เศรษฐศาสตร์การขนสง¸šทที่1...1.1...

Preview:

Citation preview

เศรษฐศาสตร์การขนส่ง

อ.พรเกียรติ ภักดีวงศ์เทพ

บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

วัตถุประสงค์

1. อธิบายความหมายของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

2. อธิบายความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

3. มีความรู้และความเข้าใจพื้นฐานเศรษฐศาสตร์ของการขนส่งทางบก น้ า และอากาศ

บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.1 ความหมายของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.3 ประโยชน์ของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.1 ความหมายของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

เศรษฐศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ในการบริโภค การผลิต การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตได้ไปสู่ผู้บริโภค โดยการเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัดให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ให้ได้มากที่สุด

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ราตร ีสิทธิพงษ์

1.1 ความหมายของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

เศรษฐศาสตร์การขนส่ง หมายถึง ศาสตร์ที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ในการบริโภค การผลิต การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าที่ผลิตได้ไปสู่ผูบ้ริโภค โดยการเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัดให้เกิดประสิทธิภาพสงูสุดและมุ่งเน้นเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งเท่านั้น

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

-ลักษณะของการขนส่ง-การขนส่งทางถนน-การขนส่งทางรางรถไฟ-การขนส่งทางน้ า-การขนส่งทางอากาศ-การขนส่งทางท่อ

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

ลักษณะของการขนส่งการขนส่งมีลักษณะพิเศษแบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลัก

คือ ส่วนที่ยดึติดอยู่กับที่และส่วนที่เคลื่อนที่ได้

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

ส่วนที่ยึดติดอยู่กับที่ สิ่งปลูกสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานตา่ง ๆ เช่น ราง

รถไฟ สนามบิน ถนน สถานีขนส่ง ท่าเรือ เป็นต้น เพราะสิ่งเหล่านี้จะมีอายุการใช้งานยาวนานมาก และมีราคาแพง ในการแทนที่

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

ส่วนที่เคลื่อนที่ได้ส่วนที่มีอายกุารใช้งานสั้นและมีการทดแทนตาม

สภาพกายภาพ อีกทั้งมีราคาถูกในการเปลี่ยนแปลง เช่น การให้บริการรถโดยสาร รถแท็กซี่

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

การขนส่งทางถนน-ได้รับความนิยมมากที่สุด-เข้าถึงผู้บริโภคได้โดยตรง-สะดวก รวดเร็ว ในระยะทางช่วงหนึ่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

การขนส่งทางรางรถไฟ-ไม่มีความต่อเนื่อง-ใช้กับระบบการขนส่งหลายรูปแบบ

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.00

1.435

Double Stack

Single Stack

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

การขนส่งทางน้ า-ภายในประเทศ ถูกจ ากัดด้วยเส้นทาง-ระหว่างประเทศเป็นทางเลือกหลักของการขนส่งระหว่างประเทศ ด้วยลักษณะของ Economy of scale

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

การขนส่งทางอากาศ-ขนส่งได้รวดเร็ว-ปลอดภัยที่สุด-ต้นทุนการขนส่งต่อหน่วยสูงที่สุด

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

การขนส่งทางท่อ-ขนส่งได้เฉพาะของเหลว-ข้อจ ากัดทางด้านภูมิศาสตร์-ไม่มีการขนส่งเที่ยวกลับ-ต้นทุนคงที่สูงกว่าต้นทุนแปรผันมาก

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1.2 ความส าคัญของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

-การขนส่งเป็นปัจจยัส าคัญที่ก่อให้เกิดกิจกรรมด้านเศรษฐกิจต่าง ๆ -การขยายตัวของการขนส่งแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท

1 การขนส่งขยายตัวตามปริมาณความต้องการด้านการขนส่ง (มี demand จึงสร้าง supply)

2 การขยายตัวเพื่อรองรับและก่อให้เกิดการลงทุน (สร้าง supply เพื่อกระตุ้น demand)

1.3 ประโยชน์ของเศรษฐศาสตร์การขนส่ง

1. รู้จักวางแผนการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

2. รู้จักวางแผนการการเงิน เพื่อการลงทุนให้เหมาะกับตนเอง

3. สามารถลดต้นทุน หรือเพิ่มรายได้

อ้างอิง

- Cole, Stuart. (2007). Applied Transport Economics: Policy, Management & Decision Making. London and Sterling: VA.

- แบลงค์, ลีแลนด์ และคณะ. (2549). เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม = Engineering economy. กรุงเทพฯ. ท้อป.

- ประพันธ์ เศวตนันทน์. (2546). หลักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ. คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

- วิวัฒน์ อภิสิทธิ์ภิญโญ. (2549). เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม. นครราชสีมา. ไอเดียซอฟท์แวร์เทคโนโลย.ี

- ไพโรจน์ เร้าธนชลกุล. (2552). เศรษฐศาสตร์การขนส่ง.

Recommended