140
การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 291 บทที4 กลุมอุตสาหกรรมอาหาร เมื่อกลาวถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อุตสาหกรรมอาหารเปนหนึ่งในหลาย อุตสาหกรรมที่มีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากปจจุบันรัฐบาลมีแนวคิดและนโยบายใหประเทศไทยเปนผูนําทางการ ผลิต และการสงออกอาหารอยางมีเสถียรภาพ โดยวาดฝนใหไทยเปน ครัวของโลกซึ่งการดําเนินงานตามแนวนโยบาย ของรัฐบาล คณะทํางานรวมระหวางสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดวางกรอบการศึกษา โดยประยุกตใชหลักคิดตามทฤษฎีของ Michael E. Porter มาใชในการประเมินและวิเคราะหอุตสาหกรรมอาหาร นั่นคือ การมองภาพของอุตสาหกรรม ในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ และใช Diamond Model เปนเครื่องมือในการวิเคราะหเครือขายวิสาหกิจ จุดเดนของการ ศึกษาตามทฤษฎีที่กลาวมานั้น คือ กอนที่จะวางเปาหมายและทิศทางการดําเนินการของประเทศ จําเปนที่จะตองหันกลับ มามองภาพของประเทศใหแนชัดเสียกอน โดยการประเมินและวิเคราะหใหเห็นถึงศักยภาพที่แทจริง จุดแข็ง และจุดออน ของอุตสาหกรรม ดังนั้นการศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในครั้งนี้จึงมุงเนนในการวิเคราะหภาพรวมของอุตสาหกรรมมากกวา การวิเคราะหแยกรายอุตสาหกรรมยอย เพื่อนําผลการวิเคราะหมาใชในการพัฒนาและแกไขปญหาของทั้งอุตสาหกรรม 4.1 ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหาร การประเมินขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหาร ตามทฤษฎีของ Michael E. Porter จะเริ่ม จากการกลาวถึงประวัติการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ และองคประกอบของเครือขายวิสาหกิจ ตอจากนั้นจะเปนการ วิเคราะหประสิทธิภาพของเครือขายวิสาหกิจ อุตสาหกรรมอาหารเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ ประกอบไปดวยอุตสาหกรรมกรรมยอยสาขาตาง มากมาย ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองกําหนดขอบเขต และคําจํากัดความของอุตสาหกรรมอาหารใหมีความชัดเจนและครอบคลุม ดังที่จะได กลาวถึงในรายละเอียดตอไปนี4.1.1 โครงสรางและพัฒนาการเครือขายวิสาหกิจ (Cluster profile and development) อุตสาหกรรมอาหาร เปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีกระบวนการผลิตหลากหลายขั้นตอนและผลผลิตของแตละ ขั้นตอนนั้นยังสามารถนําไปใชงานตอไดในหลากหลายรูปแบบ เชน สินคาหนึ่งเมื่อผานกระบวนขั้นตนแลวก็จะสามารถนํา ไปบริโภคโดยตรงทันที หรือนําไปผานกระบวนการปรุง การแปรรูปอยางงาย ไปจนถึงการแปรรูปขั้นสูงขึ้นไปไดเชนเดียวกัน ในการศึกษานี้ไดใชแนวความคิดเครือขายวิสาหกิจ ดวยการจัดแบบกลุมกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นทั้งที่เกี่ยวของโดยตรง และที่เปนเพียงการสนับสนุนหรือองคกรอื่นๆ ดังแผนภาพที4.1

Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

  • View
    3.145

  • Download
    1

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

Citation preview

Page 1: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 291

บทที่ 4 กลุมอุตสาหกรรมอาหาร

เมื่อกลาวถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ อุตสาหกรรมอาหารเปนหนึ่งในหลาย อุตสาหกรรมที่มีบทบาทสําคัญเปนอยางยิ่ง เนื่องจากปจจุบันรัฐบาลมีแนวคิดและนโยบายใหประเทศไทยเปนผูนําทางการผลิต และการสงออกอาหารอยางมีเสถียรภาพ โดยวาดฝนใหไทยเปน “ครัวของโลก” ซึ่งการดําเนินงานตามแนวนโยบายของรัฐบาล คณะทํางานรวมระหวางสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดวางกรอบการศึกษา โดยประยุกตใชหลักคิดตามทฤษฎีของ Michael E. Porter มาใชในการประเมินและวิเคราะหอุตสาหกรรมอาหาร นั่นคือ การมองภาพของอุตสาหกรรม ในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ และใช Diamond Model เปนเครื่องมือในการวิเคราะหเครือขายวิสาหกิจ จุดเดนของการศึกษาตามทฤษฎีที่กลาวมานั้น คือ กอนที่จะวางเปาหมายและทิศทางการดําเนินการของประเทศ จําเปนที่จะตองหันกลับมามองภาพของประเทศใหแนชัดเสียกอน โดยการประเมินและวิเคราะหใหเห็นถึงศักยภาพที่แทจริง จุดแข็ง และจุดออนของอุตสาหกรรม ดังนั้นการศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในครั้งนี้จึงมุงเนนในการวิเคราะหภาพรวมของอุตสาหกรรมมากกวาการวิเคราะหแยกรายอุตสาหกรรมยอย เพื่อนําผลการวิเคราะหมาใชในการพัฒนาและแกไขปญหาของทั้งอุตสาหกรรม

4.1 ภาพรวมของอุตสาหกรรมอาหาร

การประเมินขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหาร ตามทฤษฎีของ Michael E. Porter จะเริ่ม จากการกลาวถึงประวัติการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ และองคประกอบของเครือขายวิสาหกิจ ตอจากนั้นจะเปนการวิเคราะหประสิทธิภาพของเครือขายวิสาหกิจ

อุตสาหกรรมอาหารเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญ ประกอบไปดวยอุตสาหกรรมกรรมยอยสาขาตาง ๆ มากมาย ดังนั้น

จึงจําเปนที่จะตองกําหนดขอบเขต และคําจํากัดความของอุตสาหกรรมอาหารใหมีความชัดเจนและครอบคลุม ดังที่จะไดกลาวถึงในรายละเอียดตอไปนี้

4.1.1 โครงสรางและพัฒนาการเครือขายวิสาหกิจ (Cluster profile and development)

อุตสาหกรรมอาหาร เปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีกระบวนการผลิตหลากหลายขั้นตอนและผลผลิตของแตละ

ขั้นตอนนั้นยังสามารถนําไปใชงานตอไดในหลากหลายรูปแบบ เชน สินคาหนึ่งเมื่อผานกระบวนขั้นตนแลวก็จะสามารถนําไปบริโภคโดยตรงทันที หรือนําไปผานกระบวนการปรุง การแปรรูปอยางงาย ไปจนถึงการแปรรูปขั้นสูงขึ้นไปไดเชนเดียวกัน ในการศึกษานี้ไดใชแนวความคิดเครือขายวิสาหกิจ ดวยการจัดแบบกลุมกิจกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้นทั้งที่เกี่ยวของโดยตรง และที่เปนเพียงการสนับสนุนหรือองคกรอื่นๆ ดังแผนภาพที่ 4.1

Page 2: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

292 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

แผนภาพที่ 4.1 แผนภาพเครือขายวิสาหกิจอุตสาหกรรมอาหาร (Cluster map)

โดยที่ไดมีการแบงสวนตางๆของอุตสาหกรรมอาหารดังนี้ สวนแรกที่เปนสวนสําคัญที่สุดคือ กลุมกิจกรรมหลัก ซึ่งประกอบไปดวย 3 กลุมกิจกรรมยอย ซึ่งมีความแตกตางกันในระดับการใชเทคโนโลยีและระดับการแปรรูปสินคา คือ

• กลุมกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยว (Post Harvest) เปนกลุมกิจกรรมที่มีมูลคาเพิ่มในผลิตภัณฑนอยที่สุด โดยลักษณะกิจกรรมจะใชเทคโนโลยีระดับพื้นฐาน และอาจตองผานกระบวนการเพิ่มเติมจึงจะสามารถบริโภคได (ยกเวนผักและผลไมสด)

• กลุมกิจกรรมแปรรูปขั้นตน/กลาง (Semi Process) คือ การแปรรูปสินคาใหอยูในรูปแบบที่พรอมจะนําไปปรุงเพื่อการบริโภค คือ อาจมีการตกแตงหรือปรุงแตงวัตถุดิบใหมีมูลคาเพิ่มมากขึ้น หรือมีกระบวนการถนอมอาหารใหมีอายุยาวขึ้น

• กลุมกิจกรรมแปรรูปขั้นสูง (Process) คือ กิจกรรมที่ใชเทคโนโลยีในระดับที่เพิ่มสูงขึ้นเพื่อใหพรอมกับการบริโภค เปนกิจกรรมที่เพิ่มมูลคาใหกับผลิตภัณฑอาหารสูงที่สุด

ตารางที่ 4.1 แสดงความหมายของแตละกิจกรรมในเครือขายวิสาหกิจ

สงไปยังตลาดทั้งหมดสวนใหญสงตรงไปยังตลาด และสวนนอยสงตอไปยังกิจกรรมแปรรูปขั้นสูง

สามารถสงตรงไปยังตลาด กิจกรรมแปรรูปขั้นตน หรือขั้นสูง

สถานที่หรือกระบวนการหลังจากผานกิจกรรม

สินคาอยูในรูปอาหารพรอมทานหรือบริการ อาจจะมีการผานกระบวนการปรุงอาหารบางเล็กนอยเชน กุงค็อกเทลที่ตองอุนโดยเครื่องไมโครเวฟ

สินคายังอยูในรูปอาหารดิบแตพรอมที่จะนํามาปรุงอาหารไดทันทีเชน กุงที่ไดผานการแกะเปลือก หรือตัดเปนช้ินๆ

สินคายังอยูในรูปอาหารดิบ ตองมีการผานกระบวนการในการปรุงอาหาร เชน กุงตองแกะเปลือก หรือตัดเปนชิ้นๆ และหลังจากนั้นจึงนํามาปรุงเปนอาหารRaw (ยกเวน ผักและผลไม)

สินคาหลังผานกิจกรรม

สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงาน หรือรานอาหาร

สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงานสามารถกระทําโดยเกษตรกรเองหรือโรงงาน

ผูดําเนินกิจกรรม

ขั้นปานกลางถึงสูงขั้นต่ําถึงปานกลางไมมี หรือขั้นต่ําเทคโนโลยีที่เก่ียวของ

จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว หรือ กิจกรรมแปรรูปขั้นตน

จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยวจากการเก็บเกี่ยวโดยตรงวัตถุดิบ

กิจกรรมแปรรูปขั้นสูงกิจกรรมแปรรูปขั้นตนกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยวคําอธิบายและขอกําหนด

สงไปยังตลาดทั้งหมดสวนใหญสงตรงไปยังตลาด และสวนนอยสงตอไปยังกิจกรรมแปรรูปขั้นสูง

สามารถสงตรงไปยังตลาด กิจกรรมแปรรูปขั้นตน หรือขั้นสูง

สถานที่หรือกระบวนการหลังจากผานกิจกรรม

สินคาอยูในรูปอาหารพรอมทานหรือบริการ อาจจะมีการผานกระบวนการปรุงอาหารบางเล็กนอยเชน กุงค็อกเทลที่ตองอุนโดยเครื่องไมโครเวฟ

สินคายังอยูในรูปอาหารดิบแตพรอมที่จะนํามาปรุงอาหารไดทันทีเชน กุงที่ไดผานการแกะเปลือก หรือตัดเปนช้ินๆ

สินคายังอยูในรูปอาหารดิบ ตองมีการผานกระบวนการในการปรุงอาหาร เชน กุงตองแกะเปลือก หรือตัดเปนชิ้นๆ และหลังจากนั้นจึงนํามาปรุงเปนอาหารRaw (ยกเวน ผักและผลไม)

สินคาหลังผานกิจกรรม

สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงาน หรือรานอาหาร

สวนใหญจะดําเนินงานโดยโรงงานสามารถกระทําโดยเกษตรกรเองหรือโรงงาน

ผูดําเนินกิจกรรม

ขั้นปานกลางถึงสูงขั้นต่ําถึงปานกลางไมมี หรือขั้นต่ําเทคโนโลยีที่เก่ียวของ

จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยว หรือ กิจกรรมแปรรูปขั้นตน

จากกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยวจากการเก็บเกี่ยวโดยตรงวัตถุดิบ

กิจกรรมแปรรูปขั้นสูงกิจกรรมแปรรูปขั้นตนกิจกรรมหลังเก็บเกี่ยวคําอธิบายและขอกําหนด

หนวยงานภาครัฐ• กระทรวงเกษตรและสหกรณ• กระทรวงอุตสาหกรรม• คณะกรรมสงเสริมการลงทุน• กระทรวงพาณิชย• กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี• กระทรวงแรงงาน• กระทรวงคมนาคม• กระทรวงตางประเทศ• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

• กระทรวงสาธารณสุข• กระทรวงการคลัง• กระทรวงมหาดไทย

หนวยงานภาครัฐ• กระทรวงเกษตรและสหกรณ• กระทรวงอุตสาหกรรม• คณะกรรมสงเสริมการลงทุน• กระทรวงพาณิชย• กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี• กระทรวงแรงงาน• กระทรวงคมนาคม• กระทรวงตางประเทศ• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

• กระทรวงสาธารณสุข• กระทรวงการคลัง• กระทรวงมหาดไทย

สถาบันการศึกษา•มหาวิทยาลัย•อาชีวศึกษา•โรงเรียนฝกอบรม•สถาบันอาหาร•สถาบันวิจัยตาง ๆ

สถาบันการศึกษา•มหาวิทยาลัย•อาชีวศึกษา•โรงเรียนฝกอบรม•สถาบันอาหาร•สถาบันวิจัยตาง ๆ

ธุรกิจบริการ•ประกันภัย / สถาบันการเงิน•ธกส.•การขนสง และลําเลียงสินคา transportation

•ตัวแทนจําหนาย / นายหนา /คาปลีก

ธุรกิจบริการ•ประกันภัย / สถาบันการเงิน•ธกส.•การขนสง และลําเลียงสินคา transportation

•ตัวแทนจําหนาย / นายหนา /คาปลีก

สมาคมตาง ๆ•สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก•สมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป•สมาคมผูเล้ียงผูผลิตและสงออกกุงกุลาดํา

•สมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย•สภาอุตสาหกรรม•สมาคมผูเพาะเลี้ยงสัตว•ฯลฯ

สมาคมตาง ๆ•สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก•สมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป•สมาคมผูเล้ียงผูผลิตและสงออกกุงกุลาดํา

•สมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย•สภาอุตสาหกรรม•สมาคมผูเพาะเลี้ยงสัตว•ฯลฯ

อุตสาหกรรมที่เก่ียวโยงอื่น ๆ•ผูเพาะเล้ียงพอพันธุแมพันธุ•ตลาดประมูล•หองเย็น•บรรจุภัณฑ•เคร่ืองมือ เครื่องจักร•บริการตรวจสอบคุณภาพ

อุตสาหกรรมที่เก่ียวโยงอื่น ๆ•ผูเพาะเลี้ยงพอพันธุแมพันธุ•ตลาดประมูล•หองเย็น•บรรจุภัณฑ•เครื่องมือ เครื่องจักร•บริการตรวจสอบคุณภาพ

ภาคเกษตรกรรม•กสิกรรม•ปศุสัตว•ประมง

ภาคเกษตรกรรม•กสิกรรม•ปศุสัตว•ประมง

อุตสาหกรรมสนับสนุนและเก่ียวโยงกัน

กิจกรรมหลัก

กิจกรรมหลังเก็บเก่ียว (Post Harvest)

•คัดแยกเกรด

•โรงฆาสัตว

กิจกรรมหลังเก็บเก่ียว (Post Harvest)

•คัดแยกเกรด

•โรงฆาสัตว

กิจกรรมแปรรูปข้ันตน (Semi Process)

•โรงสี

•การดอง การหมัก

•ฉายแสง

•การตมสุก

•การ Dehydration

•การแชเย็นและแชแข็ง

กิจกรรมแปรรูปข้ันตน (Semi Process)

•โรงสี

•การดอง การหมัก

•ฉายแสง

•การตมสุก

•การ Dehydration

•การแชเย็นและแชแข็ง

กิจกรรมแปรรูปข้ันสูง (Process)

•การ Dehydration

•การใชความรอน (Thermal)

•การบรรจุกระปอง

•การแชแข็งอาหารปรุงสําเร็จ

•Cuisine

กิจกรรมแปรรูปข้ันสูง (Process)

•การ Dehydration

•การใชความรอน (Thermal)

•การบรรจุกระปอง

•การแชแข็งอาหารปรุงสําเร็จ

•Cuisine

กิจกรรมหลังเก็บเก่ียว (Post Harvest)

•คัดแยกเกรด

•โรงฆาสัตว

กิจกรรมหลังเก็บเก่ียว (Post Harvest)

•คัดแยกเกรด

•โรงฆาสัตว

กิจกรรมแปรรูปข้ันตน (Semi Process)

•โรงสี

•การดอง การหมัก

•ฉายแสง

•การตมสุก

•การ Dehydration

•การแชเย็นและแชแข็ง

กิจกรรมแปรรูปข้ันตน (Semi Process)

•โรงสี

•การดอง การหมัก

•ฉายแสง

•การตมสุก

•การ Dehydration

•การแชเย็นและแชแข็ง

กิจกรรมแปรรูปข้ันสูง (Process)

•การ Dehydration

•การใชความรอน (Thermal)

•การบรรจุกระปอง

•การแชแข็งอาหารปรุงสําเร็จ

•Cuisine

กิจกรรมแปรรูปข้ันสูง (Process)

•การ Dehydration

•การใชความรอน (Thermal)

•การบรรจุกระปอง

•การแชแข็งอาหารปรุงสําเร็จ

•Cuisine

Page 3: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 293

สวนที่สองเกี่ยวของโดยตรงกับกลุมกิจกรรมหลักขางตน คือ กลุมอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของและสนับสนุนอื่นๆ โดยเฉพาะกลุมอุตสาหกรรมสนับสนุน เชน ภาคการเกษตร ไดแก การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว การประมง เปนตน รวมถึงกลุมอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เชน อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสายพันธุสัตว ตลาดการประมูล อุตสาหกรรม หองเย็น บรรจุภัณฑ เครื่องจักรกลทางการเกษตรและแปรรูป และบริการการตรวจสอบคุณภาพของสินคา

สวนสุดทายเปนสวนหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหาร มีสวนในการสงเสริมและเพิ่ม

ศักยภาพของอุตสาหกรรม เชน สถาบันการศึกษาพื้นฐาน วิทยาศาสตรการเกษตรและสถาบันเฉพาะดานอาหารรวมถึงสถาบันดานการวิจัยคนควาและพัฒนา หนวยงานสมาคม ชมรมทั้งที่จัดตั้งโดยภาครัฐหรือภาคเอกชนเอง นอกจากนี้ยังมีหนวยงานภาครัฐหลายหนวยงานมากมายที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารแลวแตความเกี่ยวของมากนอย ซึ่งการเขาใจถึงปญหาและหาสาเหตุของปญหารวมถึงการคิดวิธีการแกไขปญหาแบบบูรณาการจะตองอาศัยการมองปญหาแบบเครือขายวิสาหกิจ ที่ทําใหเราเห็นภาพของอุตสาหกรรมอาหารแบบองครวมทั้งหมด

พัฒนาการของอุตสาหกรรมอาหารนั้นมีมาชานาน เปนอุตสาหกรรมลําดับแรกที่ไดรับการสนับสนุนมาตั้งแต

ประเทศไทยเริ่มประกาศใชแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 ในป พ.ศ. 2504 (ดูตาราง 4.2 ประกอบ) เนื่องจากมีการเล็งเห็นวาเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญและมีผลเชื่อมโยงตอเนื่องไปยังอุตสาหกรรมอื่นโดยเฉพาะอุตสาหกรรม การเกษตรที่จะสรางงานและรายไดมากมาย โดยการพัฒนาในชวงแรกจะเนนการผลิตเพื่อทดแทนการนําเขาเปนหลัก จนเมื่อประสบผลสําเร็จในระดับหนึ่ง ตอมาไดมีการปรับเปล่ียนนโยบายและเปาหมายหันมาเนนการผลิตเพื่อการสงออกมากขึ้นโดยเฉพาะในปจจุบันที่มีการแขงขันการคาเสรีทั่วโลก มีประเทศผูผลิตมากมายเกิดขึ้น จึงมีความจําเปนที่การ วางแผนดําเนินนโยบายอุตสาหกรรมอาหารจะตองมีการวิเคราะหปรับเปล่ียนใหเหมาะสมทันทวงที นอกจากนี้เมื่อประเทศตางๆ ไดมีการรวมตัวขึ้นในรูปขององคการการคาโลก รูปแบบการกีดกันทางการคาไดเปล่ียนแปลงจากมาตรการที่ใชภาษี มาเปนมาตรการที่มิใชภาษี โดยจะเห็นไดวาตั้งแตชวงยุคการเปดเสรีทางการคาไดมีการกําหนดมาตรการตางๆ ดานอาหารขึ้นมาใหมเปนจํานวนมากขึ้น สงผลใหผูประกอบการอาหารไทยตองเผชิญกับภาวการณแขงขันในตลาดโลกที่ เขมขนมากขึ้น และในบางครั้งก็ประสบปญหาความไมเปนธรรมในการคาจากมาตรการเหลานี้ดวย

ตารางที่ 4.2 พัฒนาการอุตสาหกรรมอาหารโดยสังเขป

ชวงเวลา ลักษณะของอุตสาหกรรม เหตุการณสําคัญ

ยุคการผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศ

(ชวงกอนป พ.ศ. 2503)

• ผลผลิตสวนใหญใชเพ่ือการบริโภคภายในประเทศ • สินคาสงออกประมาณรอยละ 70 เปนสินคาเกษตรสวนเกิน

จากการบริโภคภายในประเทศ • การเก็บรักษาอาหารจะใชเทคโนโลยีอยางงายดวยภูมิ

ปญญาชาวบาน เชน การตากแหง การดอง และการฉาบหรือเคลือบน้ําตาล เปนตน

• ประกาศใชกฎหมายเพื่อสงเสริมการสงออก ป 2503

Page 4: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

294 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ชวงเวลา ลักษณะของอุตสาหกรรม เหตุการณสําคัญ

ยุคการสงเสริมอุตสาหกรรมการผลิต

เพ่ือทดแทนการนําเขา (ป พ.ศ. 2503-2513)

• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ประกาศใชเมื่อป พ.ศ. 2504 เพ่ือนําเอาทรัพยากรที่อุดมสมบูรณของประเทศไปใชประโยชนในทางอุตสาหกรรม

• เร่ิมนําเทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปจากประเทศไตหวัน และญี่ปุนมาใชในการผลิตนมขนหวาน ผักและผลไมกระปอง

• เร่ิมมีการนําผลผลิตจากการแปรรูปสงออกไปยังตางประเทศ

• ประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 เมื่อป 2504

• เร่ิมมีการใชมาตรฐาน CODEX และ GMP ป 2506

• กอต้ังสภาอุตสาหกรรม ป 2510 • ประกาศใชกฎหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ

อุตสาหกรรม ป 2511 • กอต้ังสมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย ป 2511

ยุคแหงการพัฒนาอุตสาหกรรม

เพ่ือการสงออก (ป พ.ศ. 2513-2523)

• อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปไดรับการสงเสริมจากภาครัฐใหมีการเนนการผลิตเพื่อการสงออก เนื่องจากสามารถทํารายไดใหกับประเทศมากขึ้น

• เนื่องจากยังขาดความชํานาญทั้งในดานการผลิต และการตลาด จึงไดมีการพัฒนาและปรับปรุง technology know how เพ่ือใหสินคามีคุณภาพไดมาตรฐานและสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาในตางประเทศ

• กอต้ังสมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป ป 2513 • ประกาศใชพรบ.อาหาร ป 2522

ยุคแหงการความเติบโตของอุตสาหกรรม

(ป พ.ศ. 2523-2533)

• อุตสาหกรรมอาหารของไทยประสบความสําเร็จและมีความเติบโตอยางรวดเร็วในการเขาสูตลาดตางประเทศ

• ประเทศไทยมีความไดเปรียบในเรื่องคาแรงงานซึ่งตํ่ากวาตางประเทศ

• มีการนําเทคโนโลยีจากยุโรปและอเมริกาเขามาปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต

• ผูผลิตมีความรูและความชํานาญในการผลิตมากขึ้น จนสามารถเกิด economy of scale ได

ยุคแหงการเปดเสรี ทางการคา

(ป พ.ศ. 2533-ปจจุบัน)

• การแขงขันของอุตสาหกรรมอาหารมีอยูสูง เนื่องจากผูผลิตรายใหมที่มีคาแรงที่ตํ่าและมีวัตถุดิบที่คลายคลึงกับไทยเขาสูตลาดโลกมากขึ้น

• ผูประกอบการของไทยจําเปนที่จะตองพัฒนาความสามารถทั้งในเรื่องเทคโนโลยีการผลิต การตลาด และการจัดการอยางตอเนื่อง พรอมทั้งพยายามผลิตสินคาใหมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น

• ผูประกอบการไดรับแรงกดดันตาง ๆ จากประเทศผูนําเขา อาหารในการออกมาตรการดานความสะอาดและสุข อนามัย รวมทั้งมาตรฐานสากลตาง ๆ เชน ISO 9000, ISO 14000, HACCP เพ่ือใหเกิดการยอมรับในตัวสินคา

• กอต้ังสมาคมผูผลิตไกเพ่ือสงออก ป 2534 • ประกาศใชพรบ.โรงงาน ป 2535 • เร่ิมมีการใชมาตรฐาน Green dot ป 2537 • เร่ิมมีการใชมาตรฐาน HACCP ป 2538 • กอต้ังสถาบันอาหาร ป 2539 • Animal Welfare เร่ิมมีบทบาทในการกีกัน ทางการคา ป 2540 • ยุโรปประกาศใช EU White Paper สําหรับอาหารที่นําเขา ป 2543

Page 5: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 295

นับตั้งแตเริ่มมีการเปดเสรีทางการคา สงผลใหทุกอุตสาหกรรมมีการลงทุนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเพื่อรองรับกับการแขงขันที่รุนแรงขึ้น สําหรับการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารภายในชวงเวลาตั้งแตป 2535 จนถึงป 2545 พบวา โครงการลงทุนและการจางงานในโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและเครื่องปรุงจะมีคาสูงที่สุด ซึ่งแสดงใหเห็นวา ตลอดชวง 10 ปที่ผานมา ภาคเอกชนยังคงใหความสนใจในการลงทุนในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารอยู และเมื่อพิจารณาภาพรวมแลวจะเห็นวา อุตสาหกรรมเกี่ยวโยงเองก็ไดรับความสนใจจากนักลงทุนอยูเชนกัน เชน การผลิตอาหารสัตว หองเย็น โรงฆาและชําแหละสัตว ผลิตผลการเกษตร การคัด บรรจุและรักษาผลิตภัณฑ เปนตน

ที่มา: คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

แผนภาพที่ 4.2 สถิติการลงทุนสะสมที่ขอรับการสงเสริมการลงทุนชวงป 2535-2545

อุตสาหกรรมอาหารของไทยมีเปาหมายเพื่อการสงออกเปนหลัก โดยในป 2544 มีมูลคาการสงออกมากกวา 4 แสนลานบาท ในจํานวนนี้มีมากกวาครึ่งหนึ่งเปนการสงออกผลิตภัณฑอาหารจากอุตสาหกรรมขนาดใหญ 5 อุตสาหกรรม คือ ผลิตภัณฑอาหารทะเลบรรจุกระปองและแปรรูป ขาว กุงแชแข็งแชเย็น ผลไมกระปองและแปรรูป ไกสดแชแข็งและแปรรูป ซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญทั้งในดานของปริมาณการสงออกและกลไกผลักดันสําคัญของ อุตสาหกรรมอาหารโดยรวม ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.3

ที่มา: สถาบันอาหาร และกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

แผนภาพที่ 4.3 มูลคาการสงออกอาหารของไทย

399 377 399445

0

100

200

300

400

500

2541 2542 2543 2544

พันลานบาทมูลคาการสงออกอาหาร

42%

12%

20%

5%

16% ขาว

กุงแชเย็นและแชแข็ง

ผลไมกระปองและแปรรูป5%ไกแชเย็นและแชแข็ง

อื่น ๆ

สัดสวนสินคาสงออกที่สําคัญ ป 2544อาหารทะเลกระปองและแปรรูป

5451

1,005133

238122131180

5189190

108152

11,0521,991

4,0512,5523,280

6,13118,663

3,4653,869

23

1115172125

34363843

ผลิต ถนอมอาหาร และสิ่งปรุงแตง

ผลิตอาหารสัตวหองเย็น

น้ํามันหรือไขมันพืช-สัตว

การเลี้ยงสัตวคัด บรรจุ เก็บรักษา

ฆาและชําแหละสัตวขยายพันธุสัตว

ขยายพันธุหรือคัดคุณภาพเมล็ดพันธุ

ประมงน้ําลึก

เพาะปลูกระบบ Hydroponicsอบพืชและไซโล

ผลิตผลทางการเกษตร

จํานวนโครงการ268

การจางงาน (คน) การลงทุน/โครงการ(ลานบาท) การจางงาน/โครงการ

1

102,491

44

95

36

35

66

3

145

5 382

45

Page 6: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

296 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

นอกจากนี้เมื่อพิจารณาดานตลาดการสงออกแลวนั้นจะพบวาสินคาอาหารทั้ง 5 ชนิดขางตนนั้นยังเปนสินคาที่การนําเขาสูงที่สุดจากตลาดตางประเทศที่สําคัญๆ ของไทย เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน ออสเตรเลียและกลุมประเทศมุสลิม1 โดยสหรัฐอเมริกาจะนําเขาอาหารทะเลกระปอง กุงแชเย็นและแชแข็ง และผลไมแปรรูป สหภาพ ยุโรป จะเนนการนําเขาผลิตภัณฑไก อาหารทะเลกระปอง และผลไมแปรรูป ญี่ปุน มีสินคานําเขาสําคัญ คือ อาหารทะเลกระปอง ผลิตภัณฑไก และผลิตภัณฑจากกุง ออสเตรเลีย เนนการนําเขาผลิตภัณฑอาหารทะเลแปรรูป และผลิตภัณฑกุง ในขณะที่กลุมประเทศมุสลิมจะมีการนําเขาขาวและน้ําตาลเปนหลัก

ตารางที่ 4.3 เปรียบเทียบ 5 อันดับสินคาสงออกหลักในตลาดที่สําคัญของไทย

ที่มา: ทีมวิเคราะห

4.1.2 สมรรถนะของเครือขายวิสาหกิจ (Cluster Performance)

การวิเคราะหสมรรถนะของอุตสาหกรรมอาหารตอการพัฒนาประเทศ สามารถประเมินไดตามบทบาทการ

พัฒนาเศรษฐกิจ นั่นหมายถึง การวิเคราะหสมรรถนะทางการผลิต และการจางงาน ตลอดจนการศึกษาถึงผลการ ดําเนินงานทางการตลาดและการสงออก โดยวิเคราะหความเปนผูนําทางการตลาด โอกาสของคูแขงขัน และความ ไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ นอกจากนี้ยังจําเปนที่จะตองพิจารณาถึงกฎเกณฑ ระเบียบบนวิถีทางการคาโลก และอุปสรรค ที่กําลังเผชิญอยู ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้

1 ประกอบดวย บาหเรน อียิปต อิหราน อิรัก จอรแดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย โอมาน การตาร ซาอุดิอาระเบีย ซีเรีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส และ เยเมน

ขาว

ปลาท่ีผานการปรุงหรือ ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน ภาชนะบรรจุ สูญญากาศ

ปลาท่ีผานการปรุงหรือ ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน ภาชนะบรรจุสุญญากาศ

ไกท่ีผานการปรุงอาหาร

ปลาท่ีผานการปรุงหรือ ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน ภาชนะบรรจุสุญญากาศ

อันดับท่ี 1

นํ้าตาล

กุง กุงมังกรสดแชแข็งหรือแชเย็น

ชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็ง

ปลาท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร ปลาหมึกในภาชนะบรรจุสุญญากาศ

กุง กุงมังกรสดแชแข็งหรือแชเย็น

อันดับท่ี 2

ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลังนม และผลิตภัณฑจากนม

ปลาท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร ปลาหมึกในภาชนะบรรจุสูญญากาศ

กลุมประเทศมุสลิม

ผลไมท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร

ผลิตภัณฑขาวสาลีและสวนผสมในการทําอาหารอื่นๆ

ขาวออสเตรเลีย

ปลา ปลาหมึก ปลาหมึกยักษสดแชเย็นหรือแชแข็ง

ชิ้นปลาหรือเน้ือปลาอื่นๆ สดแชเย็นหรือแชแข็ง

กุง กุงมังกรสดแชแข็งหรือแชเย็น

ญี่ปุน

ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลังชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็งผลไมท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร

สห ภาพยุโรป

ผลิตภัณฑขาวสาลีและ สวนผสมในการทําอาหารอื่นๆ

ขาวผลไมท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร

สหรัฐอเมริกา อันดับท่ี 5 อันดับท่ี 4อันดับท่ี 3ประเทศ

ขาว

ปลาท่ีผานการปรุงหรือ ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน ภาชนะบรรจุ สูญญากาศ

ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน ภาชนะบรรจุสุญญากาศ

ไกท่ีผานการปรุงอาหาร

ปลาท่ีผานการปรุงหรือ ถนอมอาหาร ปลาหมึกใน ภาชนะบรรจุสุญญากาศ

อันดับท่ี 1

นํ้าตาล

กุง กุงมังกรสดแชแข็งหรือแชเย็น

ชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็ง

ปลาท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร ปลาหมึกในภาชนะบรรจุสุญญากาศ

กุง กุงมังกรสดแชแข็งหรือแชเย็น

อันดับท่ี 2

ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลังนม และผลิตภัณฑจากนมถนอมอาหาร ปลาหมึก

ในภาชนะบรรจุสูญญากาศ

ผลไมท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร

ผลิตภัณฑขาวสาลีและสวนผสมในการทําอาหารอื่นๆ

ขาวออสเตรเลีย

ปลา ปลาหมึก ปลาหมึกยักษสดแชเย็นหรือแชแข็ง อื่นๆ สดแชเย็นหรือแช

แข็ง

กุง กุงมังกรสดแชแข็งหรือแชเย็น

ญี่ปุน

ผลิตภัณฑแปงมันสําปะหลังชิ้นไกแชเย็นหรือแชแข็งหรือถนอมอาหาร

สห ภาพยุโรป

ผลิตภัณฑขาวสาลีและ สวนผสมในการทําอาหารอื่นๆ

ขาวผลไมท่ีผานการปรุงหรือถนอมอาหาร

สหรัฐอเมริกา อันดับท่ี 5 อันดับท่ี 4อันดับท่ี 3ประเทศ

Page 7: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 297

4.1.2.1 สมรรถนะทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมอาหารมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนา และสรางความเจริญใหแกระบบเศรษฐกิจ

ของประเทศ เนื่องจากไทยเปนประเทศเกษตรกรรมที่คนสวนใหญของประเทศประกอบอาชีพการเกษตร และอาชีพอื่นๆ ที่มีสวนเกี่ยวโยงตอเนื่องกันในวงกวางและหลากหลาย จึงทําใหอุตสาหกรรมอาหารนั้นมีสัดสวนมูลคามากที่สุด และมีสวนสําคัญตอการขยายตัวและสรางความกาวหนาทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีมูลคาเพิ่มในแตละปไมต่ํากวา 1 แสนลานบาท และมีความเติบโตอยางตอเนื่องทุกป มีอัตราเติบโตเฉลี่ยชวงป 2540-2544 เทากับรอยละ 7.7 และมีสวนแบง มูลคาเพิ่มในป 2544 เทากับรอยละ 9.0 ของหมวดการผลิต ขณะที่อุตสาหกรรมเครื่องดื่มซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงกัน มีอัตราเติบโตที่ไมแนนอน โดยเฉลี่ยชวงป 2540-2544 เติบโตที่ลดลงรอยละ 3.3 มีสัดสวนมูลคาเพิ่มป 2544 เทากับรอยละ 5.2 ของหมวดการผลิต และหากผนวกอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเขาดวยกันแลว จะมีมูลคาสูงกวา 2 แสนลานบาทในป 2544 โดยมีสวนแบงอยูในระดับรอยละ 14.2 และมีความเติบโตเฉลี่ยชวงป 2540-2544 ประมาณรอยละ 2.9

ตารางที่ 4.4 ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของอุตสาหกรรมจําแนกตามหมวดการผลิต

ที่มา : “รายไดประชาชาติของประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. 2544” สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

(พันลานบาท)หมวดการผลิต 2539 2540 2541 2542 2543 2544pสัดสวนป 44 CAGR 40-44อาหาร 102 110 134 129 145 148 9.0% 7.7%เครื่องด่ืม 81 98 103 137 70 86 5.2% -3.3%ยาสูบ 28 34 33 31 32 32 2.0% -1.7%สิ่งทอ 88 89 101 99 106 107 6.5% 4.7%เสื้อผา 152 163 154 156 162 160 9.8% -0.5%หนังและผลิตภัณฑหนัง 41 47 49 55 60 67 4.1% 9.2%ไมและผลิตภัณฑจากไม 8 8 6 6 7 8 0.5% -0.6%เครื่องเรือนและเครื่องตกแตงท่ีทําจากไม 34 26 21 20 25 26 1.6% 0.4%เย่ือกระดาษและผลิตภัณฑกระดาษ 21 25 30 31 34 35 2.1% 8.7%การพิมพและอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ 15 14 14 15 15 16 0.9% 2.4%เคมีภัณฑ 46 53 59 63 86 85 5.2% 12.4%โรงกลั่นน้ํามันปโตรเลียม 99 126 140 126 122 127 7.8% 0.3%ยางและผลิตภัณฑยาง 34 37 42 42 53 56 3.4% 10.6%อโลหะ 70 67 55 62 65 71 4.4% 1.6%โลหะพื้นฐาน 20 19 16 14 16 17 1.0% -3.1%เครื่องมือโลหะ 36 37 39 44 48 51 3.1% 8.8%เครื่องจักร 100 106 121 134 158 160 9.8% 10.7%เครื่องจักรและเครื่องมือที่ใชไฟฟา 105 105 110 107 145 120 7.3% 3.4%ขนสงและยานยนต 113 88 36 66 95 125 7.6% 9.1%อุตสาหกรรมอ่ืน ๆ 111 109 101 112 132 143 8.7% 7.1%รวมมูลคาเพ่ิม 1,303 1,361 1,362 1,447 1,576 1,639 100.0% 4.7%

Page 8: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

298 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

เมื่อวิเคราะหถึงการสรางมูลคาเพิ่มในอุตสาหกรรมอาหาร จะพบวา ผลิตภัณฑอาหารที่มีมูลคาเพิ่มของไทยเกือบทุกชนิดมีอัตราการเติบโตที่ดี ทั้งในระดับปานกลางและสูงมากในบางสินคาอยางตอเนื่องตลอดชวงระยะเวลาป 2540 ถึงป 2544 ผลิตภัณฑที่สรางมูลคาเพิ่มสูงที่สุด 3 อันดับแรกของไทย คือ ผลิตภัณฑสัตวน้ําแปรรูปผลิตภัณฑสัตวน้ํากระปอง และผลิตภัณฑขาว ซึ่งมีสวนแบงมูลคาเพิ่มของแตละผลิตภัณฑประมาณรอยละ 15-20 ในป 2544 (ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.4) นั่นแสดงใหเห็นวา ผูประกอบการในอุตสาหกรรมเริ่มใหความสนใจในการพัฒนาผลิตภัณฑอาหารที่เนนการสรางมูลคาเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเกิดการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันไดดียิ่งขึ้น

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แผนภาพที่ 4.4 มูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรมผลิตอาหาร ณ ราคาตลาด (ไมรวมเครื่องดื่ม)

ถึงแมวา อุตสาหกรรมอาหารจะไมเติบโตอยางรวดเร็วเทียบเทากับอุตสาหกรรมอื่นๆ บางประเภท เชน เคมีภัณฑ ยางและผลิตภัณฑยาง เครื่องจักร และขนสงและยานยนต แตเมื่อพิจารณาถึงอัตราการใชกําลังการผลิตของอุตสาหกรรมแลว พบวา ปจจุบันอุตสาหกรรมอาหารไดใชอัตราการใชกําลังการผลิตเพียงรอยละ 46.4 เทานั้น ซึ่ง ต่ํากวาอุตสาหกรรมอื่นๆ นั่นแสดงใหเห็นวา อุตสาหกรรมอาหารมีโอกาสขยายกําลังการผลิตไดอีกมาก เปนขอไดเปรียบ ที่เหนือกวาอุตสาหกรรมอื่น หากตองการที่จะเพิ่มกําลังการผลิตสินคา ซึ่งรายละเอียดอัตราการใชกําลังการผลิตเปรียบเทียบแตละกลุมอุตสาหกรรม ชวงป 2538-2545 แสดงไวในตารางที่ 4.5

0.0%

5.0%

10.0%

15.0%

20.0%

25.0%

-15.0% -10.0% -5.0% 0.0% 5.0% 10.0% 15.0% 20.0% 25.0%สัดสวนการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยชวงป 2540-2544

สวนแบงมูลคาเพิ่ม

ในอุตสาหกรรม

อาหาร ป

2544

โรงฆา ชําแหละ และถนอมผลิตภัณฑเนื้อสัตว

= 10,000 ลานบาท

ผลิตภัณฑนมผักและผลไมกระปอง

ผักและผลไมอบแหง

ผลิตภัณฑสัตวน้ํากระปองผลิตภัณฑสัตวน้ําแปรรูป

น้ํามันและไขมัน

ผลิตภัณฑแปงเบเกอรี่

น้ําตาลอาหารสัตว

ผลิตภัณฑขาว

Page 9: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 299

ตารางที่ 4.5 อัตราการใชกําลังการผลิตในอุตสาหกรรม จําแนกตามกลุมอุตสาหกรรม

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

หากพิจารณาถึงรายประเภทของสินคาแลว พบวา กําลังการผลิตของสินคาอาหารเกือบทุกประเภท

ยังไมไดมีการใชงานอยางเต็มที่ ทําใหประเทศไทยยังมีศักยภาพและกําลังการผลิตที่เหลือเพียงพอเพื่อรองรับการขยายตลาดในอนาคต โดยเฉพาะสินคาอาหารที่สําคัญของไทย ไดแก กุงแชแข็ง ไกแชแข็ง มีการใชกําลังการผลิต ประมาณ รอยละ 60-70 โดยเฉพาะอยางยิ่งผลิตภัณฑอาหารที่สรางมูลคาเพิ่ม เชน อาหารทะเลกระปอง ทูนากระปองและสับปะรดกระปอง ซึ่งไทยผลิตและสงออกอยางมากใชกําลังการผลิตต่ํากวารอยละ 60 นั่นแสดงใหเห็นวา ไทยมีศักยภาพในการเพิ่มปริมาณการผลิตสินคาเหลานี้ไดอีกมาก และเปนขอไดเปรียบสําหรับผูประกอบการไทยในอันที่จะพัฒนาผลิตภัณฑเหลานี้ใหมีมูลคาเพิ่มยิ่งขึ้น และสรางความแตกตางของผลิตภัณฑ ดังแสดงในแผนภาพที่ 4.5

แผนภาพที่ 4.5 การใชกําลังผลิตในอุตสาหกรรมอาหาร

รอยละกลุมอุตสาหกรรม 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545อาหาร 41.5 37.3 37.4 33.3 42.5 44.0 42.6 46.4เครื่องด่ืม 82.3 83.0 79.1 77.2 101.9 32.6 36.4 50.5ยาสูบ 75.2 84.2 75.8 60.4 54.4 53.7 52.1 53.8วัสดุกอสราง 97.3 78.7 72.9 44.6 49.8 50.1 52.3 56.9เหล็ก และโลหะ 64.2 65.2 50.6 35.9 39.6 47.0 50.0 60.6ยานยนตและช้ินสวน 81.4 67.6 48.5 23.4 35.6 40.1 44.5 54.6ปโตรเลียม 93.2 85.7 90.1 84.0 85.7 83.9 74.8 76.2เครื่องใชไฟฟา 63.9 67.8 62.2 47.5 53.4 65.4 47.5 59.7อ่ืน ๆ 80.0 77.7 66.1 68.9 72.9 75.4 77.0 71.5รวม 77.4 72.5 64.8 52.8 61.2 55.8 53.5 60.0

ท่ีมา: ธนาคารแหงประเทศไทย และกระทรวงอุตสาหกรรม

0%10%20%30%40%50%60%70%80%90%

2541 2542 2543 2544 2545

อาหารทะเลกระปอง

สัปปะรดกระปอง

นม

น้ําตาล

ไกแชแข็ง*กุงแชแข็ง*ทูนากระปอง*

* ขอมูลจากการสํารวจสถิติอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

Page 10: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

300 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.1.2.2 การจางงานในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอาหารกอใหเกิดการจางงานอยางกวางขวาง ทั้งนี้เพราะวัตถุดิบที่ใชโดยสวนใหญเปน

วัตถุดิบที่หาไดภายในประเทศอันเกิดจากผลผลิตทางภาคเกษตร จึงสงผลทําใหจํานวนผูมีงานทํามาก ซึ่งจากตัวเลขการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติ จํานวนผูมีงานทําในป 2544 ทั้งประเทศมีจํานวนทั้งส้ินประมาณ 33.5 ลานคน (ดูแผนภาพที่ 4.6 ประกอบ) เปนบุคคลที่อยูในภาคเกษตรกรรมมากกวา 12 ลานคน หรือประมาณรอยละ 38 ของจํานวน ผูมีงานทําทั้งประเทศ ถึงแมวาภาคเกษตรกรรมจะไมไดรวมถึงผลผลิตที่เปนอาหาร แตก็นับวาเปนแหลงวัตถุดิบเกือบ ทั้งหมดของอุตสาหกรรมอาหาร ในชวงป 2540-2544 การเติบโตของผูมีงานทําในภาคเกษตรกรรมแมจะลดลงก็ตาม แตความเติบโตของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมอาหารมีอัตราเพิ่มขึ้นคอนขางสูงประมาณรอยละ 5.4 ที่เปนเชนนี้ สวนหนึ่งเปนเพราะวาแรงงานในภาคเกษตรบางสวนไดยายเขาสูภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยเฉพาะในชวงที่ไมอยูในฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งแรงงานเหลานี้จะหันเขามาหางานทําในตัวเมืองหรือแหลงงานอื่น และสวนหนึ่งเมื่อไดงานที่ม่ันคงจึงไมกลับเขาสูภาคเกษตร

หมายเหตุ : จํานวนผูมีงานทําทั้งประเทศ ณ.สิ้นไตรมาสที่ 3 ป 2544 = 33.5 ลานคน ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสํานักงานสถิติแหงชาติ

