2
กรุงเทพมหานคร มอเตอรเวย 35,300 ลานบาท รถไฟความเร็วสูง 158,000 ลานบาท เมืองใหม 400,000 ลานบาท สนามบินอูตะเภา 215,000 ลานบาท ทาเรือมาบตาพุด 10,150 ลานบาท รถไฟรางคู 64,300 ลานบาท ทาเรือแหลมฉบัง 35,300 ลานบาท ฉะเชิงเทรา ชลบุร ระยอง อุตสาหกรรม 500,000 ลานบาท ทองเที่ยว 200,000 ลานบาท เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุน 555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2553 8111 โทรสาร 0 2553 8315 Website: www.boi.go.th E-mail: [email protected] ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุน www.boi.go.th การพัฒนาพื้นที่ EEC รัฐบาลมีนโยบายในการสร้าง ศูนย์กลางการพัฒนาที่มีพลัง และศักยภาพสูง โดยเริ่มจาก พื้นทีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) บนพื้นที่กว ่า 13,000 ตาราง กิโลเมตร ซึ่งประกอบไปด้วย จังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา เป็นพื้นที่น�าร่อง รัฐบาลมีนโยบายที ่จะเร่งพัฒนาความพร้อม ในทุกด้านเพื่อรองรับการลงทุนและการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจในพื้นที่ ทั้งด ้านสาธารณูปโภค ระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ การพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ และการอ�านวยความสะดวกในรูปแบบ One Stop Service เพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจให้มีความ สะดวกรวดเร็วที่สุด โดยรัฐบาลตั้งเป้าหมายให้พื้นที่ EEC เป็นมหานครแห่งอนาคต เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน การขนส่งของภูมิภาค เป็นประตูสู่เอเชีย และเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษที่ส�าคัญที่สุด เพียบพร้อมที่สุด และ ทันสมัยที่สุดในเอเชีย โดยพื้นที่ EEC มีความโดดเด่น ดังนี- เป็นพื้นที่อุตสาหกรรมหลัก โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีที่ใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของเอเชีย และ เป็นฐานการผลิตยานยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์ ที่ส�าคัญของโลก - มีท่าเรือน�้าลึก สนามบิน และโครงสร ้างพื้นฐาน ที่ทันสมัย - เป็นแหล่งบุคลากรและแรงงานที่มีทักษะสูง - เป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบครบวงจรชั้นน�าของภูมิภาค การพัฒนาเครื่องมือส่งเสริม การลงทุนใหม่ รัฐบาลได้พัฒนาเครื่องมือส ่งเสริมการลงทุนใหม่ๆ โดย เฉพาะการจัดตั้งกองทุนเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศส�าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ในวงเงิน 10,000 ล้านบาท โดยที่ผ่านมา ได้มีการแก้ไข กฎหมายเพื่อเพิ่มเครื่องมือส ่งเสริมการลงทุนใหม่ๆ ที่จะท�าให้ การดึงดูดการลงทุนที่มีคุณค ่าสูง เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะ การลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายที่ใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมขั้นสูง หรือมีการวิจัยและพัฒนาที่มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สูงสุด 15 ปี การสนับสนุนเงินทุน (Grants) จากกองทุน เพิ่มขีดความสามารถในการแข ่งขันของประเทศส�าหรับ อุตสาหกรรมเป้าหมายในวงเงิน 10,000 ล้านบาท เป็นต้น Thailand 4.0 - โอกาสใหม่ส�าหรับทุกคน จากทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่ารัฐบาลมีความมุ่งมั่นที่จะขับเคลื่อน ประเทศไทยไปสู่ Thailand 4.0 โดยการปฏิรูปโครงสร้าง เศรษฐกิจเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข ่งขัน ของประเทศ ผ่านมาตรการดึงดูดการลงทุนใน อุตสาหกรรมเป้าหมาย ตลอดจนการส่งเสริมให้ประเทศ เป็นศูนย์กลางทางการค้าและการลงทุนของภูมิภาค ถือว่า เป็นการพลิกโฉมประเทศไทยครั้งใหญ่ ซึ่งจะช่วยขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทยให้ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง ลดความ เหลื่อมล�้าในสังคม สามารถสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคม แห่งอนาคต ท�าให้ประเทศไทยเป็นแหล่งรองรับการลงทุน ชั้นน�าและเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคอย่างแท้จริง การอ�านวยความสะดวก ในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) รัฐบาลให้ความส�าคัญกับการยกร่างกฎหมายและแก้ไข กฎระเบียบ รวมถึงขั้นตอนต่างๆ ของภาครัฐที่เป็น อุปสรรคต่อการประกอบธุรกิจ ตั้งแต่กระบวนการจัดตั้ง ธุรกิจ เช่น การลดขั้นตอนและระยะเวลาในการจดทะเบียน บริษัท การขออนุมัติและอนุญาตต่างๆ การช�าระภาษีอากร ทุกประเภท รวมทั้งการอ�านวยความสะดวกด้านวีซ่าและ ใบอนุญาตท�างาน ทั ้งนี้ เพื่อเสริมสร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการค้าและการลงทุน และเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ การเตรียมพร้อมด้านก�าลังคน รัฐบาลมุ่งเตรียมความพร้อมด้านก�าลังคนเพื่อรองรับ อุตสาหกรรมเป้าหมาย และ Thailand 4.0 ทั้ง การเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรในประเทศให้เป็น ก�าลังส�าคัญของการพัฒนาประเทศในอนาคต โดย คาดว่าในปี 2560 จะมีผู้จบการศึกษาและเข้าสู่ตลาด แรงงานในระดับอาชีวะประมาณ 140,000 คน และระดับ ปริญญาตรีประมาณ 400,000 คน ในแต่ละปีมีผู้ส�าเร็จ การศึกษาในระดับอาชีวะและอุดมศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างน้อย 250,000 คน นอกจากนีรัฐบาลยังได้เตรียมมาตรการอ�านวยความสะดวกเพื่อ ดึงดูดบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและมีทักษะสูง (Talents) จากต่างประเทศในสาขาที่ขาดแคลนมาเป็น ก�าลังเสริมในการช่วยกันพัฒนาประเทศด้วย วันนี้เป็นเวลาแห่งโอกาส การปรับเปลี่ยนประเทศไทยสู Thailand 4.0 ผ่านกลไก “ประชำรัฐ”ครั้งนี้ จะน�ามาซึ่ง โอกำสทำงธุรกิจ” (Opportunity Thailand) อย่าง มากมาย ปี 2560 น้จะเป็นปีแห่งการลงทุนขนาดใหญ่ ส�าหรับอนาคต การขับเคลื่อนโครงการส�าคัญนี้จะเป็นหัวใจ และรากฐานของการก้าวสู่ความเป็น Thailand 4.0 จึงขอ เชิญชวนนักลงทุนทั้งไทยและต่างชาติมาร่วมเป็นหุ ้นส่วน (Strategic Partnership) ในการเปลี่ยนแปลงประเทศ ครั้งนี้ (Transforming Thailand : Partnering for the Future)

Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม

Embed Size (px)

Citation preview

กรุงเทพมหานคร

มอเตอรเวย35,300 ลานบาท

รถไฟความเร็วสูง158,000 ลานบาท

เมืองใหม400,000 ลานบาท

สนามบินอูตะเภา215,000 ลานบาท ทาเรือมาบตาพุด

10,150 ลานบาท

รถไฟรางคู64,300 ลานบาท

ทาเรือแหลมฉบัง35,300 ลานบาท

ฉะเชิงเทรา

ชลบุรี

ระยอง

อุตสาหกรรม500,000 ลานบาท

ทองเที่ยว200,000 ลานบาท

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ขั บ เ ค ลื่ อ น ด้ ว ย น วั ต ก ร ร ม

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุน555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท์ 0 2553 8111โทรสาร 0 2553 8315Website: www.boi.go.thE-mail: [email protected]

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำรลงทุนwww.boi.go.th

การพัฒนาพื้นที่ EEC

รัฐบาลมีนโยบายในการสร ้างศูนย ์กลางการพัฒนาที่มีพลังและศักยภาพสูง โดยเริ่มจากพื้ นที่ระ เ บียง เศรษฐกิจพิ เศษ ภาคต ะวั นออก (Eas te rn Economic Corridor: EEC) บนพื้นที่กว่า 13,000 ตารางกิ โลเมตร ซึ่งประกอบไปด ้วยจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา เป็นพื้นที่น�าร่อง

