กฎหมายอาญา ๒ อาญาภาคความผิด ... · 2009. 7....

Preview:

Citation preview

กฎหมายอาญา ๒ (อาญาภาคความผิด)

สอนเสริม ครั้งที่ ๑ (หนวยที่ ๑ – ๗)จัดทําโดยสาขาวิชานิติศาสตร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุร ี๑๑๑๒๐

ดําเนินการจัดทําโดย ผศ. วชิัย ศรีรัตน

Email: wsrirat@hotmail.com

การสอนเสริมครั้งที่การสอนเสริมครั้งที่ 11

หนวยที่ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง

หนวยที่ 3 ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม

หนวยที่ 4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา ความสงบสุขของประชาชน

และการคา

หนวยที่ 5 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง

หนวยที่ 6 ความผิดตอชีวิต

หนวยที่ 7 ความผิดตอรางกาย

ความหมายของคําวาความหมายของคําวา เจาพนักงานเจาพนักงาน

1. บุคคลที่กฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะวาเปนเจาพนักงาน

- พิจารณากฎหมายแตละฉบับ

2. บุคคลที่ไดรับแตงตั้งใหปฏิบัติหนาที่ราชการไมวาประจําหรือชั่วคราว

- ไดรับการแตงตั้งโดยถูกตองตามกฎหมาย

- ขาราชการที่ทําหนาที่ทางดานปกครอง

- ไมรวมถึงผูมีหนาที่ทางนิติบัญญัติ

- ไมรวมถึงลูกจางของสวนราชการ (ฎ.253/2503)

** เจาพนักงานยุติธรรมกฎที่เกี่ยวกับหนาที่หมายจะกําหนดโทษใหสูงกวาเจาพนักงาน

ธรรมดา**

ดูหมิ่นเจาพนักงานดูหมิ่นเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 136136))

1. ดูหมิ่น

- แสดงความดูถูก เหยยีดหยาม

- อาจแสดงดวยกิริยา วาจา ทาทาง ตอหนาหรือลับหลัง

2. เจาพนักงานซึ่งกระทําการตามหนาที่หรือเพราะไดกระทําการตามหนาที่

- ตองดูหมิ่นเพราะเจาพนักงานกระทําการตามหนาที่ของตนหรือเพราะไดกระทําการ

ตามหนาที่ของตน

- ถาเจาพนักงานมิไดกระทําการตามหนาที่ของตน หรือเปนเรื่องสวนตนไมเขา

มาตรานี้

3. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเลง็เห็นผลในการกระทํา คือ ดูถูก เหยยีดหยาม

- ตองรูวาผูที่ตนดูถูก เหยยีดหยามนั้น เปนเจาพนักงาน

แจงความเทจ็ตอเจาพนักงานแจงความเทจ็ตอเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 137137))

1. แจงขอความอนัเปนเท็จ

2. แกเจาพนักงาน

- ตองเปนเจาพนกังานซึง่มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับเรื่องทีแ่จง

3. ซึ่งอาจทําใหผูอื่นหรือประชาชนเสียหาย

4. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลใหเจาพนักงานทราบขอความเท็จ

- ตองรูวาขอความทีแ่จงเปนขอความเท็จ และรูวาผูที่ตนแจงเปนเจาพนกังาน

ดวย

เปรียบเทยีบกับความผิดแจงความเปนเท็จในคดีอาญา มาตรา 172

แจงความเทจ็ตอเจาพนักงานแจงความเทจ็ตอเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 137137))

- ทําใหผูอื่นทราบขอความเท็จ ไมวาโดยพูด เขียน กิริยาทาทาง

- จะนําขอความเท็จไปแจงเอง หรือแจงใหทราบเมื่อถูกถามก็ได

- ขอความเท็จ คือ ขอเท็จจริงในอดีตหรือปจจุบันที่ไมเปนความจริง

(ขอเท็จจริงในอนาคต ไมใชความเท็จ)

แจงความเทจ็ตอเจาพนักงานแจงความเทจ็ตอเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 137137))

- ขอความเท็จนั้นตองอาจทําใหผูอื่นเสียหาย

- เพียงอาจเสียหายก็พอ ไมตองเกิดความเสียหาย

- ผูอื่นจะเปนนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาก็ได

- ความเสียหายในทางใดๆ กไ็ด

ม. 137 เปรียบเทยีบกับ ม 172 แจงความเท็จในคดีอาญา

ตอสูขัดขวางเจาพนักงานตอสูขัดขวางเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 138138))

1. ตอสูหรือขัดขวาง

- ตอสู คือ การกระทําการใดๆ อันเปนการขัดขืนหรือโตแยงอํานาจเจา

พนักงานแตไมถึงกับทําราย ถาทาํรายผิดหนักขึ้น

- ตองเปนการกระทําที่แสดงออกมา ไมใชนิ่งเฉย

- ขัดขวาง คือ กระทําใหเกิดอุปสรรคหรือยากลําบากในการปฏิบัติหนาที่

ของเจาพนักงานทําใหการปฏิบัติหนาที่ลําบากขึ้น

ตอสูขัดขวางเจาพนักงานตอสูขัดขวางเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 138138))