แผนภาพที่ 4.6 เปรียบเทียบขนาดสัดสวน ความเติบโต และจํานวนผูมีงานทําของประเทศ

สําหรับแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร โดยสวนใหญผูประกอบการในอุตสาหกรรมจะเนนการใช แรงงานเพื่อการผลิตในโรงงานเสียมากกวาการใชแรงงานที่มีทักษะฝมือ หรือแรงงานที่มีความรูเฉพาะดาน ทั้งนี้เนื่องจากวาการใชเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมอาหารโดยสวนใหญเปนการใชเทคโนโลยีขั้นพื้นฐาน ประกอบกับลักษณะการดําเนินธุรกิจ จะมีรูปแบบการบริหารงานโดยเจาของเปนผูดูแลแตเพียงผูเดียว หรือเปนลักษณะการบริหารงานแบบครอบครัวที่สืบทอดความรูในการผลิตมาจากบรรพบุรุษ ดังนั้น แรงงานที่ใชจึงเนนเฉพาะแรงงานที่ใชกําลังมากกวาแรงงานที่ใชความรู เชน คนงานคุมเครื่องจักรที่ใชผลิต คนงานลาง หั่น ตัด และตกแตงวัตถุดิบ คนงานบรรจุขวดหรือกระปอง คนงานติดฉลาก เปนตน แรงงานเหลานี้เปนแรงงานที่มีคาจางต่ํา แตเปนแรงงานที่สําคัญของผูประกอบการแตละราย หากเปรียบเทียบ คาแรงงานของคนงานในอุตสาหกรรมอาหารกับภาคธุรกิจอื่นๆ พบวา คาแรงงานตอปอยูในระดับต่ําแตก็มีแนวโนมการ

0.0%5.0%

10.0%15.0%20.0%25.0%30.0%35.0%40.0%45.0%

-4.0% -2.0% 0.0% 2.0% 4.0% 6.0% 8.0% 10.0%

สัดสวนตอผูมีงานทําทั้งประเท

ศป 25

44

อัตราเติบโตของการจางงานชวงป 2540-2544

เกษตรกรรม

อาหาร

บริการคาสงและคาปลีก

ขนสงและคมนาคม

= 1,000,000 คน

Page 11: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 301

เพิ่มขึ้นของอัตราคาแรงงานอยางชัดเจนและตอเนื่องเชนเดียวกับภาคธุรกิจอื่นๆ ดังจะเห็นไดจากคาจางเฉลี่ยใน อุตสาหกรรมอาหารอยูในระดับต่ํากวาการบริการ การคมนาคมและขนสง และธุรกิจคาสงและคาปลีก โดยคาจางแรงงานเฉล่ียในอุตสาหกรรมอาหารอยูที่ประมาณ 73,458 บาทตอคนตอป ณ.ป 2544 แตเมื่อวัดถึงความคุมคาเมื่อเทียบกับ ผลิตผลที่เกิดจากการใชงานในอุตสาหกรรมแลว แรงงานในอุตสาหกรรมอาหารกอใหเกิดความคุมคาตอเงินคาจางในอัตรา 1.5 เทา ซึ่งสูงกวาภาคธุรกิจบริการที่มีอัตราเพียง 0.5 เทา และภาคธุรกิจคาสงและคาปลีกที่มีอัตรา 1.03 เทา นั่นยอมแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมอาหารยังอยูในเกณฑที่นาพอใจเมื่อเทียบกับอุตสากรรมอื่น ๆ แตเมื่อเทียบกับตัวอุตสาหกรรมเองกลับมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ดังตารางที่ 4.6

ตารางที่ 4.6 เปรียบเทียบคาจางและผลิตภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

4.1.2.3 สมรรถนะทางการตลาดและการสงออก เมื่อพิจารณาถึงการสรางรายไดใหแกประเทศ ก็จะพบวา การสงออกอาหารนับตั้งแตป 2541 มีมูลคา

ปละกวา 4 แสนลานบาท ทั้งนี้เปนผลมาจากวิกฤตการณทางเศรษฐกิจและการปรับลดคาเงินบาทของประเทศ จึงทําให มูลคาการสงออกอาหารในรูปของเงินบาทมีเปนจํานวนมาก ผลักดันใหสัดสวนการสงออกอาหารตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ จากเดิมเคยตกต่ําที่สุดในระดับประมาณรอยละ 6 เมื่อป 2539 สามารถเพิ่มขึ้นมาอยูในระดับสูงกวารอยละ 8.5 ในป 2544 ได อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหถึงสัดสวนการสงออกอาหารตอการสงออกรวมแลว จะเห็นไดวา มีสัดสวน

2540 2541 2542 2543 2544

อุตสาหกรรมอาหาร 65,656 64,290 61,442 67,448 73,458 การบริการ 103,382 110,057 107,079 107,267 139,945 การคมนาคม และขนสง 136,482 157,830 145,565 157,184 151,245 คาสง คาปลีก 87,421 87,159 81,505 86,105 97,679 ผลิตภาพแรงงานอุตสาหกรรมอาหาร 113,866 97,987 112,429 109,646 109,830 การบริการ 93,502 90,282 90,612 95,294 79,432 การคมนาคม และขนสง 272,811 259,067 269,154 303,163 310,100 คาสง คาปลีก 117,644 99,378 98,442 98,978 100,981 ผลิตภาพแรงงานตอคาจางอุตสาหกรรมอาหาร 1.73 1.52 1.83 1.63 1.50 การบริการ 0.90 0.82 0.85 0.89 0.57 การคมนาคม และขนสง 2.00 1.64 1.85 1.93 2.05 คาสง คาปลีก 1.35 1.14 1.21 1.15 1.03

คาจางเฉลี่ยตอป

Page 12: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

302 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ลดลงอยางตอเนื่องจากเดิมที่มีสัดสวนเทากับรอยละ 25.3 ในป 2535 ลดลงมาอยูที่ระดับรอยละ 15.4 ในป 2544 ซึ่งสาเหตุสวนหนึ่งนั้นเกิดจากการที่อุตสาหกรรมอื่นไดมีการปรับเปล่ียน โดยขยายการผลิตเพื่อการสงออกในอัตราเพิ่มขึ้นที่สูงกวาอัตราเพิ่มของอุตสาหกรรมอาหาร โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต ซึ่งแตเดิมเนนการผลิตเพื่อขายภายในประเทศแทบทั้งหมด แตภายหลังจากเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจและการปรับลดคาเงินบาท ผูประกอบการในอุตสาหกรรม ยานยนตจึงไดเริ่มหันมาใหความสนใจดานการสงออก จนปจจุบันมีสัดสวนการสงออกมากกวารอยละ 30 และมีอัตราการขยายตัวของการสงออกชวงป 2539-2544 อยูที่ระดับรอยละ 25 (รายละเอียดโปรดอานกลุมอุตสาหกรรมยานยนต)

ที่มา : สถาบันอาหาร และกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

แผนภาพที่ 4.7 สถิติมูลคาการสงออกอาหาร การสงออกเปนเปาหมายหลักของผูประกอบการสวนใหญในอุตสาหกรรมอาหาร เนื่องจากประเทศไทย

มีแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ และมีวัตถุดิบที่หลากหลายในการนํามาแปรรูป เพื่อการบริโภค ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีความจําเปนนอยมากที่จะตองนําเขาอาหารจากตางประเทศ จากแผนภาพที่ 4.8 จะเห็นไดวา มูลคาการนําเขาอาหารจากตางประเทศของไทยนอยมาก คือ ในป 2540 ประเทศไทยนําเขาอาหารจากตางประเทศคิดเปนมูลคาประมาณ 90,000 ลานบาท ขณะที่มูลคาการสงออกประมาณ 332,000 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราสวนการสงออกตอการนําเขา เทากับ 3.6 เทา โดยการนําเขาอาหารมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยประมาณรอยละ 3.2 ตอป เทียบการสงออกอาหารที่มีอัตราการเติบโตเฉลี่ยประมาณรอยละ 7.6 ตอป โดย ณ ส้ินป 2544 ประเทศไทยมีการนําเขาอาหารคิดเปนมูลคาเพียง 132,000 ลานบาท ในขณะที่มีการสงออกอาหารรวมเปนมูลคาถึง 445,000 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราสวนการสงออก ตอการนําเขา เทากับ 3.4 เทา

0

100,000

200,000

300,000

400,000

500,000

2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544

5.0%5.5%6.0%6.5%7.0%7.5%8.0%8.5%9.0%

ลานบาท

สัดสวนตอการสงออกรวม 17.7% 17.0% 14.4% 15.4%

%สัดสวนตอ GDP

25.3% 21.1% 20.3% 18.7% 19.0% 18.4%

Page 13: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 303

ที่มา: สถาบันอาหาร

แผนภาพที่ 4.8 มูลคาการนําเขาและสงออกของไทย สวนประเทศที่มีการนําเขาอาหารที่สําคัญของโลกมากที่สุดในโลกนั้น (ดูตารางที่ 4.7 ประกอบ) ไดแก

สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีมูลคานําเขาอาหารถึง 49.36 พันลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนการนําเขาอาหารเทากับรอยละ 10.3 ของโลก รองลงมา คือ ญี่ปุน ซึ่งมีขนาดมูลคาการนําเขาอาหารใกลเคียงกัน คือ 48.58 พันลานเหรียญสหรัฐ คิดเปน สัดสวนการนําเขาถึงรอยละ 10.1 ของโลก ทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุน เปนตลาดหลักที่ประเทศผูสงออกอาหารแตละรายตางพยายามผลิตสินคา เพื่อรองรับกับความตองการของตลาดของทั้งสองประเทศนี้ (รวมทั้งประเทศไทยดวย) สําหรับประเทศในกลุมสหภาพยุโรปเปนอีกตลาดหนึ่งที่ประเทศผูสงออกทั้งหลายใหความสําคัญเชนกัน

อยางไรก็ตาม การพึ่งพาเพียงเฉพาะตลาดหลักที่กลาวมาขางตน ผูสงออกจะตองพยายามผลิตและ

พัฒนาผลิตภัณฑของตนเองใหตรงกับความตองการของผูบริโภคมากที่สุด เพราะตลาดเหลานี้มีการแขงขันที่สูง ผูบริโภคมีโอกาสเลือกบริโภคสินคาไดมากมายหลากหลาย ผูสงออกจําเปนที่จะตองศึกษาและทําความเขาใจตลาดใหถองแทดวย นอกจากนี้การพึ่งพาเพียงตลาดสงออกหลักเพียงไมกี่ประเทศของไทย อาจสงผลใหเกิดความเสียเปรียบในดานอํานาจ ตอรองทางการคา ดังนั้นผูประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารจึงควรที่จะหันกลับมาแสวงหาตลาดใหมๆ ซึ่งตลาดที่มีความนาสนใจนอกเหนือจากตลาดหลัก ไดแก แคนาดา จีน เม็กซิโก และเกาหลี ซึ่งแมมูลคาการนําเขาของแตละประเทศสวนใหญไมถึง 10.0 พันลานเหรียญสหรัฐก็ตาม แตมีอัตราการเติบโตรอบ 10 ปในระดับที่นาสนใจ คือ รอยละ 5 รอยละ 7 รอยละ 7 และรอยละ 6 ตามลําดับ

ในดานประเทศผูสงออกอาหารพบวาประเทศไทย เปนประเทศที่มีการสงออกอาหารมากเปนอันดับที่

14 ของโลก โดย ณ ส้ินป 2543 ไทยสงออกไปยังตลาดโลกคิดเปนมูลคา 10.48 พันลานเหรียญสหรัฐ หรือเปนสัดสวน รอยละ 2.4 ของโลก โดยมีอัตราเติบโตเฉลี่ยในรอบ 10 ปประมาณรอยละ 4.7 สวนประเทศคูแขงในภูมิภาคเอเชีย คือ จีน ซึ่งแมจะมีการนําเขาอาหารอยูบาง แตจีนยังสามารถสงออกอาหารไดสูงเปนอันดับที่ 9 ของโลก คิดเปนมูลคา 13.56 พันลานเหรียญสหรัฐ หรือรอยละ 3.1 ของโลก โดยมีอัตราเติบโตรอบ 10 ปประมาณรอยละ 5.6 สวนประเทศที่มี

0

100

200

300

400

500

2540 2541 2542 2543 2544

พันลานบาท

สงออก

นําเขา

7.6%

3.2%

CAGR(2540-2544)

Page 14: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

304 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

การสงออกอาหารมากเปนอันดับ 1 คือ สหรัฐอเมริกา มีมูลคาการสงออกสูงถึง 53.92 พันลานเหรียญสหรัฐ หรือรอยละ 12.2 ของโลก โดยมีอัตราการเติบโตรอบ 10 ปประมาณรอยละ 2.4

ตารางที่ 4.7 ประเทศผูนําเขาและสงออกอาหารที่สําคัญของโลก 15 ประเทศ

ที่มา : International Trade Statistics, 2001, World Trade Organization

มูลคา สัดสวน (%)(พันลานเหรียญ) นําเขา-สงออก

2543 2523 2533 2543 2533-2543 2541 2542 2543

ผูนําเขา1. สหรัฐฯ 49.36 8.8 8.9 10.3 5 3 6 12. ญ่ีปุน 48.58 7.2 10.1 10.1 4 -10 6 33. เยอรมนี 32.86 9.7 10.6 6.8 -1 2 -6 -164. สหราชอาณาจักร 26.80 6.6 6.8 5.6 1 1 -2 -85. ฝร่ังเศส 24.48 5.9 6.8 5.1 1 4 -5 -76. อิตาลี 19.93 5.5 6.4 4.2 -1 1 -3 -107. เนเธอรแลนด 17.28 4.9 4.7 3.6 1 0 5 -88. เบลเยี่ยม 15.14 - - 3.2 - - - -79. สเปน 13.98 1.8 2.8 2.9 4 5 0 -910.แคนาดา** 12.03 1.8 2.1 2.5 5 3 2 511.ฮองกง 9.17 - - - 3 -13 -11 3 retained imports 5.87 1.0 1.2 1.2 4 -12 -9 312.จีน 9.04 1.4 1.4 1.9 7 -7 1 3413.รัฐเซีย*** 8.92 - - 1.9 - -27 -25 -914.เม็กซิโก** 8.56 1.4 1.3 1.8 7 8 3 1415.เกาหลี* 6.68 0.9 1.2 1.4 6 -30 18 …อ่ืน ๆ 299.51 60.3 67.4 62.4 - - - -ผูสงออก1. สหรัฐฯ 53.92 17.6 13.5 12.2 2.4 -9 -4 42. ฝร่ังเศส 33.16 8.0 10.5 7.5 0.0 -1 -4 -83. เนเธอรแลนด 27.92 6.6 8.3 6.3 0.6 -3 2 -54. เยอรมนี 22.85 4.5 6.3 5.2 1.4 6 -5 -105. แคนาดา 17.63 3.5 3.5 4.0 4.9 -6 -2 66. เบลเยี่ยม 17.01 - - 3.8 - - - -47. สเปน 15.36 1.7 2.6 3.5 6.5 -1 -2 -68. สหราชอาณาจักร 15.28 3.5 4.1 3.5 1.6 -7 -6 -79. อิตาลี 14.43 2.4 3.4 3.3 3.1 2 1 -810.จีน 13.56 1.4 2.5 3.1 5.6 -7 -4 1611.บราซิล 12.81 4.2 2.8 2.9 3.9 -8 -9 -712.ออสเตรเลีย 12.48 3.3 2.7 2.8 3.9 -22 10 513.อาเจนตินา* 11.47 2.3 2.2 2.6 5.7 4 -14 …14.ไทย 10.48 1.3 2.1 2.4 4.7 -9 3 515.เดนมารก 9.70 2.4 3.0 2.2 0.2 -3 -5 -5อ่ืน ๆ 288.05 65.2 70.9 65.1 - - - - * ใชขอมูลป 2542 แทน ป 2543 ** มูลคานําเขา ณ. ราคา FOB *** คาประมาณการ

เปอรเซ็นตเปล่ียนแปลง

Page 15: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 305

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาถึงความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ หรือการเปรียบเทียบคา RCA กับประเทศผูสงออกอาหารที่สําคัญของโลก (ดูแผนภาพที่ 4.9 ประกอบ) พบวา ไทยยังคงมีความไดเปรียบอยูโดยมีคา RCA เทากับ 1.95 สูงกวาคูแขงในภูมิภาคเอเชีย เชน จีนมีคา RCA เทากับ 0.78 อินโดนีเซียมีคา RCA เทากับ 0.07 และมาเลเซียที่มีคา RCA เทากับ 0.74 สําหรับสหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสที่เปนผูนําการสงออกอาหารอันดับ 1 และ 2 มีคา RCA ที่ต่ํากวาประเทศไทยเชนกัน คือ สหรัฐฯมีคา RCA เทากับ 1.03 และฝรั่งเศสมีคา RCA เทากับ 1.58 แตทั้ง 2 ประเทศนี้ก็ยังนับไดวายังมีความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบอยูในระดับที่นาพอใจ อยางไรก็ตาม แมการสงออกของประเทศไทยจะมีอัตราการเติบโตรอบ 10 ปที่สูงในระดับรอยละ 4.7 แตเมื่อวิเคราะหถึงความเปลี่ยนแปลงสวนแบงของตลาดโลกของไทยรอบ 5 ป (2538-2543) พบวา มีคาลดลงประมาณรอยละ 0.2 ขณะที่คูแขงในภูมิภาคเอเชียดวยกัน คือ จีน มีความเปลี่ยนแปลงในสวนแบงตลาดโลกที่เพิ่มขึ้นอยูในระดับประมาณรอยละ 0.6 และอินโดนีเซียมีคาความเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นประมาณ รอยละ 0.1 ซึ่งแสดงใหเห็นวาไทยกําลังสูญเสียความไดเปรียบทางการแขงขันในตลาดโลก

0.0

0.5

1.0

1.5

2.0

2.5

3.0

3.5

4.0

-2.5% -2.0% -1.5% -1.0% -0.5% 0.0% 0.5% 1.0% 1.5%

สัดสวนความเปลี่ยนแปลงในสวนแบงตลาดโลกชวงป 2538-2543

สหรัฐ

ญี่ปุนเยอรมนี

แคนาดา

ฝร่ังเศส

สหราชอาณาจักร

สเปนItaly

เบลเยี่ยม(1.3, +4.3%)

เนเธอรแลนด

จีน

ออสเตรียเม็กซิโก

บราซิล

ไอนแลนด

รัฐเซีย

ไทย

ออสเตรเลียเดนมารก

อาเจนตินา(5.7, +0.3%)

นิวซีแลนด(6.8, +0.1%)

อินโดนีเซีย

มาเลเซีย

ชิลี

นอรเวยความ

ไดเปรีย

บเชิง

เปรีย

บเทีย

บ(R

CA). 2

543

DD = 40 ลานเหรียญสหรัฐ

ที่มา : Global Competitiveness Report 2002: Snapshot of Thailand’s Competitiveness

แผนภาพที่ 4.9 ความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ (RCA) และความเปลี่ยนแปลงในสวนแบงการสงออกในตลาดโลกของประเทศผูสงออกสําคัญ 25 ประเทศ

4.1.2.4 กฎเกณฑ ระเบียบ และกติกาการคาโลก

ผลพวงของการเปดเสรีการคาของประเทศตางๆ ทั่วทุกภูมิภาคของโลก ทําใหเกิดการแขงขันกันอยาง

รุนแรงเพื่อชวงชิงสวนแบงการตลาด ทําใหกลุมที่เคยครองความเปนผูนําในสวนแบงทางการตลาดพยายามที่เสาะหา วิธีการตางๆ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการตลาดของตนใหม่ันคงถาวร เชน การเจรจาทําขอตกลงทางการคาระหวางประเทศคูคาดวยกันเอง การรวมกลุมกันของประเทศคูคาที่ตั้งอยูในภูมิภาคเดียวกัน โดยใหสิทธิพิเศษสําหรับสมาชิก เชน การยกเวนภาษี การกําหนดโควตา เปนตน ตลอดจนประเทศผูนําเขาทั้งหลายไดเริ่มตื่นตัวในการปกปองสิทธิประโยชน และควบคุมการแขงขันดวยการออกขอกําหนดมาตรฐานการผลิตสินคา และมาตรการอื่นๆ เพื่อปกปองคุมครอง

Page 16: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

306 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ผูประกอบการและผูบริโภคในประเทศของตน สําหรับผลิตภัณฑอาหาร ผูสงออกเผชิญกับกฎเกณฑ และมาตรการอยางมากมาย ซึ่งกําหนดไวทั้งเพื่อมาตรฐานสุขอนามัย และเพื่อการกีดกันทางการคา ในเวทีการคาโลกมี 3 หนวยงานหลัก คือ คณะกรรมาธิการมาตรฐานอาหารระหวางประเทศ (Codex Alimentarius Commision) สํานักงานโรคระบาดสัตวระหวางประเทศ (International Office of Epizootics – OIE) และอนุสัญญาการคุมครองพืชระหวางประเทศ (Internation Plant Protection Convention – IPPC) ที่มีบทบาทในการควบคุมดูแลผลิตภัณฑอาหาร นอกจากนี้ ในแตละประเทศก็ยังมี กฎระเบียบเฉพาะของตนเอง ซึ่งประเทศผูนําเขาสินคาอาหารสําคัญ ๆ ของไทยลวนแตมีมาตรฐานเฉพาะทั้งส้ิน ในขณะที่ไทยไมไดมีบทบาทใด ๆ ในการกําหนดกฎระเบียบและมาตรฐานใด ๆ เหลานี้เลย

ที่มา: คณะทํางาน

แผนภาพที่ 4.10 กฎเกณฑ ขอกําหนด และมาตรฐานสําคัญตาง ๆ เกี่ยวของในอุตสาหกรรมอาหาร2

นอกเหนือจากกฎระเบียบทางสุขอนามัย นโยบายสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารของประเทศผูผลิตอาหารสําคัญ เชน สหรัฐอเมริกา ก็ยังสงผลตอการแขงขันในตลาดโลก เชน Farm Bill ในป 2544 ที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาใหการสนับสนุนแกภาคการเกษตรในประเทศ และนโยบายรวมทางการเกษตร (Common Agriculture Policy) ของสหภาพ ยุโรป ที่เสนอใหมีการสนับสนุนการเกษตรโดยตรง (Direct Payment) และนโยบายพัฒนาชนบท เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก ทําใหผูสงออกไทยมีแนวโนมจะตองเผชิญกับภาวะการแขงขันที่หนักขึ้น เนื่องจากราคาสินคาเกษตรถูกบิดเบือนไปจากมาตรการอุดหนุนเหลานี้ นอกจากนี้ยังมีขอบังคับอื่น ๆ เชน มาตรฐานสินคา HALAL ของกลุมประเทศมุสลิม Animal Welfare ที่ใหความคุมครองแกสัตว และ Green Dot ซึ่งเปนมาตรการควบคุมของเหลือใชประเภทบรรจุภัณฑของสหภาพยุโรป

2 รายละเอียดโปรดอานภาคผนวก

Codex AlimentariusCommission (Codex)

Example : HACCP, GMP,GAP etc.

International Office of Epizootics (IOE)

International Plant Protection Convention

(IPPC)

1. Rules of Origin2. Preshipment Inspection3. Valuation for Customs Purposes4. Import Licensing Procedures5. TBT6. SPS

WTO 1. White Paper on Food Safety (EU)2. USFDA (USA)3. Food Sanitation Law4. JAS standard5. Quarantine Law (Japan)6. Standard Food Code (Australia)7. Canadian’s FDA (Canada)

etc.

Nation Standards

•Halal•Animal Welfare•Green dot

etc.

Other Regulations

•The Farm Bill 2002 (USA)•CAP (EU)

etc.

Other BarriersInternationalFood Trade

Page 17: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 307

ตารางที่ 4.8 มาตรฐาน และขอกําหนดตาง ๆ ที่ตลาดสงออกที่สําคัญนํามาใชบังคับกับผูสงออก

ที่มา : คณะทํางาน

มาตรฐานสําคัญตาง ๆ สําหรับตลาดสงออกหลักที่ผูประกอบการไทยจําเปนตองศึกษาและทําความ

เขาใจ (ดูตารางที่ 4.8 ประกอบ) ตลอดจนปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตใหไดตามเกณฑสากล ไดแก มาตรฐาน CODEX ระบบการผลิตอาหารที่ปลอดภัย HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point) และมาตรฐานขั้นตอนการผลิตที่ดี GMP (Good Manufacturing Practices) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ใชบังคับกันอยางแพรหลาย จึงเปนส่ิงที่ผูประกอบการที่ผลิตสินคาสงออกไดใหความสนใจและปรับปรุงประสิทธิภาพ และคุณภาพการผลิตเพื่อใหไดใบรับรอง เพราะถือเปนใบผานทางขั้นตน นอกจากนี้ รัฐบาลและผูประกอบการไทยในปจจุบันยังไดศึกษาขอกําหนดเฉพาะดานที่แตละประเทศบังคับใชเปนขอกําหนดพื้นฐาน เพื่อกีดกันและรักษาผลประโยชนของประเทศคูคา และผูบริโภค เชน มาตรการดานความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) มาตรฐานสารปนเปอนและสารพิษตกคาง (Food Additive) มาตรการพิทักษ ส่ิงแวดลอม (Green Dot) มาตรฐานการติดฉลากและบรรจุภัณฑ (Labeling & Packaging) มาตรฐานผลิตภัณฑสินคาฮาลาล เปนตน อยางไรก็ตาม ไทยและกลุมประเทศเอเชียดวยกันยังมิไดมีบทบาทใด ๆ ในเชิงรุกในการกําหนดมาตรฐานและระเบียบตาง ๆ เหลานี้ ซึ่งจากแผนภาพที่ 4.11 แสดงใหเห็นถึงความสนใจในการเขารวมมีบทบาทของประเทศสมาชิก Codex ซึ่งจะเห็นไดวา กลุมประเทศในสหภาพยุโรปมีบทบาทสูงที่สุดในการใชสิทธิการมีสวนรวมในการกําหนดมาตรฐานอาหารที่จะใหเปนในแนวทางที่เอื้อตออุตสาหกรรมและผูบริโภคในกลุมประเทศของตน ขณะที่ประเทศในภูมิภาคเอเชีย แอฟริกา และลาตินอเมริกา ยังใหความสําคัญกับการใชสิทธิคอนขางนอย

Standard USA EU Japan Australia CannadaCodexHACCPGMPLow acid canned food Establishment Registeration FormProcess filling FormWhite Paper on Food Safety (GMOs) Labelling Labelling ProhibitedSensory InspectionLabellingMinimum Grade or Standard of IndentifyPrescribed ContainersFood AdditiveTolerance limit (Chemical cantaminants)Seafood standardNatural toxinsPackagingAnimal welfareGreen Dot

มาตรฐานสากลที่ใชกันอยางแพรหลาย

Page 18: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

308 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ที่มา : สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก

แผนภาพที่ 4.11 ตัวอยางการมีบทบาทเขารวมประชุมกําหนดมาตรฐาน Codex ปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ตางประเทศมักยกขึ้นมาใชเปนขออางเพื่อกีดกันสินคา และผลิตภัณฑอาหาร

ของไทยมิใหเขาสูตลาดในประเทศของตน คือ เรื่องความไมเชื่อม่ันตอผลิตภัณฑของไทยวาปลอดจากสารพิษและสารเคมีตกคาง อันจะกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพ โดยมักจะใชขอมูลสถิติการนําเขาสารเคมี และยากําจัดศัตรูพืชมาเปนบทสรุป และใหเหตุผลวา เกษตรกรไทยใชสารเคมีเหลานี้เปนจํานวนมาก เพื่อใชในการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร ซึ่งสารเคมีบางชนิดตกคางและสะสมอยูในดิน ซึ่งตองใชระยะเวลาไมต่ํากวา 5-10 ปในการยอยสลาย เมื่อนําพืชเพาะปลูกในแปลงดินเหลานั้นทําใหพืชผลที่ดูดซับสารเคมี ตลอดจนปริมาณนําเขาสารเคมีและยากําจัดศัตรูพืชของไทยเพิ่มสูงขึ้นอยาง ตอเนื่อง และมีปริมาณสะสมสงผลกระทบใหใชไดอีกนานถึงประมาณ 5 ป ทําใหสินคาผลิตภัณฑอาหารไทยตอง ไดรับการตรวจสอบและวิเคราะหอยางเขมงวด หรือแมกระทั่งไมอนุญาตใหนําเขาสินคาและผลิตภัณฑอาหารของไทยเลย นอกจากนี้ สารเคมีตาง ๆ ยังสงผลตอส่ิงแวดลอมของประเทศในระยะยาวดวย

ที่มา: กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

แผนภาพที่ 4.12 การนําเขาสารเคมีและยาปราบศัตรูพืชของไทย

0

1,000,000

2,000,000

3,000,000

2541 2542 2543 2544 2545

ตันการนําเขาสารเคมี

เคมีภัณฑอนินทรีย

เคมีภัณฑอินทรียCAGR3.8%

12.3%

020,00040,00060,00080,000

2541 2542 2543 2544 2545

ตันการนําเขายาปราบศัตรูพืช

ยากําจัดศัตรูพืชCAGR

20.3%

30

41

21

31

2

40

22

26

3 2

16

0

10

20

30

40

50

ยุโรป อเมริกาเหนือ ลาตินอเมริกา เอเชีย แอฟริกา อื่น ๆ

สมาชิกทั้งหมด เขารวมประชุม จํานวนประเทศ Ad Hoc International Codex Task Force on Animal Feeding, 2 nd Seesion

Page 19: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 309

4.2 การประเมินปจจัยแวดลอมทางธุรกิจ (Assessing Business Environment) การประเมินปจจัยแวดลอมทางธุรกิจ โดยใช Diamond Model มาเปนเครื่องมือวิเคราะหเครือขายวิสาหกิจนั้น แบง

ออกไดเปน 4 ปจจัยหลัก ไดแก เงื่อนไขปจจัยการผลิต อุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงและสนับสนุนกัน เงื่อนไขทางดานอุปสงค และบริบทของการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ โดยแตละปจจัยมีสวนสัมพันธและเชื่อมโยงกัน ทั้งนี้เพราะจุดแข็ง และ จุดออนของแตละปจจัยยอมมีผลกระทบเชื่อมโยงไปสูการพัฒนาปจจัยดานอื่นๆ ดวย รายละเอียดของแตละปจจัย มีดังตอไปนี้

4.2.1 เงื่อนไขปจจัยการผลิต (Factor conditions)

เงื่อนไขปจจัยการผลิต เปนปจจัยแรกในการวิเคราะหอุตสาหกรรม เพราะเปนปจจัยพื้นฐานในการพัฒนา

ขีดความสามารถทางการแขงขัน และสงผลกระทบโดยตรงตอกระบวนการผลิต และคุณภาพของผลิตภัณฑ อันประกอบไปดวย วัตถุดิบเพื่อใชในการผลิต คุณภาพของทรัพยากรบุคคลในอุตสาหกรรม และการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยแตละสวนมีจุดแข็ง และจุดออนที่แตกตางกัน ดังนี้

4.2.1.1 ไทยมีความเหมาะสมของสภาพภูมิอากาศ และใชวัตถุดิบภายในประเทศเปนหลัก

ประเทศไทย นับไดวาเปนประเทศที่มีขอไดเปรียบทางดานที่ตั้งทางภูมิศาสตรของประเทศ และมี

แหลงทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ โดยสภาพพื้นที่ของประเทศสามารถนํามาใชประโยชนไดทุกดาน คือ ดาน การเกษตรกรรม การปศุสัตว และการประมง เพราะพื้นที่โดยสวนใหญเปนดินรวนเหมาะแกการเพาะปลูกพืช ผัก และ ผลไมไดเปนอยางดี อีกทั้งยังมีแมน้ํา ลําคลอง หนอง บึง ซึ่งเปนแหลงประมงน้ําจืดที่สําคัญอยูทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ประกอบกับทางภาคใต และบางสวนทางภาคกลาง สามารถทําการประมงน้ําเค็มไดอีก เพราะมีพื้นที่ติดกับชายฝงทะเลยาวติดตอกันถึงประมาณ 3,200 กิโลเมตร และจากขอมูลการสํารวจพื้นที่ถือครองและการใชสอย ป 2542 (ดูตารางที่ 4.10 ประกอบ) พบวา พื้นที่ประมาณ 122 ลานไร หรือรอยละ 38 ของพื้นที่ทั้งประเทศ เปนพื้นที่หลักที่ใชในการเพาะปลูกพืชที่เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหาร ไดแก

• พ้ืนที่นา เปนพื้นที่ที่มีการถือครองและใชสอยมากเปนอันดับ 1 ของประเทศ (ไมนับรวมพื้นที่ปาไม) โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ทั้งส้ิน 65.69 ลานไร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการถือครองมากที่สุดคิดเปนพื้นที่ 37.75 ลานไร รองลงมา คือ ภาคเหนือ 14.40 ลานไร ภาคกลาง 10.43 ลานไร สวนภาคใตมีพื้นที่นานอยมากเพียง 3.11 ลานไร

• พ้ืนที่พืชไร เปนพื้นที่ที่มีการถือครองและใชสอยรองจากพื้นที่นา ทั้งประเทศมีพื้นที่ ทั้งส้ิน 28.79 ลานไร แบงเปนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 11.73 ลานไร ภาคเหนือ 9.22 ลานไร ภาคกลาง 7.76 ลานไร และภาคใต 0.08 ลานไร

• พ้ืนที่ไมผลและไมยืนตน เปนพื้นที่ที่มีการถือครองและใชสอยใกลเคียงกับพื้นที่พืชไร โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ทั้งส้ิน 26.08 ลานไร แบงเปนภาคใตมากที่สุดถึง 14.45 ลานไร รองลงมา คือ ภาคกลาง 5.40 ลานไร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3.39 ลานไร และภาคเหนือ 2.84 ลานไร

Page 20: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

310 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

• พ้ืนที่สวนผักและไมดอก เปนพื้นที่ที่มีการถือครองนอยมาก ทั้งประเทศมีพื้นที่เพียง 1.03 ลานไร แบงเปน ภาคเหนือและภาคกลาง มีพื้นที่เทากัน คือ 0.36 ลานไร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 0.21 ลานไร และภาคใต 0.10 ลานไร

ตารางที่ 4.9 การใชที่ดินของประเทศไทย เปนรายภาค พ.ศ. 2538-2542

ที่มา: กรมแผนที่ทหาร และกรมปาไม

สําหรับทางดานการปศุสัตว พบวา จํานวนผูเล้ียงสัตวเศรษฐกิจเพื่อการคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว

ตั้งแตป 2539-2543 (ดังแผนภาพที่ 4.13) โดยสัตวเศรษฐกิจที่นิยมเลี้ยงมากที่สุดคือ สุกร มีจํานวนผูเล้ียงในป 2543 ทั้งส้ิน 39,558 ราย รองลงมาคือ โค มีจํานวนผูเล้ียงทั้งส้ิน 26,596 ราย อันดับที่ 3 คือ ไกเนื้อ มีจํานวนผูเล้ียงทั้งส้ิน 18,845 ราย แตเมื่อพิจารณาถึงอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนผูเล้ียงสัตว พบวา เปดเนื้อ ซึ่งแมจะมีจํานวนผูเล้ียงทั้งประเทศ

หนวย : ไร

เน้ือที่ เน้ือท่ี จํานวน ขนาด เน้ือท่ีท้ังหมด ปาไม ครัวเรือน ของฟารม ที่อยูอาศัย ท่ีนา พืชไร ที่ไมผลและ ท่ีสวนผักและ ที่ทุงหญา ท่ีอ่ืน ๆ ไมไดจําแนก

ภาค พ.ศ. Total Forest (ครัวเรือน) (ไร/ครัวเรือน) รวม Housing Paddy Under field ไมยืนตน ไมดอก เล้ียงสัตว ท่ีรกราง Other Unclassifiedland land Number of Farm Total area land crops Under Under Grass Idle land land land

household size fruit tree vegetable land(Households) (Rai/Household)

เหนือ 2538 106,027,680 46,178,701 1,293,997 22.5787 29,216,745 898,161 15,195,936 10,217,452 1,977,854 321,484 109,185 261,865 234,808 30,632,2342539 106,027,680 46,005,288 1,271,401 22.7255 28,893,259 900,208 14,987,651 9,943,344 2,133,171 331,393 101,697 257,094 238,701 31,129,1332540 106,027,680 45,832,649 1,248,485 22.9091 28,601,690 898,218 14,761,648 9,665,306 2,348,582 341,551 88,322 254,082 243,981 31,593,3412541 106,027,680 45,660,825 1,223,783 23.1045 28,274,892 891,558 14,565,191 9,355,476 2,539,770 352,231 73,678 247,791 249,197 32,091,9632542 106,027,680 45,394,696 1,297,415 21.8226 28,312,917 913,847 14,401,430 9,217,891 2,840,337 358,847 89,342 236,108 255,115 32,320,067

CAGR 0.0% -0.4% 0.1% -0.8% -0.8% 0.4% -1.3% -2.5% 9.5% 2.8% -4.9% -2.6% 2.1% 1.3%

ตะวันออก 2538 105,533,963 13,290,417 2,273,549 25.4488 57,859,173 1,328,517 37,903,738 12,868,864 2,382,741 243,661 480,222 2,188,459 462,971 34,384,373 เฉียงเหนือ 2539 105,533,963 13,231,596 2,321,941 24.8717 57,750,567 1,332,960 37,796,566 12,569,076 2,577,211 226,780 478,275 2,142,379 627,320 34,551,800

2540 105,533,963 13,173,112 2,367,454 24.3400 57,623,773 1,338,745 37,690,952 12,146,770 2,875,026 209,966 476,019 2,050,662 835,633 34,737,0782541 105,533,963 13,114,948 2,420,525 23.7262 57,429,749 1,345,540 37,540,903 11,715,560 3,176,168 189,615 474,468 1,985,507 1,001,988 34,989,2662542 105,533,963 13,054,854 2,598,537 22.2999 57,946,997 1,389,400 37,745,274 11,728,461 3,393,091 213,386 504,014 1,927,065 1,046,306 34,532,112

CAGR 0.0% -0.4% 3.4% -3.2% 0.0% 1.1% -0.1% -2.3% 9.2% -3.3% 1.2% -3.1% 22.6% 0.1%

กลาง 2538 64,938,253 14,924,902 879,835 30.9577 27,237,692 784,056 11,810,311 8,831,884 4,546,582 303,392 124,285 378,478 458,704 22,775,6592539 64,938,253 14,856,842 868,488 30.8866 26,824,627 774,569 11,426,730 8,519,015 4,795,259 310,083 122,443 368,569 507,959 23,256,7842540 64,938,253 14,789,355 857,579 30.6839 26,313,837 759,419 10,973,289 8,210,532 5,025,388 315,426 119,682 358,540 551,561 23,835,0612541 64,938,253 14,722,454 845,891 30.5991 25,883,514 743,184 10,620,727 7,904,648 5,217,633 323,233 113,354 350,892 609,843 24,332,2852542 64,938,253 14,664,165 891,383 29.1027 25,941,614 751,920 10,433,893 7,764,175 5,395,150 355,092 133,739 340,707 766,938 24,332,474

CAGR 0.0% -0.4% 0.3% -1.5% -1.2% -1.0% -3.1% -3.2% 4.4% 4.0% 1.8% -2.6% 13.7% 1.7%

ใต 2538 44,196,992 7,784,141 801,434 22.6656 18,164,960 507,949 3,382,768 92,985 13,411,814 89,397 47,248 392,663 240,136 18,247,8912539 44,196,992 7,714,689 814,726 22.5242 18,351,053 508,572 3,336,609 88,350 13,625,722 91,267 39,550 383,230 277,753 18,131,2502540 44,196,992 7,646,048 828,253 22.4186 18,568,308 509,142 3,270,058 78,596 13,883,033 94,239 34,619 373,016 325,605 17,982,6362541 44,196,992 7,578,201 844,775 22.2608 18,805,370 511,626 3,187,244 76,281 14,145,836 96,713 31,643 366,624 389,403 17,813,4212542 44,196,992 7,496,504 880,171 21.7456 19,139,856 523,705 3,106,396 75,973 14,446,914 98,486 75,319 360,339 452,724 17,560,632

CAGR 0.0% -0.9% 2.4% -1.0% 1.3% 0.8% -2.1% -4.9% 1.9% 2.5% 12.4% -2.1% 17.2% -1.0%

รวมท้ังประเทศ 2538 320,696,888 82,178,161 5,248,815 25.2397 132,478,570 3,518,683 68,292,753 32,011,185 22,318,991 957,934 760,940 3,221,465 1,396,619 106,040,1572539 320,696,888 81,808,415 5,276,556 24.9821 131,819,506 3,516,309 67,547,556 31,119,785 23,131,363 959,523 741,965 3,151,272 1,651,733 107,068,9672540 320,696,888 81,441,164 5,301,771 24.7290 131,107,608 3,505,524 66,695,947 30,101,204 24,132,029 961,182 718,642 3,036,300 1,956,780 108,148,1162541 320,696,888 81,076,428 5,334,974 24.4413 130,393,525 3,491,908 65,914,065 29,051,965 25,079,407 961,792 693,143 2,950,814 2,250,431 109,226,9352542 320,696,888 80,610,219 5,667,506 23.1745 131,341,384 3,578,872 65,686,993 28,786,500 26,075,492 1,025,811 802,414 2,864,219 2,521,083 108,745,285

CAGR 0.0% -0.5% 1.9% -2.1% -0.2% 0.4% -1.0% -2.6% 4.0% 1.7% 1.3% -2.9% 15.9% 0.6%

เนื้อที่ถือครองทางการเกษตร Farm holding land

1/ 2/

Page 21: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 311

เพียง 1,978 ราย แตมีอัตราเพิ่มขึ้นของจํานวนผูเล้ียงสูงที่สุดคือ เพิ่มขึ้นรอยละ 103.6 ตอป รองลงมาคือ สุกร มีอัตรา เพิ่มขึ้นของจํานวนผูเล้ียงรอยละ 77.6 ตอป อันดับที่ 3 คือ ไกเนื้อ มีอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 49.1 ตอป สําหรับทางดาน พื้นที่ที่มีการเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจนั้น พบวา พื้นที่ภาคกลางเปนพื้นที่ที่มีผูเล้ียงรวมตัวกันมากที่สุด

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

แผนภาพที่ 4.13 จํานวนผูเล้ียงสัตวเพื่อการคาป 2543 จําแนกรายภาค

4.2.1.2 คุณภาพดินและน้ํา (ส่ิงแวดลอม) เส่ือมโทรมลง จากการขยายตัวของภาคการผลิตอุตสาหกรรม และการเกษตรที่นิยมใชสารเคมีกอใหเกิดความ

เส่ือมโทรมกับคุณภาพดินและน้ํา และเกิดปญหาการมีสารพิษตกคาง เชน • วัตถุดิบดานการเกษตร มีการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช และปุยเคมี ซึ่งกอใหเกิดสาร

ตกคางในดิน น้ํา และอากาศ สารกําจัดศัตรูพืชบางชนิดไมเพียงแตมีผลกระทบที่รายแรงอยางเฉียบพลันเทานั้น แตมีผลในระยะยาวดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งสารในกลุมสารมลพิษที่ตกคางยาวนาน (Persistent Organic Pollutants: POP) จะ สงผลอยางตอเนื่องไปยังส่ิงมีชีวิตทั้งสัตว และ พืช ชนิดอื่นๆ และยังจะมีสารตกคางอยูในพืชเปนเวลานานหลังจากเลิกใชสารเหลานี้แลวก็ตาม อยางไรก็ตามกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณก็ไดจัดทํา คูมือ เกษตรดีที่เหมาะสม (Good Argricultural Practice (GAP)) สําหรับการเพาะปลูก ผัก ผลไม แตละชนิดเพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพได มาตรฐานปนที่ยอมรับของตลาดทั้งภายในและตางประเทศ โดยดูแลตั้งแตแหลงเพาะปลูก พันธุ การปลูก การดูแลรักษา สุขลักษณะและความสะอาด ศัตรูพืชและการกําจัดศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว และการบันทึก ขอมูล และเผยแพรแกเกษตรกร พรอมทั้งจัดใหบริการคําแนะนํา อบรม และ ตรวจสอบ ซึ่งหากประสบความสําเร็จอยางกวางขวางจะทําใหเกิดผลดีตอการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารโดยรวมได

• วัตถุดิบดานการประมง พบวาจากการที่ส่ิงแวดลอมในอาวไทยเสื่อมโทรมทําใหปริมาณสัตวน้ําลดลง มีการปนเปอนของสารตะกั่วในเนื้อหอย ปลาหมึก เปนตน นอกจากนี้ การทํานากุงสงผลตอ ความเสื่อมโทรมของปาชายเลน ดังนั้นจึงตองมีการประกาศเขตพื้นที่เพาะเลี้ยงกุง เมื่อเกษตรกรไมสามารถขยายพื้นที่เพาะเลี้ยงได จึงขยายการผลิตโดยการเพิ่มความหนาแนนในการเลี้ยงทําใหกุงติดเชื้องายและตองใชยาปฏิชีวนะเขาชวย ซึ่งกลไกตางๆ เหลานี้กลายเปนวัฏจักรในการทําลายน้ําและดินอยางตอเนื่องออกไปอีก

2.02.32.8

7.518.8

26.639.6

เปดกระบือเปดไขไกไข

ไกเน้ือโค

สุกร

ทั้งประเทศ (พันราย) CAGR(39-43)

0.91.61.8

4.69.2

13.617.6

กระบืเปดไขเปดไกไขไกเนื้อสุกรโค

ภาคกลางl (พันราย) CAGR(39-43)

45.5%

0.10.30.91.01.1

4.29.7

ภาคเหนือ (พันราย) CAGR(39-43)

0.10.20.3

0.81.0

2.27.0

เปดเปดไขกระบืไกไขโค

ไกเนื้อสุกร

ภาคใต (พันราย) CAGR(39-43)

0.10.1

0.90.9

3.37.1

9.2

เปดเปดไขกระบืไกไขไกเน้ือ

โคสุกร

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พันราย) CAGR(39-43)

55.1%41.5%39.0%

110.4%38.6%26.8%

สุกรไกเนื้อไกไขโค

เปดไขกระบือเปด

112.1%116.1%38.4%

-23.3%97.2%4.3%

174.8%

94.0%57.8%47.6%22.6%

106.0%2.3%

117.4%

93.9%35.9%29.2%37.5%21.4%25.5%28.0%

77.6%34.0%49.1%36.1%44.2%33.0%

103.6%

Page 22: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

312 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

อยางไรก็ตาม ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อมุงเนนเพียงในสวนของภาคอุตสาหกรรมการผลิต จึงมิไดลงลึกในสวนของภาคเกษตร ดังนั้นประเด็นที่กลาวมาขางตนนั้นจึงเปนประเด็นที่เกิดขึ้นเฉพาะในมุมมองใน อุตสาหกรรมเทานั้น จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาตอไปในสวนของภาคเกษตรในมุมมองของเกษตรกร เพื่อใหเกิดความสมบูรณยิ่งขึ้นและสามารถเชื่อมโยงกับการศึกษาครั้งนี้

4.2.1.3 แรงงานที่มีความรูเฉพาะทางในภาคธุรกิจมีคอนขางนอย

อุตสาหกรรมผลิตอาหารเปนอุตสาหกรรมที่ใชการแปรรูปจากวัตถุดิบขั้นมูลฐานจึงใชแรงงานมาก

ในการคัดแยกวัตถุดิบ เมื่อพิจารณาสัดสวนของบุคลากรที่อยูในภาคธุรกิจ จะพบวา • บุคลากรที่มีความรูเฉพาะทาง เชน บุคลากรดานการวิจัยและพัฒนา และบุคลากรดาน

การตรวจสอบคุณภาพ มีสัดสวนอยูในภาคธุรกิจคอนขางนอย คือ รอยละ 0.9 และรอยละ 3.7 ตามลําดับ บุคลากรเหลานี้เปนบุคลากรที่มีสวนสําคัญในการทําหนาที่วิจัยที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑ และกระบวนการผลิต และการวิจัยที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยอาหาร ซึ่งในทัศนะของผูประกอบการโดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม เห็นวา เปนบุคลากรที่ตองเสียคาใชจายสูง และไมเห็นถึงความจําเปนที่จะพัฒนาหรือจัดจางบุคลากรประเภทนี้

• บุคลากรที่อยูในกระบวนการผลิตและบรรจุภัณฑ เปนแรงงานหลักสําหรับผูประกอบการในอุตสาหกรรม โดยมีสัดสวนประมาณรอยละ 72.9 ซึ่งผูประกอบการในอุตสาหกรรมใหทัศนะวา แรงงานที่อยู ในกระบวนการผลิต และบรรจุภัณฑนับเปนจุดแข็งของอุตสาหกรรมเพราะผลิตภัณฑอาหารตองการความประณีตและความสะอาด จากวัฒนธรรมไทยสงผลใหคนไทยมีฝมือ และความละเอียดออนในการทํางาน ตัวอยางเชน อุตสาหกรรม ไกแปรรูป คนงานไทยมีฝมือในการตกแตงชิ้นงานไดตามความตองการของผูวาจาง อุตสาหกรรมปลาทูนากระปอง ก็ตองการคนงานที่มีความประณีตในการแยกชิ้นเนื้อปลาออกจากกางโดยไมใหชิ้นเนื้อแตก และอุตสาหกรรมกุงก็ตองการ คนงานที่มีความประณีตในการปอกและตัดแตงตัวกุงเชนกัน และจากที่ผานมาคนงานไทยมีความสามารถในการทํางานไดเปนอยางดี และเปนแรงงานราคาถูก ดังนั้นผูประกอบการจึงมิไดใหความสนใจในการลงทุนนําเครื่องจักรที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพในการผลิตเปนจํานวนมากมาทดแทนการใชแรงงานเหลานี้ จึงเปนขอจํากัดอยางหนึ่งในการพัฒนา ผลิตภาพการผลิตของอุตสาหกรรมของประเทศ

ทางดานการศึกษามีบุคลากรเพียงสวนนอยในอุตสาหกรรมอาหารเทานั้นที่มีการศึกษาสูงกวาระดับ

ปริญญาตรีจะเห็นวา กวารอยละ 65.5 มีการศึกษาต่ํากวาระดับมัธยมศึกษา ทั้งนี้ก็มีความสอดคลองกับลักษณะการผลิตที่ใชคนงานหนาแนนในระดับที่ไมตองการการศึกษาสูง การศึกษาระดับมัธยมรอยละ 13.6 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงรอยละ 6.8 และ 6.2 ตามลําดับ สวนในระดับปริญญาตรี และระดับสูงกวาปริญญาตรีมีรวมกันเพียงรอยละ 8.1

Page 23: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 313

ที่มา : แบบจําลองการพยากรณความตองการแรงงานของประเทศ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

แผนภาพที่ 4.14 โครงสรางของแรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร

4.2.1.4 ประสิทธิภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมลดลง ดัชนีตัวหนึ่งที่ใชประเมินประสิทธิภาพของแรงงานในอุตสาหกรรม คือ อัตราสวนมูลคาเพิ่มของ

ผลผลิตตอคนตอคาจางแรงงาน ซึ่งจากแผนภาพที่ 4.15 แสดงใหเห็นวา คนงานในอุตสาหกรรมอาหารมีประสิทธิภาพการผลิตลดลง โดยอัตราสวนมูลคาเพิ่มของผลผลิตตอคาจางแรงงานมีคาลดลง จากประมาณ 2.2 เทาในชวงป 2535 – 2539 เปนประมาณ 1.5 เทาในชวงป 2540 – 2544 ซึ่งประเด็นนี้นอกจากจะสงผลกระทบตอตนทุนการผลิตโดยตรง และเปนปจจัยชี้วัดศักยภาพของแรงงานไทยแลว ยังอาจเปนปจจัยสําคัญหนึ่งใหมีการเคลื่อนยายการลงทุนออกไปสูประเทศอื่น ไดอีกดวย

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แผนภาพที่ 4.15 อัตราสวนมูลคาเพิ่มของผลผลิตตอแรงงานตอคาจางแรงงาน

72.9%3.7%

0.9%

0.3%

16.6%

5.7%การผลิตและบรรจุภัณฑ

วิจัยและพัฒนา

บํารุงรักษา

ออกแบบ

อื่น ๆ

ลักษณะงานของแรงงานในอุตสาหกรรม ระดับการศึกษาของแรงงานในอุตสาหกรรม

6.3%

6.2%

6.8%

13.6%

65.5%

1.6%

ต่ํากวามัธยมศึกษาตอนปลาย

มัธยมศึกษาตอนปลาย

ปวช.