รัฐบาลมีนโยบายที่จะเร่งพัฒนาความพร้อมในทุกด้านเพื่อรองรับการลงทุนและการขยายตัวทางเศรษฐกิจในพื้นท่ี ท้ังด้านสาธารณูปโภค ระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และการอ�านวยความสะดวกในรูปแบบ One Stop Service เพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจให ้มีความสะดวกรวดเร็วท่ีสุด โดยรัฐบาลตั้งเป้าหมายให้พื้นที่ EEC เป็นมหานครแห่งอนาคต เป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน การขนส่งของภูมิภาค เป็นประตูสู ่ เอเชีย และเป ็นเขต เศรษฐกิจพิ เศษท่ีส� า คัญท่ีสุด เพียบพร ้อมท่ีสุด และทันสมัยที่สุดในเอเชีย โดยพื้นที่ EEC มีความโดดเด่น ดังนี้

- เป็นพื้นที่อุตสาหกรรมหลัก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ ใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของเอเชีย และเป็นฐานการผลิตยานยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์ที่ส�าคัญของโลก

- มีท่าเรือน�้าลึก สนามบิน และโครงสร้างพื้นฐานที่ทันสมัย

- เป็นแหล่งบุคลากรและแรงงานที่มีทักษะสูง- เป็นแหล่งท่องเที่ยวแบบครบวงจรชั้นน�าของภูมิภาค

การพัฒนาเครื่องมือส่งเสริมการลงทุนใหม่

รัฐบาลได ้พัฒนาเครื่องมือส ่งเสริมการลงทุนใหม ่ๆ โดยเฉพาะการจัดตั้ งกองทุน เพิ่ ม ขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศส�าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายในวงเงิน 10,000 ล้านบาท โดยที่ผ่านมา ได้มีการแก้ไข กฎหมายเพ่ือเพิ่มเครื่องมือส่งเสริมการลงทุนใหม่ๆ ท่ีจะท�าให ้การดึงดูดการลงทุนที่มีคุณค่าสูง เ พ่ือเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะ การลงทุนในอุตสาหกรรมเป ้ าหมายที่ ใช ้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง หรือมีการวิจัยและพัฒนาที่มีประสิทธิภาพสูงข้ึน เช่น การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สูงสุด 15 ปี การสนับสนุนเงินทุน (Grants) จากกองทุน เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศส�าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมายในวงเงิน 10,000 ล้านบาท เป็นต้น

Thailand 4.0 - โอกาสใหม่ส�าหรับทุกคน

จากทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่ารัฐบาลมีความมุ่งมั่นที่จะขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ Thailand 4.0 โดยการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจเพ่ือยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประ เทศ ผ ่ านมาตรการดึ งดู ดการลงทุ น ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย ตลอดจนการส่งเสริมให้ประเทศเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการลงทุนของภูมิภาค ถือว่าเป็นการพลิกโฉมประเทศไทยครั้งใหญ่ ซึ่งจะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้ขยายตัวได้อย่างต่อเน่ือง ลดความเหลื่อมล�้าในสังคม สามารถสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต ท�าให้ประเทศไทยเป็นแหล่งรองรับการลงทุนชั้นน�าและเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคอย่างแท้จริง

การอ�านวยความสะดวก ในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business)

รัฐบาลให้ความส�าคัญกับการยกร่างกฎหมายและแก้ไขกฎระเบียบ รวมถึงขั้นตอนต่างๆ ของภาครัฐที่ เป ็นอุปสรรคต่อการประกอบธุรกิจ ตั้งแต่กระบวนการจัดตั้งธุรกิจ เช่น การลดขั้นตอนและระยะเวลาในการจดทะเบียนบริษัท การขออนุมัติและอนุญาตต่างๆ การช�าระภาษีอากรทุกประเภท รวมทั้งการอ�านวยความสะดวกด้านวีซ่าและใบอนุญาตท�างาน ทั้งนี้ เพื่อเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการค้าและการลงทุน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