2. เจาพนักงานหรือผูซึ่งตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมายในการปฏิบัติการตามหนาที่- ผูที่ตองชวยเจาพนักงานตามกฎหมาย คือ ตองมีกฎหมายบัญญัติใหผูนั้นมีหนาที่

ตองชวยเจาพนักงาน

- เจาพนักงานหรือผูที่ตองชวยใหเจาพนักงาน ตองปฏิบัติหนาที่โดยชอบดวย

กฎหมาย

3. เจตนา- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะตอสูหรือขัดขวาง

- ตองรูดวยวา ผูที่ตนตอสูขัดขวางเปนเจาพนักงานหรือผูซึ่งตองชวยเจาพนักงาน

ตามกฎหมาย

เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงานเรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 143143))

1. เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชน เพียงเรียกก็ผิดสําเร็จ

2. สําหรับตนเองหรือผูอื่น

- ผูอื่นจะเปนใครก็ได ขณะเรียกจะตั้งใจเอาไปใหผูอื่นจริงหรือไมไมสําคัญ

3. เปนการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรือไดจูงใจเจาพนักงาน สมาชิก

สภาพนิติบัญญัติแหงรัฐสมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล

4. โดยวิธีอันทุจริตหรือผิดกฎหมายหรือโดยอิทธิพลของตนเอง

5. ในกระทําการหรือไมกระทําการในหนาที่อันเปนคุณหรือเปนโทษแก

บุคคลใด

6. เจตนา

เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงานเรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 143143))

- เรียก คือ เรียกรองใหผูอื่นใหทรัพยสินหรือประโยชน เพียงเรียกก็ผิด

สําเร็จ

- รับ คือ รับเอาที่ผูอื่นเสนอให หรือรับเอาตามที่ตนเองเรียก

- ยอมจะรับ คือ ยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนที่ผูอื่นเสนอใหแตยัง

ไมไดรับ

- ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด ประโยชนอื่นใดคือสิ่งที่ไมใชทรัพยสิน

แต เปนคุณแกผูรับ

เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงานเรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 143143))

- การจะจูงใจหรือไดจูงใจเจาพนักงาน ฯลฯ จะตองกระทําโดยวิธีที่

กําหนด คือ

1. โดยวิธีอันทุจริต

2. โดยวิธีอันผิดกฎหมาย

3. โดยอิทธิพลของตน

เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงานเรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 143143))

- ใหกระทําการในหนาที่อันเปนคุณหรือโทษแกบุคคลใด คือ ใหปฏิบัติ

หนาที่โดยไมถูกไมควรหรือปฏิบัติโดยไมชอบดวยหนาที่

- ใหไมกระทําการในหนาที่อันเปนคุณหรือโทษแกบุคคลใด คือจะจูงใจ

หรือไดจูงใจใหไมปฏิบัติหนาที่ตามที่ถูกที่ควร

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลในการเรียกรับหรือยอมะรับทรัพยสิน

หรือประโยชนอื่นใดสําหรับตนเองหรือผูอื่น

- ตองรูดวยวาเขาไดใหเปนการตอบแทนการที่ตนจะจูงใจหรือไดจูงใจ

เจาพนักงาน

เรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงานเรียกทรัพยสินเพื่อจูงใจเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 143143))

ใหสินบนเจาพนักงานใหสินบนเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 144144))

1. ให ขอให หรือรับวาจะให

2. ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด

3. แกเจาพนักงานสมาชิกสภาพนิติบัญญัติแหงรัฐ สมาชิกสภาจังหวัดหรือ

สมาชิกสภาเทศบาล

4. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะให

- ตองรูดวยวา ผูที่ตนจะใหสินบนนั้นเปนเจาพนักงาน

5. เพื่อจูงใจใหกระทําการ ไมกระทําการ หรือประวิงการกระทําอันมิชอบ

ดวยหนาที่

ใหสินบนเจาพนักงานใหสินบนเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 144144))

- ให คือ ยกกรรมสิทธิ์หรือประโยชนใดๆ ให

- ขอให คือ เสนอจะยกกรรมสิทธิ์หรือประโยชนใดๆ ให

- รับวาจะให เปนคํามั่นวาจะยกกรรมสิทธิ์หรือประโยชนใดๆ ใหใน

อนาคต

ใหสินบนเจาพนักงานใหสินบนเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 144144))

- ทรัพยสิน คือ วัตถุมีหรือไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได

- ประโยชนคือ บริการใดนอกจากทรัพยสินจะเปนประโยชนใดๆ ก็ได

ใหสินบนเจาพนักงานใหสินบนเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 144144))