ปวส.

ปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

ควบคุมคุณภาพ

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544

อาหาร

บริการ

ขนสง

คาสงและคาปลีก

Page 24: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

314 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.2.1.5 ผลงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑมีมาก แตไดรับความสนใจนอย การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑในอุตสาหกรรมอาหารของไทย โดยสวนใหญมาจากหนวยงานภาครัฐ

ซึ่งมีบทบาทในการกระตุนและสงเสริมงานวิจัย เชน • สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนาทางดานอาหาร

จะใหการสนับสนุนในลักษณะเปนชุดโครงการในการเพิ่มศักยภาพทางเทคโนโลยี และการเพิ่มขีดความสามารถใหแกผูผลิตโดยตรง

• สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) สนับสนุนโครงการวิจัยพื้นฐาน เพื่อสรางองคความรู และมีวงเงินสนับสนุนแตละโครงการคอนขางจํากัด

• สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยสาขาที่มีบทบาทในการสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารสวนหนึ่ง คือ ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพและมีนโยบายสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาดานอาหาร

• สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วท.) ในสังกัดกระทรวง วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม มีหนวยงานที่วิจัยทางดานอุตสาหกรรมอาหารโดยเฉพาะ คือ สาขาวิจัย อุตสาหกรรมอาหาร โดยจะวิจัยในเรื่องเทคโนโลยีหลังเก็บเกี่ยวและการแปรรูปผลิตผลเกษตร รวมทั้งการใหคําปรึกษา รวมมือเผยแพรแนวทางตางๆ เกี่ยวกับวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผัก และผลไมสด

การใหความสนใจกับผลงานการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนยังมีอยูนอย โดยผูประกอบการ

อุตสาหกรรมภาคเอกชนและหนวยงานของภาครัฐ ไดแสดงทัศนะเกี่ยวกับผลงานวิจัยของภาครัฐซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ • ผลงานวิจัยสวนใหญจะอยูในรูปการวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) ซึ่งจะตองนํา

ไปวิจัยตอเนื่องในลักษณะของการวิจัยประยุกต (Applied Research) จึงจะมีคุณคาเชิงพาณิชยตอยอดไปได แต กระบวนการเหลานี้กลับไมเกิดขึ้นในอุตสาหกรรมอาหารของไทย เนื่องจากเอกชนขาดศักยภาพในการทํางานวิจัย และขาดความเขาใจและความสนใจในผลงานวิจัยของหนวยงานภาครัฐ จึงไมสามารถนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนตอเนื่องไดอยางเต็มที่ โดยเฉพาะผูประกอบการขนาดกลางและเล็กที่ดําเนินกิจการในลักษณะรับจางผลิต และไมเห็นความจําเปนในการสงเสริมบุคลากรดานการวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ ดังที่ไดกลาวไวแลวในตอนตน

• ภาครัฐขาดการสื่อสารและเผยแพรขอมูลผลการวิจัยอยางเพียงพอ ผลงานวิจัย บางอยางสามารถที่จะพัฒนาสูขั้นอุตสาหกรรมไดอยางรวดเร็ว แตผลงานเหลานี้กลับมิไดมีการประชาสัมพันธและ ถายทอดใหแกผูประกอบการในอุตสาหกรรมอยางเพียงพอ เนื่องจากขอมูลผลงานวิจัยกระจายอยูในหนวยงานแตละแหงที่เปนเจาของผลงาน และอาจมีความซ้ําซอนกันในลักษณะงานวิจัย โดยมิไดมีการรวบรวมและจัดใหอยูในแหลงเดียวกัน ทําใหยากตอการสืบคนขอมูลเพื่อเปรียบเทียบ

• งานวิจัยบางประเภทไมเปนที่ตองการของผูประกอบการในอุตสาหกรรม เนื่องจาก ผูวิจัยมิไดมีการศึกษาถึงความตองการของตลาด แตเปนงานที่มีคุณคาเชิงวิชาการตามความสนใจของผูวิจัยมากกวาการ นํามาใชประโยชนเชิงพาณิชย จึงสงผลทําใหผูประกอบการไมไดใหความสนใจที่จะลงทุนพัฒนาตอยอดผลงานวิจัยเหลานี้สูขั้นอุตสาหกรรมอยางจริงจัง

Page 25: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 315

4.2.1.6 ขาดแคลนขอมูลและผลการวิจัยดานความปลอดภัยของอาหาร และยังมีขอจํากัดดานมาตรฐานการตรวจสอบคุณภาพอาหาร หลักฐานขอมูลและผลการวิจัยดานความปลอดภัยของอาหารเปนส่ิงจําเปนเพื่อใชในการกําหนด

มาตรฐานคุณภาพอาหารที่จําหนายภายในและภายนอกประเทศ และเพื่อใชเปนหลักฐานอางอิงในกรณีที่เปนปญหาดานการคาระหวางประเทศ แตเนื่องจากยังไมมีหนวยงานหรือองคกรใดที่เปนผูนําในการทําหนาที่วิจัยและเก็บรวบรวมหลักฐานดานความปลอดภัยของอาหาร จึงทําใหไมสามารถประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ดานสุขอนามัยที่ เกิดขึ้นใหม หรือใชประโยชนในเชิงรุกในฐานะที่เปนผูนําในการผลิตอาหารในตลาดโลกได

สําหรับดานการตรวจสอบคุณภาพสินคา ยังคงมีความขาดแคลนเครื่องมือในทุกๆหนวยงาน เชน

กรมประมง กรมวิชาการเกษตร ตลอดจนขาดแคลนบุคลากรผูเชี่ยวชาญดานการทดสอบอาหาร จึงทําใหการใหบริการทดสอบอาหารในหองปฏิบัติการของหนวยงานภาครัฐเกิดความลาชากวาหนวยงานขององคกรอื่นๆ ซึ่งอาจสงผลกระทบอยางมากตออุตสาหกรรมอาหารโดยรวม ทั้งนี้เพราะกระบวนการตรวจสอบคุณภาพเปนส่ิงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําในทุกกระบวนการตลอดทุกชวงหวงโซอาหาร จากรายงานการสํารวจหองปฏิบัติการทดสอบ โดยบริษัท อินฟอรมีเดีย (ดูแผนภาพที่ 4.16 ประกอบ) แสดงใหเห็นวา หองปฏิบัติการของหนวยงานภาครัฐ ใชระยะเวลาในการใหบริการทดสอบ ยาวนานกวาหองปฏิบัติการของมหาวิทยาลัยและของเอกชน ตัวอยางเชน ระยะเวลาการใหบริการทดสอบดาน Chemical หนวยงานภาครัฐใชเวลาถึง 17 วัน ในขณะที่มหาวิทยาลัยและเอกชน ใชเวลาเพียง 9 และ 7 วันตามลําดับ

ที่มา : “รางรายงานโครงการศึกษาความสามารถและความตองการของประเทศในการทดสอบอาหาร” บ อินฟอรมีเดีย อินเตอรเนชั่นแนล จก. ป 2544

แผนภาพที่ 4.16 เปรียบเทียบจํานวนวัน โดยเฉลี่ยในการใหบริการทดสอบอาหารในหองปฏิบัติการของหนวยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัยและภาคเอกชน

นอกจากความรวดเร็วในการทดสอบคุณภาพของอาหารในหองปฏิบัติการจะเปนสวนสําคัญที่กระทบอุตสาหกรรมอาหารแลว การไดรับการรับรองมาตรฐานของหองปฏิบัติการทดสอบอาจเปนปจจัยหนึ่งที่จะชวย เสริมสรางความแข็งแกรงและความมั่นใจใหแกผูบริโภคทั้งในและนอกประเทศได เนื่องจากผลิตภัณฑอาหารทุกชนิด จะตองผานการรับรองผลการตรวจสอบและรับรองคุณภาพ ความสะอาด และความปลอดภัยในทุกขั้นตอนการผลิต จากหองปฏิบัติการที่เปนที่ยอมรับ ซึ่งระบบมาตรฐานหองปฏิบัติการที่ไดรับการยอมรับในระดับสากลดังกลาวนั้นคือ

25

1517

589

587

2

Physical Chemical Microbiological GMOs

หนวยงานใหบริการ

ภาครัฐมหาวิทยาลัยตาง ๆภาคเอกชน

จํานวนวันโดยเฉลี่ยในการใหบริการทดสอบ

Page 26: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

316 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ISO/IEC17023 โดยจากรายงานการสํารวจของบริษัท อินฟอรมีเดีย อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (ดูแผนภาพ 4.17 ประกอบ) พบวา ผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหารของไทยที่มีหองปฏิบัติการทดสอบเปนของตนเอง ยังใหความสนใจนอยในการ ขอรับใบรับรองดังกลาว ทั้งนี้อาจเปนเพราะยังไมไดตระหนัก หรือไมทราบถึงประโยชนที่จะไดรับจากการการมีใบรับรองนี้วาจะสามารถทําใหเกิดความคลองตัวในการทํางานและการคา ไดรับความนาเชื่อถือ ขจัดปญหาการตรวจสอบซ้ําซอน ขจัดปญหาการกีดกันทางการคาในดานวิชาการ ตลอดจนชวยลดภาระ ของหนวยงานราชการในการตรวจสอบดูแลและ ยังเปนการประหยัดเวลาและคาใชจายในการสงออกหรือจําหนายสินคาอีกดวย สวนหองปฏิบัติการของหนวยงานและองคกรอื่นก็จะเห็นไดวา สัดสวนที่ไดใบรับรองแลวยังมีอยูนอย โดยเฉพาะหองปฏิบัติการของมหาวิทยาลัย ซึ่งนอกจากจะ ใชประโยชนทางการศึกษาแลวก็นาจะมีบทบาทสําคัญในการใหบริการแกภาคอุตสาหกรรมได เพื่อที่ไดเปนสวนชวยสงเสริม และพัฒนาความสามารถของอุตสาหกรรมของประเทศ ตลอดจนเปนการสรางรายไดเสริมแกตัวมหาวิทยาลัยเองดวย

ที่มา : “รางรายงานโครงการศึกษาความสามารถและความตองการของประเทศในการทดสอบอาหาร” บ อินฟอรมีเดีย อินเตอรเนชั่นแนล จก. ป 2544

แผนภาพที่ 4.17 ผลการสํารวจความสนใจในการขอใบรับรองมาตรฐานหองปฏิบัติการ ISO/IEC17025

หนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของดานความปลอดภัย มาตรฐานคุณภาพ และการตรวจสอบอาหาร เชน • ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีแหงชาติเปนผูตรวจสอบดาน GMOs • สํานักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวง

สาธารณสุข ซึ่งในหนาที่หนึ่งคือเปนหองปฏิบัติการอางอิงการตรวจรับรองคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร ไดพัฒนาระบบคุณภาพหองปฏิบัติการใหไดรับการรับรองจาก Dutch Accreditation Council เพื่อแกไขปญหาการไม ยอมรับผลการตรวจของประเทศผูสงออก

• กองสัตวแพทย นอกจากจะมีการศึกษาเพื่อแกไขปญหาสารตกคางเชน ไนโตรฟูแรนส และ คลอแรมฟนิคอล แลวยังคาดการณไปขางหนาวาสารตัวใดจะถูกเปนตัวกําหนดเพื่อพัฒนาอุปกรณรองรับ

• สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เปนหนวยงานที่ดําเนินการสงเสริมและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑอาหาร ตลอดจนใหการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑอาหารและตรวจ

3 ISO/IEC17025 คือ มาตรฐานการรับรองหองปฏิบัติการทดสอบหรือสอบเทียบที่เปนที่ยอมรับของโลก

0%10%20%30%40%50%60%70%80%90%

100%

ภาครัฐ ภาคเอกชน มหาวิทยาลัย โรงงานตาง ๆ

ขนาดตัวอยาง 32 18 7 478

ไมสนใจ

สนใจแตยังไมดําเนินการ

อยูระหวางดําเนินการมีใบรับรองแลว

เหตุผล:•ยังไมพรอม•บุคลากรไมเพียงพอ•ไมมีงบประมาณ

Page 27: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 317

ติดตามผล อีกทั้งยังเปนหนวยงานที่จัดหาขอมูลพิเศษเพื่อแกไขปญหา และประกอบการรางมาตรฐานอาหารระหวางประเทศ

• สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย เปนรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม มีหนวยงานหนึ่งซึ่งจะวิจัยทางดานอุตสาหกรรมอาหารโดยเฉพาะ โดยจะวิจัย ในเรื่องเทคโนโลยีหลังเก็บเกี่ยว และการแปรรูปผลิตผลเกษตร รวมทั้งในดานใหคําปรึกษา รวมมือ เผยแพร แนะแนวทางตางๆ เกี่ยวกับวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผัก และผลไมสด

• สถาบันอาหาร เปนสถาบันอิสระสังกัดกระทรวงอุตสาหรรม ซึ่งนอกจากจะใหบริการดานการเผยแพรขอมูลความรูดานเทคนิควิชาการ มาตรฐานอาหาร กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการคาแลว ยังใหบริการตรวจวิเคราะหผลิตภัณฑอาหารทางดานเคมี จุลชีววิทยา ประสาทสัมผัสและกายภาพของผลิตภัณฑอาหาร ตลอดจน ใหคําปรึกษาแนะนําผูประกอบการเกี่ยวกับเทคโนโลยีดานอาหารและการนําระบบคุณภาพ HACCP มาประยุกตใช

• สํานักงานมาตรฐานสินคาคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตร เปนหนวยงานราชการแหงใหมที่เพิ่งเริ่มตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยมีหนาที่ในการกําหนดมาตรฐานสินคาเกษตร สินคาเกษตรแปรรูป และอาหาร การกํากับ ดูแล และเฝาระวังความปลอดภัยดานอาหาร ตลอดจนออกใบอนุญาตและรับรองมาตรฐานและผูประกอบการเกี่ยวกับมาตรฐานและฉลากคุณภาพสินคาเกษตร สินคาเกษตรแปรรูปและอาหาร

• กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตร เปนหนวยงานที่เปนผูตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบที่เปนเนื้อสัตวทั้งหมด ตั้งแตขั้นตอนการเลี้ยง การตรวจสอบคุณภาพสัตวขณะมีชีวิต และตรวจสอบซากสัตวภายหลังการฆา ในกรณีที่สงสัยจะตองมีการตรวจสอบทางหองปฏิบัติการตอไป หากเห็นวาเหมาะแกการบริโภคก็จะทําการตีตรารับรอง การผานการตรวจกอนขนสงซากสัตวไปสูผูบริโภค

• กรมประมง กระทรวงเกษตร ทําหนาที่ในการสงเสริมการผลิตสัตวน้ําเพื่อเปนวัตถุดิบ ในการผลิตอาหารเพื่อสงออก และกําหนดหลักเกณฑและวิธีการตรวจรับรองสินคาสัตวน้ําสงออก เพื่อใหโรงงานและ ผลิตภัณฑสงออกจากประเทศไทยไดมาตรฐานสอดคลองกับมาตรฐานสากล

• กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร เปนหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบดานการศึกษา คนควา วิจัย ทดลอง และพัฒนาวิชาการเกษตรในดานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับพืชและไหม ตลอดจนใหบริการดานการวิเคราะห ทดสอบ, ตรวจสอบ, รับรองและใหคําแนะนําเกี่ยวกับเรื่องดิน น้ํา ปุย พืช วัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑพืช การบริการสงออกสินคาเกษตร และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรใหแกสวนราชการ เกษตรกร และเอกชนที่เกี่ยวของ

Page 28: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

318 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.2.2 อุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงและสนับสนุนกัน (Related and Supporting Industries) เปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอกระบวนการสรางมูลคาเพิ่มในหวงโซอาหาร การที่มีอุตสาหกรรม

เกี่ยวโยงและสนับสนุนกันอยางเขมแข็งแสดงใหเห็นถึงศักยภาพในการเพิ่มความสามารถทางการแขงขัน โดยวิเคราะห บทบาท และความรวมมือขององคกรในอุตสาหกรรมที่สําคัญมีดังนี้

4.2.2.1 อุตสาหกรรมและธุรกิจเกื้อหนุนมีการรวมกลุมกันอยางชัดเจน

อุตสาหกรรมอาหารของไทยไดเริ่มพัฒนาอยางจริงจังในชวงที่รัฐบาลไทยมีนโยบายใหการสงเสริม

และสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนําเขา โดยมุงเนนไปที่การนําเอาทรัพยากรที่อุดมสมบูรณไปใชประโยชนในทางอุตสาหกรรมและแปรรูป เชน การเก็บถนอมรักษาอาหารตลอดจนเพื่อสงออกไปจําหนายยังตางประเทศ ทําใหธุรกิจแปรรูปอาหารและธุรกิจที่เกี่ยวโยงกันไดกอตัวขึ้นอยางรวดเร็ว โดยมีการรวมตัวกันอยูในแหลงวัตถุดิบและบริเวณโดยรอบใกลเคียงเพื่อความสะดวกในการขนถายวัตถุดิบเขาสูกระบวนการทางอุตสาหกรรม ซึ่งเปนการชวยใหสามารถรักษาคุณภาพของอาหารไวไดเปนอยางดี และยังเปนการประหยัดคาใชจายในการขนสงอีกดวย ดังจะเห็นได จากแผนภาพที่ 4.18 ที่แสดงใหเห็นถึงตัวอยางของที่ตั้งของอุตสาหกรรมที่สําคัญ 3 รายการ ไดแก อุตสาหกรรมทูนากระปองจะมีแหลงผลิตที่อยูตามแนวชายฝงทะเล อุตสาหกรรมไกจะมีแหลงผลิตเพื่อสงออกอยูในภาคกลางของโดยใชวัตถุดิบการผลิตในพื้นที่เปนสําคัญ และอุตสาหกรรมสับปะรดกระปองจะมีจังหวัดประจวบคีรีขันธเปนพื้นที่หลักในการผลิต การรวมกลุมตามความสะดวกทางภูมิศาสตรที่ตั้งของอุตสาหกรรมนับไดวาเปนการเริ่มตนที่ดีของการพัฒนาอุตสาหกรรมสาขานั้นๆ ในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ ซึ่งสงผลดีตอการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยรวม และอาจใชเปนโครงการ นํารองในการประยุกตแนวคิดเครือขายวิสาหกิจกับการพัฒนาอุตสาหกรรมสาขาอื่น ๆ ตอไป

แผนภาพที่ 4.18 พื้นที่ตั้งสําคัญของอุตสาหกรรมทูนากระปอง ไก และสับปะรดกระปอง

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

Trad

Chantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

SamutSakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburi

BuriramKorat

Ang Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla

PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

จํานวนไกมีชีวิต ป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

พื้นท่ีหลักสําหรับการผลิตเพื่อสงออก

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

Trad

Chantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

SamutSakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburi

BuriramKorat

Ang Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla

PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

จํานวนไกมีชีวิต ป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

Trad

Chantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

SamutSakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburi

BuriramKorat

Ang Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla

PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

จํานวนไกมีชีวิต ป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

Trad

Chantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

SamutSakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburi

BuriramKorat

Ang Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla

PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

จํานวนไกมีชีวิต ป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

พื้นท่ีหลักสําหรับการผลิตเพื่อสงออก

Uthaithani

Nong KhaiNakorn Phanom

Suphanburi

ChachoengsaoChantaburi

TradRayong

Chonburi

Kanchanaburi

RatchaburiPhetchaburi

Prachuab Khiri Khan

Chumporn

พื้นท่ีเพาะปลูกสัปปะรด

Udorn Thani

Lampang

ประจวบคีรีขันธ เปนพื้นที่สําคัญในการผลิตสัปปะรดกระปอง โดยมีโรงงานตั้งอยูกวา 20 โรงงาน

Uthaithani

Nong KhaiNakorn Phanom

Suphanburi

ChachoengsaoChantaburi

TradRayong

Chonburi

Kanchanaburi

RatchaburiPhetchaburi

Prachuab Khiri Khan

Chumporn

พื้นท่ีเพาะปลูกสัปปะรด

Udorn Thani

Lampang

ประจวบคีรีขันธ เปนพื้นที่สําคัญในการผลิตสัปปะรดกระปอง โดยมีโรงงานตั้งอยูกวา 20 โรงงาน

อุตสาหกรรมทูนากระปอง อุตสาหกรรมไก อุตสาหกรรมสับปะรดกระปอง

พื้นท่ีหลักเพื่อการผลิต

Page 29: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 319

4.2.2.2 มีความเชื่อมโยงและเกื้อหนุนกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว อุตสาหกรรมทองเที่ยวมีสวนชวยเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารในหลายๆ ดานไมวาจะ

เปนจากนักทองเที่ยวชาวไทยหรือชาวตางประเทศ และทั้งทางตรงหรือทางออม ตัวอยางเชน การเพิ่มความตองการในการบริโภคซึ่งจะมีผลโดยตรงตอผูขายอาหาร มีลักษณะการบริโภคหรือการเลือกอาหารที่มีความพิถีพิถันสูงมากกวาคนทองถิ่นโดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวตางประเทศจะทําใหผูผลิตหรือผูขายอาหารจะตองพัฒนาตนเอง เพื่อใหบริการหรือสินคามี คุณภาพสูงขึ้นตามความตองการดังกลาว นอกจากนี้จากผลการสํารวจชาวตางประเทศของสถาบันบัณฑิตฯ ศศินทร รวมกับทางมหาวิทยาลัยชั้นนําตางประเทศ (ดูแผนภาพที่ 4.19 ประกอบ) พบวา ส่ิงที่นักทองเที่ยวตางชาติประทับใจ ในประเทศไทยมากเปนอันดับสองรองจากความสวยงามทางธรรมชาติแลวก็คือ อาหารไทย และถาพูดถึงเฉพาะสินคาหรือบริการของเมืองไทยนั้น อาหารไทยจะเปนส่ิงแรกที่นักทองเที่ยวนึกถึง นั่นแสดงใหวา อาหารไทยนั้นเปนที่นิยมชื่นชอบสําหรับชาวตางชาติ ซึ่งเปนสวนสนับสนุนทางออมคือ เมื่อนักทองเที่ยวเหลานี้กลับไปยังประเทศของตนแลว ก็มีแนวโนมที่จะรับประทานอาหารไทยดวย โดยอาจจะรับประทานจากรานอาหารไทยในตางประเทศ หรืออาจปรุงอาหารไทยทานเองโดยการหาซื้อเครื่องปรุงเครื่องเทศวัตถุดิบในการปรุงอาหารไทยก็ได ประโยชนก็จะเกิดขึ้นโดยตรงกับรานอาหารไทย รวมถึงการสงออกสินคาจําพวกเครื่องเทศตางๆ เปนตน

ที่มา: Branding Thailand Survey Results

แผนภาพที่ 4.19 ผลการสํารวจความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มีตอประเทศไทย 4.2.2.3 สมาคมและองคกรที่เกี่ยวของดานอาหารมีบทบาทที่เอื้อตอการพัฒนาอุตสาหกรรม แต

ผูประกอบการขนาดกลางและเล็กยังขาดความเขาใจ การจัดตั้งสมาคมหรือหนวยงานของทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารมีอยู

มากมายในหลายระดับ ทั้งในระดับบนสุด คือ อุตสาหกรรมอาหาร ระดับสินคาเฉพาะ เชน กลุมอุตสาหกรรมไกเพื่อการ สงออก ทั้งในระดับประเทศหรือระดับทองถิ่น และในมุมมองของการเนนเฉพาะเจาะจงเกี่ยวของกับอาหารโดยตรงหรือที่เกี่ยวของกับทุกๆ อุตสาหกรรม ตามแผนภาพที่ 4.19

ความสวยงามทางธรรมชาติ

ไมพอใจ(0)

พอใจมาก(10)

คะแนนความพึงพอใจเกี่ยวกับเมืองไทยคะแนนความพึงพอใจเกี่ยวกับเมืองไทย

7.447.617.67

8.21

8.26

คาใชจายวัฒนธรรมทองถ่ินความตอนรับและบริการอาหารไทยความสวยงามทางธรรมชาติ

ไมพอใจ(0)

พอใจมาก(10)

คะแนนความพึงพอใจเกี่ยวกับเมืองไทยคะแนนความพึงพอใจเกี่ยวกับเมืองไทย

7.447.617.67

8.21

8.26

คาใชจายวัฒนธรรมทองถ่ินความตอนรับและบริการอาหารไทย

Page 30: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

320 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

แผนภาพที่ 4.20 โครงสรางสมาคมเกี่ยวกับอาหารของไทย

โดยในชวงเวลาหลายปที่ผานมาสถาบันหรือสมาคมตางๆ เหลานี้ไดมีการพัฒนาและสรางสรรค

กิจกรรมตางๆ นอกเหนือจากการเปนเพียงแคศูนยรวมในการสรางอํานาจตอรองเพื่อใหไดสิทธิพิเศษหรือผลประโยชน เชน ตัวอยางตามตาราง 4.10 ไมวาจะเปนการจัดฝกอบรม บริการในการตรวจสอบและออกใบรับรองคุณภาพสินคา การจัดหาตลาด ชวยประสานงานใหกับหนวยงานรัฐบาลที่เกี่ยวของ การใหคําปรึกษาในการพัฒนาจัดระบบการบริหาร หรือการขอรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม การเปนศูนยกลางขอมูลรวบรวมจากหลายแหลง การชวยเหลือในการทํางานที่ เกี่ยวของกับธุรกิจอื่นๆ เปนตน เพื่อเปนการพัฒนายกระดับอุตสาหกรรมฯ และชวยเสริมสรางความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหาร

TradeAssociation

Private Organization

GovernmentAgency

General•Thai Chamber of Commerce

•Federation of Thai industries

SpecificGeneral•Foundation for ThailandProductivity Institute

SpecificNational

Food Institute

FoodThai Frozen

Foods Association

Sub-SectorThai Broiler Processing Exporters Association

NationalThai Food

Processors Association

ProvincialNorth-Eastern Cassava

Factory Association

Page 31: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 321

ตารางที่ 4.10 การกอตั้งสมาคมสําคัญที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหาร อยางไรก็ตามจากการศึกษา พบวา จากจํานวนทั้งส้ิน 7,287 บริษัท มีมากกวารอยละ 97 ของ

บริษัทหรือโรงงานที่อยูในอุตสาหกรรมอาหารไมไดมีสวนรวมหรือเปนสมาชิกในสมาคมชมรมตางๆ เหลานี้ โดยเฉพาะบริษัทขนาดเล็กและกลาง (SME) สวนใหญสมาคมจะมีสมาชิกที่เปนบริษัทโรงงานขนาดใหญ สําหรับสาเหตุที่หลายบริษัทยังไมเขารวมในกิจกรรมตางๆ ของสมาคมนั้นมีหลายสาเหตุ ซึ่งผลการศึกษาของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทยไดชี้ใหเห็นถึงสาเหตุสําคัญ คือ (1) ผูประกอบการไมเห็นความสําคัญของการฝกอบรม เพราะไมเขาใจถึงประโยชนที่จะไดรับในระยะยาว และกลัวเรื่องการเปล่ียนงานของพนักงานทําใหเสียเงินและเวลาโดยสูญเปลา (2) หลักสูตรการอบรมที่จัดไมนาสนใจ เปนวิชาพื้นฐานเกินไปไมสอดคลองกับความตองการ ดังนั้นสถาบันหรือสมาคม ตาง ๆ ควรที่จะมีการพัฒนาสรางกิจกรรม หลักสูตรการอบรมตางๆ รวมกันกับภาครัฐและเอกชน และมีความจําเปน อยางยิ่งที่จะตองทําการประชาสัมพันธสรางความเขาใจใหเอกชนไดเห็นถึงประโยชนจากการเปนสมาชิกและเขามา มีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ เพื่อเปนการพัฒนาอุตสาหกรรมใหยั่งยืนตอไป

2510 2511 2513 2534 2539สภาอุตสาหกรรม สมาคมอาหารแชเยือกแข็งไทย สมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก สถาบันอาหารภาคเอกชน ภาคเอกชน ภาคเอกชน ภาคเอกชน ภาครัฐทุกประเภท สัตวน้ํา ทุกประเภท ไก ทุกประเภท

การศึกษา จัดฝกอบรมและสัมมนาทั่วไป n/a

จัดฝกอบรมเร่ืองความปลอดภัยดานอาหาร ใหบริการขอมูลที่เก่ียวกับธุรกิจและการศึกษาวิจัยตาง ๆ

ใหการสงเสริมและสนับสนุนเก่ียวกับเทคโนโลยีการผลิต ตลอดจนมาตรฐานการผลิต

ใหความชวยเหลือแกผูผลิตอาหารและใหคําปรึกษาเก่ียวกับระบบ HACCP ตลอดจนฝกอบรมเรื่องความปลอดภัยดานอาหารแกผูประกอบการ

การเงิน Funding for training n/a n/a n/a n/a

ออกใบรับรอง

และบริการ

ตรวจสอบตรวจสอบสินคา ออกใบรับรองแหลงกําเนิด

ออกใบรับรองการนําเขา กรณีนําเขาวัตถุดิบไมเกิน 10 กก. เพื่อใชเปนตัวอยางหรือผลิตตัวอยาง ใหบริการทดสอบผลิตภัณฑ

ใหบริการและอํานวยความสะดวกดานกฎ ระเบียบทางราชการ

ใหบริการหองปฏิบัติการทดสอบอาหาร รวมทั้งประสานงานทั้งหองปฏิบัติการภาคเอกชนและภาครัฐในการยกระดับมาตรฐานการตรวจสอบ

การตลาด

ประสานงานกับสมาชิกในการขยายฐานการตลาดและสงเสริมการบริโภคภายในประเทศ

คณะกรรมการสงออก มีบทบาทดานการแกไขประเด็นปญหาทางการสงออก n/a

ใหการสนับสนุนพัฒนาการดานการตลาด

n/a

สนับสนุนงานภาครัฐ

ประสานงานและสนับสนุนงานของภาครัฐ n/a

ประสานงานกับหนวยงานราชการ n/a

ดําเนินงานวิจัยอุตสาหกรรมเพื่อใหเปนไปตามนโยบายของภาครัฐตามที่ไดรับมอบหมาย

อื่น ๆ ศูนยรวมขอมูลทางธุรกิจ

ใหคําปรึกษาดานธุรกิจ การแกปญหาใหแกสมาชิก และการออกกฎ ระเบียบตาง ๆ สําหรับสมาชิกกลุมตาง ๆ

เปนที่ปรึกษาดานมาตรฐานการผลิตตามระบบ HACCP และ GMP n/a

ใหการสนับสนุนและเผยแพรขอมูลงานวิจัย และเทคนิคตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร

244 บริษัท n/a 160 บริษัท 15 บริษัทผูผลิตไกช้ันนํา 200 บริษัทจํานวนสมาชิก

ชื่อสถาบันภาครัฐ / เอกชน

สินคา

บทบา

ทหลัก

Page 32: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

322 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.2.2.4 สถาบันการศึกษามีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมนอย

บทบาทของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีตออุตสาหกรรมอาหาร มีทั้งดานการผลิตบัณฑิตและงานวิจัยและพัฒนา จากตารางที่ 4.11 พบวา ในป 2540 มีสถาบันการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีอาหารจํานวนมาก และกระจายอยูในทุกภูมิภาคของประเทศ และมีผลงานวิจัยรวมถึงบุคลากรที่เกี่ยวของ มากมาย ในบางมหาวิทยาลัยไดทํางานรวมกันกับภาครัฐมายาวนานและตอเนื่อง ทั้งในการพัฒนากําลังคน การจัดตั้งหนวยงานตรวจสอบ การวิจัย เปนตน อีกทั้งยังมีการจัดตั้งหองปฏิบัติการวิจัยและทดสอบอาหารเพื่อวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม ใหการฝกอบรมและผลิตบุคลากรที่มีความรู การใหบริการในการตรวจวิเคราะห รวมถึงการจัดสัมมนาใหแกผูสนใจโดยเนนเรื่องความปลอดภัยดานอาหาร นอกจากนี้ ทางทบวงมหาวิทยาลัยยังไดรับ มอบหมายจากภาครัฐใหเปนผูรับผิดชอบภารกิจในการสนับสนุนดานวิชาการ เพื่อใหคําแนะนําปรึกษาในเชิงวิชาการประกอบการเจรจาการคาระหวางประเทศ การสรางหองปฏิบัติการตรวจสอบสารตกคางและการจัดฝกอบรมอีกดวย

ตารางที่ 4.11 ขอมูลงานวิจัยสาขาดานเทคโนโลยีอาหารและจํานวนบุคลากรที่ทํางานดานอาหารของมหาวิทยาลัยตาง ๆ

จํานวนบุคลากรที่ทํางานดานอาหาร

มหาวิทยาลัย คณะ ปริมาณงานวิจัยตอป

ปริมาณผลงานวิจัย (เรื่อง)

งปม.ดําเนินงานวิจัยในประเทศ (บาท/ป)

ทุนอุดหนุนจากตางประเทศ (บาท/ป)

อาจารย นักวิจัย นักวิเคราะห ผูชวยสายบริหาร

ลูกจางประจํา

ชางเทคนิค

จุฬาฯ วิทยาศาสตร 20 28 <500,000 <500,000 17 0 0 0 0 0 อุตสาหกรรมเกษตร 7 15 700,000 0 45 6 0 0 0 0

เกษตรศาสตร สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑ

12 26 5-7,000,000 1,900,000 0 52 8 40 88 9

สถาบันวิจัยโภชนาการ

10 16-17 900,000 1,000,000 12 10 6 4 1 4 มหิดล

วิทยาศาสตร 1-2 2-3 600,000 na 11 6 0 0 0 0

ธรรมศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

na na na na na na na na na na

ศิลปากร เทคโนโลยีอุตสาหกรรม

na na na na na na na na na na

เชียงใหม อุตสาหกรรมเกษตร 5 6-8 1,020,000 0 29 6 1 0 9 1 แมโจ อุตสาหกรรมเกษตร 3 5-6 250,000 0 4 2 0 1 1 0 พระจอมเกลาลาดกระบัง

เทคโนโลยีเกษตร 4 13 200,000 500,000 29 4 0 3 5 1

พระจอมเกลาธนบุรี

วิศวกรรมศาสตร/ทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร

15 61 1,600,000 3,000,000 16 0 2 0 0 1

นเรศวร เกษตรศาสตร 2 0 na na 19 0 0 0 0 1

เทคโนโลยีสุรนารี สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

na na na na 5 3 0 0 0 0

ขอนแกน เทคโนโลยี 5-6 12-15 1,500,000 na 33 7 0 2 7 0 สงขลานครินทร อุตสาหกรรมเกษตร 25 26 4,000,000 1,000,000 27 0 4 15 10 2

ที่มา: สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540

Page 33: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 323

ในดานความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษากับภาคเอกชนนั้น จะเปนในรูปแบบของการสงนิสิตนักศึกษาไปฝกงานกับบริษัทหรือโรงงานของเอกชน ซึ่งไดรับการตอบรับเปนอยางดีทั้งสองฝายเพราะการฝกงานนี้จะเปนประโยชนกับทั้งนักศึกษาในดานประสบการณจากการไดปฏิบัติจริง และเพิ่มโอกาสในการหางานและกับภาคเอกชน ในการไดความชวยเหลือจากนักศึกษาดวย

อยางไรก็ตามจากผลการศึกษาของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยและการสัมภาษณทั้ง

ผูประกอบการและนิสิตนักศึกษาแลว พบวายังมีความขาดแคลนของนักศึกษาทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพและไมตรงกับความตองการของเอกชน อีกทั้งงานวิจัยที่มีมากมายก็มีความซ้ําซอนและขาดการตอยอดกัน และโดยมากไมตรงกับความตองการของเอกชน ทําใหไมสามารถนํามาพัฒนาหรือใชงานไดจริงในธุรกิจ นอกจากนี้รูปแบบของการฝกหัดงานสวนใหญนั้นจะอยูในระดับปฏิบัติการ เชน ในโรงงาน ในโรงครัว เปนสวนมาก ความรวมมือในการทํางานดานวิจัยและพัฒนา หรือการรวมกันสรางหลักสูตรการเรียนการสอนกับภาคเอกชนยังยังมีอยูนอยมาก

4.2.2.5 การขาดอุตสาหกรรมที่พัฒนาเทคโนโลยีและผลิตเครื่องจักรในการผลิตภายในประเทศ

ปจจุบันผูประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปขนาดใหญไดนําเขาเครื่องมือ และเครื่องจักรที่เปน

เทคโนโลยีสมัยใหมตนทุนสูงจากตางประเทศ เนื่องจากไทยไมสามารถที่จะผลิตเครื่องจักรเหลานี้เองได โดยผูประกอบการใหทัศนะวา ถึงแมจะตองลงทุนเปนจํานวนเงินที่สูง แตชวยทําใหประสิทธิภาพการผลิตสูงขึ้น นับวาคุมคาแกการลงทุน อยางไรก็ตามก็ไดมีขอคิดเห็นเพิ่มเติมดวยวา การที่ตางชาติไดขายเทคโนโลยีใหเราอาจหมายถึงเทคโนโลยีนั้นไมใชเทคโนโลยีใหมแตเปนเทคโนโลยีที่สามารถเผยแพรไดทั่วไป ซึ่งไทยยังคงขาดการพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรใน การผลิตไวใชภายในประเทศ สงผลใหผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมยังคงนิยมใชเครื่องมือ และเครื่องจักรเกา หรือเครื่องจักรที่ลาสมัย โดยไมไดสนใจที่จะปรับเปล่ียนเทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อใชในการผลิตทดแทนการใชแรงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของตนเอง

4.2.2.6 ธุรกิจสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารขาดแคลนวัตถุดิบและปจจัยสนับสนุนบางประการ

เนื่องจากความตองการวัตถุดิบของอุตสาหกรรมอาหารที่เพิ่มขึ้นและมีปริมาณมาก ทําใหปริมาณ

วัตถุดิบที่มีอยูในประเทศไมเพียงพอตอความตองการและเกิดการขาดแคลนวัตถุดิบบางอยาง ซึ่งการขาดแคลนดังกลาวสืบเนื่องมาจากขอจํากัดทางทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ ทําใหอุตสาหกรรมตองมีการพึ่งพาการนําเขาวัตถุดิบดังกลาวจากตางประเทศ และกอใหเกิดปญหาตางๆ ขึ้นเชน ตนทุนเชิงเปรียบเทียบที่สูงขึ้น ทั้งจากการที่ขนสงเดินทางและภาษี นําเขา หรือการบริหารปริมาณและตนทุนวัตถุดิบที่ยากขึ้น ดังตัวอยางจากหลายอุตสาหกรรมยอยดังตอไปนี้

– ปลาทูนา : ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตทูนากระปองปจจุบันนําเขาจาก ตางประเทศเปนหลักโดยคิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 80 สวนปลาทูนาที่จับไดจากในประเทศจะมีขนาดเล็กเรียกวา ปลาโอ ทั้งนี้เพราะไทยมีเรือประมงน้ําลึกเพียงหนึ่งลําเทานั้น ไมสามารถจับปลาทูนาซึ่งเปนปลาน้ําลึกใหเพียงพอตอความตองการใชในอุตสาหกรรมได ประกอบกับการจับตองเปนลักษณะกองเรือ การขาดกองเรือประมงน้ําลึกของไทยซึ่งเปนธุรกิจสนับสนุนสําหรับอุตสาหกรรมอาหารโดยตรงสงผลใหผูผลิตจําเปนตองนําเขาปลาทูนาสดและแชงแข็งจากตางประเทศเปนจํานวนมาก อันเปนผลใหยากตอการบริหารตนทุนอุตสาหกรรม

Page 34: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

324 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

– บรรจุภัณฑ : ผูผลิตกระปองตองนําเขาแผนดีบุกจากตางประเทศเพื่อนํามาผลิตกระปองปละจํานวนมาก โดยมีผูผลิตและผูนําเขาแผนดีบุกจํานวนนอยรายทําใหผูผลิตกระปองมีความเสี่ยงในเรื่องตนทุน ทําใหสงผลกระทบตอผลิตภัณฑบรรจุกระปองตาง ๆ เชน สับปะกระปอง ปลาทูนากระปอง เปนตน

4.2.2.7 การขาดการบริหารจัดการที่ดีตลอดหวงโซอาหาร

การบริหารหวงโซอาหาร (Food Chain Management) เปนการบริหารกระแสการไหลของ

ผลิตภัณฑและขอมูลขาวสาร ตั้งแตผูจัดจําหนายวัตถุดิบ โรงงานแปรรูป ผูกระจายสินคา และผูบริโภค ในหวงโซอาหารจะครอบคลุมผูที่เกี่ยวของมากมาย ตั้งแตผูจําหนายอาหารสัตว ปุย เกษตรกร ชาวประมง โรงงานผลิตอาหาร ผูกระจายสินคา ผูขนสง และผูบริโภค เปนตน ซึ่งพบวา ปญหาของอุตสาหกรรมอาหารสวนใหญที่เกิดขึ้นนั้นมักจะเกิดจากการบริหาร จัดการหวงโซอาหารที่ไมดีพอ กลาวคือ ไมมีการประสานงาน ส่ือสารหรือมีความรวมมือกันระหวางกลุมกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับกิจกรรมตนเองทั้งกิจกรรมกอนและหลัง เชน ผูผลิตอาหารไมมีการประสานงานกับเกษตรกรซึ่งเปนกิจกรรมกอน หรือไมส่ือสารถึงความตองการเฉพาะในการขนสงสินคากับผูกระจายสินคาซึ่งเปนกิจกรรมหลัง ทําใหเกิดผลกระทบ ตออุตสาหกรรมอาหารโดยรวมตางๆ มากมาย เชน ตนทุนการขนสงสินคาตลอดหวงโซอาหารที่มีราคาที่สูงเกินไป คุณภาพของสินคาเกษตรที่ไมไดมาตรฐานหรือไมแนนอน เปนตน ปญหาตางๆ สามารถแบงออกเปนสวนๆ ตามกระบวนการในหวงโซอาหาร ดังตอไปนี้

