· Web viewร นบนจานอาหารไตรบ ไทร นแล วเก...

Preview:

Citation preview

ผลงาน/โครงการ การบำาบดันำาเสยีจากการผลิตปลาสม้ด้วยแบคทีเรยีที่ผลิตเอนไซมไ์ลเปสรว่มกับระบบซเีควนซิง่แบตซร์แีอคเตอรใ์นระดับหอ้งปฏิบติัการชื่อผลงาน/โครงการ Treatment of fermented fish production wastewater by lipolyticbacteria in laboratory scale sequencing batch reactorชื่อ นามสกลุ นักวจิยั นางสาวสรินิาถ ปลอดสวุรรณชื่อ นามสกลุ นักวจิยั Miss Sirinart Plodsuwanท่ีอยูท่ี่ติดต่อได้ 36/4 หมู ่2 ตำาบลท่าหนิ อำาเภอสว ีจงัหวดัชุมพร 86130 เบอรโ์ทร 0878898993 อีเมล์ srn_srk@hotmail.com

ชื่อหน่วยงาน มหาวทิยาลัยพะเยา 19 หมู ่2 ตำาบลแมก่า อำาเภอเมองพะเยา จงัหวดัพะเยา 56000

ปี พ.ศ. ท่ีดำาเนินการเสรจ็ 2562

สรุปผลงานวจิยัอุตสาหกรรมการผลิตปลาสม้เป็นอุตสาหกรรมยอ่ยในกลุ่ม

อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ซึ่งเป็นวธิกีารถนอมอาหารที่เป็นภมูปัิญญาพืนบา้นล้านนาท่ีขึนชื่อของจงัหวดัพะเยา ในขณะเดียวกันอุตสาหกรรมการผลิตปลาสม้ก็ก่อใหเ้กิดปัญหาทางสิง่แวดล้อมตามมาก็คือในแต่ละวนัจะมกีารปล่อยนำาเสยีจากกระบวนการผลิตปลาสม้ในปรมิาณมาก การกำาจดัไขมนัและนำามนัท่ีเกิดขึนใชบ้อ่ดักไขมนัและทำาการตักไขมนัและนำามนัท่ีลอยแยกชันกับนำาไปทิง ซึ่งวธิีการนีไมไ่ด้เป็นวธิกีำาจดัหรอืยอ่ยใหห้มดไปอีกทังยงัสง่ผลใหเ้กิดกล่ินเหมน็ตามมาและเนื่องจากโรงงานสว่นใหญ่ตังอยูบ่รเิวณโดยรอบกวา๊นพะเยา นำาเสยีจากโรงงานดังกล่าวจงึเป็นสาเหตใุหเ้กิดปัญหามลพษิทางนำาในกวา๊นพะเยา ในปัจจุบนัได้มกีารพฒันาวธิกีารทางชวีภาพมาบำาบดันำามนัและไขมนัในนำาเสยี เนื่องจากเป็นวธิกีารท่ีไมส่ง่ผลกระทบรุนแรง และเป็นมติรต่อสิง่แวดล้อม โดยวธิกีารทางชวีภาพเป็นการอาศัยจุลินทรยีท่ี์มคีวามสามารถในการบำาบดันำามนัและ ระบบบำาบดันำาเสยีแบบ Sequencing Batch Reactor (SBR) เป็นระบบบำาบดันำาเสยีด้วยวธิกีารทางชวีภาพที่สามารถบำาบดันำาเสยีได้ภายในถัง

ปฏิกิรยิาเพยีงถังเดียว การควบคมุและบำารุงรกัษาทำาได้ง่าย ซึ่งจะชว่ยประหยดัค่าใชจ้า่ยและพืนท่ีในการก่อสรา้ง และมปีระสทิธภิาพสงูในการบำาบดันำาเสยี