การเตรียมพร้อมด้านก�าลังคน

รัฐบาลมุ่งเตรียมความพร้อมด้านก�าลังคนเพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป ้าหมาย และ Thai land 4.0 ท้ัง การเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรในประเทศให้เป็นก�าลังส�าคัญของการพัฒนาประเทศในอนาคต โดยคาดว่าในปี 2560 จะมีผู ้จบการศึกษาและเข้าสู ่ตลาด แรงงานในระดับอาชีวะประมาณ 140,000 คน และระดับปริญญาตรีประมาณ 400,000 คน ในแต่ละปีมีผู้ส�าเร็จ การศึกษาในระดับอาชีวะและอุดมศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างน้อย 250,000 คน นอกจากน้ี รัฐบาลยังได้เตรียมมาตรการอ�านวยความสะดวกเพื่อดึงดูดบุคลากรที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะด้านและมีทักษะสูง (Talents) จากต่างประเทศในสาขาที่ขาดแคลนมาเป็นก�าลังเสริมในการช่วยกันพัฒนาประเทศด้วย

วันนี้เป็นเวลาแห่งโอกาส การปรับเปลี่ยนประเทศไทยสู่ Thailand 4.0 ผ่านกลไก “ประชำรัฐ”ครั้งนี้ จะน�ามาซึ่ง “โอกำสทำงธุรกิจ” (Opportunity Thailand) อย่างมากมาย ปี 2560 น้ีจะเป็นปีแห่งการลงทุนขนาดใหญ่ส�าหรับอนาคต การขับเคลื่อนโครงการส�าคัญนี้จะเป็นหัวใจและรากฐานของการก้าวสู่ความเป็น Thailand 4.0 จึงขอเชิญชวนนักลงทุนท้ังไทยและต่างชาติมาร่วมเป็นหุ้นส่วน (Strategic Partnership) ในการเปลี่ยนแปลงประเทศครั้งนี้ (Transforming Thailand : Partnering for the Future)

อุตสาหกรรมยานยนตอิเล็กทรอนิกส

อุตสาหกรรมปโตรเคมี

การแพทยครบวงจร

อุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติและหุนยนต

อุตสาหกรรมอากาศยาน

อุตสาหกรรมชีวภาพ

การทองเที่ยวอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร

ดิจิทัล

AEC

เนนภาคการผลิตสินคาเปนหลัก

การผลิตสินคา “โภคภัณฑ”

ขับเคลื่อนดวยทุนมนุษยเทคโนโลยี นวัตกรรมและ

ความคิดสรางสรรค

สินคาเชิง “นวัตกรรม”ที่สรางมูลคาเพิ่มไดสูง

เพิ่มบทบาทของภาคบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูงใหมากขึ้น

ขับเคลื่อนประเทศดวยเงินทุนและทุนทางกายภาพ

Biotech

Bio-Med

Mechatronics

EmbededTechnology

Service Design & Technology

(Bio Diversity & Cultural Diversity) ให้เป็น “ความได ้ เปรียบใน เชิงแข ่งขัน” (Competit ive Advantage) โดยการเติมเต็มด้วย “วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และควำมคิดสร ้ ำงสรรค ์” ดังน้ัน รัฐบาลจึงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีที่ จ ะ เป ็นฐานส� าคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ จ ะขับเคลื่อนประเทศไทยในอนาคต โดยเฉพาะ 5 เทคโนโลยีหลัก ได้แก่

ขอเน้นย�้าว่า นี่ ไม่ ใช่การทิ้งอุตสาหกรรมเดิมและกระโจนเข้าสู่อุตสาหกรรมใหม่ แต่เป็นการปรับเปลี่ยนเพื่อสร้างการเติบโตที่สมดุล (Balanced Growth) เพื่อพัฒนาประเทศ ท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม อย่างค่อยเป็นค่อยไป เกื้อกูลส่งเสริมกัน และก้าวไปข้างหน้าด้วยกันอย่างม่ันคง ท้ังน้ี เพื่อให้เศรษฐกิจมีการขยายตัว และประชาชนมี สภาพความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้น