• ผูจัดจําหนายวัตถุดิบ (Supplier ปญหาที่เกิดขึ้นสามารถแบงไดเปน 3 กรณีใหญๆ คือ : กรณีที่หนึ่ง ปญหาดานคุณภาพของสินคาที่ต่ําและไมสมํ่าเสมอ ซึ่งพบวาเมื่อเกิดกรณีพิพาทดานการกีดกันการนําเขาจากตางประเทศ และการสอบยอนกลับมาตลอดกระบวนการ แลวพบวาปญหาสวนใหญเกิดขึ้นในขั้นตอนการผลิตวัตถุดิบ เกษตรกรผูผลิตวัตถุดิบในประเทศขาดความรู ความชํานาญในเรื่องมาตรฐานและระบบการผลิตที่ดี ยังมีการใชวิธีการปลูกพืชหรือการเพาะเลี้ยงสัตวไมเหมาะสม ตั้งแตการใชดิน น้ํา สารเคมี การลดสารตกคาง การจัดเก็บสินคาคงคลัง การกําจัดและทิ้งของเสียตาง ๆ

กรณีที่สอง คือ ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรที่ไมคงที่ บางครั้งมีปริมาณมากเกินความตองการ แตบางครั้งก็ไมเพียงพอ สืบเนื่องจากการขาดการวางแผนดานการตลาดรวมกันกับผูผลิต สงผลใหราคาวัตถุดิบสูงและผันผวนในเกือบทุกผลิตภัณฑ ทําใหเกิดปญหาในการวางแผนและการจัดการ

กรณีสุดทาย คือ ปริมาณผลผลิตที่ไมเพียงพอ นอกจากสาเหตุที่เกิดจากการขาดรวมมือกันระหวางกิจกรรมในหวงโซอาหารดังที่ไดกลาวมาแลวนั้น สาเหตุสําคัญอีกประการหนึ่งคือ (จากการที่เกษตรกรสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย) การยังขาดความรูความเขาใจในระบบการบริหารจัดการฟารมที่ดีในทุกขั้นตอน นับตั้งแตการเตรียมที่ดิน การวางแผนการผลิต ขบวนการเก็บเกี่ยวและรักษาผลผลิตเพื่อลดการสูญเสีย การจําหนาย ปจจัยเหลานี้ทําให ผลผลิตตอไรต่ํา ซึ่งเปนผลใหผูผลิตตองมีการนําเขาวัตถุดิบทางการเกษตรเหลานี้ และสงผลถึงตนทุนที่สูงอันเนื่องมาจากการนําเขา โดยเฉพาะอยางยิ่งอัตราภาษีนําเขาที่สูง ซึ่งจากเกิดจากมาตรการของรัฐในการปกปองสินคาเกษตรนั้นๆ ตัวอยางเชน อาหารสัตวบางรายการ ขาวโพด และถั่วเหลือง ซึ่งในกรณีการเลี้ยงไกนั้นอาหารสัตวคิดเปนสัดสวนถึง รอยละ 60 ของตนทุนทั้งหมด

Page 35: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 325

• ผูผลิต (Processor) โรงงานผูผลิตอาหาร ยังมีการบริหารโรงงาน การวางแผนและ ควบคุมการผลิต การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย การกําจัดและทิ้งของเสีย และสินคายอนกลับ(Return Goods) ที่ยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ เนื่องจากสวนใหญเปนการผลิตขนาดกลางถึงเล็ก หรือมีรูปแบบธุรกิจในครอบครัวที่มี การผลิตรับชวงกัน การปรับรูปแบบของโรงงาน เพื่อใหไดมาตรฐานสากล เชน GMP จึงเปนส่ิงที่กอใหเกิดตนทุนสูง และตองใชระยะเวลาในการปรับตัว นอกจากนี้การเลือกซื้อวัตถุดิบของโรงงานเหลานี้จะไมมีสัญญาโดยตรงกับผูผลิต (Contract Farming) แตจะเปนการจัดซื้อตามราคาตลาดที่เปล่ียนแปลงตามฤดูกาล และการจัดซื้อเหลานี้ ทําใหผูผลิตตรวจสอบยอนกลับไปถึงแหลงวัตถุดิบไดยาก

• ผูกระจายสินคา (Distributors) ขาดการสื่อสารหรือรวมมือกันในความตองการของ ผูผลิตกับผูกระจายสินคาที่ดีพอ ทําใหระบบการเก็บรักษาสินคา การบรรจุภัณฑ และการจัดสงสินคาของทั้งวัตถุดิบ ทางการเกษตรและสินคาที่ออกจากผูผลิตไปยังตลาดยังไมมีประสิทธิภาพที่ดี โดยเฉพาะการกระจายสินคาแชเย็นแชแข็ง และสินคาเนาเสียงาย ซึ่งผูประกอบการยังมีรถยนตและคลังสินคาที่มีอุณหภูมิไมเย็นพอที่จะรักษาสภาพสินคาใหสมบูรณ ทําใหคุณภาพของสินคามีการเปลี่ยนแปลงที่ลดลงระหวางการจัดสงดังกลาว อีกทั้งยังสงผลถึงตนทุนทางการผลิตดวย

นอกจากนี้ยังมีปญหาจากความไมเพียงพอของสิ่งอํานวยความสะดวกดานการขนสง

และลําเลียงสินคาที่ตองควบคุมอุณหภูมิ เนื่องจากการขนสงผลิตภัณฑอาหารเกือบทุกชนิดจําเปนที่จะตองมีการควบคุม อุณหภูมิความเย็นใหอยูในระดับที่คงที่ตลอดเสนทางการลําเลียง ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการประกอบธุรกิจจําหนายอาหารสดและอาหารแชเย็นแชแข็งนั้น ยังพบวาระบบการกระจายสินคาแชแข็งมีเพียงพออยูเฉพาะในเขตกรุงเทพฯและหัวเมืองขนาดใหญเทานั้น ขณะที่ตามตางจังหวัดยังขาดระบบการกระจายสินคาแชแข็งที่มีประสิทธิภาพ เปนผลใหการนําสินคาอาหารสด ที่มีจุดตนทางจากตางจังหวัดเพื่อบริโภคที่กรุงเทพฯ หรือสงออกที่ทาอากาศยานดอนเมืองมีอัตราการสูญเสียน้ําหนัก และคุณภาพสูงถึงรอยละ 30-40 ทําใหเอกชนมีตนทุนการถนอมอาหารและตนทุนคาบรรจุภัณฑเพิ่มขึ้น นอกจากนี้จุดรอการขนสงและลําเลียงตอ เชน สถานีรถไฟ และทาอากาศยานสากล ยังไมมีคลังกักเก็บที่มีหองควบคุมความเย็นไวรองรับ สงผลใหผูประกอบการจําเปนตองใชระบบการขนสงทางรถยนตเปนหลัก นอกจากนี้ ในตลาดคาปลีก โดยเฉพาะตามตลาดสดจะเห็นไดวายังไมมีอุปกรณในการควบคุมอุณหภูมิเลย หรือแมกระทั่งในกิจการคาปลีกสมัยใหมบางแหงก็ยังมีระบบควบคุมเฉพาะความเย็นและไมสามารถควบคุมความชื้นที่เกิดขึ้นได เปนผลใหสินคาอาหารมีคุณภาพดอยกวาที่ ควรจะเปน

• ผูบริโภค (Consumer) ตองเผชิญปญหาการไดรับสินคาที่ไมตรงตามความตองการสินคามาลาชา ความไมปลอดภัยในอาหารที่บริโภค เปนตน โดยเฉพาะถาเปนผูบริโภคในประเทศที่ขาดความพิถีพิถันใน การบริโภค จะเปนชองทางใหผูผลิตนําสินคาที่ไมไดมาตรฐานมาปลอยขายในตลาดสวนที่ไมเขมงวดตอการตรวจสอบได

จากการขาดความเชื่อมโยงดานการจัดการตลอดทั้งหวงโซอาหารนี้ ทําใหไมสามารถพัฒนาระบบ

ฐานขอมูลเพื่อการตรวจสอบยอนกลับ (traceability) ซึ่งเปนจุดที่สําคัญอยางยิ่งตอการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพของอาหาร เพราะเมื่อเกิดปญหาดานคุณภาพหรือความปลอดภัยของอาหารในกระบวนการใดกระบวนการหนึ่งในหวงโซอาหาร การมีระบบตรวจสอบยอนกลับที่ดีจะทําใหสามารถหาสาเหตุของปญหาดังกลาวไดอยางแทจริง สงผลใหการแกไขปญหาเปนไปไดอยางรวดเร็วและตรงจุด

Page 36: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

326 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.2.3 เงื่อนไขทางดานอุปสงค (Demand Conditions) การวิเคราะหความตองการอาหารของผูบริโภค โดยเฉพาะความตองการบริโภคภายในประเทศ ซึ่งเปนแรง

ผลักดันพื้นฐานที่สําคัญที่สุดใหอุตสาหกรรมพัฒนาการผลิตไดคุณภาพ สะอาด และปลอดภัย ความพิถีพิถันของผูบริโภคยอมเปนส่ิงกําหนดใหผูผลิตตองปรับตัวเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและผูบริโภค

4.2.3.1 การบริโภคภายในประเทศมีความหลากหลายมากขึ้น

ตลอดชวงเวลาในอดีต พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทยมีความหลากหลาย โดยสวนใหญ

เปนการบริโภคเนื้อสัตว ไขมัน น้ําตาล และโปรตีน โดยแหลงที่มาของโปรตีนและไขมันที่สําคัญ ไดแก สัตวปก หมู วัว ปลา ไข และนม นอกจากนี้ ยังมีความนิยมบริโภคอาหารสําเร็จรูป อาหารของชาวตะวันตก และรับประทานอาหารนอกบานกันมากขึ้น โดยเฉพาะผูที่อาศัยอยูในเขตเมือง เปนผลใหสัดสวนรายจายดานอาหารเมื่อเทียบกับสัดสวนรายจายทั้งหมด เพิ่มขึ้น อยางไรก็ดี พบวา ในชวง 5 ป ที่ผานมา (ดูแผนภาพที่ 4.21 ประกอบ) มีผูบริโภคบางสวน โดยเฉพาะผูที่ให ความสําคัญกับสุขภาพ เริ่มหันมาใหความสําคัญกับการบริโภคธัญพืช ผัก และผลไม และลดปริมาณการบริโภคไขมันและเนื้อสัตว จากผลของการมีพฤติกรรมการบริโภคที่หลากหลายนี้ เปนผลใหธุรกิจสามารถสรางโอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑอาหารใหสอดคลองกับตลาดผูบริโภคที่หลากหลายขึ้น

0.0%

1.0%

2.0%

3.0%

4.0%

5.0%

6.0%

7.0%

-4.0% -2.0% 0.0% 2.0% 4.0% 6.0% 8.0% 10.0%

= 50,000 ลานบาท

Bread & Cereals

Meat

FishMilk, Cheese & Eggs

Oil & Fat

Fruit

Vegetables

Sugar, Jam, Honey,Chocolate & Confectionery

Food Products

Non-alcoholic Beverages

สัดสวนคาใช

จายเพื่

อการบ

ริโภคภาคเอก

ชน ป

2544

อัตราเติบโตเฉลี่ยตอป (2540-2544)

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แผนภาพที่ 4.21 เปรียบเทียบคาใชจายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน ณ. ราคาปจจุบัน

Page 37: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 327

4.2.3.2 ความพิถีพิถันในการเลือกซื้อและบริโภคผลิตภัณฑอาหาร จากขอมูลการสํารวจของ Agro Food Resources Ltd. ระบุวา ความพิถีพิถันในการเลือกซื้อและ

บริโภคผลิตภัณฑอาหารของผูบริโภคแตละกลุมจะแตกตางกัน ดังนี้ • ผูบริโภครายไดตั้งแตปานกลางขึ้นไป: การตัดสินใจในการเลือกซื้ออาหารขึ้นอยูกับความ

สะดวกสบาย คุณคา และคุณภาพ มากกวาใหความสนใจอยูเฉพาะราคา โดยมากผูบริโภคในกลุมนี้จะอาศัยอยูในเขตเมืองใหญ สงผลตอเนื่องใหธุรกิจคาปลีกสมัยใหมและสินคาอาหารมีการพัฒนาใหมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากเล็งเห็นโอกาสทางการตลาดของพฤติกรรมผูบริโภคในกลุมนี้

• ผูบริโภครายไดนอย: การตัดสินใจในการเลือกซื้ออาหารขึ้นอยูกับราคาและรสชาติมากกวาใหความสนใจกับคุณภาพ โดยมากผูบริโภคในกลุมนี้มักซื้อสินคาอาหารที่ผลิตภายในประเทศ มีแหลงซื้อหลักจากตลาดดั้งเดิมหรือตลาดสด ขณะที่ผูผลิตสินคาเพื่อปอนตลาดผูบริโภครายไดนอยจะใชระบบการผลิตแบบดั้งเดิม เทคโนโลยีการผลิตไมสูงนัก และไมใหความสําคัญกับการยกระดับคุณภาพมากนัก ทั้งนี้เพราะผูบริโภคไมมีความพิถีพิถันในการเลือกซื้อสินคามากนัก

4.2.3.3 การเพิ่มบทบาทของธุรกิจคาปลีกดานอาหาร เปนปจจัยหนึ่งที่ชวยเสริมสรางพฤติกรรม

การเลือกซื้อผลิตภัณฑอาหารของผูบริโภคใหเกิดความพิถีพิถัน ตลาดคาปลีกสินคาอาหารในประเทศไทยจําแนกเปน 2 ประเภท ไดแก (1) ตลาดสด (Wet

Market) ซึ่งเปนแหลงสําคัญในการซื้อขายอาหารสําหรับผูมีรายไดนอย ชาวบานในตางจังหวัด และผูที่อาศัยอยูในเขตเมืองที่ตองการซื้ออาหารสด โดยตลาดสดมีสวนแบงรอยละ 75 ของสินคาอาหารทั้งหมดที่ขายผานตลาดคาปลีก อยางไรก็ดี พบวา ตามเมืองใหญหรือเมืองธุรกิจ ตลาดสดเริ่มสูญเสียความสามารถทางการแขงขันเมื่อเทียบกับตลาดคาปลีก สมัยใหม เนื่องจากมีขอดอยดานราคา ความสะดวกสบายในการเลือกซื้อ ความสะอาด และความปลอดภัยของอาหาร (2) ตลาดคาปลีกสมัยใหม (Modern Trade) เชน ซูเปอรมารเก็ต ซูเปอรสโตร ไฮเปอรมารเก็ต และรานคาสะดวกซื้อ กลุมลูกคาหลักเปนผูมีรายไดปานกลางขึ้นไปที่ตองการความสะดวก ความสะอาด สินคามีคุณภาพ ทั้งนี้เพราะสินคาที่รับมาจําหนายตองผานการตรวจสอบตามมาตรฐานความปลอดภัยและสุขอนามัยของบริษัท สงผลใหผูบริโภคมีพฤติกรรม การเลือกซื้อที่พิถีพิถันมากขึ้น อีกทั้งสรางโอกาสใหทั้งผูผลิตและผูบริโภคเพิ่มชองทางการจําหนายสินคา

ตลาดคาปลีกสินคาอาหารในประเทศไทยไดเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในชวงทศวรรษที่

ผานมาอันเนื่องจากการขยายตัวของธุรกิจขามชาติจากยุโรป จนกลายเปนผูนําตลาดคาปลีกสมัยใหมในกลุมที่เปนซูเปอรมารเก็ตและไฮเปอรมารเก็ต สงผลใหธุรกิจคาปลีกอาหารที่เปนของคนไทยตองมีการปรับตัว เชน ใหความสําคัญกับการสรางพันธมิตรทางธุรกิจกับกลุมคาปลีกดวยกัน การวิจัยตลาดและการพัฒนาระบบการดําเนินงานเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคามากขึ้น สภาพการแขงขันที่เพิ่มขึ้นไดสงผลใหผูบริโภคมีชองทางในการซื้อหาสินคาอาหารมากขึ้น ราคาสินคาถูกลง และสินคามีความหลากหลายกวาเดิม

Page 38: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

328 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

สําหรับกิจการคาปลีกสมัยใหมมีผูนําตลาดที่สําคัญ ไดแก Tesco (อังกฤษ) Carrefour (ฝร่ังเศส) และ CRCAhold (เนเธอรแลนด) การเขามาของธุรกิจขามชาติสงผลใหผูบริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อจากเดิมที่ซื้อสินคาอาหารจากรานคาดั้งเดิม (รานโชหวย) มาใชบริการของกิจการคาปลีกสมัยใหม เนื่องจากสามารถซื้อหาสินคาที่มีคุณภาพเหมือนเดิมหรือดีขึ้น และไดรับการบริการที่ดีขึ้น โดยในปจจุบัน สัดสวนการขายสินคาอาหารผานกิจการคาปลีกสมัยใหม มีสัดสวนประมาณรอยละ 21 ของสินคาอาหารที่ขายผานตลาดคาปลีกทั้งหมด

4.2.3.4 การแขงขันของธุรกิจแฟรนไชสอาหาร เปนอีกปจจัยที่ชวยเพ่ิมความพิถีพิถันในการเลือก

บริโภคของผูบริโภคภายในประเทศ

ธุรกิจแฟรนไชสอาหารกวารอยละ 80 เปนการซื้อแฟรนไชสมาจากประเทศพัฒนาแลว และจําแนกธุรกิจออกไดเปน 2 กลุมใหญ ไดแก

• รานอาหารที่เนนการใหบริการรวดเร็ว (Quick Service Restaurant - QSR) ไดแก - รานอาหารจานดวนหนัก (Heavy Fast Food) มีสัดสวนรอยละ 80 ของกลุม

ตลาด QSR ลูกคามีรายจายในการบริโภคคนละ 180 – 230 บาท ผูนําตลาด ไดแก Pizza Hut, Sizzlers และ MK Suki เปนตน

- รานอาหารจานดวนเบา (Light Fast Food) มีสัดสวนรอยละ 20 ของกลุมตลาด QSR ลูกคามีรายจายในการบริโภคคนละ 40 – 60 บาท ผูนําตลาด ไดแก McDonalds, KFC, Mister Donut, Swensen’s Ice Cream, A&W และ Auntie Anne เปนตน

• รานอาหารเต็มรูปแบบ (Full Restaurant) ไดแก - ลูกคามีรายจายในการบริโภคคนละตั้งแต 230 บาท ผูนําตลาด ไดแก Oishi,

รานสีฟา, S&P และ Hard Rock Café เปนตน - ปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจแฟรนไชสมี 7 ประการ ไดแก

(1) การบริหารจัดการ (2) บริการ (3) คุณภาพอาหาร (4) ทําเลที่ตั้ง (5) ราคา (6) ภาพพจน และ (7) การยอมรับจากผูบริโภค - การประกอบธุรกิจแฟรนไชสอาหารของไทยยังอยูในขั้นเริ่มตน และมีโอกาส

ขยายตัวอีกมาก เนื่องจากในปจจุบันมีมูลคาตลาดเพียงรอยละ 4 ของมูลคาอุตสาหกรรมอาหารทั้งหมด ขณะเดียวกันประเทศเพื่อนบานไดพัฒนาไปมากกวาไทย โดยในมาเลเซีย (รอยละ 9) ฟลิปปนส (รอยละ 20) และสิงคโปร (รอยละ 20) ของมูลคาอุตสาหกรรมอาหารทั้งหมด

การแขงขันของธุรกิจแฟรนไชสอาหารทั้งที่เปนของไทยและตางประเทศ สงผลกระทบโดยตรงตอ

พฤติกรรมการเลือกบริโภคอาหาร และเปนการชวยสรางความพิถีพิถันแกผูบริโภคภายในประเทศ ดวยการบริหารงานของธุรกิจแฟรนไชสอาหาร (ดังแผนภาพที่ 4.22) ซึ่งมีลักษณะการดําเนินงานที่คลายคลึงกัน คือ เนนการสรางภาพลักษณ ดวยการสรางความประทับใจใหแกผูบริโภค ในดานของความสะอาด ปลอดภัย และคํานึงถึงความพึงพอใจของลูกคา ตลอดจนการโฆษณาประชาสัมพันธ และการสงเสริมการตลาดอยางตอเนื่อง ทําใหผูบริโภคมีชองทางในการเลือกบริโภคมากขึ้น

Page 39: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 329

ที่มา : คณะทํางาน และความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ

แผนภาพที่ 4.22 ผลกระทบของธุรกิจแฟรนไชสตอการสรางความพิถีพิถันแกผูบริโภค

4.2.3.5 ความเปนที่นิยมของอาหารไทย เปนปจจัยเสริมดานการประชาสัมพันธ และสงเสริม การสงออกอุตสาหกรรมเครื่องเทศและเครื่องปรุง อาหารไทยเปนหนึ่งในอาหารที่ไดรับการยอมรับจากนานาชาติวาเปนอาหารที่มีรสชาติอรอย มีรสชาติ

ที่ผสมผสานกันอยางลงตัวทั้งเปรี้ยว หวาน เค็ม เผ็ด รอน และขม ตองใชศิลปะในการปรุงและตกแตงอยางสวยงามดึงดูดใจ ตลอดจนมีความหลากหลายของอาหารและเครื่องปรุง

นอกจากนี้ วิทยาศาสตรการแพทยตะวันตกยังยกยองวาอาหารไทยมีประโยชนตอสุขภาพ มี

คุณคาตอรางกาย ใหพลังงานในสัดสวนที่เหมาะสม ใหเกลือแร วิตามิน และใยอาหาร ซึ่งนอกจากจะประกอบดวยเนื้อสัตวและผักแลว ยังมีเครื่องปรุงหลายอยางที่เปนสมุนไพรชวยในการยอยอาหาร ชวยแกอาการทองอืด ทองเฟอ ชวยขับลม ชวยการระบายทอง เปนตน จึงเปนปจจัยอีกประการหนึ่งที่ชวยสงเสริมใหอาหารไทยเปนที่นิยมมากขึ้นสําหรับผูบริโภค ในตางประเทศ ตัวอยางของเครื่องปรุงที่เปนสมุนไพรและมีบทบาทในการรักษาโรค แสดงดังนี้

ประเภทเครื่องปรุง คุณสมบัติกระชาย ชวยยอย ขับลม แกทองอืดกะเพรา ขับน้ําดี ชวยยอยไขมัน แกจุดเสียดขา ขับลม แกทองอืด ขับเสมหะ แกหลอดลมอักเสบ ขิง ขับลม ขับน้ําดี ลดการบีบตัวของลําไส แกปวดทอง ขี้เหล็ก ระงับประสาท ชวยใหนอนหลับ และเปนยาระบาย ตะไคร ขับลม ขับปสสาวะพริกไทย กระตุนประสาทมะเขือพวง ลดความดันเลือดใบยอ แกกระดูกพรุนสะระแหน ขับลม แกทองอืด

20%

80%

สวนแบงตลาดของธุรกิจแฟรนไชส

ของไทย

ของตางประเทศ

20%

80%

สวนแบงตลาดของธุรกิจแฟรนไชสสวนแบงตลาดของธุรกิจแฟรนไชส

ของไทย

ของตางประเทศ

ธุรกิจแฟรนไชสของไทย• Black Canyon• Chester Grill Fried

Chicken• Bua Barn Restaurant• See Fah Restaurant• Chai See Mee Kaew• Milk Plus

• Santa’s Humberger• Café de Laos• Neo Suki Thai

Restaurant• MK Restaurant• Coca Suki• S&P

ธุรกิจแฟรนไชสของไทย• Black Canyon• Chester Grill Fried

Chicken• Bua Barn Restaurant• See Fah Restaurant• Chai See Mee Kaew• Milk Plus

• Santa’s Humberger• Café de Laos• Neo Suki Thai

Restaurant• MK Restaurant• Coca Suki• S&P

ธุรกิจแฟรนไชสจากตางประเทศ• Pizza Hut• McDonalds• KFC• A&W• Burger King• Starbucks• Swensen’s• Dairy’s Queen

• Baskin Robbins• Sizzlers• Mister Donut• Au Bon Pain• Mrs. Fields and

Auntie Anne’s• Hard Rock Café• Yogen Fruz

ธุรกิจแฟรนไชสจากตางประเทศ• Pizza Hut• McDonalds• KFC• A&W• Burger King• Starbucks• Swensen’s• Dairy’s Queen

• Baskin Robbins• Sizzlers• Mister Donut• Au Bon Pain• Mrs. Fields and

Auntie Anne’s• Hard Rock Café• Yogen Fruz

สาขาราน

ผลิตภัณฑ • แตละบริษัทจะมีขอกําหนดมาตรฐานการจัดการดานคุณภาพอาหาร ทั้งในเร่ืองความสะอาด และปลอดภัย ตลอดหวงโซอุปทาน (Food Supply Chain)

• แตละสาขาจะมีการตกแตงรานในลักษณะเหมือนกัน โดยเนนเรื่องความสวยงาม และความสะอาด ทั้งหองครัวและพื้นที่รับประทานอาหาร

การบริการ

พนักงาน • มีการออกแบบชุดพนักงานที่เหมือนกัน และเนนเรื่องการใหบริการที่สรางความประทับใจใหแกลูกคา

• ความพึงพอใจของลูกคาเปนปจจัยหลักท่ีผูจัดการสาขาตองคํานึงถึง

นโยบายการบริหารจัดการที่กระทบตอการเพิ่มความพิถึพถิันแกผูบริโภค

Page 40: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

330 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ซึ่งคุณสมบัติดานการมีประโยชนตอสุขภาพ รวมทั้งชวยตกแตงใหอาหารมีสีสันสวยงามนี้จะชวยใหธุรกิจการขายอาหารพื้นบาน โดยเฉพาะธุรกิจรานอาหารไทยในตางประเทศมีการสั่งเครื่องปรุงรสและเครื่องเทศจาก ประเทศไทยมากขึ้น

4.2.4 บริบทของการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy and Rivalry)

อุตสาหกรรมอาหารนั้นจัดไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มีพัฒนาการยาวนาน และมีการเติบโตอยางรวดเร็วและ

ตอเนื่อง ในอดีตอุตสาหกรรมอาศัยความไดเปรียบในดานตนทุนแรงงานถูกต่ํากวาประเทศคูแขง และเนนกลยุทธดานราคาเปนจุดหลักในการแขงขันอีกทั้งยังไดรับการชวยเหลือดานการยกเวนภาษีจากประเทศคูคา เชน สหรัฐและสหภาพยุโรป อีกทั้งความสมบูรณทางธรรมชาติไดเอื้อตอการทําธุรกิจ อยางไรก็ตาม ความไดเปรียบดังกลาวกําลังหรืออาจหมดไปแลวในบางระดับ สิทธิพิเศษภาษีตางๆ ไดถูกยกเลิก สภาพทางธรรมชาติเริ่มเกิดความเสื่อมโทรมจากการเกษตรที่ไมถูกตองยั่งยืน ตนทุนคาแรงที่เพิ่มขึ้นและสูงกวาเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงรายใหม เชน จีน หรือบราซิลจะเห็นไดวา ในชวงเวลาไมกี่ปที่ผานมาผูผลิตไดเริ่มเปล่ียนจากการเนนการผลิตสินคาขั้นปฐมเปนสินคาที่ไมมีความแตกตางกันมากนัก มาสนใจการผลิตสินคามูลคาเพิ่ม เพื่อเล่ียงการแขงขันกับประเทศที่มีตนทุนแรงงานต่ํา และสอดคลองกับกลุมลูกคาที่มีพฤติกรรมการบริโภคที่พิถีพิถันขึ้น จากผลกระทบทางออกจากการสงออกที่บริษัทคูคาเริ่มออกมาตรการกีดกันทางการคาที่ไมใชภาษีมากมาย ผูประกอบการจึงมีการปรับตัว โดยหันมาปรับปรุงการผลิตใหไดตามมาตรฐานสากล เชน HACCP, GMP

ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

แผนภาพที่ 4.23 สัดสวนขนาดโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับอาหารของไทยในปจจุบัน

โครงสรางของผูประกอบการธุรกิจอาหารนั้น สามารถแบงออกไดอยางชัดเจนตามขนาดของธุรกิจ คือ กลุมบริษัทขนาดใหญ และกลุมบริษัทขนาดเล็กหรือกลาง (SME) เนื่องจากลักษณะและขอจํากัดการดําเนินธุรกิจซึ่งจะสง ผลกระทบตอส่ิงตางๆอยางชัดเจน เชน การใชเทคโนโลยีในกระบวนการผลิต เนื่องจากเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีประสิทธิภาพ

86%

13%

1%

ขนาดเล็ก

ขนาดกลางขนาดใหญ

จํานวนโรงงานในปจจุบัน= 12,056 โรง

Page 41: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 331

และคุณภาพดีจะตองอาศัยการนําเขาจากตางประเทศ ทําใหเกิดคาใชจายสูงมาก ฉะนั้นจึงมีแตเพียงผูประกอบการ รายใหญที่มีกําลังซื้อลงทุนในเครื่องจักรดังกลาว นอกจากนี้บริษัทขนาดใหญมักไมมีปญหาในการเขาถึงแหลงเงินทุน ขณะที่บริษัทขนาดเล็กหรือกลางจะพบปญหาดานแหลงเงินทุน โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาดานวัตถุดิบที่คุณภาพไมสมํ่าเสมอที่เกิดจากการขาดการบริหารจัดการหวงโซอาหาร (Food Chain Management) ดังนั้น กลุมบริษัทขนาดใหญที่มีการ จัดการที่ดีแบบมืออาชีพและมีการทําสัญญาการผลิตกับกลุมเกษตรกรเพื่อควบคุมปริมาณและคุณภาพ ทําใหผลิตผล ที่ไดมีคุณภาพและปลอดภัยที่สูง ขณะที่บริษัท SME จะขาดการจัดการดานนี้ อยางไรก็ตาม การเกิดขึ้นของกลุมบริษัทคาปลีกรายใหญจากตางประเทศ กลุมธุรกิจอาหารแฟรนไชส สงผลกระทบตอกลุมบริษัทดังกลาว เนื่องดวยบริษัทเหลานี้มีการตั้งเงื่อนไขกฎเกณฑในการรับซื้อสินคาจากผูผลิตคอนขางมาก และมีการตรวจสอบอยางจริงจัง ซึ่งเปนผลดีทําใหบริษัท SME ไดพยายามพัฒนาดานการผลิตสูคุณภาพและความสะอาดตามกฎเกณฑดังกลาว

4.2.4.1 การเนนผลิตสินคาที่สรางมูลคาเพ่ิม

การเนนผลิตสินคาที่สรางมูลคาเพิ่ม เนื่องจากสินคาขั้นปฐมเปนสินคาที่ไมแตกตางกันมากนัก

ผูประกอบการไทยจึงหันมาสนใจการผลิตสินคามูลคาเพิ่ม เพื่อเล่ียงการแขงขันกับประเทศที่มีตนทุนแรงงานต่ําและ เปนการเพิ่มความสามารถการแขงขันใหกับอุตสาหกรรม อีกทั้งยังเปนการปรับเปล่ียนการทํางานใหสอดคลองกับกลุม ลูกคาที่มีพฤติกรรมการบริโภคที่พิถีพิถันขึ้น โดยสวนใหญจะเริ่มผลิตสินคาทางดานขนมของวาง อาหารทานเลน อาหารกึ่งสําเร็จรูป และอาหารสําเร็จรูปพรอมทานไดทันที ยกตัวอยางสินคาอาหารบางประเภทดังตอไปนี้

• ขาว – มีการพัฒนาผลิตเปนอาหารในหลายรูปแบบ เชน อาหารประเภท Cereal ทานตอนเชา อาหารขนมทานเลน อาหารเด็ก ขาวกระปองสําเร็จรูป โจกขาวสําเร็จรูปที่พรอมทาน นอกจากนี้ยังมีการนําขาวมาปรุงกับเนื้อสัตวเชน ไก หมู เปนตน โดยสงออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป เปนสวนมาก

• ปลา – มีการผลิตเปนอุตสาหกรรมอาหารกระปองและใชเทคโนโลยีทันสมัยในการฆาเชื้อทําความสะอาด (Sterilization) เพื่อเพิ่มมูลคาของผลิตภัณฑ เชน ปลาทูนา มีการนํามาแชในน้ําเกลือ น้ํามันพืช น้ําแร หรือมายองเนสตางๆ

• ไก – ผูผลิตไกเพื่อการสงออก ไดปรับเปล่ียนการผลิตจากการผลิตไกสดแชแข็งมาเปนการผลิตไกแปรรูปที่ผานการกระบวนการปรุงอาหารมากขึ้นเรื่อยๆ โดยดูไดจากสัดสวนของสินคาแปรรูปที่เพิ่มขึ้นในอัตราสวนที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง การผลิตไกแปรรูปสามารถทําไดหลายรูปแบบ เชน การทอด การทําเปนอาหารเฉพาะ ไกคาราเกะ ไกยางเสียบไม (Yakitori) เบอรเกอรไก ลูกชิ้นไก เปนตน

4.2.4.2 การใชกลยุทธการผลิตที่เนนคุณภาพมีแนวโนมสูงขึ้น

จากการที่มีมาตรการกีดกันทางการคา ผูประกอบการผลิตเพื่อสงออกจึงตองปรับตัว โดยหันมา

ปรับปรุงการผลิตใหไดมาตรฐานสากล สําหรับระบบการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารในขั้นตอนการผลิต และมาตรฐานอุตสาหกรรมอาหารนั้นมีระบบที่สําคัญไดแก Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP) และ Good Manufacturing Practice (GMP) มาตรการเหลานี้สงผลใหอุตสาหกรรมอาหารไทยมีการปรับตัวในทางที่ดีขึ้น

Page 42: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

332 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

มาตรฐานการผลิต Good Manufacturing Practice (GMP) จะเริ่มบังคับใชอยางเปนทางการ ในเดือนกรกฎาคม 2546 เปนตนไป ทําใหผูประกอบการผลิตอาหารเกิดความตื่นตัว เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตใหไดมาตรฐาน ซึ่งหนวยงานภายใตกระทรวงสาธารณสุขจะดําเนินการออกตรวจจับโรงงานผลิตอาหารทั่วทั้งประเทศ และหากพบวาโรงงานใดยังมิไดการรับรองมาตรฐาน GMP อาจจะถูกส่ังระงับการผลิต หรือปดโรงงาน การดําเนินงานดังกลาวเปนจุดเริ่มตนที่ดีสําหรับอุตสาหกรรมโดยรวม เพื่อสามารถที่จะพัฒนามาตรฐานการผลิตสินคาภายในประเทศใหเทียบเทากับมาตรฐานการผลิตเพื่อสงออก และเพื่อเปนการสนองตอนโยบายของรัฐบาลที่ตองการใหไทยกาวขึ้นสูการเปนครัวของโลก จึงมีความจําเปนที่จะตองผลักดันใหมาตรฐานทั้งภายในและตางประเทศเปนมาตรฐานเดียวกัน

อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัตินั้น การดําเนินงานตรวจจับโรงงานผลิตอาหารที่ไมไดมาตรฐานให

หมดไปนั้น อาจตองใชระยะเวลานาน ทั้งนี้เพราะหนวยงานภาครัฐมีขอจํากัดในเรื่องกําลังคนมีจํากัด การประสานงานระหวางหนวยงานมีความลาชา และมีหลายหนวยงานที่เกี่ยวของจํานวนมาก ประกอบกับผูประกอบการเองบางสวน ก็ยังคงติดปญหาดานความพรอมในการปรับปรุงโรงงาน การมีปญหาทางการเงิน การขาดเงินทุนสนับสนุน และความพยายามที่จะหลีกเลี่ยงการตรวจจับ เปนตน

ผลการสํารวจของสถาบันอาหาร ซึ่งมีตัวอยางโรงงาน 1091 โรงพบวา รอยละ 37 ไมมีใบรับรอง

คุณภาพใด ๆ รอยละ 17 ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO 9000 รอยละ 14 ไดรับการรับรองมาตรฐาน GMP รอยละ 19 ไดรับการรับรองมาตรฐาน HACCP และรอยละ 3 ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO 14000 จากการสัมภาษณกรมวิชาการเกษตรพบวาปจจุบันผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหารตื่นตัวตอการพัฒนาไปสูคุณภาพระดับมาตรฐานสากล ซึ่งจะเห็นไดจากอัตราโรงงานที่ขอใบรับรองมาตรฐานเหลานี้มีเพิ่มขึ้นราว รอยละ 80 นอกจากนี้ภาครัฐไดดําเนินการแกไขปญหาโดยใหคําปรึกษาแนะนําฝกอบรมในการจัดทําระบบควบคุมคุณภาพในการผลิต ทั้ง HACCP และ GMP ใหกับโรงงาน อุตสาหกรรม รวมถึงการกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอาหารตามสากล และใหการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ

4.2.4.3 ระดับมาตรฐานการจัดจําหนายและการบริโภคในประเทศเริ่มมีแนวโนมสูงขึ้น

ในหัวขอที่แลว เปนการวิเคราะหถึงแนวโนมของผูประกอบการผลิตเพื่อสงออกตองพัฒนามาตรฐาน

ใหเปนที่ยอมรับจากแรงผลักดันของตลาดตางประเทศ สําหรับผูประกอบการผลิตเพื่อจําหนายในประเทศก็มีแรงผลักดัน ใหเกิดการปรับปรุงมาตรฐานการผลิตเชนเดียวกัน โดยเฉพาะผูประกอบการขนาดกลางและเล็ก ที่ตองการประสบความสําเร็จทางการแขงขัน แรงผลักดันที่สําคัญอยางยิ่งคือ แรงผลักดันที่เกิดจากการแขงขันของผูจัดจําหนายผลิตภัณฑอาหาร ซึ่งเปนชองทางการกระจายสินคาที่สําคัญของผูผลิต

เนื่องจากการแขงขันในธุรกิจคาปลีก และธุรกิจแฟรนไชสอาหารในประเทศไดทวีความรุนแรงขึ้น

ตลอดชวงเวลาที่ผานมา โดยเฉพาะการเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และการยกเลิกประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับ 281 (ปว.281) เพื่อเปนไปตามขอตกลงการเปดเสรีทางการคาขององคการการคาโลก (WTO) โดยออกพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. 2542 ซึ่งทําใหนักลงทุนชาวตางประเทศประสบโอกาสในการเขาลงทุนในกิจการคาปลีกของไทย พรอมทั้งขยายการลงทุนอยางรวดเร็ว เนื่องจากมีความพรอมทั้งในดานเงินลงทุน การบริหารจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเปนสาเหตุหลักประการหนึ่งที่ทําใหผูประกอบการผลิตเพื่อจําหนายในประเทศ ตองปรับกลยุทธ

Page 43: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 333

การแขงขัน และปรับปรุงมาตรฐานการผลิตตามขอกําหนดของธุรกิจเหลานี้ เนื่องจากเปนชองทางการกระจายสินคาที่สําคัญ เพื่อใหเขาถึงผูบริโภคขั้นสุดทายอยางทั่วถึง

ผูนําตลาดกลุมกิจการคาปลีกสินคาอาหารจําแนกไดดังนี้

– กลุมผูประกอบการซูเปอรมารเก็ต มีผูนําตลาด ไดแก TOPS Siam Jusco The Mall Foodland Sunny’s Villa และ Food Lion สวนใหญตั้งอยูในซูเปอรสโตร เนนจําหนายสินคาแกผูบริโภคที่มีรายไดปานกลาง และมีจํานวนไมกี่แหงที่ตั้งขึ้นบนพื้นที่แยกออกมาเปนของตนเองโดยเฉพาะ

– กลุมผูประกอบการซูเปอรสโตร มีผูนําตลาด ไดแก Big C, Tesco Lotus, Carrefour และ Makro โดยเนนจําหนายสินคาแกผูบริโภคที่ตองการซื้อครั้งละมากๆ และหาซื้อ สินคาที่มีราคาถูกกวาซูเปอรมารเก็ตประมาณรอยละ 15 – 20

– กลุมผูประกอบการรานสะดวกซื้อ มีผูนําตลาด ไดแก CP-7 Eleven ครองสวนแบง รอยละ 70 ของตลาดนี้ เนนจําหนายสินคาแกผูบริโภคที่มีอายุระหวาง 18–35 ป มี รายไดตั้งแตปานกลางลงมาโดยปจจัยที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจซื้อ ไดแก ความสะดวก และราคา

จากผลการวิจัยของ รศ.ดร.นิพนธ พัวพงศกร ในการศึกษาผลกระทบของการแขงขันจาก ผูประกอบการคาปลีกขนาดใหญจากตางประเทศ แสดงใหเห็นวา ผูประกอบการธุรกิจคาปลีกมีอํานาจตอรองสูง เพราะสามารถสั่งซื้อสินคาไดเปนจํานวนมากในคราวเดียว และสามารถบังคับผูผลิตใหปรับปรุงมาตรฐานการผลิตใหสอดคลองกับขอกําหนดขั้นต่ําเพื่อการวางจําหนายในทุกสาขาของตน ตลอดจนมีสวนชวยในการพัฒนาและใหคําปรึกษาดานเทคโนโลยีการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผูผลิต และระบบการขนสงลําเลียงสินคาสูศูนยกระจายสินคา ของตน (Distribution Center) สําหรับการขยายตัวของธุรกิจแฟรนไชสอาหาร พบวา ใน พ.ศ. 2544 ธุรกิจแฟรนไชสอาหารมีมูลคาตลาดสูงถึง 356 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปนรอยละ 30 ของสัดสวนธุรกิจแฟรนไชสทุกประเภท ธุรกิจสวนใหญเปนการประกอบธุรกิจจําหนายอาหารจานดวน (Fast Food) และรานอาหารสําหรับครอบครัว (Family Restaurant) คาดวามีอัตราการเติบโตตอปรอยละ 15-20 และเชนเดียวกับธุรกิจคาปลีกอาหาร การแขงขันเพื่อครองสวนแบงทางการตลาดของธุรกิจแฟรนไชสสงผลใหมีการขยายสาขากันอยางรวดเร็ว เพื่อใหเขาถึงลูกคาและเพื่อสรางอํานาจตอรองกับผูผลิต และSupplier อาหารสด ดังนั้นผูประกอบการผลิตอาหารสดและอาหารแปรรูป โดยเฉพาะผูประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งจําเปนที่จะตองพึ่งพาชองทางการจําหนายเหลานี้เพื่อใหสินคาของตนสามารถจําหนายและเปนที่ติดตลาดภายในประเทศ

Page 44: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

334 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ที่มา : Siam Future Development

แผนภาพที่ 4.24 จํานวนสาขาของธุรกิจแฟรนไชสประเภทรานอาหาร และรานเบเกอรี่และเครื่องดื่มในไทย

4.2.4.4 ไทยไมมีบทบาทเชิงรุกในดานการกําหนดมาตรฐานคุณภาพอาหารในเวทีการคาโลก การมีเวทีการคา WTO ทําใหประเทศตาง ๆ ไมสามารถใชมาตรการทางภาษีมากีดกันทางการคา

จึงไดมีรูปแบบการกีดกันทางการคารูปแบบอื่นๆ เกิดขึ้นอยางมาก นอกจากนี้ประเทศในกลุมพัฒนาแลว เชน สหภาพ ยุโรปก็ไดใชขออางเรื่องความพิถีพิถันในการบริโภคเพิ่มขึ้น โดยอางวา ประชากรในประเทศของตนใชรายไดรอยละ 12 ในการบริโภค จึงตองเลือกบริโภคในสิ่งที่ดีที่สุด

จากการที่ลูกคาในกลุมประเทศผูนําเขาหลักใหความสนใจกับความสะอาด ความปลอดภัย

การบรรจุภัณฑ และคุณภาพของสินคาอาหารเพิ่มมากขึ้น เปนผลใหทั้งหนวยงานที่เกี่ยวของกับการนําเขา และการตรวจสอบอาหารกําหนดกฎระเบียบการนําเขาที่เขมงวดมากขึ้น ความเขมงวดของกฎระเบียบจะแตกตางกันไปตามประเทศคูคา ทั้งนี้ขึ้นกับความสามารถในการปฏิบัติใหสอดคลองกับกติกาที่ WTO ไดกําหนดไวโดยจะอิงกับหลักฐานทางวิทยาศาสตรเปนสําคัญ

การใชมาตรการตรวจสอบสินคานําเขาที่เขมงวดขึ้นของประเทศคูคาที่สําคัญของไทย ความเขาใจ

ในมาตรการสุขอนามัยระหวางประเทศ การที่ผูผลิตวัตถุดิบและผูผลิตสินคาบางสวนขาดความรู และการที่ไทยขาด หลักฐานอางอิงทางวิทยาศาสตรเพื่อโตแยงอยางทันทวงที สงผลกระทบโดยตรงตอผูนําเขาจากตางประเทศและผูสงออกของไทย เพราะสินคาที่สงไปยังประเทศผูนําเขา จะถูกตรวจสอบอยางเขมขนและกักกันทันทีเมื่อพบความผิดปกติ จากการเก็บรวบรวมสถิติ (ดูตาราง 4.12-4.14 ประกอบ) โดยเฉพาะประเทศสหรัฐ จํานวนรายการสินคาของไทยที่ถูกกักกันมิไดมีแนวโนมวาลดลงเลย แตกลับมีจํานวนที่เพิ่มขึ้น นั่นเปนสัญญาณที่แสดงใหเห็นวา ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนของไทยรับรูและเขาใจปญหาอยูแลว แตไมสามารถแกไขปญหาไดอยางชัดเจน

95

122

120

99

6

50

78

19 22 20

300

KFC

McDo

nalds

MK Su

ki

Pizza

Comp

any

Pizza

Hut

Burge

r King

S&P (

local)

Ches

ter G

rill (lo

cal)

Sizzle

r

Narai

Pizza

ria (lo

cal)

Chick

en Tr

eat

• จํานวนสาขาธุรกิจแฟรนไชสรานเบเกอรี่และเครื่องด่ืมที่สําคัญเพิ่มขึ้นจาก 452 รานในป 2541 เปน 548 รานในป 2543 โดยมียอดขายรวมประมาณ 2,500 ลานบาทตอป

• Dunkin Donut เปนผูนําตลาดที่มีสาขามากที่สุด และมียอดขายประมาณ 1,500 ลานบาท

• จํานวนสาขาธุรกิจแฟรนไชสรานอาหารที่สําคัญเพิ่มขึ้นจาก 674 รานในป 2541 เปน 931 รานในป 2543 โดยมียอดขายรวมประมาณ 12,000 ลานบาทตอป

• KFC เปนผูนําตลาดที่มีสาขามากที่สุด และมียอดขายประมาณ 4,500 ลานบาท

จํานวนสาขาของธุรกิจแฟรนไชสรานอาหารที่สําคัญ ป 2543

202

14

76 72

95

31 19 18 21

Dunk

in Do

nuts

Mister

Donu

t

Swen

sens

Baski

n Rob

bins

Dairy

Que

en

Black

Cany

on (lo

cal)

Starbu

cks

Au Bo

n Pain

Coffe

e Worl

d

จํานวนสาขาของธุรกิจแฟรนไชสรานเบเกอรี่และเครื่องด่ืมที่สําคัญ ป 2543

Page 45: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 335

ที่มา : คณะทํางาน

แผนภาพที่ 4.25 ตัวอยางปญหาในอุตสาหกรรมอาหารของไทยตอมาตรการกีดกันทางการคาของประเทศนําเขาที่สําคัญ

ตารางที่ 4.12 สถิติสินคาอาหารไทยที่ถูกกักกัน ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ชวงป 2541-2544 จํานวนรายการที่ถูกกักกัน

2541 2542 2543 2544 จําแนกตามกลุมสินคา ผลิตภัณฑประมง 599 417 549 424ผลิตภัณฑผักและผลไม 439 293 321 332ธัญพืช / ผลิตภัณฑจากธัญพืช 129 134 115 168เครื่องเทศ และเครื่องปรุงรส 40 85 85 132ลูกกวาด และขนมหวาน 0 26 23 35เครื่องด่ืม 9 68 38 81นม และผลิตภัณฑ 12 6 0 14ผลิตภัณฑเนื้อสัตว และสัตวปก 16 5 1 5ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และอื่น ๆ 0 21 6 3อาหารสัตว 4 14 4 0รวม 1,248 1,069 1,142 1,194จําแนกตามสาเหตุ ละเมิดกฎ ระเบียบที่เกี่ยวกับอาหารกระปองที่มีความเปนกรดต่ํา 352 362 367 476ปนเปอนสิ่งสกปรก / สิ่งแปลกปลอม 401 338 351 307ปนเปอนสิ่งสกปรก และจุลินทรียชนิดที่ทําใหเกิดโรค 80 41 97 129ใชวัตถุเจือปนอาหารและสีผสมอาหารไมตรงตามมาตรฐานกําหนด 58 126 59 111ปนเปอนจุลินทรียชนิดที่ทําใหเกิดโรค 253 118 134 79ละเมิดขอกําหนดดานฉลาด 37 31 106 61มียาฆาแมลง และสารพิษอื่น ๆ ตกคาง 6 24 14 12อื่น ๆ 61 29 14 19รวม 1,248 1,069 1,142 1,194ที่มา: US. FDA

EUEU

• Labelling – GMOs• Must attach Health

Certificate• Use "Rapid Alert System".

if prohibited substance or microbe is found, that items will be quarantine immediately.