ดังนันวตัถปุระสงค์ของงานวจิยันีคือ เพื่อคัดแยกแบคทีเรยีจากนำาเสยีจากการผลิตปลาสม้ที่สามารถผลิตเอนไซมไ์ลเปสและเพื่อศึกษาประสทิธภิาพการบำาบดันำามนัและไขมนั และซโีอดี ในนำาเสยีจากการผลิตปลาสม้ด้วยแบคทีเรยีท่ีสามารถผลิตเอนไซมไ์ลเปสรว่มกับแบบจำาลองระบบเอสบอีารร์ะดับหอ้งปฏิบติัการ เพื่อเป็นขอ้มูลพืนฐานในการคัดแยกสายพนัธุข์องจุลินทรยี์แบคทีเรยีท่ีมปีระสทิธภิาพในการบำาบดันำามนัและไขมนั และซโีอดี ในนำาเสยี และลดการปนเปื อนนำามนัและไขมนัลงสูส่ิง่แวดล้อมทางนำาและเป็นขอ้มูลพืนฐานในการนำาแบคทีเรยีไปใชใ้นการบำาบดันำาเสยีในสถานการณ์จรงิต่อไป

ผลงานจากงานวจิยัสรุปวา่ สามารถคัดแยกแบคทีเรยีท่ีสามารถผลิตเอนไซมไ์ลเปสจากนำาเสยีจากการผลิตปลาสม้ในจงัหวดัพะเยา พบแบคทีเรยีทังหมด 29 ไอโซเลท สามารถยอ่ยสลายนำามนัไตรบูไทรนิบนจานอาหารไตรบูไทรนิแล้วเกิดบรเิวณใสรอบโคโลนี 13 ไอโซเลท การวเิคราะหดั์ชนีเอนไซมไ์ลเปสและค่ากิจกรรมเอนไซมไ์ลเปสพบวา่ไอโซเลท WA6 และ WL12 มีค่าดัชนีเอนไซมไ์ลเปสเฉล่ียสงูสดุเท่ากับ 2.89 ± 0.00 และ 2.81 ± 0.07 ตามลำาดับ และมคี่ากิจกรรมเอนไซมไ์ลเปสเฉล่ียสงูสดุเท่ากับ 152.40 ± 2.60 และ 155.40 ± 0.00 หน่วยต่อมลิลิลิตร ตามลำาดับ เมื่อนำาไประบุสายพนัธุข์องแบคทีเรยีด้วยเทคนิคทางชวีโมเลกลุพบวา่ WA6 คือ Bacillus pumilus  และ WL12 คือ Staphylococcus warneri และนำาแบคทีเรยีทัง 2 สายพนัธุ ์ไปศึกษาประสทิธภิาพการบำาบดันำามนัและไขมนั และซโีอดี ในนำาเสยีการผลิตปลาสม้รว่มกับระบบเอสบอีารพ์บวา่ Bacillus pumilus และ Staphylococcus warneri ท่ีความเขม้ขน้เริม่ต้นของเชือแบคทีเรยีเท่ากับ 1.5 x 109 โคโลนีฟอรม์มงิยูนิตต่อมลิลิลิตร และระยะเวลาเติมอากาศเท่ากับ 480 นาที สำาหรบันำาเสยีปลาสม้ท่ีไมผ่่านการฆา่เชือมปีระสทิธภิาพการบำาบดันำามนัและไขมนัสงูท่ีสดุเท่ากับรอ้ยละ 64.02 ± 1.38 และ 86.81 ± 2.46 ตามลำาดับ และมปีระสทิธภิาพการบำาบดัซโีอดีสงูท่ีสดุเท่ากับรอ้ยละ 69.87 ± 2.01 และ 86.63 ± 4.74 ตามลำาดับ สำาหรบันำาเสยีปลาสม้ท่ีผ่านการฆา่เชือ มปีระสทิธภิาพการบำาบดันำามนัและไขมนัสงูที่สดุเท่ากับรอ้ยละ 26.13 ± 5.55 และ 38.38 ± 2.28 ตามลำาดับ และมี

ประสทิธภิาพการบำาบดัซโีอดีสงูที่สดุเท่ากับรอ้ยละ 29.95 ± 5.43 และ 39.43 ± 5.38 ตามลำาดับ

ดังนัน Bacillus pumilus และ Staphylococcus warneri สามารถนำาไปประยุกต์ใชบ้ำาบดันำามนัและไขมนัในนำาเสยีด้วยระบบบำาบดันำาเสยีแบบใชอ้อกซเิจนได้

ขก

ภาพ 1 การคัดแยกเชื้อจากตัวอยา่งนำ้าเสยีและการบำาบดันำ้าเสยีด้วยแบคทีเรบีรว่มกับระบบเอสบอีาร์

Recommended