- จํากัดเฉพาะผูที่อยูในตําแหนงเหลานี้เทานั้น

- ตองกระทําผิดในขณะบุคคลเหลานี้อยูในตําแหนง

ใหสินบนเจาพนักงานใหสินบนเจาพนักงาน ((มาตรามาตรา 144144))

- เปนเจตนาพิเศษหรือความมุงหมายในการกระทํา

- สาระสําคัญของเจตนาพิเศษ คือ การอันมิชอบดวยหนาที่

- ตองเปนการอันมิชอบดวยหนาที่ของเจาพนักงานหรือสมาชิกนั้นๆ ถา

มิใชหนาที่หรือพนหนาที่แลว ก็ไมผิด

- ถาเจตนาพิเศษเพื่อการอันชอบดวยหนาที่ก็ไมผิด

เจาพนักงานยักยอกเจาพนักงานยักยอก ((มาตรามาตรา 147147))

1. เจาพนักงาน

2. มีหนาที่ซื้อ ทําจัดการ หรือรักษาทรัพย

3. เบียดบงัเอาทรัพยนั้นเปนของตนหรือของผูอื่น หรือยอมใหผูอื่นเอา

ทรัพยนั้น

4. เจตนา

- ตองรูวาทรัพยนั้นเปนของราชการดวย

5. โดยทุจริต

เจาพนักงานยักยอกเจาพนักงานยักยอก ((มาตรามาตรา 147147))

- เปนคุณสมบัติเฉพาะตัว ผูกระทําผิดตองมีฐานะนี้

- หากมิใชเจาพนักงานก็ไมผิดมาตรานี้ แตผิดยักยอกธรรมดา

เจาพนักงานยักยอกเจาพนักงานยักยอก ((มาตรามาตรา 147147))

- เจาพนักงานนั้นจะตองมีหนาที่ตามที่ระบุไว

- อาจเปนหนาที่ตามกฎหมาย หรือโดยคําสั่งของผูบังคับบัญชา

เจาพนักงานยักยอกเจาพนักงานยักยอก ((มาตรามาตรา 147147))

- เปนลักษณะของการกระทําอันเปนความผิด

- เบียดบงัเปนของตนหรือของผูอื่นก็ได

- ยอมใหผูอื่นเอาทรัพยนั้น

- ตองกระทําในหนาที่ราชการ หากเปนเรื่องสวนตัว ไมผิดมาตรานี้แตผิด

ยักยอกธรรมดา

เจาพนักงานยักยอกเจาพนักงานยักยอก ((มาตรามาตรา 147147))

- เปนเจตนาพิเศษในการกระทํา

- มุงหมายแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตน

หรือผูอื่น

- หากไมมีเจตนาทุจริตก็ไมผิด

เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบเจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ ((มาตรามาตรา 148148))

1. เจาพนักงาน

2. ใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ

3. ขมขืนใจหรือจูงใจผูอื่น

4. เจตนา

5. เพื่อใหบุคคลใดมอบใหหรือหามาใหซึ่งทรัพยสินหรือประโยชนอื่น

ใดสําหรับตนเองหรือผูอื่น

เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบเจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ ((มาตรามาตรา 148148))

- ตองเปนการใชอํานาจในตําแหนงของเจาพนักงานผูนั้นตองใชอํานาจโดย

มิชอบ ใชไปในทางที่ผิดหรือแกลงผูอื่น

เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบเจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ ((มาตรามาตรา 148148))

- ขมขืนใจ คือ บังคับใหเขากระทําโดยเขาไมสมัครใจ

- จูงใจ คือ โนมนาวหรือชักนําใหเขากระทํา

เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบเจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยมิชอบ ((มาตรามาตรา 148148))

- เปนเจตนาพิเศษในการกระทํา

- เพียงแตมีความมุงหมายเชนนี้ก็ผิดสําเร็จ จะเกิดผลขึ้นตามความมุงหมาย

หรือไม ไมสําคัญ

เจาพนักงานรับสินบนเจาพนักงานรับสินบน ((มาตรามาตรา 149149))

1. เจาพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงรัฐ สมาชิกสภาจังหวัดหรือสมาชิกสภาเทศบาล

- จํากัดเฉพาะเจาพนักงาน และสมาชิก 3 ประเภทนี้

2. เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด สําหรับตนเองหรือผูอื่น

3. เจตนา- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะเรียก รับ หรือยอมจะรับสนิบน

4. เพื่อกระทําการหรือไมกรทําการอยางใดในตําแหนง ไมวาการนั้นจะชอบหรือมิชอบดวยหนาที่

เจาพนักงานรับสินบนเจาพนักงานรับสินบน ((มาตรามาตรา 149149))

- ตองไมมีอํานาจโดยชอบดวยกฎขอบังคับ หรือระเบียบแบบแผนที่จะ

เรียก รับหรือยอมจะรับ

- จะกระทําเพื่อตนเองหรือผูอื่นก็ได

- ตองกระทําในขณะตนมีฐานะดังกลาว

เจาพนักงานรับสินบนเจาพนักงานรับสินบน ((มาตรามาตรา 149149))

