB)

สาธารณสุข

เกษตร

ชุดทดสอบเบื้องต้น

LAB กรมวิทย์

ส่วนผลิต

แหล่งผลิตผักผลไม้ปลอดภัยไม่เพียงพอ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของโรงพยาบาล

หน่วยงานอ่ืนๆ ที่ให้ความสนใจ สถานพินิจฯ เทศบาลสามง่าม โรงพยาบาล ปลูกใช้เอง

การเพิ่มแหล่งวัตถุดิบเข้าสู่โรงพยาบาล

การบริโภคโครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย

ปริมาณการใช้ผักผลไม้ปลอดภัย

ผักผลไม้ปลอดภัย

ผักผลไม้ทั่วไป ปริมาณ ๓๐,๕๗๖ กก.

ร้อยละ ๘๘

ปริมาณ ๔,๓๒๐ กก. ร้อยละ ๑๒

มูลค่าการซื้อผักผลไม้รวม ๑,๑๓๗,๙๐๕ บาท (๖ เดือน)

ยาฆ่าแมลงในผักผลไม้ ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (4กลุ่ม: GT-test และ GPO-TM2Kit) ความถี่: โรงครัว ๒๐ ตัวอย่าง/เดือน บู๊ธขายผัก ๑๐ ตัวอย่าง/เดือน ตรวจวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการ (full lab) คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล จ านวน ๙๐ ตัวอย่าง/ปี

ระบบการตรวจสอบเฝ้าระวัง

ผลการตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น

99% 621 ตวัอยา่ง

1% 5 ตัวอยา่ง

ปลอดภัย พบอันตราย โรงครัว

โรงพยาบาล

99% 116 ตวัอยา่ง

1% 1 ตัวอยา่ง

บู๊ธขายผัก

หมายเหต:ุ ผลการตรวจดว้ยชดุทดสอบเบือ้งตน้ ขอ้มลูปีงบประมาณ 2561 ณ เดอืนมนีาคม 2561

ปัญหาและการด าเนินการแก้ไข

การสุ่มตัวอย่างพบยาฆ่าแมลงตกค้างด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ไม่ครอบคลุมยาฆ่าแมลงที่เกษตรกรใช้ทุกชนิด ส่งตรวจวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการ FULL LAB คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตรวจยาฆ่าแมลง จ านวน ๑๐๙ ชนิด

สุ่มตรวจจ านวน 114 ตัวอย่าง ตรวจผลไม้

3 ชนิด

ตรวจผัก 6 ชนิด

เปรียบเทียบผล

พบในระดับต่ ากว่าท้องตลาด

โครงการ “โรงพยาบาลอาหารปลอดภัย”

พิธีเปิดตัวโครงการ “โรงพยาบาลอาหารปลอดภัยจังหวัดนครปฐม”

๘ โรงพยาบาล

มีร้านจ าหน่าย ผักผลไม้ปลอดภัย

๙ โรงพยาบาล ใช้ผัก ผลไม้ปลอดภัยปรุงอาหารให้ผู้ป่วย

บูธ๊ขายผกัภายในโรงพยาบาล 8 แหง่

ตลาดรกัสขุภาพ (Love Market) โรงพยาบาลหลวงพอ่เป่ิน

Roadmap for Food safety. แผน 5 ปี 2017 - 2021

มาตรการในการด าเนนิงาน Smart network Smart product Smart surveillance Smart information

Final Goal: 1.ลดการป่วยและลดรายจ่าย จากโรคที่เกดิจากสารเคมี ปนเป้ือนในอาหาร 2.ประชาชนได้รับความ ปลอดภยัจากการบริโภค อาหาร

Product QR Code Information

ปี 2021 1. ผลิต Application เพ่ือสร้าง Health

Literacy ส าหรบัผูบ้ริโภคและพฒันาศกัยภาพผูบ้ริโภคสู่ Smart Consumer

ปี 2017-2018 1. รพ.รฐั 67แห่งเป็น รพ.อาหารปลอดภยั ภายใน 30/9/ 60 2. QR Code เมนูอาหารในรพ.67แห่งแสดงปริมาณสารอาหารและแหล่งวตัถดิุบ 3. เมนูเทวดา เพ่ือสขุภาพ ลดโรค NCD ใน รพ. 4. เร่ิมพฒันาร้านอาหารเป็น “ร้านอาหารปลอดภยั”