ปี 2560 นี้ถือเป็นห้วงเวลาส�าคัญยิ่งของประเทศไทย ภายใต้ภาวะความเปลี่ยนแปลงของหลายประเทศในเวทีโลกและภูมิภาค รัฐบาลไทยจึงเล็งเห็นถึงความจ�าเป็นและโอกาสที่จะปรับเปล่ียนและปฏิรูปการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในหลายมิติ โดยรัฐบาลได้ก�าหนดให้ปี 2560 เป็นปีแห่งโอกาส (Opportunity Thailand) กล่าวคือ เป็นปีแห่งการลงทุน เพื่อวางรากฐานของความมั่นคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน ส�าหรับทุกภาคส่วนในอนาคต

เอเชีย หัวจักรขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลก

Opportunity Thailand ได ้ถูกก�าหนดขึ้นในบริบทที่ ป ั จจุ บันภูมิภาค เอ เ ชีย เป ็น ผู ้ น� าทาง เศรษฐกิจและ เป็นหัวรถจักรส�าคัญในการขับเคลื่อนโลก ท้ังด้านการค้า การลงทุน การเงิน และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในหลายๆด้าน โดยมีประเทศญ่ีปุ่น จีน เกาหลี ใต้ อินเดีย รวมทั้งอาเซียนเป็นหัวใจหลักของการขับเคลื่อนดังกล่าว ด้วยประชากรรวมของเอเชียกว่า 3.5 พันล้านคน และ GDP คิดเป็น 32% ของ GDP โลก

ประ เทศ ไทย เป ็ นจุดศู นย ์กลำง ในกำร เ ชื่ อมต ่อกับ กลุ่มเศรษฐกิจในทวีปเอเชีย จากเหนือสู่ ใต้ ตั้งแต่จีนลงสู่อินโดนีเซีย ไปจนถึงเขตโอเชียเนีย จากตะวันออกมายังตะวันตก ตั้งแต่เวียดนามข้ามไปจนถึงเมียนมาร์ และ เป็นจุดยุทธศาสตร์ของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในด้านการผลิต การค้า การส่งออก และการขนส่ง ทั้งยังอยู ่กึ่งกลางระหว่างประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) ที่ก�าลังเติบโตอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยจึงเป็นต�าแหน่งที่ดีที่สุดของ การลงทุนในอาเซียน เพื่อเชื่อมเอเชียและเชื่อมโลก

ยุ ท ธศ าสตร ์ ส� า คัญ ภ า ย ใ ต ้ ก า รน� า ข องรั ฐ บ า ล พลเอก ประยุทธ ์ จันทร ์ โอชา นายกรัฐมนตรี คือ การปฏิ รูปประ เทศ เพื่ อพัฒนา ไปสู ่ “ควำมมั่ นคง ค ว ำ ม มั่ ง ค่ั ง แ ล ะ ค ว ำ ม ยั่ ง ยื น ” ต า ม แ น ว ท า ง Thailand 4.0 ด้วยการสร้างคนและความเข้มแข็ง ด้านเทคโนโลยี ไปพร้อมๆกับการยกระดับโครงสร้าง พื้นฐาน ปฏิรูปกฎระเบียบท่ีเป็นอุปสรรค และขับเคลื่อน การลงทุนที่มุ ่งสร ้างฐานอุตสาหกรรมแห ่งอนาคต เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันที่ยั่งยืนของประเทศในระยะยาว

Thailand 4.0 เป็นโมเดลเศรษฐกิจที่จะน�าพาประเทศไทยให้หลุดพ้นจาก 3 กับดักดังกล่าว พร้อมๆกับเปลี่ยนผ่าน (Transform) ประเทศไทยไปสู่ “ประเทศในโลกที่หนึ่ง” ที่มีความม่ันคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน โดยเป็น “เศรษฐกิจที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม” (Innovation-driven Economy) ตามแนวทางท่ีแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีได้วางไว้ ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน (Local Economy) ควบคู่ไปกับการเชื่อมโยงกับประชาคมโลก สร้างเศรษฐกิจที่มีความสมดุลตามแนวคิด “หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยขับเคลื่อนผ ่านกลไก “ประชำรัฐ” คือ การบูรณาการความร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมท�า ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา

ในการเปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่ Thailand 4.0 รัฐบาลได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงน้อย 3 มิติส�ำคัญ คือ