- เจตนาพิเศษหรือเหตุจูงใจมี 2 ประการ

1. เพื่อกระทําการในตําแหนงไมวาการั้นจะชอบหรือไมชอบดวยหนาที่

2. เพื่อไมกระทําการในตําแหนง ไมวาการนั้นจะชอบหรือไมชอบดวย

หนาที่

- เพียงแตมีเหตุจูงใจนี้ก็ผิดสําเร็จ ไมจําตองไดกระทําหรือไมกระทําการตาม

เหตุจูงใจ

เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยทุจริตเจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยทุจริต ((มาตรามาตรา 151151))

1. เจาพนักงาน

2. มีหนาที่ซื้อ ทํา จัดการ หรือรักษาทรัพยใด

3. ใชอํานาจในตําแหนงอันเปนการเสียหายแกรัฐ เทศบาล สุขาภิบาล หรือเจาของทรัพย

4. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะใหเกิดความเสียหาย

5. โดยทุจริต

- มุงหมายแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเอง

หรือผูอื่น

เจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยทุจริตเจาพนักงานใชอํานาจในตําแหนงโดยทุจริต ((มาตรามาตรา 151151))

- ตองเปนการกระทําตามอํานาจหนาที่ในตําแหนง

- จะกระทํา (ใชอํานาจ) ดวยวิธีใดก็ได แตไมใชเบียดบังทรัพย

- ตองกอใหเกิดผล คือความเสียหายแกรัฐ เทศบาล หรือเจาของทรัพย

- หากยังไมเกิดความเสียหาย ก็เปนพยายามกระทําผิด

เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบเจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบ

((มาตรามาตรา 157157))

1. เจาพนักงาน

- ไมจํากัดวาจะตองมีหนาที่เจาะจงประการใด

- เอาผิดแกเจาพนักงานทุกคนทุกประเภท

2. ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ

3. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ

4. เพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูหนึ่งผูใด

เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบเจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบ

((มาตรามาตรา 157157))

- จะปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติประการใดก็ได

- การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัตินั้นจะตองอยูในหนาที่ของตน และโดยมิชอบดวยหนาที่ของตน

- การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติโดยมิชอบดวยหนาที่ ไมตองถึงกับผิดกฎหมายไมจําตองเปนเรื่องกลั่นแกลง

- ถาการปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติไมอยูในหนาที่ แมจะปฏิบัติหรือละเวนโดยมิชอบก็ไมผิดมาตรานี้

- การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติสิ่งที่อยูในหนาที่ แตกระทําไปโดยชอบหรือสุจริต ไมผิดมาตรานี้

เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบเจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบ

((มาตรามาตรา 157157))

- จะเปนความเสียหายทางใดๆ และแกใครก็ได

- ไมจําเปนตองเกิดความเสียหายขึ้นจริงๆ เพียงความมุงหมายเชนนั้น ก็ผิด

สําเร็จ

เจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบเจาพนักงานปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมชิอบ

((มาตรามาตรา 157157))1. เจาพนักงาน

- เอาผิดแกเจาพนักงานทุกประเภททุกคน

2. ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่

- จะปฏิบัติหรือละเวนโดยชอบหรือโดยมิชอบดวยหนาที่ก็ได

3. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติ

4. โดยทุจริต

- เพื่อแสวงหาประโยชนที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผูอื่น

- ไมคํานึงวาจะทําใหผูอื่นเสียหายหรือไม

ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลงความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง ((เรือ่งที่สอนเสริมเรือ่งที่สอนเสริม))

หนวยที่ 5 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง

- ความผิดฐานปลอมเงินตรา (มาตรา 240)

- ความผิดฐานแปลงเงินตรา (มาตรา 241)

- ทําบัตรหรือโลหะธาตุใหคลายคลึงเงินตราหรือจําหนายบัตรหรือโลหะธาตุเชนวา

นั้น (มาตรา 249)

- ความหมายของเอกสาร (มาตรา 1 (7) )

- ความผิดฐานปลอมเอกสาร (มาตรา 264 )

- ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ (มาตรา 265)

ความผิดฐานปลอมเงินตรา (มาตรา 240)

1. ทําปลอมขึ้น

2. ซึ่งเงินตรา

เงินตรา หมายถึง เหรียญกษาปณ ธนบัตร หรือสิ่งอื่นใดซึ่งรัฐบาลออก

ใชหรือใหอํานาจออกใชและเฉพาะเงินตราที่รัฐบาลอนุญาตใหใช

หมุนเวียนในปจจุบัน

3. เจตนา

ความผิดฐานปลอมเงินตราความผิดฐานปลอมเงินตรา ((มาตรามาตรา 240240))