AustraliaAustralia

•Labelling - GMOs

CanadaCanadaUSAUSA

• Low Acid Canned Food standard

• HACCP • Automatic Detension

JapanJapan

• Labelling – GMOs• Under Food Sanitation

law, All kinds of antibiotic drugs and chemical are prohibited.

• Residual antibiotic• Not allowed sulfites

chemical group

Canned SeafoodCanned Seafood

• HACCP• Histamine level

•Labelling - GMOs •Histamine level• Tuna Dolphine Safe label, Marine Mammal Protection Act.

• Sensory Test• HACCP• Histamine level

• Labelling – GMOsCanned

TunaCanned

Tuna

• Residual antibiotic• Pa Chai lane protected act

• Oxolinic acid are not allowed.Frozen

ShrimpFrozen Shrimp

• GMP• Prohibited antibiotic in

animal food.• Animal welfare

•Must boil at 75 degree celcius not less than 165 minutes or 80 degree celcius not less than 125 minute to eliminate IBD.

ChickenChicken

Page 46: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

336 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ตารางที่ 4.13 สถิติสินคาอาหารไทยที่ถูกกักกัน ณ สหภาพยุโรป ชวงป 2541-2544 จํานวนรายการที่ถูกกักกัน

2541 (ส.ค.-ธ.ค.)

2542 2543 2544 (ม.ค.-ก.พ.)

จําแนกตามกลุมสินคา ผลิตภัณฑประมง 4 18 24 3ผลิตภัณฑผักและผลไม 1 2 5 -ธัญพืช / ผลิตภัณฑจากธัญพืช - 1 - -เครื่องเทศ และเครื่องปรุงรส - - 1 1ผลิตภัณฑเนื้อสัตว และสัตวปก - - 1 2รวม 5 21 31 6จําแนกตามสาเหตุ ปนเปอนจุลินทรียชนิดที่ทําใหเกิดโรค 3 11 25 5ปนเปอนโลหะหนัก 2 6 1 -มีสารพิษตกคาง - - 1 1ใชวัตถุเจือปนอาหารไมตรงตามมาตรฐานกําหนด - 1 - -ไมมีใบรับรองดานสุขอนามัยพืช / สัตว - - 4 -รวม 5 18 31 6ที่มา: สํานักงานพาณิชยในตางประเทศ ณ. กรุงบรัสเซลส

ตารางที่ 4.14 สถิติสาเหตุของสินคาอาหารไทยที่ถูกกักกัน ณ ประเทศออสเตรเลีย

จํานวนรายการที่ถูกกักกัน 2538 2539 2540 2541 ต.ค. 43-ม.ค. 44

ละเมิดขอกําหนดดานฉลาก เชน แสดงฉลากไมครบถวน ไมมีภาษาอังกฤษ

2 20 38 14 16

ใชวัตถุเจือปนอาหาร และสีผสมอาหารไมตรงตามมาตรฐานกําหนด

32 21 43 18 3

ละเมิดขอกําหนดตามมาตรฐานสินคา 2 11 9 - - พบยาฆาแมลงตกคา / ปนเปอนจุลินทรียที่ทําใหเกิดโรค / ปนเปอนสิ่งสกปรก

9 - 15 - 8

รวม 45 52 105 32 27ที่มา: กรมการคาตางประเทศ, กรมวิชาการเกษตร, สํานักงานที่ปรึกษาการเกษตร ประจํากรุงแคนเบอรรา

นอกจากนี้ การมีมาตรการรูปแบบใหมๆ ออกมาเสมอ เชน สหภาพยุโรป ปจจุบันไดออกมาตรการ

อาหารที่กอใหเกิดภูมิแพ (Allergen) ซึ่งผูนําเขาจะเขมงวดมาก โดยหากฉลากระบุวาปราศจากสวนผสมชนิดใด หมายความวา ในโรงงานนั้นจะตองไมมีการผลิตที่เกี่ยวของกับสวนผสมชนิดนั้นเลย ซึ่งมีแนวโนมจะเปนเครื่องมือการ กีดกันที่ผูสงออกจะตองเผชิญตอไป

Page 47: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 337

ถึงแมไทยจะมีสัดสวนการสงออกอาหารในตลาดโลกสูงถึงรอยละ 8 แตไทยกลับไมมีบทบาทใดๆ ในการกําหนดมาตรฐานอาหารในเวทีการคา นอกจากนี้แมแตการตอบโตมาตรการตางๆเหลานี้ของไทยก็ยังไมอยูในระดับที่นาพอใจสําหรับกลุมผูผลิต เนื่องจากขาดเจาภาพที่ชัดเจนในการแกปญหา มีกระบวนการทํางานที่ลาชา เชน ขาดการวิจัยและพัฒนาในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร และขาดความรวมมือในการสรางระบบฐานขอมูล และจัดเก็บหลักฐานทางวิทยาศาสตรของผลิตภัณฑสงออก ทั้งเพื่อใชในการโตแยงกรณีพิพาทและเจรจากับประเทศคูคาที่สําคัญในการผอนปรนมาตรการตรวจสอบผลิตภัณฑ ดังนั้นเมื่อประเทศไดรับขอบังคับที่ไมเปนธรรมจึงไมสามารถตอบโตได นอกจากนี้ การรอมติคณะรัฐมนตรีที่ใชเวลา 6-7 เดือน ทําใหการตอบโตปญหาไมทันตอสถานการณ และเกิดความสูญเสียแก ผูประกอบการ

4.2.4.5 ขาดการสรางตราผลิตภัณฑไทย

ผูประกอบการไมมีประสบการณในการทําการตลาดเชิงรุก เนื่องจากที่ผานมารูปแบบการผลิตเพื่อ

การสงออกโดยมากจะอยูในรูปของการรับจางผลิตเปนเวลานาน ผูประกอบการจึงขาดความสามารถทางการตลาดในเชิงรุกโดยเฉพาะตลาดตางประเทศ ดังนั้นสินคาสงออกทั่วไป ซึ่งไมมีเอกลักษณของไทยจึงอยูภายใตตราสินคาของผูวาจาง ทั้งหมด ไมวาจะเปน ไกแปรรูปแชเย็นและแชแข็ง กุงแปรรูปแชเย็นและแชแข็ง สับปะรดกระปอง จากการที่ผูประกอบการไทยไมสามารถสรางตราสินคาเปนของตนเองทําใหสูญเสียคา premium ของสินคาไป สวนในกรณีของปลาทูนากระปองนั้น บริษัทไทยยูเนียนโฟรเซนไดซื้อตรา Chicken of the Sea จึงไดเปนแบรนดเจาของคนไทยที่มีที่มาจากตางประเทศและมีสวนแบงตลาดเปนอันดับสามในตลาดสหรัฐอเมริกา

ที่มา : คณะทํางานและความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ

แผนภาพที่ 4.26 กลุมผลิตภัณฑอาหารที่มักรับจางผลิตและที่มีการสรางตราผลิตภัณฑ สวนในกรณีของสินคาที่เปนอาหารไทย ไดมีการสรางตราสัญลักษณไทยขึ้นและสงออกไปขายได

ในตลาดโดยเนนลูกคาเฉพาะกลุม เชน คนเอเชีย ในกรณีของภัตตาคารไทย ก็มีผูประกอบการไทยออกไปตั้งสาขายังตางประเทศ เชน Patara

ในเครือของ S&P โดยเนนลูกคาระดับบน ซึ่งไดรับความนิยมมาก ทั้งนี้จะตองวิจัยตลาดในแตละแหงเพื่อศึกษารสนิยม

กลุมผลิตภัณฑที่มีตราผลิตภัณฑไทยกลุมผลิตภัณฑที่มีตราผลิตภัณฑไทยกลุมผลิตภัณฑที่สวนใหญรับจางผลิต(เปนการสงออกมากกวารอยละ 80)กลุมผลิตภัณฑที่สวนใหญรับจางผลิต(เปนการสงออกมากกวารอยละ 80)

อาหารทะเลแชแข็ง อาหารทะเลกระปอง ผักและผลไมกระปอง

ผักและผลไมอบแหง ผักและผลไมแชแข็ง เนื้อสัตวแชแข็ง

ขาวและผลิตภัณฑจากขาว

ผลิตภัณฑแปง

น้ําตาล ซอสและเครื่องปรุงรส ขนมคบเค้ียว

เสนกวยเตียว

Page 48: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

338 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

การเลือกใชวัตถุดิบ เพื่อปรับใหเหมาะสม นอกจากนี้ยังสามารถสงออกพอครัวแมครัวที่มีฝมือไปทํางานที่รานเหลานี้ดวยแตก็มีอุปสรรคในเรื่องของระเบียบการขอใบอนุญาตทํางานและการตรวจคนเขาเมือง (immigration) ปจจุบันมีรานอาหารไทยในตางประเทศอยูกวา 2,500 แหงทั่วโลก

4.2.4.6 ความยุงยากซับซอนในกระบวนการและขั้นตอนของหนวยงานราชการ

การผลิตอาหารในประเทศไทยปจจุบันอยูภายใตการควบคุมของกฎหมายหลายฉบับ ซึ่งกฎหมาย

เหลานี้มีขอกําหนดครอบคลุมในเรื่องที่ตางกันออกไป โดยกฎหมายหลักของอุตสาหกรรมนี้ คือ พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มีบทบาทในการคุมครองผูบริโภคดานอาหาร มีวัตถุประสงคควบคุมคุณภาพอาหารเพื่อใหผูบริโภคภายในประเทศไดรับสินคาอาหารที่มีคุณภาพดี ปริมาณครบถวน และปลอดภัย การควบคุมอาหารเริ่มตั้งแตจัดตั้งโรงงาน กระบวนการผลิต ตลอดจนการนําเขาและการสงออกสินคาของประเทศไทย

มาตรการทางกฎหมายในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 • การใชกลไกการควบคุมการผลิต การนําเขาอาหาร: แบงการควบคุมเปนส่ีระดับ ไดแก

อาหารควบคุมเฉพาะ อาหารกําหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน อาหารที่ตองมีฉลาก และอาหารทั่วไป ซึ่งตองไมมี คุณลักษณะตองหามตามกฎหมาย แตอยางไรก็ตาม การควบคุมอาหารทุกชนิดทุกประเภทนั้นเปนไปไมได เนื่องจาก รูปแบบการบริโภคและรูปแบบอาหารนั้นเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทําใหไมสามารถกําหนดลวงหนาได ฉะนั้นจึงตองกําหนดใหมีการประกาศกําหนดเปนครั้งคราวตามเหตุผลและความจําเปน ซึ่งในปจจุบัน (เมษายน 2546) มีการประกาศเปนพระราชกําหนดอยูประมาณ 264 ฉบับ

• การประกาศกําหนดประเภทอาหาร: – อาหารควบคุมเฉพาะ คือ อาหารที่ตองมีใบอนุญาตผลิต มีใบสําคัญการขึ้นทะเบียน

ตํารับอาหารถาเปนการผลิตในโรงงาน ถาเปนการผลิตเปนอุตสาหกรรมอาหารในครัวเรือน ตองมีใบอนุญาตใชฉลาก ถาเปนการนําเขาไมตองขออนุญาต แตตองขออนุญาตนําเขาและขึ้นทะเบียนตํารับอาหาร

– อาหารควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน คือ อาหารที่ตองมีใบอนุญาตผลิตและขออนุญาตใชฉลาก แตไมตองขึ้นทะเบียนตํารับอาหาร ถาการนําเขา ตองขออนุญาตนําเขาและขออนุญาตใชฉลาก

– อาหารที่กําหนดใหมีฉลาก คือ อาหารตองขออนุญาตผลิต และขออนุญาตใชฉลาก ถาเปนการนําเขาและขออนุญาตใชฉลาก

– อาหารทั่วไป ที่ผลิตในโรงงาน ตองมีใบอนุญาตผลิต แตไมตองขึ้นทะเบียนตํารับที่นําเขา ตองขออนุญาตใชฉลาก

กฎหมายฉบับนี้มีการควบคุมที่ตนทางการผลิต การนําเขา นอกจากนี้ยังมีการกําหนดการติดตาม

ภายหลังการออกสูตลาด เพื่อควบคุมที่ปลายทางดวย แตอยางไรก็ตามระบบการควบคุมตนทางนั้น จะควบคุมเฉพาะผลิตภัณฑอาหารที่ผลิตเปนอุตสาหกรรม จึงทําใหวัตถุดิบที่เปนพืชผลทางเกษตรและปศุสัตว เกี่ยวของกับการบริโภคอาหาร โดยตรงนั้นมิไดอยูในการควบคุมของพระราชบัญญัติฉบับนี้ เพราะมีหนวยงานที่เกี่ยวของโดยตรงกับเรื่องพืช ปศุสัตว และ

Page 49: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 339

สัตวน้ํา ควบคุมดูแลอยู โดยมีการแยกเปนกฎหมายเฉพาะกรณีๆ ไป ในที่นี้จะแบงกฎระเบียบและมาตรฐานที่เกี่ยวของ ตามระดับอุตสาหกรรมดังตอไปนี้

• อุตสาหกรรมตนน้ํา – สินคากลุมพืช

อุตสาหกรรมตนน้ําในสวนของสินคาและกลุมพืชนั้นประกอบดวย ปจจัยการผลิต เชน พันธุพืช ปุย ยาปราบศัตรูพืช ฮอรโมน และการผลิตในไรนาและการเก็บเกี่ยว ไมวาจะเปนผักสด ผลไมสด พืชหัว และไมดอก โดยกฎหมายที่เกี่ยวของในสวนของอุตสาหกรรมตนน้ํามีดังตอไปนี้ พระราชบัญญัติพันธุพืช พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติปุย พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติ คุมครองพันธุพืช พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติทั้งหมดนี้อยูภายใตการควบคุมของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

– สินคากลุมปศุสัตว อุตสาหกรรมตนน้ําในสวนของสินคากลุมปศุสัตวเริ่มตั้งแต วัตถุดิบอาหารสัตว โรงงาน

อาหารสัตวผลิตอาหารสัตวสงใหฟารมเล้ียงสัตวตางๆ รวมถึงฟารมโคนม กฎหมายที่เกี่ยวของในสวนนี้ ไดแก พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว พ.ศ. 2525 พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว พ.ศ. 2499 ซึ่งอยูภายใตการควบคุม ของกรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ

– สินคากลุมสัตวน้ํา อุตสาหกรรมตนน้ําในสวนของสินคากลุมสัตวน้ําและผลิตภัณฑแบงออกเปน การประมง

ธรรมชาติ การเพาะเลี้ยง และการนําเขา โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวของเพียงฉบับเดียวคือ พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ. 2490 ภายใตการควบคุมของกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ

• อุตสาหกรรมกลางน้ํา – สินคากลุมพืช

อุตสาหกรรมกลางน้ําของสินคากลุมพืชจะเนนที่การจัดการหลังเก็บเกี่ยวและการจัดจําหนายสินคาจําพวก ผักสด ผลไมสด ธัญพืช พืชหัว และไมดอก โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวของอยูถึงส่ีฉบับ ไดแก

1. พระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาขาออก พ.ศ. 2502 กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย

2. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง สาธารณสุข

3. พระราชบัญญัติสงออกไปนอกและนําเขามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2522 กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย

4. พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 สํานักงานคณะกรรมการคุมครอง ผูบริโภค สํานักนายกรัฐมนตรี

– สินคากลุมปศุสัตว อุตสาหกรรมกลางน้ําของสินคากลุมนี้ไดแก โรงงานฆาและชําแหละสัตว ภายใตกฎหมาย

สองฉบับ ไดแกพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข และ พระราชบัญญัติควบคุมการฆาและจําหนายเนื้อสัตว พ.ศ. 2535 กระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 50: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

340 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

– สินคากลุมสัตวน้ํา อุตสาหกรรมกลางน้ําของสินคากลุมนี้ไดแก สะพานปลา ทาเทียบเรือ และโรงบรรจุ

โดยอยูภายใตการควบคุมของ พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522

• อุตสาหกรรมปลายน้ํา – สินคากลุมพืช

อุตสาหกรรมปลายน้ําของสินคากลุมนี้ไดแก โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑจากพืช เชน ผัก และผลไมกระปอง น้ําผลไมกระปอง ผลไมอบแหง ตากแหง ฯลฯ สินคาเหลานี้ผลิตเพื่อบริโภคทั้งภายในประเทศ และ เพื่อเปนสินคาสงออก กฎหมายที่เกี่ยวของในสวนนี้ ไดแก

1. พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 สํานักงาน มาตรฐานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

2. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง สาธารณสุข

3. พระราชบัญญัติโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2535 กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

4. พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2532 คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค สํานักนายกรัฐมนตรี

– สินคากลุมปศุสัตว อุตสาหกรรมปลายน้ําของสินคากลุมนี้ ไดแก โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑจากสัตว เชน

ไสกรอก กุนเชียง อาหารกระปอง และโรงงานแปรรูปนม สําหรับผลิตผลิตภัณฑจากนม เพื่อบริโภคภายในประเทศ และเพื่อการสงออก กฎหมายที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมในสวนนี้ ไดแก พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

– สินคากลุมสัตวน้ํา อุตสาหกรรมปลายน้ําของในสวนสินคากลุมสัตวน้ํา ไดแก โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑตางๆ

ไมวาจะเปนในรูปแบบของผลิตภัณฑ เชน อาหารกระปอง ของสด เชน การแชแข็ง หรือสินคามีชีวิต ทั้งนี้เพื่อการบริโภค ภายในประเทศและเพื่อการสงออก

เมื่อพิจารณาจากรายละเอียดในแตละอุตสาหกรรมจะเห็นไดวาการควบคุมการผลิตสินคาใน

อุตสาหกรรมอาหารนั้นพระราชบัญญัติอาหารมิไดมีกฎ ขอบังคับใด ๆ ที่ครอบคลุมในสวนของอุตสาหกรรมตนน้ํา ซึ่งเนน ในดานการผลิตวัตถุดิบกอนผลิตเปนอาหารในทุกกลุมสินคา แตอํานาจการควบคุมวัตถุดิบอยูภายใตกฎหมายหลายฉบับซึ่งออกตามความจําเปนโดยมากจะบัญญัติขึ้นกอนพระราชบัญญัติอาหาร ในที่นี้มีพระราชบัญญัติที่ออกกอนพระราชบัญญัติอาหาร 7 ฉบับจากทั้งหมด 15 ฉบับ นอกจากนี้พระราชบัญญัติที่เกี่ยวของทั้งหมด คณะกรรมการอาหารและยา หรือ กระทรวงสาธารณสุขแทบจะไมมีบทบาทในการกําหนดขอบังคับตางๆ สวนพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของกับพืช ณ จุดตนทางเนื่องจากไมมีตัวแทนจากสององคกรนี้มาเปนคณะกรรมการของแตละพระราชบัญญัติ ยกเวนพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย

Page 51: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 341

พ.ศ. 2535 ที่มีตัวแทนจากคณะกรรมการอาหารและยารวมเปนคณะกรรมการดวย ฉะนั้นโดยรวมคณะกรรมการอาหาร และยา จึงไมมีอํานาจหนาที่ในการควบคุมคุณภาพวัตถุดิบกอนจะกลายสภาพเปนอาหาร ซึ่งอาจสงผลกระทบตอคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารที่ผลิตขึ้นจากวัตถุดิบเหลานี้ในขั้นตอนตอไป

พระราชบัญญัติอาหาร เริ่มเขามามีบทบาทในสวนของอุตสาหกรรมกลางน้ําของทุกกลุมสินคาและ

อุตสาหกรรมปลายน้ําในสวนของพืช และปศุสัตว ซึ่งเนนการผลิตผลิตภัณฑอาหารที่เปนอุตสาหกรรม อยางไรก็ตาม การควบคุมก็ยังกระจายออกไปหลายหนวยงานในหลายกระทรวง ซึ่งอาจสงผลใหเกษตรกรเกิดความสับสน อีกทั้งกระบวนการตางๆ นั้นไมชัดเจนและกอใหเกิดความยุงยากในการควบคุม เชน กรมปศุสัตวจะตรวจสอบคุณภาพเนื้อสัตว และผลิตภัณฑสัตว เพื่อสงออกตามความตองการของประเทศคูคา แตสําหรับการบริโภคภายในประเทศ เนื้อสัตวอยูภายใตพระราชบัญญัติควบคุมการฆาและจําหนายเนื้อสัตว กระทรวงเกษตร ผลิตภัณฑสัตวอยูภายใตพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้ในพระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาสงออกนั้นมีการกําหนด สินคามาตรฐานเพียงแค 10 ชนิดและเปนสินคาในกลุมพืชทั้งหมดและไมมีการกําหนดสินคามาตรฐานในกลุมอื่นๆ เพื่อควบคุมคุณภาพสินคาที่จะสงออกภายนอกประเทศ และในกรณีเดียวกัน สําหรับพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมในสวนของอาหาร ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดไดแก สับปะรดกระปอง เพียงอยางเดียวที่กําหนดใหการผลิตตองเปนไปตามมาตรฐาน เชน ถาจะผลิตเพื่อสงออก หรือการนําเขา ผลิตภัณฑจะตองเปนไปตามมาตรฐาน ของตางประเทศหรือมาตรฐานระหวางประเทศ ซึ่งสินคาในอุตสาหกรรมอาหารนั้นยังไมมีขอกําหนดที่ชัดเจนในการผลิตเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานของตางประเทศ หรือมาตรฐานระหวางประเทศ อีกทั้งขอกําหนดตางๆ ในพระราชบัญญัติอาหารนั้น มุงเนนในดานการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศมากกวาการผลิตเพื่อเปนสินคาสงออก นอกจากนี้กฎหมายที่เกี่ยวของกับอาหารตางๆ นั้นก็มิไดมีกฎขอบังคับสําหรับการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารอยางชัดเจนและเขมงวด เมื่อเทียบกับตางประเทศแลวกฎระเบียบของประเทศไทยนั้นยังไมเขมงวดและขาดกลไกที่เขมแข็งในการกําหนดมาตรการ ขอบังคับ และการตรวจสอบ จึงสงผลใหอาหารที่ไมไดมาตรฐานผานเขามาในประเทศไดโดยงาย อีกทั้งยังสงผลใหเกิดแยงตลาด ภายในประเทศของผูประกอบการไทย

การผลิตสินคาในอุตสาหกรรมอาหาร นอกจากจะมีพระราชบัญญัติควบคุมหลายฉบับจากหลาย

หนวยงานหลายกระทรวงที่เกี่ยวของ การจัดตั้งโรงงานสําหรับผลิตสินคาเพื่อการสงออก ก็ตองผานหลายขั้นตอนและ เกี่ยวของกับหลายหนวยงานเชนกัน ซึ่งมีความยุงยากเชนเดียวกับระบบการความคุมโดยพระราชบัญญัติ สามารถแบงเปนขั้นตอนตางๆ ไดดังตาราง 4.15

ตารางที่ 4.15 สรุปขั้นตอนของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหาร

ขั้นตอน หนวยงานที่รับผิดชอบ หมายเหต ุ

1. ขออนุญาตตั้งโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม – กระทรวง อุตสาหกรรม

ในกรณีสินคากลุมสัตวน้ํา ตองขอจัดตั้งโรงงานที่กรมประมง-กระทรวงเกษตรและสหกรณดวย

2. ขออนุญาตปลูกสรางอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง – กระทรวงมหาดไทย

3. ขออนุญาตจัดตั้ง ผลิต และนําเขาวัตถุดิบและขึ้นทะเบียนอาหาร

คณะกรรมการอาหารและยา – กระทรวง สาธารณสุข

Page 52: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

342 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ขั้นตอน หนวยงานที่รับผิดชอบ หมายเหต ุ4. ขอตรวจสอบและรับหนังสือรับรอง 4.1 หนังสือรับรองการวิเคราะห 4.2 หนังสือรับรอง GMO 4.3 รับรองการใชระบบ HACCP 4.4 หนังสือรับรองสุขลักษณะ (สัตวน้ํา) 4.5 หนังสือรับรองสุขภาพสัตว (สัตวบก) 4.6 หนังสือรับรองปลอดศัตรูพืช 4.7 หนังสือรับรองผลการตรวจกัมมันตรังสี 4.8 รับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐานตางๆ เชน

ISO 9000, ISO 9001, ISO 14001, TSI 18001, HACCP, GMP

กรมวิทยาศาสตรการแพทย – กระทรวง สาธารณสุข กรมประมง –กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมปศุสัตว – กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมวิชาการเกษตร –กระทรวงเกษตร และสหกรณ สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ – กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม - กระทรวงอุตสาหกรรม

อาหารกระปอง 15 วัน อาหารแชแข็งและอื่นๆ 20 วัน 15 วัน 1 วัน 15 วัน ระยะเวลา 1 วัน แตถาเปนพืชแหงที่เสี่ยงตอการเกิดการกัดกินจะตองรมยากอนประมาณ 1-5 วันกอนจะออกหนังสือรับรอง 10 วัน มากกวา 6 เดือน

5. สงสินคาไปจําหนาย 5.1 ยื่นความจํานงขอเปนผูสงออกสินคาทั่วไป 1 5.2 ขอหนังสือรับรองแหลงกําเนิดสินคา

5.3 ติดตอบริษัทเรือขอเชาตู Container 5.4 ผานพิธีการศุลกากร

กรมการคาตางประเทศกระทรวงพาณิชย กองสิทธิประโยชนทางการคา – กรมการ คาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย กรมศุลกากร - กระทรวงการคลัง

จากตารางขางตน จะเห็นไดวากระบวนการการจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารเพื่อการสงออก

นั้นผูประกอบการตองผานขั้นตอนในการปฏิบัติ และติดตอกับหนวยงานมากมาย ระบบการติดตอประสานงานระหวางภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะกระบวนการขอหนังสือรับรองแตละประเภท ตามที่ประเทศคูคาตองการยุงยากและซ้ําซอน เนื่องจากจะตองขอใบรับรอง จากแตละหนวยงานซึ่งสวนใหญจะตองผานมากกวาหนึ่งหนวยงานหนึ่งกระทรวง หรือหลายหนวยงานในหนึ่งกระทรวงแตการประสานงานรวมกันในแตละหนวยงานยังไมเกิดประสิทธิภาพเทาที่ควร ทําใหเกิดการซ้ําซอนในบางขั้นตอน เชน การจัดเตรียมขอมูล จัดเตรียมตัวอยางสินคาเพื่อการตรวจสอบวิเคราะห และจัดเตรียมเอกสารตางๆ ที่จะตองนําสงหนวยงาน อันสงผลใหผูประกอบการเสียเวลา และตนทุนไปกับการติดตอหนวยงานราชการ

นับเปนเวลานานกวาสองทศวรรษที่พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มีบทบาทหลักในการ

ควบคุมอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย นอกเหนือจากพระราชบัญญัติอาหารแลวประเทศไทยยังมีมาตรการ กฎระเบียบ ขอบังคับ สําหรับอุตสาหกรรมอาหารอยูมากพอสมควร แตกฎ ระเบียบเหลานี้ยังไมเครงครัด อีกทั้งยังคอนขางลาสมัย ไมทันตอความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการเติบโตของตลาดอาหารทั่วโลก ทําใหบทบัญญัติในกฎหมายนั้นไมทันตอสถานการณที่เปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว นอกจากนี้กฎหมายที่เกี่ยวของกับอาหารแตละฉบับนั้น ไมมีความเชื่อมโยงกันและไมมีการประสานงานที่ดีระหวางกัน นอกเหนือจากตัวบทกฎหมายที่กระจัดกระจายแลว ขั้นตอนในแงการบริหารงานดานการขออนุญาตจัดตั้งโรงงานในอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อการสงออกก็ตองผานขั้นตอนผานหนวยงานมากมายเพื่อที่จะใหไดใบรับรองตามความตองการของประเทศคูคา และในบางครั้งก็มีความซ้ําซอนกันในแตละขั้นตอน

Page 53: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 343

ซึ่งแตละหนวยงานก็จะมีขั้นตอนวิธีปฏิบัติที่ยึดถือตางกันภายใตกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่แตละหนวยงานถือปฏิบัติ จึงทําใหการออกใบอนุญาตหรือใบรับรองนั้นชากวาที่ควรจะเปน ทําใหเสียเวลา และเสียเงินไปกับกระบวนการขออนุญาต

4.2.5 บทสรุปประเด็นสําคัญจากการประเมินอุตสาหกรรมอาหาร

Strategy, Structure, & Rivalry

Strategy, Structure, & Rivalry

Related and Supporting Industries

Related and Supporting Industries

Factor (Input)Conditions

Factor (Input)Conditions Demand ConditionsDemand Conditions

(+) ไทยมีความเหมาะสมของสภาพภูมิอากาศ และการใชวัตถุดิบภายในประเทศเปนหลัก

(+) แรงงานที่อยูในกระบวนการผลิตและบรรจุภัณฑมีทักษะฝมือดี

(-) แรงงานที่มีทักษะความรูดานการวิจัยและพัฒนา และดานการตรวจสอบอยูในภาคธุรกิจนอย

(-) ประสิทธิภาพของแรงงานในอุตสาหกรรมลดลง(-) คุณภาพของดินและน้ําเลื่อมโทรมลง(-) ผลงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑมีมาก แต

ไดรับความสนใจนอย(-) ขาดแคลนขอมูล และผลการวิจัยดานความ

ปลอดภัยอาหาร(-) ยังมีขอจํากัดดานมาตรฐานการตรวจสอบ

คุณภาพอาหาร

(+) การเนนผลิตสินคาที่สรางมูลคาเพิ่ม(+) การใชกลยุทธการผลิตที่เนนคุณภาพมีแนวโนมสูงขึ้น(+) ระดับมาตรฐานการจัดจําหนายและการบริโภคใน

ประเทศเริ่มมีแนวโนมสูงขึ้น(-) ไทยไมมีบทบาทเชิงรุกในดานการกําหนดมาตรฐาน

คุณภาพอาหารในเวทีการคาโลก(-) ขาดการสรางตราผลิตภัณฑไทย(-) ความยุงยากซับซอนในกระบวนการและขั้นตอนของ

หนวยงานราชการ

(+) การบริโภคภายในประเทศมีความหลากหลายมากขึ้น

(+) บทบาทและการแขงขันของธุรกิจคาปลีก และแฟรนไชสอาหารชวยเพิ่มความพิถีพิถันแกผูบริโภค

(+) ความเปนที่นิยมของอาหารไทยชวยสงเสริมดานประชาสัมพันธ และการสงออกเครื่องเทศและเคร่ืองปรุง

(-) ผูบริโภคที่มีรายไดต่ําขาดความพิถีพิถันในการเลือกซื้อ

(+) อุตสาหกรรมและธุรกิจเกื้อหนุนมีการรวมกลุมกันอยางชัดเจน

(+) มีความเชื่อมโยงและเกื้อหนุนกับอุตสาหกรรมทองเที่ยว(-) สมาคมและองคกรที่เกี่ยวของดานอาหารมีบทบาทที่เอ้ือ

ตอการพัฒนาอุตสาหกรรม แตผูประกอบการขนาดกลางและเล็กยังขาดความเขาใจ

(-) สถาบันการศึกษามีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมนอย(-) ขาดอุตสาหกรรมที่พัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องจักรใน

การผลิตภายในประเทศ(-) ธุรกิจสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารยังขาดแคลนวัตถุดิบ

และปจจัยสนับสนุนบางประเภท (-) การขาดการบริหารจัดการที่ดีตลอดหวงโซอาหาร

Page 54: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

344 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.3 ประเด็นที่สําคัญ (Critical Issues) เพ่ือพัฒนาขีดความสามารถการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ

4.3.1 ขาดการบริหารจัดการที่ดีตลอดหวงโซอาหาร

การขาดความรวมมือที่ดีระหวางผูผลิตตลอดหวงโซอาหาร ทําใหเกิดปญหาอยางตอเนื่องในทุกขั้นตอน

ของหวงโซอาหาร • วัตถุดิบ

วัตถุดิบมีราคาผันผวน และมีคุณภาพไมสมํ่าเสมอ ภาคเกษตรสวนใหญยังพัฒนาไมเทาทัน กับภาคการสงออก ทั้งนี้เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญขาดความรูในการบริหารจัดการฟารมที่ดี กลาวคือ เกษตรกร ไมสามารถผลิตผลผลิตไดตรงตามความตองการของผูซื้อทั้งในดานปริมาณ และดานคุณภาพ โดยในดานปริมาณนั้น เนื่องจากขาดการวางแผนที่ดีรวมกันตลอดหวงโซการผลิต ทําใหบางครั้งเกิดสินคาลนตลาดก็จะสงผลเสียกับเกษตรกรเอง และเมื่อเกิดภาวะสินคาขาดตลาดก็สงผลตอตนทุนของผูผลิตในลําดับตอไปและความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก

สวนในดานของคุณภาพนั้น เกษตรกรขาดความรูความเขาใจในความตองการของผูบริโภค ดังนั้น

จึงมีการใชสารเคมีในการเพาะปลูก หรือยาปฏิชีวนะในการเลี้ยงสัตว ซึ่งเปนผลเสียตอผูบริโภคในประเทศ และสงผลถึงคุณภาพของสินคาที่ไมตรงตามขอกําหนดมาตรฐานของประเทศคูคา นอกจากนี้ยังสงผลทําใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม และสารเคมีตกคางในดินและน้ําอีกดวย

การขาดการกระจายองคความรูสูคนทุกระดับ เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดความเหลื่อมลํ้าในการพัฒนา

ภาคเกษตรกรรม

• กระบวนการผลิต มีผูประกอบการรายใหญบางรายที่ผลิต เพื่อการสงออกที่มีความสามารถสรางความเชื่อมโยง

อยางเปนระบบกับผูผลิตวัตถุดิบโดยการทํา Contract Farming ทําใหมีการถายทอดความรูใหแกเกษตรกรเพื่อควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบ อยางไรก็ตามก็เปนเพียงสวนนอยเทานั้น ผูประกอบการโดยสวนใหญยังคงประสบปญหาเรื่อง การพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อรองรับการสืบคนที่มาของวัตถุดิบ เนื่องจากตองมีการพัฒนารวมกันตลอดหวงโซการผลิตและตองใชตนทุนสูง

นอกจากนี้ยังขาดการบริหารจัดการโรงงานที่ดีตามมาตรฐานสากล เชน GMP และการใช

HACCP ในกระบวนการผลิตสินคาของผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมซึ่งเปนผูประกอบการสวนใหญ ยังไมมี

วัตถุดิบ กระบวน การผลิต

ลอจิสติกส (logistic)

การตลาด ผูบริโภค

Page 55: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 345

การใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยเนื่องจากตองนําเขาจากตางประเทศซึ่งตองอาศัยตนทุนสูงมากจึงอาจไมคุมคากับความเสี่ยง ทําใหไมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพทางการผลิตได

ดานแรงงาน โรงงานอุตสาหกรรมจะเนนการใชแรงงานเปนหลัก โดยแรงงานเปนแรงงานที่ไมตอง

มีทักษะที่ไดรับการฝกฝนเปนพิเศษ และไดรับคาจางแรงงานขั้นต่ํา ตนทุนจึงขึ้นกับคาจางแรงงาน ซึ่งถูกมองวาเปนปจจัยสําคัญในการไดเปรียบในการแขงขัน ผูประกอบการจึงไดรับผลกระทบอยางมากเมื่อคาจางแรงงานเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ยังประสบปญหาการเปลี่ยนงานสูงและสงผลตอตนทุนเพิ่มขึ้น จากการวิเคราะหของ Prof.Christian Ketels คิดวาเปนเพราะลักษณะของงานเปนงานที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ําในขณะที่งานอื่นอาจดึงดูดไดมากกวา เนื่องจากอุตสาหกรรมอาหารมีการพัฒนาในสวนนี้ชากวาอุตสาหกรรมอื่น ทําใหเกิดภาวะ Low Productivity Equilibrium

• ลอจิสติกส

การขนสงอาหารสดและอาหารแชแข็งจะใชการขนสงทางถนนและทางอากาศเปนหลัก เนื่องจากตองการลดระยะเวลาเพื่อถนอมคุณคาและคุณภาพของอาหาร ในบัจจุบัน พบวา ขาดระบบกระจายและการขนสงสินคาแชแข็ง ผักสดและผลไมที่มีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดความสูญเสียทั้งน้ําหนักและคุณภาพ ตนทุนสวนใหญจึงตกอยูที่บรรจุภัณฑและการขนสง และดานการบรรจุภัณฑยังขาดการพัฒนาวัสดุบรรจุภัณฑเพื่อการแขงขัน นอกจากนี้ ยังขาดการพัฒนาฐานขอมูล และโครงขายเพื่อการตรวจสอบยอนกลับแหลงที่มาของสินคา ในดานการขนสงทางถนน มีขอจํากัด ในชวงเวลาที่สามารถขนสง และการขอใบอนุญาตพิเศษ ซึ่งตองใชเวลานานในการอนุมัติและยังขาดแคลนรถบรรทุกหองเย็น ทางอากาศ พบวา ยังขาดสิ่งอํานวยความสะดวก (Facility) สําหรับการเก็บสินคาอาหารสดและอาหารแชแข็งระหวางรอลําเลียงขึ้นเครื่องบิน คือ ไมมีการแยกสวนสําหรับสินคาเนาเสียงาย (Perishable Cargo) กับสวนสําหรับสินคาทั่วไป (Yellow Cargo) ทําใหเกิดความเสียหายกับสินคา นอกจากนี้ยังขาดกําลังการขนสงสําหรับสินคาเฉพาะกลุมนี้ ทําใหราคาสูง ดานรถไฟยังไมมีความพรอมและพัฒนาลาชากวาการขนสงทางอื่นทั้งหมด กลาวคือ ไมมีหองเย็น มีการกระแทกสูง ไมมีระบบขนยายที่ดี และหางไกลแหลงเกษตร ซึ่งหากการรถไฟพัฒนาไปรองรับการขนสงอาหารประเภทนี้ไดจะทําใหมีการขนสงเปนจํานวนมากได และชวยลดตนทุน

• การตลาด

ผูประกอบการเนนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันโดยเพิ่มมูลคาสินคาไมไดสรางตลาดหรือตราสินคาใหม เนื่องจากผูประกอบการยังขาดประสบการณในการทําการตลาดตางประเทศ ยังสรางตราสินคาของตนเองและแสวงหาตลาดใหมๆ ไมไดดังนั้นจึงสงผลตอการวางแผนการผลิต และทําใหสูญเสียโอกาสในการได Premium จากการขายสินคา

• ผูบริโภค

ผูบริโภคในประเทศยังขาดความพิถีพิถันในการเลือกบริโภค และเผชิญกับความไมปลอดภัยของอาหาร ขณะที่ผูบริโภคตางประเทศกลับสรางกฎเกณฑที่มีความซับซอนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยที่เรายังขาดความสามารถ ในการติดตามทั้งทางวิทยาศาสตร และการเจรจาตอรอง

Page 56: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

346 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

• บุคลากร ขาดบุคลากรที่มีความรูและเขาใจความเชื่อมโยงตลอดหวงโซอาหาร เพื่อทําหนาที่ในการบริหาร

ตั้งแตตนน้ําจนถึงปลายน้ําอยางเปนระบบ ขาดบุคลากรในงานวิจัยและพัฒนาของภาครัฐและเอกชน ทั้งในดานพัฒนาวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ กระบวนการผลิต และดานความปลอดภัยอาหาร

4.3.2 ความปลอดภัยของอาหาร

ตลาดในประเทศมีการกระจายตัวของแหลงขายอาหารสูง ทําใหรัฐบาลไมสามารถตรวจตราและลงโทษผูทําผิดกฎหมายไดอยางทั่วถึง ยังขาดการสรางภาพลักษณที่ดีในดานความพิถีพิถันในการบริโภคและการผลิตในประเทศ ซึ่งควรจะเปนจุดที่สําคัญมากในการสรางความเชื่อม่ันแกผูบริโภคภายนอกในสินคาอาหารของไทย

สําหรับตลาดตางประเทศ ยังขาดงานวิจัยและพัฒนาดานความปลอดภัยอาหารทําใหไมมีหลักฐานทาง

วิทยาศาสตรในการเจรจาการคา ขาดความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนในการตรวจสอบผลิตภัณฑกอนสงออก ความรวมมือในการสรางระบบฐานขอมูลและจัดเก็บหลักฐานทางวิทยาศาสตรของผลิตภัณฑสงออก เพื่อโตแยงกรณีพิพาท ไทยจึงไมสามารถแกไขปญหาไดอยางทันทวงทีเมื่อเกิดการกีดกันในขอหามใหมๆ ตลอดจนการเจรจากับประเทศคูคาสําคัญในการผอนปรนมาตรการตางๆ นอกจากนี้ทําใหไทยซึ่งเปนผูสงออกอาหารที่สําคัญกลับไมมีบทบาทใดๆ ในการกําหนด มาตรฐานอาหารเลย อุปสรรคที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือการขาดความรวมมือที่ดีระหวางภาครัฐและเอกชนในการรวมกันเจรจาตอรองในเวทีการคา ทําใหไมสามารถสื่อสารถึงความตองการและประเด็นปญหาที่แทจริงได

4.3.3 ภาครัฐบาล การประสานงานดานนโยบาย และการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐยังขาดความสอดคลอง เปน

ผลใหการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพ การวางแผนและดําเนินงานดานนโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารที่ผานมามีลักษณะตางฝายตางดําเนินการ ไมไดมีการกําหนดหรือวางวิสัยทัศนในอนาคตรวมกัน แตละหนวยงานจะดําเนินงานตามบทบาทความรับผิดชอบของตนเอง ซึ่งผลที่ไดรับมักจะไมสอดคลองประสานกันไปใน ทิศทางเดียวและในบางครั้งมีการซ้ําซอนขัดแยงกันเอง โดยสาเหตุหลักมาจากการขาดหนวยงานที่รับผิดชอบที่ชัดเจน ที่สามารถดูแลไดตลอดตนจนจบเรื่อง ดังเชนการประสานงานระหวางหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการผลิต และจําหนายวัตถุดิบ เพื่อการผลิตอาหารแปรรูป หนวยงานที่สนับสนุนดานการคา กาตรวจสอบ ความปลอดภัย และการจัด สงสินคา อีกทั้งยังไมมีนโยบายอยางเปนรูปธรรมในการจัดตั้งกลุมอุตสาหกรรมที่เกื้อกูลตอเครือขายวิสาหกิจอุตสาหกรรมอาหาร (Food Cluster) เปนผลใหไมสามารถเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของอุตสาหกรรมไดอยางเต็มที่

อีกทั้งกฎระเบียบราชการบางเรื่องทําใหเกิดความไมสะดวกลาชาในการดําเนินธุรกิจ เชน การจัดตั้ง

โรงงาน การขอรับใบอนุญาตการผลิต การตรวจรับรองคุณภาพอาหารในการสงออก สงผลทําใหเกิดภาระปญหาทั้งทางดานการเงิน เวลาและประสิทธิภาพแกผูประกอบการ นอกจากนี้ดานการคาระหวางประเทศของผลิตภัณฑอาหารนั้น หนวยงานภาครัฐควรดําเนินกิจกรรมเชิงรุกในการเจรจาการคาระหวางประเทศ และการสรางความรวมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมในระดับนานาชาติ

Page 57: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 347

4.4 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับตําแหนงเชิงยุทธศาสตร (Strategic Positions) ในการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ วิสัยทัศนของอุตสาหกรรมอาหารไทย ไทยจะเปนครัวของโลก โดยเปนผูนําในการผลิตอาหารที่ไดรับความไววางใจ เพื่อปอนใหกับประเทศตางๆ ทั่วโลก

ไมวาจะอยูในรูปสินคาขั้นปฐม สินคากึ่งสําเร็จรูป หรือสินคาสําเร็จรูป ขอเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร เพื่อปรับวิสัยทัศนขางตนมาสูการปฏิบัติ คณะทํางานไดกําหนดยุทธศาสตรเพื่อเปนกรอบในการกําหนดแผนปฏิบัติ

งานที่นําไปสูความสําเร็จตามที่ตองการไว 4 ยุทธศาสตร คือ ยุทธศาสตรที่ 1: การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของหวงโซอาหาร กลยุทธนี้มุงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของหวงโซอาหาร ซึ่งประกอบไปดวยวัตถุดิบ กระบวนการผลิต

ลอจิสติกส การตลาด ผูบริโภค อันจะเปนการสนับสนุนการเตรียมพรอมดานการผลิตที่ครบวงจร (From Farm to Table) การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารที่มีมาอยางยาวนาน โดยมากจะจํากัดอยูแตเฉพาะอุตสาหกรรมการสงออก ในขณะที่ โรงงานอุตสาหกรรมอาหารโดยรวมแลวเกือบทั้งหมดจะมีขนาดเล็ก และมีจุดออนคือ การพัฒนาตลอดหวงโซอุปทาน ทั้งนี้เนื่องจากในปจจุบันพบวา การทํางานขององคกรตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ยังไมมีการประสานสอดคลองกัน ทําใหเกิดปญหาที่สําคัญๆ เชน ความผันผวนของราคาและคุณภาพวัตถุดิบ ความไมไดมาตรฐานของโรงงานผลิต ความไมเพียงพอของสิ่งอํานวยความสะดวกดานการเก็บรักษาและกระจายสินคา และการละเลยดานสุขอนามัยของผูบริโภค หากไมเรงทําการพัฒนาจะทําใหประเทศไทยสูญเสียศักยภาพในการแขงขันไปกับตางชาติในที่สุด ดังนั้นคณะทํางาน จึงขอเสนอแนะแนวทางสูการปฏิบัติ ดังนี้

(1.1) การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของวัตถุดิบ

(1.1.1) ภาครัฐ ควรมีการผลักดันใหเกิดมาตรฐานวัตถุดิบของไทยใหเกิดขึ้น โดยเนนการพัฒนา