ปี 2019 1. เมนูเทวดา และ QR Codeในร้านอาหาร

ปลอดภยัอ าเภอละ 20 แห่ง 2. Green and Clean Zone (ตลาดสดลดโรค)ทุก

อ าเภอ 3. License ผู้ประกอบการด้านอาหารกลุ่มเป้าหมาย 4. เช่ือมโยงถนนอาหารปลอดภัยกบัแหล่งท่องเทีย่ว

ปี 2020 1.พฒันาระบบ Traceability โดยใช้ QR Code 2. พฒันาระบบ surveillance 3. R&D Innovative Products

ร่วมกบัภาคเอกชน

เป้าหมายอาหารปลอดภัยระดับเขต ปี 2561

1. โรงพยาบาลรัฐทั้ง 66 แห่ง เป็นโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย เพิ่ม โรงพยาบาลเอกชน จังหวัดละ 1 แห่ง 2. ร้านอาหารเมนูเด่นของจังหวัด 20 ร้าน ได้รับการพัฒนาเป็นร้านอาหารปลอดภัย 3. ถนนอาหารปลอดภัยที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว จังหวัดละ 2 แห่ง 4. ตลาดสดที่มี Green and Clean Food Zone = GREEN MARKET อ าเภอละ 1 แห่ง 5. อาหารสดและอาหารแปรรูปปลอดภัย ร้อยละ 85 6. เพิ่ม โรงเรียนอนุบาลประจ าจังหวัดเป็น โรงเรียนอาหารปลอดภัย จังหวัดละ 1 แห่ง

ร้านอาหารปลอดภัย

2. ร้านอาหารเมนูเด่นของจังหวัด 20 ร้าน ได้รับการพัฒนาเป็นร้านอาหารปลอดภัย หลักเกณฑ์ “ร้านอาหารปลอดภัย” - ร้านอาหารเป็นร้านเมนูเด่นของจังหวัด (แต่ละจังหวัดเลือก) - ร้านอาหารผ่านมาตรฐาน CFGT - ตรวจสารปนเปื้อนด้วยชุด Test Kit (แบบ Focus) เพิ่ม มีการใช้ผักผลไม้ปลอดภัยเป็นวัตถุดิบ (แสดงใบรับรอง) ไม่สนใจอัตราส่วนการใช้ ? เพิ่มต่อยอด การแสดง QR Code เมนูเด่น/เมนูเทวดาของร้าน ?

ถนนอาหารปลอดภัย

3. ถนนอาหารปลอดภัยที่เป็นแหลง่ทอ่งเที่ยว จังหวัดละ 2 แห่ง หลักเกณฑ ์“ถนนอาหารปลอดภัย” - ถนนอาหารปลอดภัย (แต่ละจังหวัดเลือก เป้าหมายเดิม?

ใช้เป้าหมายเดิมสะสม น้อยแต่ดี มีคุณภาพ)

- หลักเกณฑ์ถนนอาหารอาหารปลอดภัยเดิม

เพิ่มต่อยอด ขอความคิดเห็น ?

Green and Clean Food Zone

4. ตลาดสดที่มี Green and Clean Food Zone อ าเภอละ 1 แห่ง หลักเกณฑ์ “Green and Clean Food Zone” = GREEN MARKET คือ ขายผักผลไม้ปลอดภัยท้ังตลาด - ตลาดสดน่าซื้อ เพิ่ม มีโซนขายผักผลไม้ปลอดภัย (แสดงใบรับรอง) - ตรวจยาฆ่าแมลงด้วยชุด Test Kit เพิ่มต่อยอด การแสดง QR Code แสดงแหล่งปลูก (ไม่บังคับเป็น idea)

ขอบพระคุณ

โครงการโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย

Recommended