- ทําโดยวิธีใดตอวัตถุใหมีลักษณะ ขนาด ลวดลาย สีสัน และรายละเอียด

ปลกียอยเชนเดียวกบัเงินตรา ฯลฯ

- แมทําใหผิดเพี้ยนไปจากรูปลักษณะเงินตราที่แทจริงไปบาสงก็ยังถือวา

เปนเงินตราปลอมได

- ตองมีเงินตรา ฯลฯ แทจริงอยูในขณะปลอม

ความหมายของเอกสารความหมายของเอกสาร ((มาตรามาตรา 1 (7)1 (7)))

1. กระดาษหรือวัตถุอื่นใด

อาจเปนวัตถุอืน่ก็ได เชน ไม พลาสติก โลหะ

2. ซึ่งทําปรากฏความหมายดวยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอยางอื่นจะเปนโดยวิธีพิมพ ถายภาพ หรือวิธีอืน่อันเปนหลักฐานแหงความหมายนั้น

- ตองทําใหปรากฏความหมายขึ้นบนกระดาษหรือวัตถุเปนหลักฐานแหงความหมายไมวาทํา

ดวยวิธีใด

- ตองปรากฏวาบุคคลเปนผูทําขึ้นดวยเจนาใหปรากฏความหมาย

- ผูทําไมตองลงชื่อในเอกสาร อาจเปนเอกสารในอดีตก็ได

- ตองสัมผัสไดทางสายตาเทานัน้

- ภาพถายสถานที่เกิดเหตุ ภาพถายติดบัตร ภาพถายเอกสารเปนเอกสารวรรณกรรม วรรณคดี

ภาพถายทั่วไป ไมเปนเอกสาร

ทําเอกสารปลอมทําเอกสารปลอม

1. ทําเอกสารปลอม คือทําเอกสารขึ้นใหม จะมีเอกสารตัวจริง และมี

ขอความแกตางหรือเหมือนของแทหรือไมก็ได

2. เอกสามารที่ทําปลอมจะมีขอความเท็จหรือจริงไมสําคัญ แตอยูที่วา

เจาของเอกสารไดทําเอกสารนั้นขึ้นเองหรือไม ถาคนอื่นทําก็เปน

เอกสารปลอม

3. ถาทําขึ้นเปนเอกสารที่ตนทําเอง แมขอความจะเท็จ ก็ไมปลอม

4. แตถาเจาของเอกสารไดทําเอกสารขึ้นใหมอีกฉบับหนึ่งใหเขาใจวา

เปนเอกสารเดิมที่ตนไดทําแตแรก ก็ปลอมได

ทําเอกสารปลอมทําเอกสารปลอม

5. อาจปลอมโดยการสมมติทั้งขอความและผูทําเอกสารก็ได

6. ถาสมมติชื่อขึ้นใชเองในเอกสารในนามของตน มิไดเพื่อใหเขาใจวา

เปนบุคคลอื่นไมใชปลอม

7. การลงชื่อผูอื่นซึ่งมีตัวตนอยูจริงในการทําเอกสาร ถาผูนั้นยินยอมให

ลงชื่อแทนตนไดก็ไมปลอมแตถาไมถึงขนาดยินยอมใหลงชื่อแทนก็

ปลอม

8. กรณีรวมมือคบคิดทําเอกสารขึ้นมาไมตรงตอเจตนาแทจริง เชนทํา

สัญญากูโดยไมไดกูจริง ไมใชเอกสารปลอมแปลง

ทําเอกสารปลอมทําเอกสารปลอม

9. การแปลเอกสาร แมจะเจตนาแปลผิดหรือตัดทอน ก็ไมปลอม

10. คัดสําเนาเอกสาร แมเจตนาใหผิดจากเดมิ ก็เปนเอกสารที่ผูคัดทําเอง

ไมปลอม

11. ถาผูคัดรับรองวาสําเนานั้นถูกตองทั้งที่ไมถูกตอง ถือวาปลอมเอกสาร

แมจะไมมีเอกสารตัวจริงอยูก็ตาม

12. การปลอมเอกสารทั้งฉบับ ไมจําเปนตองมีขอความครบถวนทุก

ประการ เชน ปลอมแบบฟอรมใบสทุธิ หรือประกาศนียบัตร

เอกสารที่แทจริงเอกสารที่แทจริง

1. ตองกระทําในสวนที่เปนสาระสําคัญของเอกสารนั้น และกระทําในเอกสารแทจริง

2. แมทําในเอกสารแทจริงที่ตนทํา แตเติมหรือตัดทอนหรือแกไขหลังพนอํานาจแกแลวก็ปลอมได ถาทําในระหวางอยูในอํานาจก็ไมปลอม

3. เอาเอกสารแทจริงหลายฉบับมาตัดตอเปนฉบับเดียว แตความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม กป็ลอมได (ตัดเลขสลากกนิแบงจากฉบับหนึ่งมาปดอีกฉบับหนึ่ง)

4. ถาผูเติม ตัดทอนแกไข มีอํานาจทําไดตามกฎหมายระเบียบแบบแผน ก็ไมปลอม หากแกใหเห็นวาตนเปนผูแก (จะแกใหถกูหรือผิดก็ได