ภาคการเกษตรเปนจุดเริ่มตน โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ และกระทรวงสาธารณสุข เปนผูรับผิดชอบ – สงเสริมใหเกษตรกรตระหนักถึงบทบาทที่สําคัญของภาคการเกษตรที่มีตออุตสาหกรรม

อาหาร โดยจัดใหมีหนวยงานรองรับในดานการเผยแพรขอมูล และการอบรมกับเกษตรกร เพื่อใหเกษตรกรมีความรูความเขาใจในมาตรฐานความปลอดภัยของอาหาร ปญหาที่ประเทศเผชิญอยู นอกจากนี้การสงเสริมใหมีการเผยแพรความรูความเขาใจเรื่องเกษตรดีที่เหมาะสม (Good Agricultural Practice - GAP) มาตรฐานสุขอนามัยสัตวและสุขอนามัยพืช (SPS) รวมถึงโรคระบาดสัตวและพืชตาง ๆ ดานการเผยแพรขอมูลการอบรมและการใหรางวัล อาจเริ่มตนไดจากโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑที่มีเกษตรกรรวมตัวกัน และจัดทําโครงการนํารองเพื่อเปนตัวอยางและประชาสัมพันธเพื่อใหเกษตรกรมีความตื่นตัวสนใจ โดยเนนใหเกษตรกรเกิดการพัฒนากระบวนการเรียนรู และตระหนักถึงผลประโยชนตอเนื่องสูการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารและประสิทธิภาพในการผลิต ตลอดจนผลกระทบยอนกลับสูเกษตรกรเองหากมิไดใสใจในเรื่องมาตรฐานความปลอดภัย

Page 58: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

348 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

– ควบคุมการนําเขาวัตถุดิบที่สงผลเสียตอการผลิตในประเทศ ซึ่งแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ (1) กลุมสารเคมีและวัตถุมีพิษในการเกษตร ซึ่งประกอบดวยสารเคมีตองหามตามมาตรฐานอาหารโลก (2) การนําเขาที่อาจสงผลตอโรคระบาดสัตวและพืชภายในประเทศ โดยทําการปรับปรุงดานตรวจพืช ประมง และปศุสัตว พรอมทั้งปรับกฎหมายและใหมีมาตรการเขมงวดในการลงโทษ

– มีการตรวจสอบแหลงวัตถุดิบสินคาโดยการควบคุมการใชปจจัยการผลิต เคมีภัณฑ ยา และพันธุพืชพันธุสัตว พรอมทั้งใหการสนับสนุน โดยการขึ้นทะเบียนฟารมและออกใบรับรองการผลิตในฟารมสําหรับ ผูผลิตที่ไดมาตรฐาน พรอมทั้งกําหนดมาตรการลงโทษที่เขมงวดเมื่อมีการฝาฝนกฎหมายเกิดขึ้น ทั้งนี้มาตรฐานสินคา ที่ภาครัฐกําหนดตองทัดเทียมกับมาตรฐานการสงออกและนําเขาสินคาอาหารของไทย เพื่อเปนรากฐานในการนําไปเจรจาตอรองในเวทีการคาโลก และยกระดับการบริโภคในประเทศ (ยุทธศาสตรที่ 2) รวมทั้งใหมีการรับรองระบบการผลิต ในฟารม โดยเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมดวย

– เพิ่มงบประมาณเพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงสาธารณสุข เปนตน มีศักยภาพในการพัฒนามาตรฐานและตรวจสอบวัตถุดิบไดทั่วถึงมากขึ้น และประชาสัมพันธ ผลการดําเนินการเพื่อสรางความตื่นตัวใหกับผูผลิตและผูบริโภค

แมในปจจุบัน กระทรวงเกษตรและสหกรณจะมีหนาที่หลักในการสงเสริมการผลิตวัตถุดิบให

มีคุณภาพ เชน – กรมวิชาการเกษตร ไดจัดทําคูมือเกษตรดีที่เหมาะสม (GAP) ขึ้นแลว โดยเริ่มรณรงค

ตั้งแตป 2542 แตหากไดมีการสนับสนุนโครงการดังกลาวใหแพรหลายมากยิ่งขึ้น พรอมทั้งสงเสริมผูที่ปฏิบัติตามหลัก GAP โดยการออกใบรับรองก็จะเปนการเพิ่มคุณภาพวัตถุดิบการเกษตรได และลดภาระของเอกชนใหการจัดหาวัตถุดิบที่มีความปลอดภัยได

– กรมปศุสัตวและกรมประมงก็มีหนาที่ในการสงเสริม กําหนดหลักเกณฑ และตรวจสอบรับรองคุณภาพวัตถุดิบเนื้อสัตว และผลิตภัณฑสัตวน้ํา หากแตยังมีปญหาการขาดแคลนเครื่องมือตรวจสอบโดยเฉพาะกรมประมง

– นอกจากนี้ ควรรวมมือกับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดทําโครงการ Agricultural Information Network ในทุกขั้นตอนของหวงโซอาหาร เพื่อสรางระบบฐานขอมูลรองรับการจัดทํา traceability

(1.1.2) ภาคเอกชน

– ควรมีการพัฒนาฐานขอมูลและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสืบคนแหลงที่มาของวัตถุดิบอยางชัดเจน โดยอาจเริ่มใชกับกิจการที่มีความเชื่อมโยงกับผูผลิตวัตถุดิบ เชน ในรูปของ Contract Farming หรือหากมีการสงสินคาผาน Distribution Chain ก็จะตองสรางระบบฐานขอมูลที่สามารถตรวจสอบยอนกลับไปยังแหลง วัตถุดิบได

Page 59: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 349

(1.2) การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของการแปรรูป

(1.2.1) ภาครัฐ – พัฒนาระบบตรวจสอบโรงงานผลิตอาหารที่ไมไดมาตรฐาน GMP และสนับสนุนดาน

การเงินในการพัฒนาและปรับปรุงโรงงานแกภาคเอกชน อยางไรก็ตาม ในการตรวจจับโรงงานผลิตอาหารที่ไมไดมาตรฐานอยางทั่วถึงนั้น จําเปนตองพัฒนากําลังคนและงบประมาณใหเพียงพอการบังคับใชจึงจะสัมฤทธิ์ผล นอกจากนี้ ผูประกอบการยังคงประสบปญหาในการปรับตัว เนื่องจากโรงงานสวนใหญมีการกอสรางมานาน ดังนั้นการจะปฏิบัติใหสอดคลองกับหลัก GMP จึงกอใหเกิดตนทุนในการปรับปรุงสูงจึงทําใหมีการชะลอการปรับปรุง ดังนั้นหากภาครัฐจะสนับสนุนโรงงานขนาดกลางและยอมเหลานี้ใหปรับตัวไดรวดเร็วขึ้น ก็อาจใหการสนับสนุนดานเงินทุนดอกเบี้ยต่ําเพิ่มขึ้นสําหรับกรณี การพัฒนาโรงงาน

– ควรลดภาษีนําเขาเครื่องจักรและอุปกรณที่ใชในการผลิต และสงเสริมการผลิตเครื่องจักรเพื่อทดแทนแรงงาน เนื่องจากในภาวะปจจุบันคาจางแรงงานของไทยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น การแขงขันที่ตนทุน โดยมองเนนที่คาจางแรงงานจึงไมสามารถทําได

(1.2.2) ภาคเอกชน ควรปรับการผลิตใหสามารถเพิ่มผลิตภาพแรงงานใหสูงขึ้นเร็วกวาคาจางแรงงาน โดยการใชเครื่องมือ เครื่องจักรเขามาทดแทนในสวนของแรงงานใหมากขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐอาจใหการสนับสนุนดานเงินทุน

(1.3) การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของลอจิสติกส

(1.3.1) ภาครัฐ ควรดําเนินการดังตอไปนี้ – สนับสนุนการพัฒนาและการลงทุนดานระบบขนสง การเก็บรักษาสินคา การกระจาย

สินคา และบริการบรรจุภัณฑสําหรับสินคาเนาเสียงาย ทั้งในทางบก ทางอากาศ และทางรถไฟ โดยทางอากาศ ควรมี การสราง Perishable Center รองรับสินคาเนาเสียงายและสนับสนุนการขนสงสินคาเฉพาะประเภทนี้เพิ่มขึ้น สวนทางรถไฟ ควรพิจารณาปรับปรุงการลําเลียงในชวงการเปลี่ยนรูปแบบการขนสง และการลงทุนตูรถไฟที่เปนตูคอนเทนเนอรรักษาความเย็น เพื่อสงเสริมการขนสงจํานวนมากเปนการลดตนทุนไดสูง

(1.3.2) ภาคเอกชน ควรใหความสนใจในดานตาง ๆ ดังนี้ – เพิ่มการพัฒนาและการลงทุนดานระบบขนสง กระจายสินคา และบริการบรรจุภัณฑ

ที่เหมาะสมกับการขนสงสินคาเนาเสียงาย เชน ผักและผลไมสด ผักและผลไมแชเย็นแชแข็ง และอาหารทะเลแชเย็น แชแข็ง เปนตน ซึ่งตองมีการจัดสงอยางรวดเร็ว ไมกระทบกระเทือนมาก และมีระบบทําความเย็นรักษาอุณหภูมิเหมาะสม ทั้งในตลาดการขนสงภายในประเทศและระหวางประเทศ

– พัฒนาเทคโนโลยีการติดตามสินคา (Cargo Traceability) เพื่อใหทราบวาเสนทางการเดินทางและสถานะของสินคา เพื่อใหสามารถติดตามและสืบทราบผูที่มีสวนรับผิดชอบในแตละจุดที่สินคามีการเคลื่อนไหว ตั้งแตผูผลิตวัตถุดิบจนกระทั่งสินคามีการจัดสงไปจนถึงผูบริโภค

Page 60: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

350 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

(1.3.3) สถาบันการศึกษา ผลิตหลักสูตรและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการบริหารลอจิสติกสสําหรับสินคาเกษตรและสินคาอาหาร

(1.4) การพัฒนาศักยภาพทางดานการตลาด

(1.4.1) การสรางตราผลิตภัณฑอาหารแหงชาติ อุตสาหกรรมอาหารเพื่อการสงออก โดยมากจะอยูในรูปของการรับจางผลิต โดยผูผลิตไมมีตราผลิตภัณฑเปนของตนเอง ทําใหสูญเสียโอกาสในการทํากําไรใหมากขึ้น อีกทั้งยังประสบกับความไมแนนอน เนื่องจากผูวาจางอาจทําการยายฐานการผลิตออกไป ภาครัฐควรผลักดันการสรางตราผลิตภัณฑอาหารแหงชาติขึ้น โดยจุดเดนของตราสัญลักษณ คือ คุณภาพของอาหาร ประกอบดวย รสชาติ ความสด และความสะอาดปลอดภัยเปนหลัก ทั้งนี้ ภาครัฐจะออกตราสัญลักษณใหกับผูผลิตที่สามารถทําไดตามเกณฑมาตรฐาน ที่ทางรัฐกําหนด และผานการตรวจสอบผลิตภัณฑ

ประเทศไทยเคยมีการรณรงคเรื่อง Thailand’s Brand เพื่อสนับสนุนสินคาที่ผลิตในประเทศ

ไทย อยางไรก็ตาม สําหรับผลิตภัณฑอาหาร ตราสัญลักษณใหมนี้ ควรเปนการชูภาพลักษณที่โดดเดน เรื่องความปลอดภัยและคุณภาพของผลิตภัณฑเปนสําคัญ มิใชเปนการประชาสัมพันธผลิตภัณฑจากประเทศไทยเทานั้น

(1.4.2) ภาคเอกชน “ควรหันมาสนใจทําการตลาดเชิงรุก” ซึ่งสามารถทําไดโดย

– ใหความสนใจกับการทําวิจัยดานการตลาดมากขึ้น ทั้งนี้ภาครัฐสามารถใหการสนับสนุนในฐานะเปนแหลงรวบรวมขอมูล (จะใหรายละเอียดใน ยุทธศาสตรที่ 4) เพื่อเปนการชวยลดตนทุนการจัดเก็บขอมูลของภาคเอกชนไดบางสวน นอกจากนี้ เอกชนยังควรเปดตลาดใหม ๆ เชน การใหความสนใจกับประเทศกลุมมุสลิม โดยผลิตสินคาตามมาตรฐาน HALAL โดยตั้งเครือขายวิสาหกิจบริเวณภาคใต เพื่อเปนการสรางงานแกคนมุสลิม และเปนการสรางความเชื่อม่ันแกผูบริโภคสินคาประเภทนี้ไดดวย

– เนนการสรางผลิตภัณฑอาหาร ใหมีความแตกตางและมีคุณลักษณะเฉพาะใหมากขึ้น โดยผลิตภัณฑที่มีศักยภาพในการแขงขันสูง คือ

– เครื่องปรุงรสและเครื่องเทศ ที่มีเอกลักษณของไทย หากพัฒนาใหอยูในรูปแบบที่เก็บไวไดนานที่เหมาะกับผูบริโภคตางประเทศ ก็จะเปนชองทางสินคาใหม

– กลุมสินคาเกษตรอินทรีย ที่เปนที่นิยมในการบริโภคเพิ่มขึ้นทั้งในและตางประเทศ อยางไรก็ตาม การผลักดันอาหารในหมวดนี้จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีมาตรการรักษาสิ่งแวดลอมอยางเขมงวด มีการตรวจสอบ พื้นที่มีภัย (สารตกคาง) และมีระบบการตรวจสอบกอนสงออกเพื่อสรางความมั่นใจในมาตรฐานสินคา

– อาหารไทยยังมีเอกลักษณและคุณคาในทางโภชนาการ ปจจุบันสินคาอาหารไทยสําเร็จรูปจะมีลูกคาหลัก คือ กลุมเอเชีย ซึ่งหากมีการสงเสริมรานอาหารไทยในการทําธุรกิจในตางประเทศอาจเปนชองทางหนึ่งในการประชาสัมพันธผลิตภัณฑอาหารไทยประเภทกึ่งสําเร็จรูปและสําเร็จรูปได

Page 61: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 351

(1.4.3) การใชคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร เพ่ือเปนกลยุทธนําในการหลีกเล่ียงการแขงขันทางดานราคา โดยเนนการเจาะตลาดระดับบนที่ตองการสินคาที่เนนคุณภาพและความปลอดภัยเปนสําคัญ และไทยเริ่มมีศักยภาพในการพัฒนาบางแลว เชน ในอุตสาหกรรมไก และกุง ซึ่งสามารถใชกระบวนการ traceability ไดแลว และเปนอุตสาหกรรมกรรมที่ประสบความสําเร็จ ทั้งนี้จะตองแยกสภาวะการแขงขันออกจากตลาดในระดับอื่น โดยการจัดกลุมสินคา ผูผลิตและผูเกี่ยวของที่มีศักยภาพสูง เพื่อปอนตลาดในสวนนี้โดยเฉพาะ ซึ่งภาครัฐสามารถสนับสนุนไดโดยการสรางกลไกเพื่อรับรอง เชน การขึ้นทะเบียนฟารม (ตามกลยุทธ 1.1.1) เปนตน

(1.5) การปรับปรุงทัศนคติที่มีตอการบริโภคในประเทศไทย เพ่ือเพิ่มภาพลักษณที่ดีในการคาอาหาร

ในการตั้งเปาหมายการเปนครัวของโลก ตองแสดงใหชาวโลกเห็นวาครัวไทยเปนครัวที่สะอาด ดังนั้น (1.5.1) ภาครัฐ สามารถทําไดโดย

– มีการรณรงค และเผยแพรความรูใหกับประชาชนเกี่ยวกับสุขอนามัยในการบริโภค และคุณคาทางโภชนาการ เพื่อสรางทัศนคติที่ถูกตองในการบริโภค

– เพิ่มกําลังคนในการตรวจสอบความสะอาดของอาหาร สารปนเปอน และความปลอดภัย ของอาหารเพิ่มขึ้น เนื่องจากลักษณะการขายอาหารในไทยมีการกระจายตัวสูงทําใหยากตอการปฏิบัติ

– ตองมีบทลงโทษผูประกอบการทําผิดกฎหมายอยางเขมงวด – บังคับใหมีการติดฉลากแสดงคุณคาทางโภชนาการและสวนประกอบ

ในปจจุบัน กระทรวงสาธารณสุข ไดประชาสัมพันธโครงการทางสื่อตางๆ และมีโครงการ “ตลาดสด

นาซื้อ” เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเริ่มตนที่ทําใหประชาชน และผูผลิตหันมาตื่นตัวมากขึ้น หากโครงการนี้ไดรับการสนับสนุน อยางตอเนื่อง และขยายผลกระทบกวางออกไปมากขึ้นก็จะมีสวนสําคัญในการสรางภาพลักษณที่ดีตอสินคาอาหารในประเทศไทย

(1.6) การพัฒนาใหเกิดบูรณาการดานการวางแผนและการดําเนินงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพของโซอุปทาน

โดยจัดใหมีกลไกในการประสานความรวมมือระหวางผูที่เกี่ยวของ ตั้งแตอุตสาหกรรมปลายน้ําไปจนถึงอุตสาหกรรมตนน้ํา โดยลักษณะความรวมมือกันประกอบดวย การประเมินศักยภาพและแนวทางการทํางานรวมกัน นอกจากนี้ ยังรวมถึง การพยากรณความตองการของตลาด ทั้งในแงปริมาณ คุณภาพ และเวลา ทายที่สุด คือ ใหมีการประสานงานและติดตามผล รวมทั้งสรางกลไกในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน

Page 62: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

352 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ยุทธศาสตรที่ 2: การเพิ่มความปลอดภัยของอาหาร กลยุทธนี้มุงสงเสริมและพัฒนาองคกรที่เกี่ยวของและสนับสนุนดานความปลอดภัยและสุขอนามัยอาหาร เพื่อสราง

ความแข็งแกรงในการตอบโตดานการตอรองในเวทีการคาโลก รวมถึงการพัฒนาความปลอดภัยของผลิตภัณฑ เพื่อใช จุดเดนดานความปลอดภัยและสุขอนามัยเปนจุดขายในตลาดตางประเทศ

ความปลอดภัยเปนความตองการของลูกคาในตางประเทศโดยตรง และเห็นไดอยางชัดเจนวาประเทศผูนําเขาสินคา

อาหารรายใหญของไทย ไดแก สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย มีการพัฒนาปรับปรุงแกไข กฎ ระเบียบ ขอกําหนดหรือมาตรการตาง ๆ ของสินคาอาหารอยางตอเนื่อง สินคาอาหารไทยมักถูกกีดกันและถูกปฏิเสธการนําเขา ทั้งนี้เนื่องจากความไมไดมาตรฐานของผลิตภัณฑเอง และจากความไมเปนธรรมของมาตรการ โดยที่ไทยจะประสบปญหาในการเจรจาตอรองทางการคา ทั้งนี้เนื่องจากการขาดหลักฐานทางวิทยาศาสตร การขาดความสัมพันธที่เหนียวแนนระหวางภาครัฐดวยกัน และระหวางภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงความขาดแคลนของเครื่องมือตรวจสอบและบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาความปลอดภัยดานอาหาร เหตุการณดังกลาวทําใหไทยตองสูญเสียรายไดจากตางประเทศเปนจํานวนมากและยังทําใหเส่ือมเสียภาพพจนตอสินคาอาหารจากประเทศไทยอีกดวย

(2.1) ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกดานมาตรฐานอาหารในตลาดโลก ทั้งนี้จะตองมีการพัฒนาองค

ประกอบตางๆ ดังนี้

(2.1.1) การพัฒนางานวิจัยและฐานขอมูลในการสนับสนุนการตอรองทางการคา อันไดแก หลักฐานทางวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยทางดานอาหาร จะตองมีการพัฒนาหนวยงานวิจัยและพัฒนา ที่รับผิดชอบงานวิจัยดานความปลอดภัยของอาหารโดยตรง โดยมีการวิจัยอยางตอเนื่องมิใชเปนการวิจัยเฉพาะกิจเมื่อมีปญหาเกิดขึ้นเทานั้น และหนวยวิจัยในสวนนี้จะตองมีการประสานระหวางภาคเอกชน เพื่อรับทราบปญหา และทัศนะของเอกชน และประมวลใหกับภาครัฐเพื่อใหการเจรจาเปนที่ยอมรับกับทุกฝาย และภาครัฐจะตองจัดสรรงบประมาณให เพียงพอ รวมทั้งมีการสํารองงบประมาณฉุกเฉินตอบรับกับขอพิพาทที่ไมไดคาดหมาย

ในปจจุบันไดมีตัวอยางของเครือขายแกไขปญหาการสงออกผลิตภัณฑกุงแหงชาติ โดยมี

หนวยงานตางๆ ใหความรวมมือกัน คือ – ทบวงมหาวิทยาลัย รับผิดชอบในการใหการสนับสนุนดานวิชาการในการใหคําแนะนํา

ปรึกษา และรวมใหขอมูลเชิงวิชาการประกอบการเจรจาการคาระหวางประเทศ รวมถึงสรางหองปฏิบัติการอางอิงที่เปน ที่ยอมรับ และจัดฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรสายตางๆ ในการสนับสนุนการตรวจสอบสารตกคางประเภทตางๆ

– กระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยสํานักงานมาตรฐานและตรวจสอบสินคาเกษตร กรมปศุสัตวและกรมประมง จะเปนผูรับผิดชอบดานการติดตามตรวจสอบสารตกคางในผลิตภัณฑกุงเพื่อสงออก การเสนอแนะปญหาและขอจํากัดที่จะนําไปสูการวิจัยและพัฒนา และติดตามความเปลี่ยนแปลงในการกําหนดเงื่อนไขกีดกันทางการคา

– สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ รับผิดชอบศึกษาวิจัยสถานภาพปญหาสารตกคางในพื้นที่เล้ียงกุงเพื่อสงออก

Page 63: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 353

– ผูประกอบการ ทําหนาที่ใหความรวมมือตามมาตรฐานที่กําหนดรวมกัน รวมถึงเสนอแนะปญหาและขอจํากัด เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาที่รวดเร็ว

จะเห็นไดวา เครือขายความรวมมือทางวิชาการที่ดีเชนนี้ไดเริ่มขึ้นแลว หากแตเพียงจํากัดอยู

ในอุตสาหกรรมเดียว หากจะมีการขยายออกมาในวงกวางในลักษณะที่รับผิดชอบอุตสาหกรรมอาหารโดยรวมในดานตางๆ ควรตองมีองคกรกลาง หรือหนวยงานกลาง เพื่อทําใหระบบงานมีความประสานสอดคลองไดดีขึ้น (ดูรายละเอียดใน ยุทธศาสตรที่ 4)

(2.1.2) การพัฒนามาตรฐานของไทยเพื่อรองรับกับการเจรจาตอรองในเวทีการคาโลก ประเทศไทยควรมีการตั้งระบบงานดานมาตรฐานและความปลอดภัยของสินคาเกษตรและอาหาร เพื่อการผลิตอาหาร ที่ทัดเทียมกับตางประเทศ (From Farm to Table) เพื่อใหเกิดความเปนธรรมในระบบการคาระหวางประเทศและผูบริโภคในประเทศ กลาวคือ

– ควรมีการกําหนดมาตรฐานดานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ของตนเอง โดยตั้งอยูบนพื้นฐานดานวิทยาศาสตร

– กําหนดมาตรฐานการควบคุมการนําเขาสินคาเกษตร ยา และเคมีภัณฑการเกษตร – เริ่มการกําหนดใชมาตรฐานของไทยในการเจรจาตอรองแบบทวิภาคี ซึ่งมาตรฐานของ

CODEX ยังพัฒนาไมทันกับภาคการคา ปจจุบันรัฐบาลมีนโยบายเจรจาทําความตกลงทวิภาคีเขตการคาเสรี (Bilateral Free Trade

Agreement) กับประเทศที่มีศักยภาพ อาทิ ออสเตรเลีย จีน สหรัฐอเมริกา อินเดีย และญี่ปุน ซึ่งในกรอบของการเจรจาดานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารนั้น ประเทศคูเจรจายังไมไดอิงตามมาตรฐานที่กําหนดโดยคณะกรรมการอาหารระหวางประเทศ (CODEX) ทั้งหมด ซึ่งในทางปฏิบัติตางประเทศโดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแลวจะเปนผูกดดันใหไทยปฏิบัติตามมาตรฐานของประเทศคูเจรจา ทั้งๆ ที่ประเทศไทยเปนผูนําของโลกดานการผลิตและสงออกสินคาเกษตรและอาหารของโลก

(2.1.3) การพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับกับการเจรจาในเวทีการคาโลก จะตองมีการพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะในการตอรอง (Negotiation Skill) และดานกฎหมายระหวางประเทศ เพื่อใหสามารถตามสถานการณ และความซับซอนของการกีดกันทางการคาไดทันทวงที

(2.1.4) การพัฒนาศักยภาพในการตรวจสอบและวิเคราะหคุณภาพอาหาร โดยดําเนินการ ดังตอไปนี้

– พัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถในการพิจารณาตรวจสอบ และการวิเคราะหคุณภาพอาหาร เพื่อทันตามสถานการณการกีดกันทางการคา ทั้งนี้สามารถทําไดโดยการเสริมสรางความรวมมือ ทางหนวยวิจัยและปฏิบัติการกับประเทศคูคาหลัก เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย เพื่อที่ไทยจะไดรับทราบขอมูลใหม ๆ และสงเสริมใหบุคลากรไปอบรม หรือฝกปฏิบัติงานเพื่อนํามาปรับใชกับอุตสาหกรรมอาหารไทยตอไป

– การพัฒนาศักยภาพ ในดานคุณภาพหองปฏิบัติการ และความรวดเร็วในการตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ทั้งสําหรับการบริโภคในประเทศและการสงออก และพัฒนาระบบการออกใบรับรองมาตรฐานหองปฏิบัติการ โดยหนวยงานตัวแทนของภาครัฐ คือ กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนผูรับผิดชอบควบคุมดูแล เพื่อเปดโอกาสใหเอกชนเปดหองปฏิบัติการในการบริการดานการตรวจสอบ

Page 64: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

354 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

(2.2) การประสานกันระหวางภาครัฐและภาคเอกชน

(2.2.1) ภาครัฐ โดยดําเนินการเพื่อใหเกิดการประสานความรวมมือกับภาคเอกชนดังตอไปนี้ – ควรมีการหารือรวมกับภาคเอกชนอยางใกลชิดเพื่อรับทราบถึงผลกระทบและทาทีในการ

เจรจาตอรอง – สรางความตระหนักในบทบาทของภาคเอกชนในการเจรจาทางการคา โดยกระจายใน

ทุกระดับการผลิต – เผยแพรผลการเจรจาตอรองทางการคา รวมทั้งขอกีดกันหรือแนวโนมการกีดกันทางการคา

ที่คาดวาจะเกิดขึ้น เพื่อใหเอกชนตระหนักและเตรียมพรอมในการตั้งรับ – กระตุนการรวมตัวของภาคเอกชนในลักษณะของสมาคมใหมีความเขมแข็งมากขึ้น – ผลักดันใหสมาคมตางๆ มีบทบาทในการเผยแพรขอมูลและความคืบหนาของการเจรจา

ทางการคา และชวยรวบรวมขอมูลการตอบรับจากภาคเอกชน

ยุทธศาสตรที่ 3: การผลักดันการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจอาหาร ยุทธศาสตรนี้มุงผลักดันการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจอาหาร (Food Cluster) ซึ่งประกอบดวยกลุมธุรกิจที่ตองมีการ

ซื้อขายสินคาระหวางกัน มีฐานลูกคารวมกัน ใชโครงสรางพื้นฐานและบริการของผูใหบริการลอจิสติกสและสถาบันการศึกษา สถาบันทดสอบ และสถาบันวิจัยและพัฒนาเดียวกัน โดยผลักดันใหเครือขายวิสาหกิจดังกลาวมาตั้งอยูในกลุมพื้นที่เดียวกันเพื่อใชประโยชนจากโครงสรางพื้นฐาน บริการทางวิชาการและการวิจัยพัฒนา และสรางบรรยากาศในการแขงขันและเรียนรูระหวางกันอันจะกอใหเกิดนวัตกรรมดานการผลิต การตลาด และการจัดการ อันมีสวนผลักดันใหประเทศไทยกาวขึ้นเปนผูนําดานการเปนครัวของโลกอยางยั่งยืน ซึ่งในปจจุบันประเทศไทยยังไมมีการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจอาหารที่สมบูรณ ที่ผานมาเปนเพียงการตั้งโรงงานอยูใกลกับแหลงวัตถุดิบ เชน ธุรกิจผลิตสับปะรดแปรรูปจะตั้งอยูแถบจังหวัดภาคตะวันตก ซึ่งเปนพื้นที่หลักในการปลูกสับปะรดของประเทศ ธุรกิจผลิตอาหารแชเย็นแชแข็ง และอาหารทะเลกระปอง จะตั้งอยูแถบจังหวัดชายทะเล เปนตน ซึ่งยังขาดองคประกอบอื่นๆ ของการพัฒนาไปสูเครือขายวิสาหกิจอาหารที่สมบูรณ อาทิ โครงสรางพื้นฐาน และสถาบันวิจัยพัฒนา เปนตน ดังนั้น ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันตางๆ ที่เกี่ยวของควร รวมกันผลักดันการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจอาหาร

คณะทํางานไดเสนอมาตรการเพื่อบรรลุยุทธศาสตรการผลักดันการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจอาหารไวดังนี้

(3.1) สนับสนุนใหกลุมอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพมีการรวมตัวกันจัดตั้งเครือขายวิสาหกิจอาหาร โดย

(3.1.1) ภาครัฐ

– ชี้นําและสรางกระแสใหสังคมตระหนักถึงประโยชน และความจําเปนในการจัดตั้ง เครือขายวิสาหกิจ ซึ่งประกอบดวย กลุมเกษตรกร กลุมผูผลิตวัตถุดิบอื่น กลุมผูแปรรูป และองคกรที่เกี่ยวของอื่น โดยใหผูเกี่ยวของตระหนักถึงบทบาทและความสําคัญในการรวมมือกันเพื่อการพัฒนาสินคาอาหารไทย

Page 65: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 355

– รวมกับภาคเอกชนในการกําหนดอุตสาหกรรมรายสาขาและกลุมพื้นที่ที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ รวมทั้งโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเปน

– ควรผลักดันใหเกิดโครงการนํารอง โดยรัฐเปนผูนําในพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนา และส่ิงอํานวยความสะดวกตางๆ รวมทั้งใหสิทธิประโยชนทางการลงทุนและมาตรการสงเสริมทางการเงินแกผูที่เกี่ยวของ รวมทั้งสรางความเขาใจแกชุมชนในพื้นที่

(3.1.2) ภาคเอกชน

– ควรใหความรวมมือกับภาครัฐในการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ – ชักชวนและชี้ใหคูคาและลูกคาไดเห็นถึงผลประโยชนในการรวมเขามาลงทุนในพื้นที่ที่มี

การสงเสริมการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ – ใหความรวมมือกับสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน ในการกําหนดทิศทางการ

พัฒนาหลักสูตร โครงการวิจัย และการอํานวยความสะดวกในการดูงานและรับนักศึกษาเขาฝกงาน

(3.1.3) สถาบันการศึกษา – ใหความรวมมือกับภาครัฐในการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ และเนนการผลิตหลักสูตร

และผลงานวิจัยพัฒนาเพื่อรองรับการประกอบการของธุรกิจในเขตพื้นที่เครือขายวิสาหกิจ – สงเสริมใหนักศึกษาไปฝกปฏิบัติงานในธุรกิจของภาคเอกชน และสรางความรวมมือกับ

ภาคเอกชน – จัดตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรการศึกษา หรือสถาบันวิจัยพัฒนาที่มีตัวแทนของ

ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อกําหนดทิศทางของการใหบริการทางวิชาการที่สอดคลองกับความตองการของภาครัฐและ ภาคเอกชน

– กําหนดขอบเขตงานวิจัยที่เปนที่ตองการ ไดแก การวิจัยและพัฒนาดานพันธุสัตว พันธุพืช รวมถึงกระบวนการเลี้ยงและการเพาะปลูก งานวิจัยพื้นฐานเพื่อเปนรากฐานในการพัฒนาไปยังงานวิจัยเชิงประยุกต เชน การพัฒนาผลิตภัณฑใหม หรือกระบวนการผลิต

ยุทธศาสตรที่ 4: การเสริมสรางความเขมแข็งของการประสานนโยบายดานการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร ยุทธศาสตรนี้ มุงเนนเพื่อปรับปรุงบทบาทและนโยบายของภาครัฐในการพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมอาหาร

ใหเปนแนวทางเดียวกันนับตั้งแตผูจัดจําหนายวัตถุดิบ เพื่อการผลิตสินคาเกษตรและอาหาร ผูผลิตอาหารแปรรูป ผูจัดจําหนายและกระจายสินคา จนถึงผูบริโภคทั้งภายในและตางประเทศ ซึ่งแมในปจจุบันจะมีองคกรที่รับผิดชอบตอ การสงเสริมและกํากับการดําเนินงานของผูที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมอยูมาก และกระจายอยูตามกระทรวงตางๆ ไดแกกระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการคลัง และกระทรวงวิทยาศาสตรฯ เปนตน โดยการแกไขปญหาสวนใหญเปนการแกไขปญหาเฉพาะกิจ ตางฝายตางทํา โดยขาดการบูรณาการนโยบายและแนวทางปฏิบัติการในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารรวมกัน

แมในคราวประชุมเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2546 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ และ

กระทรวงสาธารณสุข เปนผูรับผิดชอบดานคุณภาพสินคาเกษตรและอาหาร (Food Safety) อีกทั้งเห็นชอบใหสํานักงาน

Page 66: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

356 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ (มกอช.) เปน Single Agency เปนองคกรหลักในการพัฒนามาตรฐานและความปลอดภัยสินคาเกษตรและอาหาร อยางไรก็ดี ยังขาดหนวยงานที่ดูแลนโยบายการพัฒนาดานตางๆ ในอุตสาหกรรมอาหารใหสอดประสานไปในทิศทางเดียวกัน ไมเฉพาะเพียงแคการใหความสนใจดานความปลอดภัย แตรวมทั้งการพัฒนาศักยภาพดานการผลิตและการกระจายสินคาดวย

โดยครอบคลุมผูที่เกี่ยวของทั้งหมดในอุตสาหกรรมอาหารเริ่มตั้งแตธุรกิจจําหนายวัตถุดิบใหเกษตรกร (Farmer’s

Suppliers) เกษตรกร (Farmer) ธุรกิจแปรรูปอาหาร (Food Processor) ธุรกิจลอจิสติกส (Logistics) ธุรกิจกระจายสินคาอาหาร (Food Distributors) และผูบริโภคสินคาอาหาร (Food Consumer) ดังนั้น รัฐบาลจึงควรเสริมสรางความเขมแข็งของการประสานนโยบายดานการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารเพิ่มขึ้น

คณะทํางานไดนําเสนอมาตรการเพื่อบรรลุยุทธศาสตรการเสริมสรางความเขมแข็งของการประสานนโยบายดานการพัฒนาอุตสาหกรรม ไวดังนี้

(4.1) สนับสนุนใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการประสานนโยบายอาหารแหงชาติ โดย

(4.1.1) ภาครัฐ – ระดมความเห็นจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวง

อุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย กระทรวงวิทยาศาสตร สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และอื่นๆ เพื่อชี้แจงใหเห็นถึงความจําเปนที่ตองมีการจัดตั้งคณะกรรมการประสานนโยบายอาหารแหงชาติ ซึ่งเปนคณะกรรมการประจําที่ทําหนาที่ที่เปนเจาภาพในการประสานนโยบายอาหารแหงชาติซึ่งดูแลนโยบายตางๆ ที่เกี่ยวของ ตั้งแตผูจําหนายวัตถุดิบใหเกษตรกรจนกระทั่งถึงผูบริโภคสินคาอาหาร เพื่อใหมีการกําหนด ทิศทางการพัฒนาอยางเปนระบบ และกําหนดนโยบายเฉพาะของอุตสาหกรรมอาหารที่ชัดเจน เนื่องจากอุตสาหกรรมอาหารเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่ประเทศไทยตองกาวไปสูการเปนครัวของโลก และการปรับแกไขใหเกิดความ สอดคลองระหวางหนวยงาน

– ระบุความรับผิดชอบของงานที่ดานนโยบายที่เกี่ยวของ โดยงานหลักที่เกี่ยวของ คือ นโยบายดานการอํานวยความสะดวกในการบริหารโซอุปทาน (Supply Chain) ของผูที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมอาหาร นโยบายดานการจําหนายวัตถุดิบและอุปกรณอํานวยความสะดวกแกเกษตรกร นโยบายดานการสงเสริมเกษตรกร นโยบายดานความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) นโยบายดานการผลิตและการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหาร นโยบายประกันคุณภาพและมาตรฐานของผูผลิตอาหาร (Quality Assurance) นโยบายดานโภชนาการ นโยบายดานการขนสงและกระจายสินคาอาหาร นโยบายดานการจําหนายสินคาอาหารทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดระหวางประเทศ นโยบายดานการกําจัดขยะและของเสียที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรมอาหาร นโยบายดานการบริหารขอมูลสารสนเทศ และนโยบายดานการวิจัยและพัฒนา

– ผลักดันใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการฯ อยางเปนรูปธรรม และสรางกลไกในการติดตามประเมินผล

Page 67: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 357

(4.1.2) ภาคเอกชน มีบทบาทในการสนับสนุนการจัดตั้งคณะกรรมการประสานนโยบายแหงชาติ ในการมีสวนรวมกําหนดนโยบาย การดําเนินการ และการวิจัยและพัฒนาตลอดสายการผลิต ตลอดจนรวมแสดงความ คิดเห็นตอการจัดตั้งคณะกรรมการดานการประสานนโยบายอาหารแหงชาติ

(4.1.3) สถาบันการศึกษา มีบทบาทในการสนับสนุนการจัดตั้งคณะกรรมการประสานนโยบาย แหงชาติ ในการมีสวนรวมกําหนดนโยบาย การดําเนินการ และการวิจัยและพัฒนาตลอดสายการผลิต ตลอดจนรวมแสดงความคิดเห็นตอการจัดตั้งคณะกรรมการดานการประสานนโยบายอาหารแหงชาติ

สําหรับความเชื่อมโยงระหวางประเด็นที่สําคัญเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมอาหารและ

ขอเสนอแนะเชิงยุทธศาสตรไดนําเสนอเปนบทสรุปไวในตาราง 4.16 และความสัมพันธของการนําไปปฏิบัติกับผลกระทบตอการพัฒนาขีดความสามารถไดสรุปไวดังแผนภาพที่ 4.27

ตารางที่ 4.16 ความเชื่อมโยงระหวางขอเสนอแนะกับประเด็นสําคัญในอุตสาหกรรมอาหาร

ขอเสนอแนะ* ประเด็นสําคัญ

ยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรที่ 4 ประเด็นการจัดการที่ดีตลอดหวงโซอาหาร (1.1) - (1.6) (3.1) (4.1) ประเด็นความปลอดภัยของอาหาร (1.1) (2.1) - (2.2) (4.1) ประเด็นภาครัฐบาล (2.2) (4.1) *รายละเอียดของขอเสนอแนะ ยุทธศาสตรที่ 1: การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของหวงโซอาหาร

(1.1) การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของวัตถุดิบ (1.1.1) ผลักดันใหเกิดมาตรฐานวัตถุดิบ (1.1.2) พัฒนาฐานขอมูลเพื่อสืบคนแหลงที่มาวัตถุดิบ

(1.2) การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของโรงงานและการแปรรูป (1.2.1) พัฒนาระบบตรวจสอบโรงงานและลดภาษีนําเขาเครื่องจักร (1.2.2) เพิ่มผลิตภาพแรงงาน

(1.3) การพัฒนาศักยภาพทางการแขงขันของลอจิสติกส (1.4) การพัฒนาศักยภาพทางดานการตลาด

(1.4.1) สรางตราผลิตภัณฑอาหารแหงชาติ (1.4.2) การแสวงหาตลาดและพัฒนาผลิตภัณฑใหม (1.4.3) การใชคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร เพื่อเปนกลยุทธนํา

(1.5) การปรับปรุงทัศนคติที่มีตอการบริโภคในไทย (1.6) การพัฒนาใหเกิดบูรณาการดานการวางแผนและการดําเนินงาน

ยุทธศาสตรที่ 2: การเพิ่มความปลอดภัยของอาหาร (2.1) ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกดานมาตรฐานอาหารในตลาดโลก

Page 68: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

358 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

(2.1.1) พัฒนางานวิจัยและฐานขอมูลในการสนับสนุนการตอรองทางการคา (2.1.2) พัฒนามาตรฐานของไทยเพื่อรองรับการเจรจาตอรองในเวทีการคาโลก (2.1.3) พัฒนาบุคลากรที่มีทักษะในการตอรองและกฎหมายระหวางประเทศเพิ่มขึ้น (2.1.4) พัฒนาศักยภาพในการตรวจสอบและวิเคราะหคุณภาพอาหาร

(2.2) การประสานกันระหวางภาครัฐและเอกชนเรื่องการเจรจาตอรอง ยุทธศาสตรที่ 3: การผลักดันการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจอาหาร

(3.1) การจัดตั้งเครือขายวิสาหกิจอาหาร ยุทธศาสตรที่ 4: การเสริมสรางความเขมแข็งของการประสานนโยบายดานการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร

(4.1) การจัดตั้งคณะกรรมการประสานนโยบายอาหารแหงชาติ

แผนภาพที่ 4.27 ความสัมพันธของขอเสนอแนะระดับความยากในการนําไปปฏิบัติและผลกระทบตอการพัฒนาขีด ความสามารถในการแขงขัน

Pr oject ระยะยาว(1.1.1) ผลักดันใหเกิดมาตรฐานวัตถุดิบ (1.1.2) พัฒนางานวิจัยและฐานขอมูลเพ่ือสืบคนแหลงที่มาวัตถุดิบ (1.2.2) เพิ่มผลิตภาพแรงงาน (1.4.1) การสรางตราผลิตภัณฑอาหารแหงชาติ(1.4.2) การแสวงหาตลาดและการพัฒนาผลิตภัณฑใหม( 1.4.3) การใชคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารเปน กลยุทธนํา (1.5) ปรับปรุงทัศนคติตอการบริโภค ( 1.6) การพัฒนาใหเกิดบูรณาการดานการวางแผนและการดําเนินงาน (3.1) จัดตั้งเครือขายวิสาหกิจอาหาร

Quick Wins(1.2.1) พัฒนาระบบตรวจสอบโรงงานและลดภาษีนําเขา เครื่องจักร(1.3) เพิ่มศักยภาพทางการแขงขันของลอจิสติกส (2.1.1) พัฒนางานวิจัยและฐานขอมูลในการสนับสนุนการ ตอรองทางการคา(2.1.2) พัฒนามาตรฐานของไทยเพื่อรองรับการเจรจา ตอรองในเวทีการคาโลก(2.1.3) พัฒนาบุคลากรที่มีทักษะในการตอรองและ กฏหมายระหวางประเทศ(2.1.4) พัฒนาศักยภาพในการตรวจสอบและวิเคราะห คุณภาพอาหาร(2.2) การประสานกันระหวางภาครัฐและเอกชนเรื่องการ เจรจาตอรอง(4.1) จัดตั้งคณะกรรมการประสานนโยบายอาหารแหงชาติ

สูง

ผลกระทบต

อการพ

ัฒนาขีดความ

สามารถในการแข

งขัน

ระดับของความยากในการนําไปปฏิบัติ

ตํ่า ยาก งาย

Page 69: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 359

4.5 กรณีศึกษา : การวิเคราะหอุตสาหกรรมยอย เปนที่ทราบกันดีอยูแลววา ประเทศไทยนั้นมีความอุดมสมบูรณ และมีผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว และการประมง

ที่หลากหลาย อุตสาหกรรมอาหารจึงเปนอุตสาหกรรมที่มีองคประกอบของอุตสาหกรรมยอยตางๆ มากมาย โดยในบาง อุตสาหกรรมยอยจะมีคุณลักษณะ ปจจัยสงเสริม และปจจัยขัดขวางการพัฒนาอุตสาหกรรมที่แตกตางจากภาพรวม อุตสาหกรรมอาหาร ดวยเหตุนี้ คณะทํางานจึงไดดําเนินการวิเคราะหอุตสาหกรรมยอยที่สําคัญบางสาขาโดยใช Diamond Model เปนเครื่องมือสําคัญในการวิเคราะหเชนเดียวกับการวิเคราะหอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวม หากแตการวิเคราะหอุตสาหกรรมยอยนี้ จะมุงเนนเพื่อใหเห็นถึงประเด็นที่มีความแตกตางจากประเด็นในภาพรวม ทั้งนี้เพราะคณะทํางานเห็นวาประเด็นที่มีความซ้ําซอนนั้นไดกลาวไวแลวในการวิเคราะหอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวม

4.5.1 อุตสาหกรรมทูนากระปอง

อุตสาหกรรมทูนากระปองของไทยเปนอุตสาหกรรมที่เนนผลิตเพื่อการสงออกเปนหลัก และไทยเปน

ประเทศผูสงออกปลาทูนากระปองรายใหญที่สุดของโลก สามารถสรางรายไดเขาสูประเทศปละไมต่ํากวา 2 หมื่นลานบาท โดยเปนสินคาที่มีมูลคาการสงออกสูงเปนอันดับ 1 ในกลุมสินคาสงออกประเภทอาหารทะเลกระปอง ซึ่งพันธุปลาทูนาที่ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมมีอยูหลายพันธุแตกตางกันตามขนาดและแหลงที่อยูอาศัย อันไดแก

Skipjack (ปลาทูนาทองแถบ) – เปนสายพันธุที่มีอยูอยางมากมายและจําหนายมากเปนอันดับแรก

โดยลักษณะของปลาทูนาพันธุนี้จะมีขนาดเล็ก ลําตัวยาว 18-32 นิ้ว และน้ําหนัก 3-7 กก. อาศัยอยูในแหลงน้ําที่มีอุณหภูมิอยูระหวาง 15-25 องศาเซลเซียส ลักษณะโดยทั่วไปจะเปนปลาที่มีเนื้อนอยและมีสีเขม จัดเปนพันธุที่มีคุณภาพต่ํากวาพันธุ Yellow-fin และ Albacore

Yellow-fin (ปลาทูนาครีบเหลือง) – เปนสายพันธุที่ผูประกอบการไทยใชเปนวัตถุดิบในการผลิตปลา

ทูนากระปองและจําหนายมากเปนอันดับสอง โดยลักษณะของปลาทูนาพันธุนี้จะมีขนาดลําตัวยาว 27-60 นิ้ว และน้ําหนัก ตั้งแต 7-25 กก. อาศัยอยูในแหลงน้ําที่มีอุณหภูมิอยูระหวาง 18-30 องศาเซลเซียส ลักษณะโดยทั่วไปจะเปนปลาที่มี สีเขมนอยและมีปริมาณเนื้อปลามากกวาสายพันธุอื่นๆ จึงเปนที่นิยมนําปลาทูนาสายพันธุนี้มาผลิตเปนปลาทูนากระปอง

Albacore (ปลาทูนาครีบยาว) – เปนสายพันธุที่ผูประกอบการไทยใชเปนวัตถุดิบในการผลิตปลาทูนา