นวัตกรรม หัวใจขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยยุคใหม่

Thailand 4.0 จึงเป ็นการพัฒนา “เครื่องยนต์เพื่อขับเคลื่อนกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจชุดใหม่” (New Engines of Growth) ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนคือ กำรยกระดับอุตสำหกรรมท่ีเรำมีพื้นฐำนดีอยู่แล้ว ให้สำมำรถสร้ำงมูลค่ำเพิ่มด้วยนวัตกรรมมำกยิ่งขึ้น โดยเฉพาะใน 5 กลุ่มอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมเ ก ษ ต ร แ ล ะ อ า ห า ร ก า ร ท ่ อ ง เ ที่ ย ว ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และปิโตรเคมี พร ้อมๆกับกำรสร ้ ำงอุตสำหกรรมใหม่ๆ ให้เกิดข้ึนเพิ่มเติม อีก 5 กลุ ่ม ได้แก่ อุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ อากาศยาน ดิจิทัล อุตสาหกรรมชี วภาพ แล ะการแพทย ์ ครบวงจร ด้วยการแปลง “ความได ้ เปรียบเชิง เ ป รี ยบ เ ที ย บ ” (Compa ra t i v e Advantage) ของประเทศที่มีอยู่ 2 ด้าน คือ ความหลากหลายเชิงชีวภาพและ คว า มหล า กหล า ย เ ชิ ง วัฒนธรรม

Thailand 4.0 จึงเป็นการถักทอเชื่อมโยงเทคโนโลยีหลักที่เป็นต้นน�้าเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับอุตสาหกรรมเป้าหมายที่อยู่กลางน�้า และ Startups หรือ SMEs ต่างๆ ที่อยู่ปลายน�้า โดยมีเป้าหมายการขับเคลื่อนกลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมายให้เกิดผลสัมฤทธ์ิภายในระยะเวลา 3-5 ปีข้างหน้า ซ่ึงจะเป็นการพัฒนา “ศักยภาพ” และสร้าง “โอกาส” ก่อให้เกิดประโยชน์กับทุกภาคส่วน อย่างทั่วถึงและเป็นรูปธรรม

กลไกพลิกโฉมประเทศไทยสู่ Thailand 4.0 ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ “Thailand 4.0” ให ้ประสบความส�า เร็จ รัฐบาลได ้ร ่วมกับทุกภาคส ่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งไทยและต่างประเทศ ภาควิชาการ และภาคประชาชน ด� า เ นินการพัฒนาแนวความคิด ยุทธศาสตร์การพัฒนา และการขับเคลื่อนทุกมิติหลัก อาทิ การลงทุน การสร้างคน การศึกษาและการส่งเสริมนวัตกรรม ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เช่น

การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้าน Logistics

รัฐบาลเร่งการลงทุนเพ่ือยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน ด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง ท้ังการขนส่งสินค้าและขนส่งมวลชน เช่น การขยายเส้นทางรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพฯ และรถไฟฟ้าเชื่อมกรุงเทพฯ กับเมืองบริวาร การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง การสร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูงเส ้นทางกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ กรุงเทพฯ-ระยอง และกรุงเทพฯ-หัวหิน การขยายเส ้นทางมอเตอร ์ เวย ์ การพัฒนาท ่า เ รือ แหลมฉบัง การปรับปรุงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ-ดอนเมือง-อู่ตะเภา เป็นต้น เพื่อรองรับการเช่ือมโยงภายในอนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้ง East-West และ North-South Economic Corridor ซึ่งนอกจากจะท�าให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการค้า การลงทุน และการคมนาคมขนส่งของภูมิภาคแล้ว ยังเป็นการช่วยสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจแก่พื้นที่ต่างๆ ภายในประเทศด้วย

Thailand 4.0 เพื่อก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง

ในอดีตที่ผ ่านมา ประเทศไทยมีการปรับเปลี่ยนโมเดลเศรษฐกิจมาหลายครั้ง โดยเริ่มจาก “Thailand 1.0” ที่เน้นภาคเกษตรกรรม ไปสู่ “Thailand 2.0” ที่เน้นอุตสาหกรรมเบา โดยใช้ประโยชน์จากค่าจ้างแรงงานราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ มุ ่งเน้น การผลิต เ พ่ือทดแทนการน� า เข ้ า เป ็นส� าคัญ จากนั้นประเทศไทยได ้ก ้าวสู ่ “Thailand 3.0” ในป ัจจุบัน ที่เน้นอุตสาหกรรมที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยดึงดูด การลงทุนจากต่างประเทศเพื่อให้มาใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตเพื่อส่งออกไปตลาดโลก