เอกสารที่แทจริงเอกสารที่แทจริง

5. การขีดฆาขูดลบขอความในเอกสาร ทําใหความหมายเปลี่ยนไป แตตัว

เอกสารยังคงมีอยูเปนการปลอม

6. ถาขีดฆาขอความทําใหเอกสารนั้นไมมีอยูตอไป แมวัตถุที่ใชทํา

เอกสารยังคงอยูก็ไมใชปลอมแตเปนทําลายเอกสาร (มาตรา 188)

ประทับตราปลอมหรือลงมือชื่อปลอมในเอกสารประทับตราปลอมหรือลงมือชื่อปลอมในเอกสาร

1. ตรา คือ ตราแผนดิน ทบวงการเมือง องคการสาธารณะ ของเจาของ

พนักงาน ของนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดา เปนสิ่งแทนตัวสถาบัน

หรือบุคคล

2. ลายมือชื่อ ตามมาตรา 1 (10)

1. ลายมือหรือลายเซ็น

2. ลายพิมพนิ้วมอื

3. เครื่องหมายที่บุคคลลงไวแทนลายมือชื่อตน

ประทับตราปลอมหรือลงมือชื่อปลอมในเอกสารประทับตราปลอมหรือลงมือชื่อปลอมในเอกสาร

3. จะประทับตราปลอมหรือลงลายมือชื่อปลอมบนเอกสารแทจริงหรือเอกสาร

ปลอมกไ็ด

4. ไมจําตองมีตราแทหรือบุคคลจริงในขณะปลอม

5. ลงลายมือชื่อแทจริงในเอกสารก็อาจปลอมเอกสารได เชน ขูบังคับใหเขาลง

ลายมือชื่อในเอกสารยกทรัพยสินใหตน เอกสารนั้นปลอม ถาหลอกใหเขาลง

ลายมือชื่อ ไมเปนปลอมเอกสาร แตอาจเปนฉอโกงตามมาตรา 341

6. ลงลายมือชื่อในเอกสารที่ตนไมมีอํานาจลงได แตลงลายมือชื่อใหเขาใจวา ตนมี

อํานาจลงชื่อในตําแหนงนั้น (ครูนอยลงชื่อของตนในตําแหนงครูใหญ เปน

ปลอมเอกสารได)

ปลอมเอกสารปลอมเอกสาร ((มาตรมาตร 264 264 วรรคสองวรรคสอง))

1. กรอกขอความลงในแผนกระดาษหรือวัตถุอื่นใด ซึ่งมีลายมือชื่อของ

ผูอื่น

2. โดยไมไดรับความยินยอม หรือโดยฝาฝนคําสั่งของผูอื่นนั้น

3. เจตนา

4. ไดกระทําเพื่อนําเอกสารนั้นไปใชในกิจการที่อาจเกิดเสียหายแกผูหนึ่ง

ผูใดหรือประชาชน

ปลอมเอกสารปลอมเอกสาร ((มาตรมาตร 264 264 วรรคสองวรรคสอง))

- กรอกขอความ จะทําโดยเขียน พิมพหรือวิธีใด

- ตองทําลงในแผนกระดาษหรือวัตถุอื่นซึ่งมีลายมือชื่อผูอื่นอยู

- ในกรณีลงลายพิมพนิ้วมือแทนลายมือชื่อ ไมจําตองมีพยานรับรองดัง

ปพพ. บัญญัติ

- ลายมือชื่อผูอื่นลงไวนั้น จะลงไวดวยเจตนาใดๆ ก็ได เชนลองเสนปากกา

- กระดาษหรือวัตถุนั้นอาจไมมีขอความอื่นอยูหรือมีอยูบางแลวก็ได แตยัง

ไมเปนเอกสารที่สมบูรณ

ปลอมเอกสารปลอมเอกสาร ((มาตรมาตร 264 264 วรรคสองวรรคสอง))

- เจาของลายมือชื่อไมรูเห็นดวยเลย

- เจาของลายมือชื่อลงชื่อใหเพื่อนําไปใชในกิจการอยางหนึ่งแตกลับ

นําไปใชในกิจการอื่น ไมวาจะเปนประโยชนกับเจาของลายมือหรือไม

ปลอมเอกสารปลอมเอกสาร ((มาตรมาตร 264 264 วรรคสองวรรคสอง))

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่กรอกขอความ

- ตองรูดวยวาไมไดรับความยินยอมจากเจาของลายมือ หรือฝาฝนคําสั่ง

เจาของลายมือชื่อ

- หากเชื่อวากรอกตรงตามที่ไดรับมอบหมายใหกรอก ไมมีเจตนา

ปลอมเอกสารปลอมเอกสาร ((มาตรมาตร 264 264 วรรคสองวรรคสอง))