กระปองและจําหนายมากเปนอันดับสาม โดยลักษณะของปลาทูนาพันธุนี้จะมีขนาดลําตัวยาว 15-36 นิ้ว และน้ําหนัก ตั้งแต 4-15 กก. เปนปลาที่สามารถอยูไดทั้งผิวน้ําที่มีอุณหภูมิ 15-19 องศาเซลเซียส และในน้ําลึกที่มีอุณหภูมิอยูระหวาง 13-25 องศาเซลเซียส Albacore เปนสายพันธุเดียวที่นํามาเปนวัตถุดิบในการผลิตปลาทูนาเนื้อขาวบรรจุกระปอง และเปนสายพันธุที่จัดวาเปนวัตถุดิบที่มีคุณภาพสูงที่สุดเพื่อใชในการผลิตปลาทูนากระปอง

Big-eye – เปนสายพันธุที่ไดรับความนิยมบริโภคสดมากกวานํามาบรรจุกระปอง โดยสวนใหญจะ

สงออกไปยังตลาดญี่ปุน เพื่อนําไปจําหนายในตลาดสดเปนปลาที่มีขนาดลําตัวยาวตั้งแต 35-72 นิ้ว และมีน้ําหนักระหวาง 4-16 กก. พบไดในแหลงน้ําที่มีอุณหภูมิตั้งแต 13-29 องศาเซลเซียส

Page 70: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

360 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

Blue-fin – เปนสายพันธุที่มีความสําคัญนอยสําหรับอุตสาหกรรมในประเทศไทย และเปนปลาที่มีขนาดใหญที่สุด โดยปลาทูนา Southern blue-fin มีขนาดลําตัวยาวตั้งแต 60-80 นิ้ว และมีน้ําหนัก 40-130 กก. ขณะที่ Northern blue-fin จะมีขนาดใหญกวามากโดยอาจจะมีน้ําหนักสูงถึง 750 กก. Blue-fin เปนสายพันธุที่ไมนิยมบรรจุกระปองเพราะมีสีเขมเกินไป สวนใหญจะสงออกไปยังตลาดสดประเทศญี่ปุน

Tongol – เปนสายพันธุที่สามารถพบไดตามชายฝงทะเลของประเทศไทย และเปนปลาที่มีขนาดเล็ก

โดยมีลําตัวยาวเพียง 70-130 เซนติเมตร และน้ําหนัก 1-5 กก. จัดอยูในประเภทปลาเนื้อขาวที่มีรสชาติดี แตมีขนาด อุตสาหกรรมบรรจุกระปองเล็ก ประชากรชาวอเมริกันทางตอนเหนือบางคนนิยมบริโภคปลาสายพันธุนี้เนื่องจากรสชาติและสีของเนื้อปลา

Bonito – เชนเดียวกับ Tongol คือ สามรถพบไดตามชายฝงทะเลของประเทศไทย และมีขนาดเล็กเชน

เดียวกัน คือ ยาว 18-32 นิ้ว และหนัก 1-4 กก. สวนใหญจะนํามาแชเย็นและแชแข็งโดยตัดหัวและควานไสออกเพื่อจําหนาย

4.5.1.1 ความสําคัญของอุตสาหกรรมทูนากระปอง ที่มา: FAO

แผนภาพที่ 4.28 10 อันดับประเทศผูผลิตทูนากระปองที่สําคัญของโลก (หนวย : พันตัน)

อุตสาหกรรมปลาทูนากระปองของไทย เปนอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสําคัญอยางมากในตลาดการคาระหวางประเทศ โดยในประเทศไทยเปนประเทศผูผลิตปลาทูนากระปองมากเปนอันดับ 2 ของโลก ซึ่งในป 2543 มีการผลิตปลาทูนากระปอง 244,000 ตัน หรือประมาณรอยละ 17.5 ของปริมาณการผลิตของโลก ซึ่งต่ํากวาอันดับ 1 คือ ประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีปริมาณการผลิต 304,206 ตัน หรือประมาณรอยละ 21.8 และสูงกวาอันดับ 3 เล็กนอย คือ ประเทศสเปนที่มีปริมาณการผลิต 216,766 ตัน หรือประมาณรอยละ 15.5 นับวาสเปนเปนประเทศคูแขงทางการผลิตที่สําคัญที่สุด ของไทย เนื่องจากมีอัตราการผลิตเติบโตเฉลี่ย ชวงป 2539-2543 (รายละเอียดดูตารางที่ 4.17 ประกอบ) สูงถึงรอยละ 9 ขณะที่ประเทศไทยมีอัตราการผลิตเติบโตเฉลี่ยเพียงรอยละ 6.7 ตอป

13642444957

69217

244304

ไตหวันฟลิปปนสอินโดนีเซียฝร่ังเศสเม็กซิโกโกตดิวัวร

ญี่ปุนสเปนไทยสหรัฐ

Page 71: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 361

ที่มา: กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

แผนภาพที่ 4.29 ความสําคัญของอุตสาหกรรมทูนากระปองตอเศรษฐกิจของประทศ

สําหรับความสําคัญของอุตสาหกรรมปลาทูนากระปองที่มีตอเศรษฐกิจของประเทศไทย พบวา ปลาทูนากระปองเปนสินคาสงออกที่มีความสําคัญอยางมาก โดยสามารถสรางรายไดใหประเทศในป 2544 คิดเปนมูลคาประมาณ 25,000 ลานบาท หรือเปนสัดสวนประมาณรอยละ 29 ของสินคาสงออกกลุมสินคาอาหารทะเลกระปอง และ แปรรูป ทั้งนี้จากสถิติของกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ในชวงป 2540-2544 มูลคาการสงออก ปลาทูนากระปอง แมจะดูวามีลักษณะผันผวนก็ตาม แตเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศแลว ปลาทูนากระปองยังคงสามารถสรางมูลคาเพิ่มคิดเปนสัดสวนระหวางรอยละ 0.4-0.5 ของผลิตภัณฑมวลรวมตอป

4.5.1.2 การประเมินปจจัยแวดลอมทางธุรกิจ (Accessing Business Environment) • เงื่อนไขของปจจัยการผลิต (Factor Conditions)

อุตสาหกรรมทูนากระปองของไทยตลอดระยะเวลาที่ผานมา ยังจําเปนที่จะตองพึ่งพิงการนําเขา

ปลาทูนาสดจากตางประเทศเกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากพันธุปลาทูนาที่อาศัยอยูบริเวณชายฝงทะเลไทยเปนพันธุที่ ไมไดรับความนิยมนํามาใชเปนวัตถุดิบสําหรับการผลิตทูนากระปอง อีกทั้งปจจุบันประเทศไทยยังไมมีศักยภาพในการจับปลาทูนาไดอยางเพียงพอตอความตองการในอุตสาหกรรม โดยมีเรือประมงน้ําลึกเพียง 1 ลํา คือ เรือมุกมณี ของสหกรณประมงทูนาน้ําลึกไทยที่จับปลาทูนาในมหาสมุทรอินเดีย ประกอบกับในอนาคต การจับปลาทูนาในมหาสมุทรอินเดียจะมีการกําหนดโควตาการจับ โดยคณะกรรมาธิการการจัดการประมงทูนาในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งจะใชปริมาณกองเรือที่แตละ

29%71%

ทูนากระปองอาหารทะเลกระปอง

และแปรรูปอ่ืน ๆ

สัดสวนมูลคาการสงออกสินคาอาหารทะเลกระปองและแปรรูปของไทย ป 2544

05,000

10,00015,00020,00025,00030,000

2540 2541 2542 2543 2544

0.0%0.1%0.2%0.3%0.4%0.5%0.6%สงออก % GDP

ลานบาท % of GDPสัดสวนการสงออกทูนากระปองตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ

Page 72: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

362 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ประเทศมีอยูในปจจุบันเปนเกณฑ ทําใหประเทศไทยจะตองสูญเสียโอกาสในการขยายกองเรือประมงน้ําลึกอีก และจะ สงผลทําใหไทยไมสามารถลดปริมาณการนําเขาปลาทูนาได

ตารางที่ 4.17 ปริมาณการจับปลาทูนาและการผลิตทูนากระปองของประเทศผูผลิตที่สําคัญ (หนวย : ตัน)

ประเทศ 2539 2540 2541 2542 2543 สัดสวน เติบโต ปริมาณการจับ ญี่ปุน 556,833 644,338 671,303 610,611 643,819 16.9% 3.7%ไตหวัน 386,987 359,388 463,646 407,301 436,478 11.4% 3.1%อินโดนีเซีย 297,696 303,420 395,190 381,321 420,958 11.0% 9.0%เกาหลี 201,680 219,841 263,802 188,424 225,158 5.9% 2.8%ฟลิปปนส 175,286 182,993 204,766 208,154 209,798 5.5% 4.6%สเปน 241,798 240,158 229,961 310,043 206,214 5.4% -3.9%สหรฐัอเมริกา 206,734 206,570 216,891 217,253 152,433 4.0% -7.3%ฝร่ังเศส 163,488 136,966 125,787 153,198 152,131 4.0% -1.8%เม็กซิโก 149,579 165,819 135,520 143,172 119,149 3.1% -5.5%โกตดิวัวร 3,543 3,000 2,980 3,876 4,550 0.1% 6.5%ไทย - - - - 1,880 0.0% 0.0%ทั่วโลก 3,374,463 3,567,662 3,934,427 4,004,888 3,819,101 100.0% 3.1% ปริมาณการผลิต สหรฐัอเมริกา 306,551 284,430 308,849 303,504 304,206 21.8% -0.2%ไทย 188,440 203,760 227,120 259,055 244,000 17.5% 6.7%สเปน 153,476 160,455 203,211 208,864 216,766 15.5% 9.0%ญี่ปุน 71,385 68,048 65,967 65,506 69,469 5.0% -0.7%โกตดิวัวร 61,861 49,066 58,057 46,200 57,099 4.1% -2.0%เม็กซิโก 51,104 66,543 55,105 57,229 48,921 3.5% -1.1%ฝร่ังเศส 39,243 37,291 37,521 41,539 44,421 3.2% 3.1%อินโดนีเซีย 31,074 23,922 39,940 36,265 41,921 3.0% 7.8%ฟลิปปนส 58,375 56,164 53,120 36,858 36,458 2.6% -11.1%ไตหวัน 8 3,104 1,157 1,843 1,359 0.1% 261.0%ทั่วโลก 1,250,856 1,251,096 1,395,733 1,399,739 1,394,041 100.0% 2.7%

ที่มา : Fishstat, Food and Agriculture Organization of the United Nations

Page 73: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 363

ที่มา : กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

แผนภาพที่ 4.30 ตนทุนเฉลี่ยการนําเขาปลาทูนาสดแชเย็นและแชแข็งของไทย

จากขอมูลสถิติของ FAO (Food and Agriculture Organization of the United State) พบวา ประเทศที่มีการจับปลาทูนาไดมากที่สุด คือ ประเทศญี่ปุน สามารถจับปลาทูนาเฉลี่ยปละไมต่ํากวา 6 แสนตัน โดยในป 2543 จับได 643,819 ตัน หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 16.9 ของปริมาณการจับทั่วโลก รองลงมา คือ ประเทศไตหวัน จับได 436,478 ตัน หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 11.4 และประเทศอินโดนีเซีย จับได 420,958 ตัน หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 11.0 สําหรับประเทศไทย จับไดเพียง 1,880 ตันเทานั้น การที่ไทยจะตองพึ่งพิงการนําเขาปลาทูนาเพื่อใชเปนวัตถุดิบในการผลิตนั้น สงผลใหผูประกอบการไทยจําตองรับภาระความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบปลาทูนาอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งจากสถิติการนําเขาปลาทูนาสดแชเย็นและแชแข็งป 2542-2545 พบวา ตนทุนเฉลี่ยตอตันมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะลดลงเพียงเล็กนอย นั่นคือ ในป 2543 ตนทุนเฉลี่ยตอตันอยูที่ระดับ 730 เหรียญสหรัฐ ลดลงเพียงรอยละ 5 ขณะที่ในป 2544 ตนทุนเฉลี่ยตอตันเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วอยูที่ระดับ 948 เหรียญสหรัฐ หรือเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 30 จากปกอน และในป 2545 ตนทุนเฉลี่ยตอตันอยูที่ระดับ 862 เหรียญสหรัฐ หรือลดลงรอยละ 9 สภาวะความผันผวนของราคาปลาทูนาสด ในตลาดโลก ยอมสงผลใหผูประกอบการไทยตองติดตามสถานการณราคาอยางใกลชิด ทั้งนี้เพราะราคาปลาทูนาสดจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดทั้งปขึ้นอยูกับฤดูกาล และปริมาณการจับในแตละชวงเวลา

0

200

400

600

800

1,000

2542 2543 2544 2545

เหรียญสหรัฐ / ตัน

-5%30%

-9%

Page 74: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

364 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ตารางที่ 4.18 ปริมาณและมูลคานําเขาปลาทูนาแชเย็นและแชเข็ง

ที่มา : รายงานการศึกษาภาวะอุตสาหกรรมปลาทูนากระปอง (ต.ค. 2545) สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ประเทศไทยนําเขาปลาทูนาสดจากประเทศไตหวันเปนสวนใหญ โดยป 2544 นําเขาใน

ปริมาณสูงถึง 127,433 ตัน คิดเปนมูลคารวม 136 ลานเหรียญสหรัฐ และราคาเฉลี่ยอยูในระดับ 1,063 เหรียญตอตัน รองลงมา คือ ประเทศไมโครเนเซีย มีการนําเขา 67,950 ตัน คิดเปนมูลคา 57 ลานเหรียญสหรัฐ และมีราคาเฉลี่ย 840 เหรียญตอตัน

ที่มา : รายงานศึกษาอุตสาหกรรมปลาทูนากระปอง (ต.ค. 2545) สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

แผนภาพที่ 4.31 โครงสรางตนทุนการผลิตทูนากระปอง

นอกจากนี้ การมีวิธีการบริหารตนทุนที่ดีและเหมาะสม เพื่อที่จะปองกันและควบคุมตนทุน

การผลิตรวมของกิจการมิใหสูงขึ้นจนเกิดภาวะขาดทุนจากการดําเนินกิจการเปนส่ิงที่จําเปนอยางยิ่งสําหรับผูประกอบการไทย เพราะโครงสรางตนทุนการผลิตปลาทูนากระปองสวนใหญกวารอยละ 55 เปนตนทุนคาวัตถุดิบซึ่งกระทบโดยตรง

55%20%

6%19%

คาแรง

บรรจุภัณฑ

อ่ืน ๆ

วัตถุดิบ

หนวย : ปริมาณ = ตัน , มูลคา = ลานเหรียญสหรัฐ, ราคาเฉลี่ย = บาท/ตัน

ปริมาณ มูลคาราคาเฉลี่ย ปริมาณ มูลคาราคาเฉลี่ย ปริมาณ มูลคา ราคาเฉลี่ย ปริมาณ มูลคาไตหวัน 93,946 72 767 127,433 136 1,063 35.6% 88.2% 38.7% 29.2% 32.6%ไมโครเนเซีย 58,676 35 588 67,950 57 840 15.8% 65.3% 42.7% 15.6% 13.7%ญี่ปุน 28,563 31 1,081 35,810 37 1,044 25.4% 21.1% -3.4% 8.2% 9.0%ปาปวนิวกีนี 34,879 26 734 39,254 33 836 12.5% 28.1% 13.8% 9.0% 7.9%เกาหลี 14,939 9 586 15,326 15 997 2.6% 74.5% 70.1% 3.5% 3.7%เชเซลล 14,979 10 648 8,685 13 1,448 -42.0% 29.5% 123.3% 2.0% 3.0%อินโดนีเซีย 5,387 4 655 7,716 6 841 43.2% 83.7% 28.2% 1.8% 1.6%สหรัฐอเมริกา 1,928 2 1,091 4,129 5 1,290 114.2% 153.1% 18.2% 0.9% 1.3%นิวซีแลนด 8,522 7 785 4,287 5 1,237 -49.7% -20.7% 57.6% 1.0% 1.3%อินเดีย 10,685 6 593 385 2 4,289 -96.4% -73.9% 623.7% 0.1% 0.4%อ่ืน ๆ 94,616 65 684 124,728 107 855 31.8% 64.7% 24.9% 28.6% 25.6%รวม 367,119 265 722 435,704 416 955 18.7% 57.0% 32.3% 100.0% 100.0%

ประเทศ2543 2544 เปลี่ยนแปลง (%) สัดสวน ป 2544

Page 75: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 365

สวนตนทุนคาบรรจุภัณฑและการบรรจุหีบหอซึ่งมีสัดสวนประมาณรอยละ 20 ก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ผูประกอบการไทยตองควบคุมเชนกัน เพราะวัตถุดิบในการผลิตกระปองสวนหนึ่งไทยยังตองนําเขาจากตางประเทศเชนกัน นับเปนอีกสถานการณ หนึ่งที่ควรแกการติดตามเพื่อนํามาประกอบการวางแผนการสั่งซื้อและเก็บรักษาวัตถุดิบที่ใชในการผลิต

อยางไรก็ดี แมวาประเทศไทยจะไมสามารถจับปลาทูนาไดเอง แตเปนประเทศที่ผลิตปลาทูนา

กระปองไดในปริมาณที่มากเปนอันดับ 2 ของโลกซึ่งวิเคราะหไดวาผลิตภัณฑปลาทูนากระปองที่ผลิตโดยผูประกอบการไทยนั้นเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางจากนานาชาติซึ่งผูประกอบการธุรกิจการผลิตทูนากระปองของไทยสวนใหญมีสถานที่ตั้งอยูตามจังหวัดที่ติดกับอาวไทย เพื่อความสะดวกในการลําเลียงวัตถุดิบและการขนสง อีกทั้งยังเปนการสงเสริมใหเกิดการจางงานในพื้นที่ทองถิ่น

ที่มา : รายงานศึกษาอุตสาหกรรมปลาทูนากระปอง (ต.ค. 2545) สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

แผนภาพที่ 4.32 พื้นที่ตั้งสําคัญในการผลิตและประกอบกิจการทูนากระปอง

• เงื่อนไขทางดานอุปสงค (Demand Conditions) – ตลาดภายในประเทศ: อุตสาหกรรมทูนากระปองภายในประเทศมีแนวโนมที่ดี เนื่องจาก

ผูประกอบการหันมาทําตลาดในประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยพยายามเนนประเด็นหลักของการเปนอาหารเพื่อสุขภาพ เจาะตลาดผูบริโภคที่มีความตองการอาหารเพื่อการลดหรือควบคุมน้ําหนัก แตยังคงประโยชนในดานการโภชนาการ เพราะปลาทูนามิใชเปนอาหารหลักของคนไทย ดังจะเห็นไดจากการทําโฆษณาประชาสัมพันธเพื่อเปนการแนะนําตัวสินคา และใหความรูเกี่ยวกับคุณประโยชนตอสุขภาพของปลาทูนา อีกทั้งพยายามที่สรางตราผลิตภัณฑเพื่อใหติดอยูในความทรงจําของผูบริโภค เชน ซีเล็กส นอติลุส ซาฟโคล โรซา ซีฮอรส และทีซีบี นอกจากนี้ผูประกอบการบางรายยังขยายชองทางการจําหนายโดยใชวิธีรับจางผลิตใหแกหางสรรพสินคาดวยตราผลิตภัณฑของหาง เชน เทสโกโลตัส และคารฟู เปนตน จากการสํารวจสถิติอุตสาหกรรมของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม แสดงใหเห็นถึงแนวโนมที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของการตลาดทูนากระปองภายในประเทศอยางชัดเจน โดยในป 2544 ผูประกอบการสามารถจําหนายภายในประเทศได

สมุทรสาครเงินลงทุนโดยประมาณ: 4,435 ลานบาทการจางงาน: 4,076กําลังผลิต: 196,550 ตัน

กรุงเทพมหานครเงินลงทุนโดยประมาณ: 243 ลานบาทการจางงาน: 1,251กําลังผลิต: 39,000 ตัน

สงขลาเงินลงทุนโดยประมาณ: 1,089 ลานบาทการจางงาน: 7,771กําลังผลิต: 130,000 ตัน

สมุทรปราการเงินลงทุนโดยประมาณ: 141 ลานบาทการจางงาน: 1,875กําลังผลิต: 85,600 ตัน

ปตตานีเงินลงทุนโดยประมาณ: 102 ลานบาทการจางงาน: 650กําลังผลิต: 54,250 ตัน

สุราษฎรธานีเงินลงทุนโดยประมาณ: 663 ลานบาทการจางงาน: 704กําลังผลิต: 13,080 ตัน

Page 76: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

366 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ประมาณ 12,000 ตัน เพิ่มขึ้นจากป 2543 ถึงรอยละ 62 และในป 2545 สามารถจําหนายไดประมาณ 14,000 ตัน เพิ่มขึ้น รอยละ 12 ถึงแมยอดการจําหนายในประเทศจะเพิ่มสูงขึ้น แตเมื่อเทียบเปนสัดสวนของการผลิตรวมแลวยังอยูในระดับเพียงรอยละ 5 เทานั้น และนั่นแสดงใหเห็นถึงโอกาสที่ผูประกอบการไทยจะปรับกลยุทธเพื่อขยายฐานการตลาดภายในประเทศไดอีกมาก

หมายเหตุ : ขอมูลสํารวจจากโรงงาน 14 แหง ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

แผนภาพที่ 4.33 ยอดจําหนายทูนากระปองภายในประเทศ

– ตลาดตางประเทศ: อุตสาหกรรมทูนากระปองของไทยเนนที่การผลิตเพื่อการสงออก

เปนหลัก หรือมากกวารอยละ 90 ของการผลิตจะถูกสงออกไปยังตลาดตางประเทศซึ่งประเทศหลักที่สําคัญในการสงออก คือ สหรัฐอเมริกา เปนตลาดสงออกที่สําคัญที่สุดของไทย โดยในป 2545 มีการสงออกในปริมาณ 59,756 ตัน ลดลง เล็กนอยเพียงรอยละ 1.8 แตคิดเปนมูลคาการสงออก 5,929 ลานบาท ลดลงในสัดสวนถึงรอยละ 15.49 ตลาดที่สําคัญอันดับ 2 คือ แคนาดา มีปริมาณการสงออกรวม 23,910 ตัน ลดลงจากป 2544 ประมาณรอยละ 0.65 คิดเปนมูลคา 2,454 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 8.33 ซึ่งทั้ง 2 ประเทศนี้เปนตลาดมีสัดสวนการสงออกทั้งในแงของปริมาณและมูลคารวมกันแลวสูงถึงกวารอยละ 30 ของการสงออกทั้งหมดของประเทศ ขณะที่ออสเตรเลียและญี่ปุนซึ่งเปนตลาดที่ไทยสงออกสูงเปนอันดับที่ 3 และ 4 มีสัดสวนปริมาณการสงออกเพียงรอยละ 7.8 และ 6.0 หรือคิดเปนสัดสวนมูลคาเทากับรอยละ 8.5 และ 8.4 ตามลําดับ นอกจากนี้ตลาดใหมที่ผูประกอบการไทยควรใหความสนใจเพิ่มมากขึ้น คือ ตลาดในกลุมประเทศอาหรับหรือมุสลิม เนื่องจากทูนากระปองเปนอาหารที่รับประทานไดทุกเพศและทุกศาสนา แนวโนมของตลาดจึงมีโอกาสความเปนไปไดสูงประกอบกับภาครัฐกําลังดําเนินการสนับสนุนและพยายามที่จะใหภาคใตของไทยเปนศูนยรวมอาหาร ฮาลาล โดยปจจุบันนี้ผูประกอบการไทยหลายรายที่ไดรับการรับรองเครื่องหมายฮาลาลเปนที่เรียบรอยแลว ซึ่งเปนโอกาส ที่ดีในการที่จะสรางตราผลิตภัณฑไทยใหเปนที่ติดตลาดในกลุมประเทศเหลานี้

02,0004,0006,0008,000

10,00012,00014,00016,000

2000 2001 2002สัดสวนยอดขายตอการผลิตรวม 5%5% 5%

เติบโต62%

ตันเติบโต12%

Page 77: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 367

ตารางที่ 4.19 การสงออกทูนากระปองของไทย

ที่มา : ฝายบริการขอมูลและสารสนเทศ สถาบันอาหาร โดยความรวมมือจากกรมศุลกากร

อยางไรก็ตาม มาตรการกีดกันทางการคาในรูปของภาษี และมาตรการที่มิใชภาษี

โดยเฉพาะในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) ยังคงเปนปญหาสําคัญสําหรับผูผลิตและผูสงออกทูนากระปองของไทย ซึ่งประเทศผูนําเขาอาหารที่สําคัญของโลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา และกลุมประเทศสหภาพยุโรป มักนํามาใชกับกลุมประเทศผูสงออกอาหาร ตัวอยางเชน

ตลาดสหรัฐอเมริกา พิจารณาใหสิทธิพิเศษทางภาษี GSP แกกลุมประเทศ Andean (โบลิเวีย โคลัมเบีย เอควาดอรและเปรู) ดวยเหตุผลดานการปราบปรามยาเสพติด สําหรับไทยเสียในอัตรารอยละ 5-35 และมาตรการที่มิใชภาษี คือ ทูนากระปองที่นําเขาจะตองไดรับการรับรองมาตรฐานการผลิต HACCP การกําหนดระดับ Histamine ตองไมเกิน 50 ppm. การติดฉลาก Tuna Dolphin Safe และอาจจะตองทํา Sensory test เพื่อทดสอบและตรวจหาสิ่งปนเปอนในอาหาร อันจะกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค

สหภาพยุโรป พิจารณาใหสิทธิพิเศษทางภาษี GSP กับประเทศในเครืออาณานิคมกลุมประเทศ ACP (Africa Carribean and Pacific) สําหรับมาตรการที่มิใชภาษี คือ ทูนากระปองที่นําเขาจะตองไดรับการรับรองมาตรฐานการผลิต HACCP การกําหนดระดับ Histamine ตองไมเกิน 100 ppm. และหามวางจําหนายหากไมติดฉลาก GMOs โดยเฉพาะในประเทศเนเธอรแลนด

ญี่ปุน บังคับใหติดฉลากสินคา GMOs ของญี่ปุน แคนาดา ใชมาตรการกําหนดระดับ Histamine ตองไมเกิน 100 ppm.

ปริมาณ : ตัน, มูลคา : ลานบาท

ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา1 U.S.A. 60,850.34 7,016.03 59,757.78 5,929.21 -1.8 -15.49 22.6% 27.3% 22.3% 24.6%2 CANADA 24,066.32 2,677.08 23,910.74 2,454.09 -0.65 -8.33 8.9% 10.4% 8.9% 10.2%3 AUSTRALIA 17,581.99 1,851.26 20,981.09 2,047.13 19.33 10.58 6.5% 7.2% 7.8% 8.5%4 JAPAN 13,689.03 1,738.27 16,113.68 2,033.69 17.71 16.99 5.1% 6.8% 6.0% 8.4%5 EGYPT 29,686.82 1,928.84 21,201.50 1,410.70 -28.58 -26.86 11.0% 7.5% 7.9% 5.9%6 SAUDI ARABIA 12,417.68 1,267.77 12,340.97 1,238.12 -0.62 -2.34 4.6% 4.9% 4.6% 5.1%7 LIBYAN ARAB JAMAHRIYA 1,697.59 104.02 9,540.23 609 461.99 485.47 0.6% 0.4% 3.6% 2.5%8 U_ARAB EMIRATES 4,143.65 381.15 3,981.67 337.34 -3.91 -11.49 1.5% 1.5% 1.5% 1.4%9 SYRIAN ARAB REPUBLIC 3,858.94 226.97 5,638.89 337.18 46.13 48.56 1.4% 0.9% 2.1% 1.4%

10 SWITZERLAND 3,192.36 390.37 2,946.04 317.55 -7.72 -18.65 1.2% 1.5% 1.1% 1.3%11 POLAND 5,099.10 329.14 5,026.15 298.21 -1.43 -9.4 1.9% 1.3% 1.9% 1.2%12 NEW ZEALAND 2,450.71 257.98 2,878.80 289.05 17.47 12.04 0.9% 1.0% 1.1% 1.2%13 HONG KONG 2,612.40 256.72 2,847.70 279.42 9.01 8.84 1.0% 1.0% 1.1% 1.2%14 LEBANON 3,672.37 401.16 2,498.79 271.64 -31.96 -32.29 1.4% 1.6% 0.9% 1.1%15 EU 41,853.20 3,502.67 39,056.77 3,211.95 -6.68 -8.3 15.5% 13.6% 14.6% 13.3%16 อื่นๆ 42,702.70 3,381.16 39,541.12 3,024.93 -7.4 -10.54 15.8% 13.2% 14.7% 12.6%

269,575.19 25,710.60 268,261.92 24,089.23 -0.49 -6.31 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%

สัดสวน ป 25452544 2545 %การเปล่ียนแปลง สัดสวน ป 2544

รวมทั้งหมด

อันดับ ประเทศ

Page 78: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

368 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

อิยิปต ใชมาตรการตรวจสอบคุณภาพสินคา กรณีวิธีการตรวจวิเคราะหสารประกอบไนโตรเจนในปลาทูนากระปองที่แตกตางกัน

• บริบทของการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy and Rivalry)

ที่มา : Food and Agriculture Organization of the United Nations

แผนภาพที่ 4.34 ประเทศผูสงออกทูนากระปองที่สําคัญ ป 2543

ประเทศไทยนับไดวาเปนผูนําดานการสงออกทูนากระปองของโลกทั้งในแงของปริมาณ และ

มูลคาการสงออกรวมในแตละป ทั้งนี้สวนหนึ่งอาจจะเปนเพราะวาการกําหนดกลยุทธดานราคาของผูประกอบการไทยนั้นอยูในระดับที่พอใจสําหรับลูกคาเมื่อเทียบกับคุณภาพของสินคา ซึ่งจากขอมูลของ FAO ในป 2543 ระดับราคาสงออกเฉล่ียตอตันของไทยอยูในระดับ 1,912 เหรียญตอตัน ต่ํากวาราคาเฉลี่ยของโลกที่ระดับ 2,143 เหรียญตอตัน ขณะที่คูแขงสําคัญของไทย เชน สเปน โดยมีระดับราคาเฉลี่ย 2,816 เหรียญตอตันสูงกวาไทย ความไดเปรียบดานราคานี้สงผลใหขายทูนากระปองไดในปริมาณที่มาก และเพิ่มขึ้นทุกป อยางไรก็ตาม แมวาประเทศไทยจะเปนผูนําของโลกที่ทิ้งหางคูแขง อยูมาก แตก็ไมควรที่จะมองขามซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับสเปนแลว พบวา สเปน สงออกทูนากระปองในป 2539 ไดในปริมาณ 39,321 ตัน แตหลังจากนั้นเพียง 4 ป คือ ในป 2543 สเปนสามารถสงออกทูนาไดถึง 80,240 ตัน หรือเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 104 เมื่อพิจารณาในระดับราคาเฉลี่ยการสงออกแลว พบวา ในป 2539 สเปนมีระดับราคาเฉลี่ยการสงออกที่ระดับ 4,269 เหรียญตอตัน และในป 2543 มีระดับราคาเฉลี่ยที่ 2,816 เหรียญตอตัน หรือระดับราคาลดลงถึงรอยละ 34 ขณะที่ประเทศไทยนั้นสามารถสงออกในป 2539 ไดในปริมาณ 188,434 ตัน และในป 2543 สงออกไดในปริมาณ 244,138 ตัน หรือเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 29 เทานั้น และเมื่อพิจารณาถึงระดับราคาเฉลี่ยการสงออกแลว ในป 2539 ประเทศไทยสงออกไดในระดับราคาเฉลี่ย 2,593 เหรียญตอตัน และลดลงอยูในระดับ 1,912 เหรียญตอตัน ในป 2543 หรือลดลงรอยละ 26 อันเปนสัญญาณที่บงบอกใหเห็นวาสเปนมีความพยายามที่จะขยายตลาดในระดับลางเพิ่มมากขึ้น

0

500

1,000

1,500

2,000

2,500

3,000

3,500

0 100 200 300 400 500 600มูลคาสงออกรวม ป 2543 (ลานเหรียญสหรัฐฯ)

มูลคาสงออกเฉ

ลี่ยตอตัน

(เหรียญส

หรัฐฯ

)

= 100,000 ตัน(ปริมาณการสงออก)

PhilippinesIndonesia

Italy Spain

Ghana

Cote d’l voire

France

Thailand

Seychelles

Ecuador

Page 79: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

369

การพัฒ

นาขีด

ความ

สามา

รถใน

การแ

ขงขัน

ของไทย

ตาราง

ท ี่ 4.20

Worl

d Can

ned T

una E

xport

1996

1997

1998

1999

2000

1996

1997

1998

1999

2000

1996

1997

1998

1999

2000

Thaila

nd18

8,434

20

3,762

227,1

20

259,0

53

244,1

38

488,6

28

574,6

70

608,2

08

578,7

54

46

6,705

2,5

93

2,8

20

2,6

78

2,2

34

1,9

12

Sp

ain39

,321

49,99

6

60

,988

59,04

2

80

,240

167,8

46

196,1

99

254,5

66

200,9

07

22

5,994

4,2

69

3,9

24

4,1

74

3,4

03

2,8

16

Fra

nce

29,04

7

35

,412

24,52

5

43

,050

64,69

7

89

,561

118,1

55

78,42

9

11

8,466

161,2

62

3,083

3,337

3,198

2,752

2,493

Côte

d'Ivoi

re61

,861

49,06

6

58

,057

49,51

7

57

,719

237,9

92

186,5

32

220,9

01

141,1

57

12

0,014

3,8

47

3,8

02

3,8

05

2,8

51

2,0

79

Ec

uado

r26

,453

27,23

6

36

,335

45,55

5

53

,643

69,23

9

77

,800

107,2

12

106,1

80

99

,576

2,617

2,857

2,951

2,331

1,856

Indon

esia

31,07

4

23

,922

39,94

0

36

,265

44,73

3

79

,615

70,26

1

10

4,168

82

,500

87,83

3

2,5

62

2,9

37

2,6

08

2,2

75

1,9

63

Ph

ilippin

es69

,114

56,16

4

63

,701

36,85

8

44

,204

130,8

32

134,3

32

130,1

17

78,11

3

64

,493

1,893

2,392

2,043

2,119

1,459

Seych

elles

13,01

6

21

,940

21,62

6

34

,605

41,49

1

34

,125

57,24

0

78

,527

99,57

2

10

6,281

2,6

22

2,6

09

3,6

31

2,8

77

2,5

62

Gh

ana

12,80

0

22

,800

17,03

8

21

,343

25,05

2

38

,198

67,34

3

51

,191

54,28

1

59

,115

2,984

2,954

3,005

2,543

2,360

Mauri

tius13

,082

15,13

6

12

,625

14,92

1

17

,561

39,36

5

42

,734

41,12

2

37

,564

35,57

8

3,0

09

2,8

23

3,2

57

2,5

18

2,0

26

Oth

ers13

1,850

12

5,498

148,8

12

127,8

72

110,6

60

406,2

90

383,3

34

500,5

28

359,3

06

25

3,482

3,0

81

3,0

55

3,3

63

2,8

10

2,2

91

Wo

rld E

xport

616,0

52

63

0,932

710,7

67

72

8,081

784,1

38

1,7

81,69

1

1,908

,600

2,1

74,96

9

1,856

,800

1,6

80,33

3

2,892

3,0

25

3,060

2,5

50

2,143

Coun

tryQu

antity

(Ton

s)Va

lue (T

hous

and U

S do

llars)

Value

/ To

n (US

dolla

r)

ที่มา :

Fishst

at, Fo

od an

d Agri

cultur

e Orga

nizatio

n of th

e Unite

d Natio

ns

Page 80: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

370 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ปจจุบันผูประกอบการธุรกิจทูนากระปอง จําเปนตองมีการปรับกลยุทธการดําเนินงานทางธุรกิจของตนเองทั้งนี้ เนื่องจาก ผลกระทบจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่ผานมา การเขามาสูเวทีการคาโลกของคูแขงใหมๆ การเปดเสรีทางการคา การทําขอตกลงทางการคาระหวางประเทศ ตลอดจนการกําหนดมาตรการตางๆ ที่เขมงวดมากขึ้นลวนแลวแตเปนปจจัยใหดําเนินธุรกิจยากลําบากยิ่งขึ้น สําหรับประเทศไทยมีจํานวนผูผลิตทูนากระปอง 19 แหง มีเพียง 2-3 บริษัทเทานั้นที่มีความเขมแข็ง และครองสวนแบงทางการตลาดไดจํานวนมาก ในที่นี้จะขอยกตัวอยางเพียง 1 บริษัท เพื่อวิเคราะหกลยุทธการดําเนินธุรกิจ ดังนี้

– บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซน โปรดักส จํากัด (มหาชน) เปนบริษัทขนาดใหญ กอตั้งขึ้นเมื่อป 2533 ปจจุบันจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และมีพนักงานทั้งส้ิน 4,000 คน สํานักงานใหญอยูในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาครซึ่งจากแบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2545 แสดงใหเห็นวา บริษัทไดใหความสําคัญกับมาตรฐานการผลิตสินคา โดยโรงงานของบริษัทไดรับการรับรองมาตรฐานมากมาย ไดแก IS09002, HACCP, EU(No. 1025), HALAL, GMP, US Food and Drug Administration (FDA) และ Canadian Food Inspection Agency (CFIA) ทําใหสินคาของบริษัทเปนที่ยอมรับของตลาดโลก นอกจากนี้บริษัทมีการทําธุรกิจอยางครบวงจร โดยจัดแบงกลุมธุรกิจออกเปน 5 กลุมหลัก ไดแก

1. กลุมธุรกิจผลิตและสงออกอาหารสําเร็จรูปแชแข็งและบรรจุกระปอง เปนธุรกิจหลักของบริษัทที่ดําเนินงานภายใตบริษัทยอยและบริษัทรวม 5 บริษัท คือ บจ.ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม บมจ.สงขลาแคนนิ่ง บจ.ไทยยูเนี่ยน ซีฟูด บจ.ไทยยูเนี่ยน นําฮง และบจ.ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟูดส สินคาที่สําคัญของธุรกิจ คือ ทูนากระปอง ซึ่งเปนสินคาหลักของบริษัทที่มีกําลังการผลิตปละ 280,000 ตัน/ป ทูนาสุกแชแข็ง มีกําลังการผลิตปละ 31,000 ตัน/ป อาหารแมว มีกําลังการผลิตปละ 75,000 ตัน/ป กุงแชแข็ง มีกําลังการผลิตปละ 16,000 ตัน/ป และปลาหมึกแชแข็ง มีกําลังการผลิตปละ 6,500 ตัน/ป

2. กลุมธุรกิจผลิตและจําหนายบรรจุภัณฑ เปนกลุมธุรกิจสนับสนุนที่ดําเนินงานภายใตบริษัทยอย 2 บริษัท ไดแก

บริษัท เอเชียนแปซิฟคแคน จํากัด ดําเนินธุรกิจผลิตและจําหนายภาชนะบรรจุอาหารทั้งประเภทกระปองเหล็กและกระปองอลูมิเนียมสําหรับบรรจุอาหาร ซึ่ง บมจ.ไทยยูเนี่ยน โฟรเซน โปรดักส ลงทุนในบริษัทเอเชียนแปซิฟคแคน จํากัด ผานทางบริษัท สงขลาแคนนิ่ง จํากัด (มหาชน) ปจจุบันผลิตภัณฑของบริษัท เอเชียนแปซิฟคแคน จํากัด ไดจําหนายใหกับบริษัทในกลุมไทยยูเนี่ยนประมาณรอยละ 90

บริษัท ไทยยูเนี่ยน กราฟฟกส จํากัด ดําเนินธุรกิจผลิตส่ิงพิมพทั่วไปรวมถึงฉลากสินคา ลูกคาของบริษัทโดยสวนใหญ ไดแก บมจ. ไทยยูเนี่ยน โฟรเซน โปรดักส และบริษัทในเครือ

3. กลุมธุรกิจผลิตและจําหนายอาหารสัตว ดําเนินการโดย บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟดมิลล จํากัด ไดเริ่มลงทุนในป 2543 จากการผลิตอาหารกุง ภายใตเครื่องหมายการคา "โปรฟด" "เอฟซีอาร" "นานามิ" และ "แอควาฟด" เพื่อจําหนายทั้งภายในประเทศและสงออก

4. กลุมดําเนินธุรกิจตลาดภายในประเทศ ดําเนินธุรกิจเปนตัวแทนจําหนาย ผลิตภัณฑอาหารสําเร็จรูปตางๆ ที่จําหนายภายในประเทศ โดยดําเนินงานภายใตบริษัทยอย 2 บริษัท ไดแก

บริษัท ธีร โฮลดิ้ง จํากัด ดําเนินธุรกิจเปนตัวแทนจําหนายปลาเสนและปลาแผน ภายใตเครื่องหมายการคา "ฟชโช" และ"โอโทโร" เยลลี่คาราจีแนนผสมผงบุก ภายใตเครื่องหมายการคา "ทรีโอไลท" ปลาทูนาปรุงรส ทูนาแซนดวิชสเปรด และแซลมอนแซนดวิชสเปรด ภายใตเครื่องหมายการคา "ซีเล็ค" ทั้งนี้ จะเนน

Page 81: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 371

วัตถุดิบที่บริษัทในเครือใชอยูแลว เชน อาหารทะเล และผลไม เพื่อสามารถสนับสนุนและสอดคลองกับการดําเนินธุรกิจ ในเครือซึ่งสวนใหญจะเปนอาหารทะเล

บริษัท ไอเอฟซี อินเตอรฟูด จํากัด ดําเนินธุรกิจผลิตและจําหนายอาหารวางสําเร็จรูป เพื่อจําหนายใหกับรานสะดวกซื้อ (Convenience Store) และตามสถานีบริการน้ํามันทั่วประเทศ ในปจจุบันบริษัทมีผลิตภัณฑที่วางจําหนาย และเปนที่รูจัก ไดแก พายไสตางๆ ภายใตเครื่องหมายการคา "พัฟฟพาย" ขนมปงสอดไสตางๆ ภายใตเครื่องหมายการคา "เอ็กซเพรสโรลล" และแซนดวิช ภายใตเครื่องหมายการคา "เดลี่ดีไลท"

5. กลุมธุรกิจการลงทุนในตางประเทศ เปนการจัดตั้งบริษัทในตางประเทศ ไดแก บริษัท ไทยยูเนี่ยน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เพื่อเขาไปลงทุนในบริษัท ซึ่งประกอบธุรกิจที่นาสนใจในตางประเทศ ปจจุบัน บริษัทไทยยูเนี่ยน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ไดเขาไปลงทุนใน บริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟูดส จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่เปนเจาของเครื่องหมายการคา “ชิคเกนออฟเดอะซี” ตราผลิตภัณฑอันดับที่ 3 ในตลาดสหรัฐอเมริกา ในสัดสวนรอยละ 100 ทําใหบริษัท ไทร-ยูเนี่ยน ซีฟูดส จํากัด ถือเปนบริษัทยอยอีกแหงหนึ่งดวย

บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซน โปรดักส จํากัด เปนบริษัทที่มียอดการสงออกทูนากระปองใน

สัดสวนประมาณรอยละ 40 ของการสงออกรวมของประเทศซึ่งสูงที่สุดในประเทศไทย

4.5.1.3 สรุปประเด็นสําคัญที่ไดจากการวิเคราะหอุตสาหกรรมทูนากระปอง

บริบทของการแขงขันและกลยุทธทางธรกิจ

บริบทของการแขงขันและกลยุทธทางธรกิจ

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงและสนับสนุนกันอุตสาหกรรมที่เก่ียวโยงและสนับสนุนกัน

เง่ือนไขของปจจัยการผลิต

เงื่อนไขของปจจัยการผลิต เงื่อนไขทาง

ดานอุปสงคเง่ือนไขทางดานอุปสงค

(+) การกอตัวของอุตสาหกรรมในลักษณะCluster ไดพัฒนาขึ้นตามแนวชายฝงทะเลของไทย

(-) วัตถุดิบสําคัญเพื่อการผลิตมีความจําเปนที่ตองพึ่งพาการนําเขาอยางมาก และราคาวัตถุดิบมีความผันผวนมากเชนกัน

(+) ผูประกอบการใหความสนใจกับคุณภาพของผลิตภัณฑ(+) ผูประกอบการพยายามสรางตราผลิตภัณฑของตนเอง(-) ความไมแนนอนและยากในการวางแผนการผลิต

เนื่องจากความผันผวนของราคา และวัตถุดิบ

(+) การเพิ่มขึ้นของผูบริโภคภายในประเทศ (-) การเนนตลาดสงออกเพียงไมก่ีประเทศ

(-) เรือประมงน้ําลึกมีไมเพียงพอตอการสนับสนุนวัตถุดิบเพื่อการผลิต

Page 82: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

372 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.5.2 อุตสาหกรรมไก อุตสาหกรรมการผลิตไกเนื้อเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอทั้งภายในประเทศและตอการสราง

รายไดใหกับประเทศในการสงออกเปนเวลาชานาน เปนอุตสาหกรรมที่มีการกอตั้งดําเนินงานมานานกวา 30 ป (เริ่มมีการสงออกครั้งแรกในป 2516) และมีอัตราการเติบโตที่ดีอยางตอเนื่อง โรงงานผลิตอาหารสัตว โรงงานเลี้ยงไก โรงงานแปรรูป มีการพัฒนากระบวนการทํางานอยางตอเนื่องจนไดรับการรับรองจากหนวยงานมาตรฐานระดับโลก โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมการผลิตเนื้อไกเพื่อการสงออกที่สามารถสงออกสินคาไกแปรรูปไปยังตลาดตางประเทศที่มีความเขมงวด ดานมาตรฐานความปลอดภัยอาหารที่สูงมาก เชน ตลาดยุโรปหรืออียู และญี่ปุน

ปจจุบันผูผลิตไดหันมาใหความสําคัญกับการผลิตไกแปรรูปมากกวาการผลิตไกสดแชแข็ง เนื่องจาก

เปนการเพิ่มมูลคาสินคาใหสูงขึ้น และเปนใชความสามารถหรือจุดเดนในดานแรงงานฝมือและการผลิตที่ทันสมัยใหเปนประโยชน อีกทั้ง ยังเปนการสรางความแตกตางของจุดแข็งและตลาดใหมใหกับอุตสาหกรรม เนื่องดวยอุตสาหกรรม การผลิตไกสดแชแข็งนั้นมีการแขงขันดานราคาสูงที่สูงขึ้น ผูบริโภคไมเห็นความแตกตางของสินคา และมีการเกิดของ คูแขงรายใหมๆ มากมายที่มีความไดเปรียบดานราคาทั้งแรงงานและวัตถุดิบ เชน จีนหรือบราซิล เปนตน

เพื่อเปนการสรางขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม การใหความสําคัญในการลงทุนจาก

ทั้งภาครัฐและเอกชนในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ กระบวนการผลิต มาตรฐานความปลอดภัยในอาหารเปนส่ิง ที่จําเปนอยางยิ่ง และโดยเฉพาะกับผลิตภัณฑแปรรูปที่เนนการสรางมูลคาเพิ่มจะเปนส่ิงที่สงเสริมอุตสาหกรรมใน ระยะยาว

4.5.2.1 ความสําคัญของอุตสาหกรรมการผลิตไกเนื้อ อุตสาหกรรมการผลิตไกเนื้อเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมปศุสัตว (Livestock industry) ที่มีความ