อย่างไรก็ดี ภายใต้ “Thailand 3.0” นั้น แม้จะท�าให้ประเทศไทยมีเศรษฐกิจที่เติบโตเพิ่มขึ้น แต่ก็ต้องเผชิญ กับดักส�าคัญที่ไม่อาจน�าพาประเทศพัฒนาไปมากกว่านี้ คือ “กับดักประเทศรายได้ปานกลาง”“กับดักความเหลื่อมล�้าของความมั่งคั่ง” และ “กับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา” กับดักเหล่าน้ีเป็นประเด็นท้าทายของประเทศไทยในปัจจุบัน จึงน� า ไปสู ่ การที่ รัฐบาลไทยเล็ง เห็น ถึงความจ� า เป ็น ใ น ก ารป ฏิ รู ป โ ครงสร ้ า ง เ ศรษฐกิ จ เ พื่ อ ก ้ า ว ข ้ า ม “Thailand 3.0” ไปสู่ “Thailand 4.0”

การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้าน Digital

รัฐบาลมุ่งส่งเสริมและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล ซ่ึงจะเป็นปัจจัยส�าคัญท่ีสนับสนุนให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทันโลกและสามารถแข่งขันในโลกสมัยใหม่ได้ ซึ่งครอบคลุมทั้งการผลิตผลิตภัณฑ์ดิจิทัล ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม รวมถึงการใช้ดจิทิลัรองรบัภาคอตุสาหกรรมและการให้บรกิารของ ภาคธุรกิจการเงินและธุรกิจบริการอ่ืนๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงทุนเพื่อยกระดับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงรองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต การพัฒนานวัตกรรม และธุรกิจ e-Commerce

นอกจากนี้ ยังมีโครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ซ่ึงเป็นความร่วมมือระหว่างกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และจังหวัดเจ้าของพ้ืนท่ี เพ่ือการพัฒนาเมืองโดยน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ ใช้ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งดึงดูดนักท่องเที่ยวและเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศ โดยในระยะแรก ได้ก�าหนดพื้นท่ีเป้าหมายส�าหรับพัฒนาเป็น Smart City 3 จังหวัด คือ จังหวัดภูเก็ต เชียงใหม่ และขอนแก่น

อีกทั้งยังมีแนวคิดในการพัฒนาเขตพื้นท่ีนิคมอุตสำหกรรมเพื่อสร้ำงสรรค์นวัตกรรมด้ำนดิจิทัล (Digital Park Thailand) ที่อ�าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีและสร้างสรรค์งาน ด้านดิจิทัลในรูปแบบต่างๆ อาทิ Application, Data Center และนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ ์อัจฉริยะต ่างๆ ที่สามารถเช่ือมต่อกับอินเตอร์เน็ต (IoT) เป็นต้น เพื่อให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมด้านดิจิทัลและ เป็นชุมชนด้านดิจิทัลที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน

การพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย

รัฐบาลได้ก�าหนดนโยบายส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและ การพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป ้ าหมายท่ี เป ็นฐานอุ ตส าหกรรมอนาคต ผ ่ า นกล ไกปร ะช ารั ฐ ทั้ ง การยกระดับอุตสาหกรรมเดิมที่ประเทศไทยมีพื้นฐานดีอยู ่แล้ว ให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยนวัตกรรมมากยิ่ง ข้ึน โดยเฉพาะใน 5 กลุ ่มอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร การท่องเท่ียว ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และปิโตรเคมี นอกจากนี้ ยังต้องเร่งสร้างฐานอุตสาหกรรมใหม่ๆ ซึ่งจะเป็น New Growth Engines ของประเทศ ให้เกิดขึ้นเพิ่มเติมอีก 5 กลุ่ม ได้แก่ อุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ อากาศยาน ดิจิทัล อุตสาหกรรมชีวภาพ และการแพทย์ครบวงจร