- ตองมีเจตนาพิเศษอยูในขณะกระทําผิด

- ไมตองนําไปใชจริง เพียงแตกรอกไวก็ผิดสําเร็จ แตถานําออกไปใชก็ผิด

มาตรา 268 ดวย

- จะใชในกิจการอะไร อาจเกิดความเสียหายแกใครก็ไดไมจํากัด

- แมกิจการอาจเปนประโยชนแกเจาของลายมือ แตถาอาจเกิดความ

เสียหายแกผูอื่นหรือประชาชนแลว ก็ปลอมเอกสารได

ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ ((มาตรามาตรา 265265))

1. เปนบทฉกรรจของมาตรา 264

- ผูกระทําตองรูวาเอกสารที่ปลอมเปนเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ (มาตรา

62 วรรคสาม)

2. เอกสารสิทธิ มาตรา 1 (9)

3. เอกสารราชการ มาตรา 1 (8)

ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ ((มาตรามาตรา 265265))

- เอกสารที่เปนหลักฐานแหงการกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับ

ซึ่งสิทธิ

- เอกสารซึ่งเปนหลักฐานแหงนิติกรรมทุกชนิด กฎหมายบังคับตองทําเปน

หนังสือหรือมีหลักฐานเปนหนังสือหรือไม ไมสําคัญ

- ไมจําเปนตองเปนเอกสารที่สมบูรณจนสามารถบังคับตามกฎหมายได

(สัญญาซึ่งพิมพแตลายนิ้วมือ ไมมีพยานรับรอง)

- ตองเปนหลักฐานแหงสิทธินั้นโดยตรง ใบทะเบียนสมรส หนังสือ

เดินทาง ใบอนุญาตขับขี่ บัตรประชาชน ไมใชเอกสารสิทธิ

ปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการปลอมเอกสารสิทธิหรือเอกสารราชการ ((มาตรามาตรา 265265))

- เอกสารซึ่งเจาพนักงานไดทําขึ้นในหนาที่ เชน บัตรประชาชน

ใบอนุญาตตางๆ

- เอกสารซึ่งเจาพนักงานไดรับรองในหนาที่ เชน พินัยกรรมเอกสารฝาย

เมือง

- สําเนาเอกสารราชการที่เจาพนักงานไดรับรองในหนาที่

ฆาผูอื่นฆาผูอื่น ((มาตรามาตรา 288288))

1. ฆา

2. ผูอื่น

3. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหผูอื่นตาย

- ตองรูวาสิ่งที่ตนทําใหตายนั้นเปนผูอื่นซึ่งมีสภาพบุคคล

- ถาไมรูเพราะประมาท ผิดมาตรา 291

- ถาสําคัญผิดเพราะประมาท ผิดมาตรา 291

ทํารายผูอื่นจนเปนเหตุใหผูนั้นถึงแกความตายทํารายผูอื่นจนเปนเหตุใหผูนั้นถึงแกความตาย ((มาตรามาตรา 290290))

1. ทําราย

- ทําการประทุษรายแกกายหรือจิตใจ

- ไมจํากัดวิธีทํา

2. ผูอื่น

3. เปนเหตุใหผูถูกทํารายถึงแกความตาย

- ความตายสัมพันธกับการทําราย (ทฤษฏีเงื่อนไข)

4. เจตนา

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหบาดเจ็บ (ทําราย)

- รูวาสิ่งที่ตนทํารายเปนผูอื่น มีสภาพบุคคล

กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตายกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย

((มาตรามาตรา 291291))

1. การกระทํา

- ไมจํากัดลักษณะของการกระทํา

2. เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย

3. ประมาท

- ไมประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหผูอื่นตาย

- แตไมระมัดระวังตามวิสัยและพฤติการณ

- ถาผูอื่นบาดเจ็บสาหัส ผิดมาตร 300

- ถาผูอื่นเพียงบาดเจ็บธรรมดาผิดมาตรา 390

ชุลมุนตอสูเปนเหตุใหบคุคลถึงแกความตายชุลมุนตอสูเปนเหตุใหบคุคลถึงแกความตาย ((มาตรามาตรา 294294))

1. เขารวมในการชุลมุนตอสู- ชุลมุนตอสูเปนการทํารายกันระหวางสองฝายขึ้นไป- ตองเปนการตอสู มิใชฝายหนึ่งทํารายอีกฝายหนึ่งแตเพียงฝายเดียว

2. ระหวางบุคคลตั้งแตสามคนขึ้นไป

3. บุคคลหนึ่งบุคคลใดไมวาจะเปนผูที่เขารวมในการนั้นหรือไมถึงแกความตายโดยการกระทําในการชุลมุนตอสูนั้น

4. เจตนา- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะเขาชุลมุนตอสู- ไมตองมีเจตนาทําใหผูใดตายโดยเฉพาะ

5. เหตุยกเวนโทษ- ผูเขารวมชุลมนุตอสูแสดงไดวา กระทําเพื่อหามการชุลมุนตอสู- ผูเขารวมชุลมนุตอสูแสดงไดวากระทําเพื่อปองกันโดยชอบ

ชุลมุนตอสูเปนเหตุใหบคุคลถึงแกความตายชุลมุนตอสูเปนเหตุใหบคุคลถึงแกความตาย ((มาตรามาตรา 294294))

- ความตายเปนผลจากการชุลมุนตอสู

- ถาชุลมุนตอสูจนมีคนตาย ผูกระทําผิดไมจําเปนตองรวมชุลมุนตอสูมา

แตตน

- แมเขารวมภายหลังก็ผิด

- ถาพิสูจนไดวาใครเปนคนฆา ผูนั้นผิดมาตรา 288 อีกบท

ความผิดฐานทํารายรางกายความผิดฐานทํารายรางกาย ((มาตรามาตรา 295295))

1. ทําราย

2. ผูอื่น

3. จนเปนเหตุทําใหเกิดอันตรายแกกายหรือจิตใจของผูอื่นนั้น

4. เจตนา

ความผิดฐานทํารายรางกายความผิดฐานทํารายรางกาย ((มาตรามาตรา 295295))

- ทําการประทุษรายรางกายหรือจิตใจ

- อาจไมถึงกับใชกําลังทํารายตามมาตรา 391 ก็ได

- รวมถึงการงดเวนการที่จักตองกระทําเพื่อปองกันผลตามมาตรา 59 วรรค

ทายดวย

- ไมจํากัดวิธีกระทํา เชน ชก ตอ เตะ ยุใหสุนัขกัด บอกขาวรายใหตกใจ

ฯลฯ

ความผิดฐานทํารายรางกายความผิดฐานทํารายรางกาย ((มาตรามาตรา 295295))

- ผลของการทํารายตองสัมพนัธกับการกระทํา1. พฤติการณแหงการกระทํารุนแรงหรือไม2. บาดแผลมากนอยเพียงไร

- แนวคําพพิากษาศาลฎีกา1. แผลแตกโลหิตไหล โดยปกติถือวาเปนอันตรายแกกาย

2. แผลโลหิตซึมจะเปนอันตรายแกกายหรือไมขึ้นอยูกับลักษณะของบาดแผล

3. แผลหนังถลอกไมถอืวาเปนอันตรายแกกาย

4. แผลบวม ฟกช้ํา จะเปนอันตรายหรือไม ขึน้อยูกับความรายแรงของบาดแผล

5. กระเทือนอวัยวะภายใน ฟนโยก หัก ตมปกติถือวาเปนอันตรายแกกาย

- อันตรายแกจิตใจ1. ไมตองถงึวิกลจริต แคจิตใจผิดปกติ ฟนเฟอน หวาดผวา หมดสติ กถ็ือวาเปนอันตรายแกจิตใจแลว2. เพียงเกิดอารมณเจ็บใจ แคนใจ ไมถือวาเปนอันตรายแกจิตใจ

- ถาไมเปนอันตรายแกกาย หรือจิตใจ อาจผิดมาตรา 391

ความผิดฐานทํารายรางกายความผิดฐานทํารายรางกาย ((มาตรามาตรา 295295))

- ประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทํารายผูอื่น

- รูวาสิ่งที่ตนทํารายเปนผูอื่น

- หากไมรู อาจผิดมาตรา 390 ในกรณีกระทําโดยประมาท

ทํารายรางกายเปนอันตรายสาหัสทํารายรางกายเปนอันตรายสาหัส ((มาตรามาตรา 297297))

1. บทฉกรรจของมาตรา 295

2. อันตรายสาหัสซึ่งเปนผลของการทํารายนั้นตองเปนผลที่ตามธรรมดา

ยอมเกิดขึ้นไดตามมาตรา 63

3. อันตรายสาหัส

ทํารายรางกายเปนอันตรายสาหัสทํารายรางกายเปนอันตรายสาหัส ((มาตรามาตรา 297297))

1. ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาดหรือเสียฆานประสาท

2. เสียอวัยวะสืบพันธุ หรือความสามารถสืบพันธุ

3. เสียแขน ขา มือ เทา นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด อวัยวะอืน่ใดตองเปนอวัยวะสําคัญดวย

4. หนาเสียโฉมอยางติดตัว

5. แทงลูก

6. จิตพิการอยางติดตัว

7. ทุพพลภาพหรือปวยเจ็บเรื้อรังซึ่งอาจถึงตลอดชีวิต

8. ทุพพลภาพหรือปวยเจ็บดวยอาการทุกขเวทนาเกินกวา 20 วัน หรือจนประกอบกรณียกิจตามปกติไมไดเกินกวา 20 วัน

กระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นรบัอันตรายสาหัสกระทําโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นรบัอันตรายสาหัส

((มาตรามาตรา 300300))

1. กระทํา

- ไมจํากัดวิธี

2. เปนเหตุใหผูอื่นรับอันตรายสาหัส

3. ประมาท

- ไมประสงคตอผลหรือเล็งเห็นผลที่จะทําใหผูอื่นบาดเจ็บ

- ไมระมัดระวังในการกระทําตามวิสัยและพฤติการณ

Recommended