สําคัญมากที่สุด โดยเฉพาะในดานสัดสวนและปริมาณรายไดที่สรางขึ้นจากทั้งภายในและตางประเทศ แมวาการสงออกเนื้อไกจะมีปริมาณเพียงรอยละ 1.2 เมื่อเทียบกับปริมาณการสงออกทั้งหมด แตอุตสาหกรรมไกเนื้อก็มีอัตราสวนการ สงออกสูงถึงรอยละ 11 ตอการสงออกสินคาเกษตรทั้งหมดโดยมีรายไดจากสงออกมากกวา 35,481.5 ลานบาทในป 2544

Page 83: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 373

ที่มา: กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

แผนภาพที่ 4.35 ความสําคัญของอุตสาหกรรมไกตอเศรษฐกิจของประเทศ

สาเหตุสําคัญของการเติบโตเพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมไกเนื้อ เกิดจากความตองการบริโภคเนื้อไก ที่เพิ่มขึ้นอยางมากตอเนื่องทั้งภายในและตางประเทศ โดยในป 2544 การบริโภคและสงออกเนื้อไกมีอัตราสวนตอ GDP ถึงรอยละ 2 และเติบโตเฉลี่ยรอยละ 11 ตอเนื่องจากป 2541 ถึง 2544

ที่มา: : United States Department of Agriculture (USDA)

แผนภาพที่ 4.36 ปริมาณและสัดสวนการผลิตเนื้อไกของประเทศผูผลิตที่สําคัญของโลกป 2545 (พันตัน)

010,00020,00030,00040,00050,00060,00070,000

2540 2541 2542 2543 2544

0.0%0.2%0.4%0.6%0.8%1.0%1.2%1.4%

สงออก % of GDP

เนื้อไก 11%สินคาเกษตรอื่น ๆ89%

สัดสวนมูลคาการสงออกสินคาเกษตรของไทยป 2544

สัดสวนการสงออกไกตอผลิภัณฑมวลรวมของประเทศลานบาท %

9451,0901,3441,400

2,1885,400

6,7507,040

มาเลเซียแคนาดาญี่ปุนไทย

อินเดียเม็กซิโก

จีนสหภาพบราซิลสหรัฐ

ปริมาณและสัดสวนการผลิตเนื้อไกของประเทศผูผลิตที่สําคัญของโลกป 2545 (พันตัน)

14,519

832

Page 84: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

374 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ประเทศไทยเปนประเทศผูผลิตและสงออกเนื้อไกที่สําคัญรายหนึ่งของโลก โดยมีปริมาณการผลิตเนื้อไกเปนอันดับที่ 6 ของโลกและอันดับที่ 4 ในการสงออก โดยตลาดสงออกสวนใหญมากกวาครึ่งหนึ่งคือ ประเทศญี่ปุน และตามดวยประเทศในกลุมสหภาพยุโรป

อุตสาหกรรมไกเนื้อมีการรวมตัวกันเปนเครือขายวิสาหกิจ ในระดับขั้นตน กลาวคือ จุดประสงค

หลักของการเกิดรวมตัวคือความสะดวกและประหยัดในการขนสง โดยที่อุตสาหกรรมตนน้ําเชน การเพาะเลี้ยงลูกไก การเลี้ยงไก มีการเลือกจัดตั้งโรงงานหรือฟารมเล้ียงใกลกับผูผลิตแปรรูปไก อยางไรก็ตาม การกระจุกรวมตัวกันนี้ โดยมาก มักจะเปนผูผลิตเพื่อการสงออก สวนอุตสาหกรรมอื่นหรือหนวยงานอื่นที่สงเสริมการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ เชน สถาบันวิจัย หนวยงานการศึกษา องคกรภาครัฐ อุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นๆ ยังไมไดจัดตั้งขึ้นในบริเวณเดียวกัน

ที่มา: กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ

แผนภาพที่ 4.37 ปริมาณผลผลิตไกของประเทศและพื้นที่อุตสาหกรรมการผลิตเนื้อไกเพื่อสงออก

4.5.2.2 การประเมินปจจัยแวดลอมทางธุรกิจ (Accessing Business Environment)

• อุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงและสนับสนุนกัน (Related and Supporting Industries) มากกวารอยละ 90 ของเนื้อไกที่เขาสูกระบวนการแปรรูปในอุตสาหกรรมไกเนื้อแปรรูป

นั้นมาจากผลิตผลภายในประเทศ โดยการเลี้ยงไกจะมีอยูสองรูปแบบ คือ การเลี้ยงแบบมีสัญญากับผูผลิตไกแปรรูป ซึ่งเปนสัดสวนที่ใหญที่สุดมากกวารอยละ 60 และการเลี้ยงแบบไมมีสัญญาหรืออิสระ ประมาณรอยละ 40 อุปสรรคสําคัญของอุตสาหกรรม คือ ราคาตนทุนของเนื้อไกสูงมากโดยเฉพาะเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ทั้งนี้สาเหตุมาจากตนทุนของอาหารสัตวเปนสําคัญซึ่งคิดเปนสัดสวนตนทุนในการเลี้ยงไกถึงรอยละ 60 เนื่องจากตองนําเขาวัตถุดิบอาหารสัตวจํานวนมากและมีการคิดภาษีที่สูง

0

2,500

5,000

7,500

10,000

7.5

8.0

8.5

9.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

ภาคเหนือ

N/A0

2,500

5,000

7,500

10,000

7.5

8.0

8.5

9.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

ภาคเหนือ

N/A

0

2,500

5,000

7,500

10,000

7.5

8.0

8.5

9.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

ภาคใต

N/A0

2,500

5,000

7,500

10,000

7.5

8.0

8.5

9.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

ภาคใต

N/A

0

2,500

5,000

7,500

10,000

5.0

7.5

10.0

12.5

15.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

N/A0

2,500

5,000

7,500

10,000

5.0

7.5

10.0

12.5

15.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

N/A

0

2,500

5,000

7,500

10,000

60.0

65.0

70.0

75.0

80.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

Central

N/A0

2,500

5,000

7,500

10,000

60.0

65.0

70.0

75.0

80.0จํานวนฟารม จํานวนไก

2541 2542 2543

Central

N/A

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

TradChantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

Samut Sakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburiBuriram

KoratAng Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

ปริมาณไกมีชีวิตป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

พ้ืนที่หลักสําหรับการผลิตเพื่อสงออก

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

TradChantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

Samut Sakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburiBuriram

KoratAng Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

ปริมาณไกมีชีวิตป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

TradChantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

Samut Sakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburiBuriram

KoratAng Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

ปริมาณไกมีชีวิตป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

ChumpornRanong

SuratThaniPhang

Nga

TradChantaburi

ChachoengsaoPrachinburi

Samut Sakorn

Ratchaburi

Kanchanaburi

Mae Hong Sorn

KalasinMukdhaharn

SrisaketSurin

Roi-et Yasothorn

Sakonnakorn

Nong KhaiNakornPhanom

KhonKaen

Sukhothai

PhitsanulokTak

Udorn ThaniLoei

Uthaithani

ChaiyaphumMahaSarakhamNakorn Sawan

Pichit Phetchaboon

Kampangphetch

SuphanburiChainat

Saraburi

LopburiSingburiBuriram

KoratAng Thong

ChiangRai

NanLampoon

Phayao

LampangPhrae

Utharadit

Nakorn NayokAyuthaya

Patta-lung

Nakorn SriThammaratKrabi

NarathiwatYala

TrangSongkhla PattaniSatun

Nakorn Pathom

ChiangMai

Patumthani

Phuket

UbonRatchathani

PrachuabKirikhan

Samut Songkram

1.0 – 5.0> 5.0

0.5 – 0.90.1 – 0.5< 0.1

ปริมาณไกมีชีวิตป 2543(ลานตัว)

Phetchaburi

Cholburi

Rayong

พ้ืนที่หลักสําหรับการผลิตเพื่อสงออก

Page 85: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 375

ที่มา: แผนแมบทอุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

แผนภาพที่ 4.38 การผลิตและการนําเขาอาหารไกที่สําคัญ

สาเหตุสําคัญคือเกิดจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะปกปองอุตสาหกรรมการเกษตรภายในประเทศ (ถั่วเหลือง ขาวโพด) ทําใหมีมาตรการทั้งการตั้งภาษีที่สูง การจํากัดโควตาการนําเขาสินคา เปนตน

ปญหาตนทุนของวัตถุดิบเพื่อใชเปนอาหารสัตวมีมูลคาสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น เนื่องจาก

มาตรการของรัฐบาลในการปกปองชวยเหลืออุตสาหกรรมผลิตวัตถุดิบอาหารสัตวภายในประเทศ ตัวอยางเชน อุตสาหกรรมการเล้ียงไกเนื้อ ที่มีความจําเปนในการนําเขาวัตถุดิบเพื่อนํามาใชเปนอาหารสัตว คือ ขาวโพด ถั่วเหลือง และปลาปน เนื่องจากการผลิตในประเทศไมเพียงพอ ขณะที่ภาครัฐมีนโยบายกีดกันทั้งทางดานภาษีและไมใชภาษี เชน การจัดเก็บอัตราภาษีนําเขาที่สูง การจํากัดโควตา กระบวนการตรวจสอบสินคานําเขาที่ยุงยากและใชเวลานานของรัฐ เปนตน ทําใหตนทุนของวัตถุดิบอาหารไกมีมูลคาสูง และมีผลกระทบตอราคาไกเนื้อโดยตรงเนื่องจากวัตถุดิบอาหารไกเปนสัดสวนถึงรอยละ 60 ตอตนทุนในการเลี้ยงไกทั้งหมด

8 341122

4,579 4,4404,617

2542 2543 2544

1,363 1,3201,008

326 319321

2542 2543 2544

ขาวโพด

หนวย : พันตันนําเขา ผลิตในประเทศ

เมล็ดถั่วเหลือง1,560

1,299 1,331 803 573 638

2542 2543 2544

กากถั่วเหลือง

89 101 92

576 572 580

2542 2543 2544

เนื้อปลาปน

Page 86: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

376 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

Feed mill Feed mill

Farm &HatcheryFarm &

Hatchery

SlaughterHouse

SlaughterHouse

ProcessingPlant

ProcessingPlant

Feed mill Feed mill

Farm &HatcheryFarm &

Hatchery

SlaughterHouse

SlaughterHouse

ProcessingPlant

ProcessingPlant

แผนภาพที่ 4.39 มาตรการทางภาษีนําเขาวัตถุดิบอาหารสัตวของไทย ที่สงผลตอตนทุนในอุตสาหกรรมอาหาร

ภายใตขอตกลงการองคการคาโลก WTO ประเทศไทยสามารถที่จะนําเขาขาวโพดไดปละ 53,000 ตันที่อัตราภาษีนําเขารอยละ 20 อยางไรก็ตาม ในความเปนจริงมีการนําเขาขาวโพดในปริมาณมากเกินกวาโควตาที่อัตราภาษีสูงถึงรอยละ 76 แมวาภาษีนําเขาถั่วเหลืองคอนขางต่ํา (รอยละ 5) ทําใหมีการนําเขาถั่วเหลืองเปนปริมาณมาก แตก็ถูกมาตรการกีดกันที่ไมใชภาษีคือ ระบบโควตาและการบังคับซ้ือพวง กลาวคือ ผูนําเขาถั่วเหลืองจะ ถูกบังคับใหซื้อถั่วเหลืองจากผูผลิตในประเทศและราคาในประเทศดวย (ราคาขายถั่วเหลืองในประเทศสูงกวาราคากลางขายสินคาเกษตรลวงหนาที่ชิคาโก ประเทศสหรัฐฯ ถึง 40 เปอรเซ็นต).

อุตสาหกรรมไกเนื้อถือไดวาเปนอุตสาหกรรมพิเศษที่แตกตางจากอุตสาหกรรม

อาหารผลิตภัณฑอื่นๆ คือ มีการบริหารจัดการแบบครบหวงโซคุณคา (Value Chain Management) ตั้งแตการผลิตอาหารสัตว การเลี้ยงไก การฆาชําแหละไก จนถึงการแปรรูปไกไดอยางมีประสิทธิภาพที่สามารถเปนแบบอยางใหกับอุตสาหกรรมผลิตภัณฑอาหาร อื่นๆ ได

การที่อุตสาหกรรมไกเนื้อดําเนินการบริหารควบคุมแบบครบวงจรดังกลาว ทําให

ควบคุม ดูแลและตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งเมื่อเกิดปญหาขึ้นสามารถที่จะตรวจสอบติดตามยอนกลับไปในหวงโซคุณคาไดวาเกิดจากที่ใด (Traceability) ทําใหแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดตรงจุดและรวดเร็วเปนการลดผลกระทบของปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการถัดไป ส่ิงตางๆ เหลานี้ทําใหผูผลิตไทยสามารถที่จะผลิตสินคาที่มีคุณภาพสูงและนาเชื่อถือจากสายตาผูบริโภคไดและนับไปจุดแข็งของอุตสาหกรรมนี้

65

22

13

100% = 4,949 ลานตันปลาปนและอื่นๆ

ถ่ัวเหลือง

ขาวโพด

• ชิลี• เปรู• สหรัฐฯ• บราซิล• อารเจนตินา• จีน

• สหรัฐฯ• บราซิล• อารเจนตินา• จีน

• ภาษีนําเขา 15 เปอรเซ็นต

• ภาษีนําเขา 5 เปอรเซ็นต, และ บังคับซื้อถ่ัวเหลืองจากผูผลิตในประเทศที่ราคาซื้อขายในประเทศ

• ประเทศไทยสามารถนําเขา ได~53,000 ตัน ภายใตขอตกลงกับองคการคาระหวางประเทศ ที่ภาษ ี20 เปอรเซ็นต

• แตในความเปนจริงปริมาณนําเขามากกวาโควตาและถูกคิดภาษีนําเขาที ่76 เปอรเซ็นต

ปริมาณวัตถุดิบอาหารสัตวป 2543 (ภายในประเทศและนําเขา) ผูผลิตรายใหญ

มาตรการขอบังคับทางการคาและ กําแพงภาษีนําเขา

ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย, McKinsey Report – Chicken Processing

65

22

13

100% = 4,949 ลานตันปลาปนและอื่นๆ

ถ่ัวเหลือง

ขาวโพด

• ชิลี• เปรู• สหรัฐฯ• บราซิล• อารเจนตินา• จีน

• สหรัฐฯ• บราซิล• อารเจนตินา• จีน

• ภาษีนําเขา 15 เปอรเซ็นต

• ภาษีนําเขา 5 เปอรเซ็นต, และ บังคับซื้อถ่ัวเหลืองจากผูผลิตในประเทศที่ราคาซื้อขายในประเทศ

• ประเทศไทยสามารถนําเขา ได~53,000 ตัน ภายใตขอตกลงกับองคการคาระหวางประเทศ ที่ภาษ ี20 เปอรเซ็นต

• แตในความเปนจริงปริมาณนําเขามากกวาโควตาและถูกคิดภาษีนําเขาที ่76 เปอรเซ็นต

ปริมาณวัตถุดิบอาหารสัตวป 2543 (ภายในประเทศและนําเขา) ผูผลิตรายใหญ

มาตรการขอบังคับทางการคาและ กําแพงภาษีนําเขา

ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย, McKinsey Report – Chicken Processing

Page 87: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 377

• เงื่อนไขทางดานอุปสงค (Demand Conditions)

ตารางที่ 4.21 เปรียบเทียบการผลิตเนื้อไก การบริโภค และการสงออก หนวย 2542 2543 2544 2545 2546 (f)

ปริมาณการผลิตเนื้อไก พันตัน 968 1,070 1,205 1,290 1,380ปริมาณการบริโภค พันตัน 694 737 785 840 915การบริโภคตอคนตอป กก. 11.5 11.8 12.6 13.2 14.5ปริมาณการสงออก พันตัน 274 333 420 450 460

ที่มา : สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออกไทย

อัตราและปริมาณการบริโภคเนื้อไกของคนไทยมีการเติบโตที่แมจะไมสูงนักแตมีความคงที่

และตอเนื่องตลอดชวงเวลา 10 ปที่ผานมา และไทยยังจัดเปนประเทศที่มีการบริโภคเนื้อไกตอหัวที่สูงกวาคาเฉลี่ยทั่วโลกแตยังจัดวาไมสูงนักเมื่อเปรียบเทียบกับบางประเทศ เชน ฮองกง สหรัฐอเมริกา ดังนั้นทั้งอัตราและปริมาณการบริโภคที่จัดไดวาดีและสูงตอเนื่องนี้เปนแรงผลักดัน โอกาส และจูงใจที่สําคัญทําใหอุตสาหกรรมไกเนื้อมีการเติบโตและพัฒนาอยางตอเนื่อง

นอกจากนี้การบริโภคของคนภายในประเทศยังไดมีสวนชวยสงเสริมอุตสาหกรรม เนื่องจาก

คนไทยมักนิยมบริโภคเครื่องในไก และสวนอื่นๆ ของไกที่ผูบริโภคตางประเทศไมนิยม ทําใหผูประกอบการสามารถทํา รายไดและกําไรจากการขายสวนของไกดังกลาวเปนอยางดี ในขณะที่สวนอื่นๆ ของไกก็ยังสามารถนําไปจําหนายใหกับตางประเทศไดตามแตความตองการสวนตางๆ ของไกที่แตกตางกันไป

ที่มา: สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก

แผนภาพที่ 4.40 แผนภาพชิ้นสวนไกและตลาดหลักในการบริโภค

ภายในประเทศ เอเชีย และญ่ีปุน

ภายในประเทศ และเอเชีย

ภายในประเทศ และจีน

ยุโรป

ภายในประเทศ (เครื่องในและโครงไก)

Market Segmentation

ภายในประเทศ และจีน

Page 88: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

378 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

• บริบทของการแขงขันและกลยุทธทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy and Rivalry) เนื่องจากสภาพการแขงขันการสงออกเนื้อไกสดแชแข็งนั้นมีความเขมขนสูงขึ้น ประเทศไทย

เสียเปรียบความสามารถในการแขงขันในตลาดนี้ไปใหกับประเทศคูแขงใหมๆ เชน จีน บราซิลเปนตน เนื่องจาก อุตสาหกรรมประเภทนี้เปนอุตสาหกรรมที่เกือบเขาสูสินคาประเภท Commodity คือ ผูบริโภคใหความสําคัญกับราคาเปนหลักในการตัดสินใจซื้อสินคา โดยไมเห็นถึงความแตกตางของผลิตภัณฑในดานอื่นๆ เชน คุณภาพเปนตน ดังนั้น ผูประกอบการในเมืองไทยจึงตื่นตัวและตระหนักถึงปญหานี้ดีและไดพยายามหลีกเลี่ยงปญหาคลาสสิคที่มักจะเกิดกับ สินคาเกษตรอุตสาหกรรมอื่นๆ คือ ปญหา Nutcracker ที่วา ตลาดลางเนนราคาก็แขงสูประเทศใหมที่คาจางแรงงานถูก ไมได ขณะเดียวกับตลาดบนที่เนนคุณภาพก็ไมสามารถทําสินคาใหมีคุณภาพแขงขันกับเจาตลาดได จะเห็นไดจากขอมูลกราฟวา ผูประกอบการไดเริ่มหันมาผลิตสินคาเนื้อไกแปรรูปซ่ึงเปนสินคาที่มีมูลคาเพิ่มสูงกันมากขึ้น

ที่มา: สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก

แผนภาพที่ 4.41 ปริมาณการสงออกเนื้อไกสดและแปรรูป

นอกจากนี้การหันมาผลิตสินคาที่มีมูลคาสูงก็ยังเปนโอกาสและแรงผลักดันใหผูประกอบการ

หันมาสนใจสรางความแตกตางในผลิตภัณฑและบริการ โดยอาศัยจุดแข็งจุดและดานจุดเดนตางๆ ที่มีอยูหรือพัฒนา ขึ้นมาเอง เชน การพัฒนากระบวนการผลิต ไมวาจะเปนที่ มีฝ มือแรงงานที่ มีความประณีต ความละเอียดออน ในการทํางาน การวิจัยพัฒนา และการใชเครื่องจักรเทคโนโลยีที่ทันสมัย ส่ิงตางๆ เหลานี้ทําใหประเทศไทยแมจะเริ่มผลิตไกแปรรูปสงออกในป 2534 แตก็มีอัตราการเติบโตทั้งในแงของปริมาณการสงออกและมูลคา โดยคาดการณวาในป 2546 จะมีรายไดจากการสงออกไกแปรรูปมูลคาสูงเทียบเทากับไกสดแชแข็งเลยทีเดียว (ขณะที่น้ําหนักตันของการสงออก นอยกวาไกสดเกือบรอยละ 50)

- 50,000

100,000 150,000 200,000 250,000 300,000 350,000 400,000

2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546(f)

0% 5% 10% 15% 20% 25% 30% 35% 40% เน้ือไกสด

แปรรูป สัดสวนเน้ือไกแปรรูป

ตัน %

Page 89: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 379

ตารางที่ 4.22 การสงออกเนื้อไกสดและแปรรูป

2544 2545 2546 (คาดการณ) % เปล่ียนแปลง 45-46

ผลิตภัณฑ น้ําหนัก (ตัน)

รายได (ลานบาท)

น้ําหนัก (ตัน)

รายได (ลานบาท)

น้ําหนัก (ตัน)

รายได (ลานบาท)

น้ําหนัก (ตัน)

ไกสดแชแข็ง 320,779 23,994 336,837 24,589 300,000 21,900 -10.94

ไกแปรรูป 117,018 15,212 127,406 16,244 160,000 20,400 25.50

รวม 437,797 39,207 464,243 40,833 460,000 42,300 -0.91

ที่มา: สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออก

4.5.2.3 สรุปประเด็นสําคัญที่ไดจากการวิเคราะหอุตสาหกรรมไกเนื้อ

Strategy, Structure, & Rivalry

Strategy, Structure, & Rivalry

Related and Supporting Industries

Related and Supporting Industries

Factor (Input) Conditions

Factor (Input) Conditions Demand ConditionsDemand Conditions

(+) มีความคลองตัวในการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑ ดวยการแปรรูปที่หลาก ซึ่งมีกําไรตอหนวยสูง

(+) มีภาพลักษณที่ดีในดานของผลิตภัณฑที่มีคุณภาพสูง

(+) ตลาดภายในประเทศ มีการบริโภคชิ้นสวนของไกที่ใหกําไรสูง เชน เครื่องใน และโครงไก

(+) มีผลผลิตสูงดวยวิธีการจัดการระบบฟ

อยางมีประสิทธิภาพ

(+) มีความรวมมือกันอยางดีในหมูผูสงออกไกดวยกัน

Page 90: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

380 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

4.5.3 อุตสาหกรรมสับปะรดกระปอง

อุตสาหกรรมสับปะรดกระปอง เปนอุตสาหกรรมหนึ่งที่ประเทศไทยมีศักยภาพในการแขงขันสูง เนื่องจากสภาพภูมิประเทศตั้งอยูในบริเวณที่เปนปาเขตรอน จึงทําใหสามารถปลูกสับปะรดที่มีรสชาติโดดเดนและเปนที่ตองการของตลาดโลก โดยประเทศไทยสงออกสับปะรดเปนอันดับหนึ่งของโลกมากวา 10 ป และปจจุบันก็ยังเปนอยู โดยมีปริมาณการผลิตเฉลี่ยปละ 2 ลานตัน หรือประมาณรอยละ 20 ของผลผลิตรวมจากทั่วโลก มีพื้นที่ปลูก 5–6 แสนไร ประเทศไทยสงออกสับปะรดและผลิตภัณฑสับปะรดประมาณรอยละ 40 ของตลาดทั่วโลก ทําใหรายไดเขาประเทศปละประมาณ 8 – 10 พันลาน นอกจากนี้ อุตสาหกรรมสับปะรดกระปองยังเปนอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงภาคการผลิตดาน การเกษตรกับภาคอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดมูลคาเพิ่มแกวัตถุดิบจากภาคเกษตร

ผลิตภัณฑสับปะรดกระปองแบงเปน 7 ชนิด เพื่อใหผลิตภัณฑสับปะรดมีความหลากหลายตอบสนอง

ความตองการของผูบริโภคในตลาดโลก ไดแก (1) สับปะรดแวน (Slices) เปนสับปะรดที่ตัดตามแนวตั้งฉากกับแกนเปนแกนวงแหวนจากสับปะรด

ทั้งผล (2) สับปะรดชิ้นใหญ (Chunk) ไดแก สับปะรดชิ้นสันหนาที่ตัดจากสับปะรดแวนหนาหรือสับปะรด

ทั้งผล หนาและกวาง 12 มิลลิเมตรขึ้นไป และยาวไมเกิน 38 มิลลิเมตร (3) สับปะรดชิ้นยาว (Spears or Fingers) ไดแก สับปะรดที่ตัดเปนเสี้ยวตามแนวยาวของสับปะรด

ทั้งผล แตละชิ้นยาว 65 มิลลิเมตร หรือยาวกวานั้น (4) สับปะรดลิ่ม (Tidbits) ไดแก สับปะรดที่ตัดเปนเสี้ยวจากสับปะรดแวนรูปรางคลายลิ่ม มีสัดสวน

สมํ่าเสมอ หนาประมาณ 8-13 มิลลิเมตร (5) สับปะรดลูกเตา (Diced or Cubed) ไดแก สับปะรดที่มีลักษณะคลายลูกบาศก ขอบดานที่ยาว

ที่สุดตองไมมากกวา 14 มิลลิเมตร (6) สับปะรดชิ้นยอย (Crushed) ไดแก สับปะรดลูกเตาเล็กๆ หรือฝานเปนชิ้นยาวๆ ขูดหรือซอย

เปนชิ้นเล็ก ๆ (7) น้ําสับปะรด (Juice) ซึ่งผลิตออกมาในรูปของน้ําผลไมเขมขนแบบแชแข็ง แบบปลอดเชื้อ ฯลฯ ในภาพรวมของอุตสาหกรรมสับปะรดสงออกของไทยยังมีปญหาหลายดาน ทั้งในสวนของเกษตรกร

ผูปลูกสับปะรดยังขาดความรูความเขาใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทําใหมีตนทุนการผลิตสูง ผลผลิตตอไรต่ํา และคุณภาพผลผลิตไมสอดคลองกับความตองการของตลาด รวมทั้งในสวนของผูจําหนายยังขาดการจัดการตลาดอยางมี ประสิทธิภาพ ดังนั้น หากเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดโลกใหมากขึ้น และพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตและการแปรรูปสับปะรดอยางครบวงจร จะกอใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอยางมาก

Page 91: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 381

4.5.3.1 ความสําคัญของอุตสาหกรรมสับปะรดกระปอง

ที่มา: Office of Agricultural Economics & Food and Agriculture Organization of the United Nations

แผนภาพที่ 4.42 ประเทศผูผลิตสับปะรดที่สําคัญของโลก ป 2543

ประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศผูผลิตสับปะรดที่สําคัญที่สุดของโลก โดยในภูมิภาคเอเชีย

ดวยกันเองแลว พบวา ไทยมีพื้นที่เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวมากที่สุดซึ่งใหผลิตผลสับปะรดสดสูงถึงปละประมาณ 2 ลานตัน อยางไรก็ตาม ประสิทธิภาพในการผลิตสับปะรดสดของไทยยังไมอยูในจุดที่ไดเปรียบคูแขงขัน โดยมีผลิตผลตอไร 3,582 กก./ไร ซึ่งเมื่อเทียบกับคูแขงที่สําคัญในภูมิภาคเดียวกัน คือ ฟลิปปนส จะเห็นไดวา ประสิทธิภาพในการผลิตสูงกวาไทยคอนขางมาก คือ มีผลิตผลตอไรสูงถึง 6,000 กก./ไร

ประเทศไทยพื้นที่เก็บเกี่ยว – 552,000 ไรผลิตผลรวม – 1,979 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 3,582 กก./ไร

ฟลิปปนสพื้นที่เก็บเก่ียว – 250,000 ไรผลิตผลรวม – 1,500 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 6,000 กก./ไร

บราซิลพื้นที่เก็บเกี่ยว – 371,000 ไรผลิตผลรวม – 1,442 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 3,887 กก./ไร

จีนพื้นที่เก็บเกี่ยว – 236,000 ไรผลิตผลรวม – 1,365 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 5,784 กก./ไร

อินเดียพื้นที่เก็บเกี่ยว – 464,000 ไรผลิตผลรวม – 1,006 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 2,168 กก./ไร

ไนจีเรียพื้นที่เก็บเกี่ยว – 719,000 ไรผลิตผลรวม – 881 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 1225 กก./ไร

เม็กซิโกพื้นที่เก็บเกี่ยว – 78,000 ไรผลิตผลรวม – 535 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 6,859 กก./ไร

สหรัฐฯพื้นที่เก็บเกี่ยว – 53,000 ไรผลิตผลรวม – 319 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 6,019 กก./ไร

อินโดนีเซียพื้นที่เก็บเกี่ยว – 262,500 ไรผลิตผลรวม – 300 เมตริกตันผลิตผลตอไร – 1,143 กก./ไร

Page 92: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

382 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ที่มา: กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

แผนภาพที่ 4.43 ความสําคัญของอุตสาหกรรมสับปะรดกระปองตอเศรษฐกิจของประเทศ

อุตสาหกรรมสับปะรดกระปองเปนอุตสาหกรรมแปรรูปสินคาเกษตรที่มีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศเปนอยางมาก โดยเฉพาะเปนอุตสาหกรรมเพื่อการสงออกซึ่งทํารายไดเขาประเทศประมาณปละ 8-10 พันลานบาท โดยเริ่มมีการแปรรูปสับปะรดกระปองในประเทศไทยมาเปนเวลากวา 30 ปแลว ซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่มีความเกี่ยวของกับเกษตรผูเพาะปลูกสับปะรดทั่วประเทศประมาณ 30,000 ครัวเรือน หรือเกษตรกรประมาณ 130,000 คน

โครงสรางตนทุนการผลิตสับปะรดกระปองประกอบดวยคาวัตถุดิบ คาบรรจุภัณฑ หีบหอ

และฉลาก คาพลังงาน คาแรงงาน คาดอกเบี้ยเงินกู คาเสื่อมราคาเครื่องจักร และคาใชจายอื่นๆ โดยตนทุนการผลิต สวนใหญเปนคาใชจายเรื่องวัตถุดิบซึ่งคิดเปนรอยละ 40 ของตนทุนทั้งหมด (สับปะรดสดรอยละ 36 และน้ําตาลรอยละ 4) คาใชจายในการผลิตรอยละ 50 ของตนทุนทั้งหมด (แรงงานรอยละ 8 พลังงานรอยละ 3 ภาชนะบรรจุรอยละ 39) และ คาใชจายในการจัดจําหนายรอยละ 10 ซึ่งตนทุนการผลิตสับปะรดกระปองของโรงงานจะแปรผันตามราคาของสับปะรด ในขณะนั้น โดยมีสัดสวนการแปรรูปสับปะรดกระปอง 1 หีบ น้ําหนัก 13.38 กิโลกรัม ใชสับปะรดที่ยังไมปอกเปลือกประมาณ 44 กิโลกรัม

ความตองการบริโภคสับปะรดแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ (1) การบริโภคในรูปของ

สับปะรดสด ซึ่งผูบริโภคสวนใหญเปนผูบริโภคในประเทศไทย ซึ่งสับปะรดที่ปลูกไดไมเกินรอยละ 20 ของผลผลิตทั้งหมดจะนําไปจําหนายในตลาดภายในประเทศ (2) การบริโภคในรูปสับปะรดกระปอง โดยนําสับปะรดที่ปลูกไดกวารอยละ 80

39%61%

สับปะรดกระปอง ผลไมกระปอง และแปรรูปอื่น

สัดสวนมูลคาการสงออกสินคาผลไมกระปองและแปรรูปของไทย ป 2544

0

5,000

10,000

15,000

2540 2541 2542 2543 2544

0.0%

0.1%

0.2%

0.3% สงออก % GDPลานบาท % of GDP

สัดสวนการสงออกสับปะรดกระปองตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ

Page 93: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 383

สงเขาโรงงานผลิตสับปะรดกระปองและผลิตภัณฑสับปะรดอื่นๆ ซ่ึงผลิตภัณฑสวนใหญกวารอยละ 90 สงออกไปจําหนายตลาดตางประเทศ ซ่ึงประเทศไทยเปนผูสงออกรายใหญที่สุดของโลกมากวา 10 ป โดยมีคูแขงที่สําคัญ คือ ฟลิปปนส และอินโดนีเซีย

ตารางที่ 4.23 ตลาดสงออกสับปะรดกระปองที่สําคัญของไทย

ที่มา: กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย

สําหรับตลาดสงออกของไทยแบงเปน 5 กลุมใหญ ไดแก

(1) กลุมประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา นําเขาสับปะรดจากไทยประมาณรอยละ 42 ตลาดสหรัฐอเมริกาเปนตลาดใหญ มีความตองการสินคาทั้งที่เนนและไมเนนคุณภาพในราคาถูก สวนใหญนิยมบริโภคสับปะรดกระปองที่มีคุณภาพสูง โดยสับปะรดที่มีคุณภาพดีจะนําเขาจากประเทศไทยและฟลิปปนส และชนิดราคาถูกจะนําเขาจากประเทศไตหวันและมาเลเซีย

(2) กลุมสหภาพยุโรป นําเขาสับปะรดกระปองจากไทยประมาณรอยละ 37 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด ประเทศนําเขาสําคัญ คือ เยอรมัน เนเธอรแลนด ฝร่ังเศส และอังกฤษ เปนตน

2541 2542 2543 2544 2545 2542 2543 2544 2545 2541 2542 2543 2544 25451 สหรัฐอเมริกา 735.1 2,669.2 1,746.3 1,818.0 2,116.3 263.1 -34.6 4.1 16.4 10.6 23.4 22.2 21.7 24.32 เยอรมนี 1,321.4 1,579.9 938.9 978.7 899.3 19.6 -40.6 4.2 -8.1 19.1 13.8 11.9 11.7 10.33 ญี่ปุน 588.1 871.5 746.7 813.5 759.9 48.2 -14.3 9.0 -6.6 8.5 7.6 9.5 9.7 8.74 แคนาดา 326.1 413.8 352.7 431.1 497.4 26.9 -14.8 22.2 15.4 4.7 3.6 4.5 5.2 5.75 เนเธอรแลนด 568.3 991.3 628.3 500.8 381.5 74.4 -36.6 -20.3 -23.8 8.2 8.7 8.0 6.0 4.46 สหราชอาณาจักร 528.8 662.8 369.5 353.2 356.3 25.3 -44.3 -4.4 0.9 7.6 5.8 4.7 4.2 4.17 ฝร่ังเศส 348.8 363.0 317.6 325.9 305.3 4.1 -12.5 2.6 -6.3 5.0 3.2 4.0 3.9 3.58 เอสโตเนีย - 0.8 1.0 34.9 234.9 - 25.0 3390.0 573.1 0.0 0.0 0.0 0.4 2.79 สเปน 250.2 502.6 231.3 206.4 217.3 100.9 -54.0 -10.8 5.3 3.6 4.4 2.9 2.5 2.5

10 ไตหวัน 181.0 344.3 223.0 190.5 198.4 90.2 -35.2 -14.6 4.2 2.6 3.0 2.8 2.3 2.311 รัสเซีย 18.1 7.6 15.7 148.0 179.3 -58.0 106.6 842.7 21.2 0.3 0.1 0.2 1.8 2.112 โปแลนด 18.8 32.9 42.8 140.2 177.1 75.0 30.1 227.6 26.3 0.3 0.3 0.5 1.7 2.013 อิตาลี 188.4 260.5 215.1 151.3 176.1 38.3 -17.4 -29.7 16.4 2.7 2.3 2.7 1.8 2.014 ซาอุดีอาระเบีย 124.5 145.6 97.9 157.3 156.6 17.0 -32.8 60.7 -0.5 1.8 1.3 1.2 1.9 1.815 เบลเยียม 201.9 279.3 165.9 155.7 131.4 38.3 -40.6 -6.2 -15.6 2.9 2.4 2.1 1.9 1.516 ฟนแลนด 156.9 218.6 174.6 204.0 120.2 39.3 -20.1 16.8 -41.1 2.3 1.9 2.2 2.4 1.417 สวีเดน 118.4 139.5 116.3 122.3 101.4 17.8 -16.6 5.2 -17.1 1.7 1.2 1.5 1.5 1.218 เดนมารก 73.9 85.5 64.4 82.9 97.3 15.7 -24.7 28.7 17.4 1.1 0.8 0.8 1.0 1.119 เม็กซิโก - 3.7 93.8 47.5 96.2 - 2435.1 -49.4 102.5 0.0 0.0 1.2 0.6 1.120 เกาหลีใต 35.7 95.8 46.7 45.7 95.4 168.4 -51.3 -2.1 108.8 0.5 0.8 0.6 0.6 1.1

5,784.4 9,668.1 6,588.4 6,908.0 7,297.5 67.1 -31.9 4.9 5.6 83.6 84.6 83.7 82.6 83.81,138.9 1,764.6 1,288.1 1,456.9 1,410.3 54.9 -27.0 13.1 -3.2 16.5 15.4 16.4 17.4 16.26,923.4 11,432.8 7,876.5 8,364.9 8,707.8 65.1 -31.1 6.2 4.1 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

รวม 20 รายการอ่ืนๆมูลคารวม

รายการมูลคา : ลานบาท อัตราการขยายตัว : รอยละ สัดสวน : รอยละ

Page 94: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

384 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

(3) กลุมประเทศในเอเชีย ไดแก ญี่ปุน เกาหลี ไตหวัน ฮองกง และสิงคโปร นําเขาสับปะรดกระปองจากไทยประมาณรอยละ 10 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด

(4) กลุมประเทศตะวันออกกลาง ไดแก ซาอุดิอาระเบีย อิสราเอล สหรัฐอาหรับอิมิเรต และเยเมน นําเขาสับปะรดกระปองจากไทยประมาณรอยละ 3 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด

(5) กลุมประเทศอื่น ๆ เชน ออสเตรเลีย แอฟริกา กลุมสแกนดิเนเวีย และอื่นๆ อีกประมาณรอยละ 8 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด

ในป 2544 ประเทศไทยมีปริมาณการสงออกผลิตภัณฑสับปะรดแปรรูปรวม 522.9 พันตัน

คิดเปนมูลคา 13.17 พันลานบาท โดยสับปะรดกระปองมีมูลคาการสงออกคิดเปนสัดสวนรอยละ 63.5 ของปริมาณผลิตภัณฑสับปะรดแปรรูปทั้งหมด รองลงมา คือ น้ําสับปะรด ซ่ึงมีสัดสวนคิดเปนรอยละ 22.5 ของปริมาณผลิตภัณฑสับปะรดแปรรูปทั้งหมด อยางไรก็ดี พบวา มูลคาการสงออกเฉลี่ยของการสงออกผลิตภัณฑสับปะรดแปรรูปต้ังแตป 2542–2544 ลดลง โดยมีอัตราหดตัวเฉลี่ยรอยละ 8.9 โดยการสงออกสับปะรดกระปองและน้ําสับปะรดมีอัตราหดตัวเฉลี่ยรอยละ 13.4 และ 11.7 ตามลําดับ ทั้งนี้เพราะตลาดสหรัฐฯ มีสัดสวนการนําเขาลดลงนับต้ังแตสหรัฐฯ ไดใชมาตรการตอบโตการทุม ตลาดจากไทยดวยการประกาศเรียกเก็บภาษีตามอัตราสวนตางการทุมตลาดสําหรับแตละบริษัทผูสงออกตั้งแตรอยละ 24-51 ภายใตการตัดสินขั้นสุดทายวาการสงออกสับปะรดกระปองของไทยกอใหเกิดความเสียหายตออุตสาหกรรทสับปะรด ของสหรัฐฯ

4.5.3.2 การประเมินปจจัยแวดลอมทางธุรกิจ (Assessing Business Environment)

• เงื่อนไขดานปจจัยการผลิต (Factor Conditions)

– ปริมาณและคุณภาพวัตถุดิบไมแนนอน: อุตสาหกรรมสับปะรดกระปองตองพึ่งพาวัตถุดิบที่เปนสับปะรดสดภายในประเทศ

อยางไรก็ดี ยังมีปญหาดานการผลิตเนื่องจากวัตถุดิบสําหรับปอนโรงงานมีไมสมํ่าเสมอ เนื่องจากปริมาณผลผลิตขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ความเสี่ยงจากโรคสับปะรด อุปสงคอุปทานของสินคา ในขณะเดียวกัน ผลผลิตสับปะรดสดที่ไดยังมีคุณภาพไมสอดคลองกับมาตรฐานของโรงงาน เชน ผลิตสับปะรดที่มีขนาด น้ําหนัก และความสุก ไมเหมาะสมกับความตองการโรงงาน ทําใหโรงงานไมสามารถวางแผนการผลิตได

ภาวะการผลิตโดยทั่วไปของอุตสาหกรรมสับปะรดกระปองมีลักษณะคลาย

อุตสาหกรรมการเกษตรอื่นๆ เชน อุตสาหกรรมน้ําตาล อุตสาหกรรมมันสําปะหลัง ฯลฯ ซ่ึงจําเปนตองดําเนินการผลิต ใหสอดคลองกับฤดูที่วัตถุดิบใหผลผลิตแกโรงงานอุตสาหกรรมสับปะรดกระปอง จึงทําใหการผลิตในชวงที่สับปะรดออกผล คือ ชวงเมษายน – กรกฎาคม และชวงพฤศจิกายน – มกราคม ซ่ึงเทากับวาโรงงานทํางานไดเพียง 7-8 เดือน หลังจากนั้น โรงงานจะหาผลไมชนิดอื่น เชน เงาะ ล้ินจี่ ลําไย ฝร่ัง และมะละกอ เปนตน มาทดแทนเพื่อปอนโรงงานเพื่อมิใหหยุดชะงักในการผลิต สําหรับโรงงานขนาดใหญบางโรงซึ่งปลูกสับปะรดปอนโรงงานของตนเองและควบคุมการออกผลสับปะรด ในชวงที่สับปะรดขาดแคลนได ทําใหสามารถปอนวัตถุดิบเขาสูโรงงานได ซ่ึงทําใหโรงงานดําเนินงานได 10–11 เดือนตอป

Page 95: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 385

โดยพันธุที่นิยมปลูกในประเทศมี 3 พันธุ คือ (1) พันธุพื้นเมือง ซ่ึงเปนพันธุที่ปลูกเพื่อขายผลสดหรือบริโภคในครัวเรือน ลักษณะผลกลมปอมหรือยาว เนื้อสีเหลืองทองหรือเหลืองจัด มีความฉ่ําดี (2) พันธุภูเก็ต ซ่ึงปลูกเพื่อขายผลสดหรือ บริโภคในครัวเรือน ขนาดของผลเล็กกวาพันธุพื้นเมือง ผลมีรูปรางทรงกระบอก เนื้อมีกล่ินหอมและรสชาติดีมาก และ (3) พันธุปตตาเวียหรือพันธุศรีราชาซึ่งเปนพันธุที่ปลูกเพื่อใชในอุตสาหกรรมสับปะรดกระปองและเพื่อขายสด ผลมีขนาดใหญหนักประมาณ 2-6 กิโลกรัม กานผลสั้น เปลือกมีสีเหลืองอมแดงหรือเขียวคล้ํา เนื้อสีเหลืองออน รสหวานฉ่ํา มีน้ํามาก โดยประมาณรอยละ 90 ของเนื้อที่เพาะปลูกสับปะรดในประเทศไทยจะปลูกพันธุปตตาเวีย

– ผลผลิตตอไรต่ํา:

เนื่องจากเกษตรกรใชหลักวิชาการและเทคโนโลยีในการผลิตไมเหมาะสม มีการพัฒนาประสิทธิภาพของผลผลิตตอไรตํ่า โดยเกษตรกรบางสวนปลอยใหตนสับปะรดติดผลตามธรรมชาติ ไมมีการหยอดแกสและใชสารเรง ทําใหผลผลิตที่ไดหัวจะเล็กลงและไมคอยสมบูรณ อีกทั้งทําใหตนทุนการปลูกตอไรสูงในขณะที่ผลผลิตที่ไดนอย

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

แผนภาพที่ 4.44 สถิติการเพาะปลูกและผลผลิตสับปะรดของไทย

– เริ่มมีการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ (Cluster):

ลักษณะทําเลที่ต้ังของแหลงปลูกสับปะรด พอคาคนกลาง และโรงงานแปรรูปมีการกระจุกตัวอยูบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธ ซ่ึงมีแนวโนมเพิ่มการกระจุกตัวมากขึ้น โดยในสวนของโรงงานแปรรูปสวนใหญต้ังอยูในบริเวณจังหวัดประจวบคีรีขันธอันเปนผลจากมาตรการสงเสริมการลงทุนของภาครัฐ สวนแหลงปลูกสับปะรด พบวา ในป 2538 จังหวัดประจวบคีรีขันธมีพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดประมาณรอยละ 47 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งประเทศ และในป 2544 ไดขยายตัว ไดขยายเปนรอยละ 60 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ

2.2 2.6 2.4 2.1 2.0 2.1 1.8 2.4 2.2 2.0

3,000

3,500

4,000

4,500

'35 '36 '37 '38 '39 '40 '41 '42 '43 '44

561 624 621 566 521 529 512 607 611 552

พื้นที่เก็บเก่ียว (1,000 ไร)

ผลิตผลรวม (ลานตัน)

ผลิตผลตอไร (กก.)

Page 96: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

386 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

แผนภาพที่ 4.45 พื้นที่เพาะปลูกและแหลงผลิตสับปะรดกระปองที่สําคัญของประเทศ

แหลงเพาะปลูกสําคัญและพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งหมดของประเทศประมาณ 600,000 ไร มีพื้นที่เพาะปลูกสําคัญ คือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี และชุมพร ซ่ึงเปนบริเวณที่มีพื้นที่เพาะปลูกสับปะรดมากที่สุด โดยมีสัดสวนมากกวารอยละ 60 ของพื้นที่ที่ใหผลผลิตทั้งประเทศ นอกจากนี้ พื้นที่เพาะปลูกในแหลงอื่น ไดแก จังหวัดระยอง ชลบุรี ตราด หนองคาย นครพนม ลําปาง และกาญจนบุรี

ปจจุบัน มีโรงงานผลิตสับปะรดกระปองรวม 27 โรง เงินลงทุนรวมทั้งส้ิน 7,967

ลานบาท โดยโรงงานขนาดเล็กมีขนาดการลงทุนเฉล่ียประมาณ 36 ลานบาท และโรงงานขนาดใหญมีขนาดการลงทุนเฉล่ีย 871.5 ลานบาท กอใหเกิดการจางงานในทองถิ่นไมตํ่ากวา 20,000 คน จึงจัดเปนอุตสาหกรรมการเกษตรที่ใช แรงงานมากประเภทหนึ่ง ซ่ึงโรงงานขนาดใหญมีการใชแรงงานเฉลี่ย 2,180 คนตอโรงาน สวนโรงงานขนาดเล็กใชคนงานเฉล่ีย 490 คนตอโรงงาน โรงงานผลิตสับปะรดกระปองตั้งอยูในจังหวัดประจวบคีรีขันธมากที่สุด คือ 15 โรง นอกจากนี้ โรงงานที่กระจายอยูตามจังหวัดตาง ๆ ไดแก จังหวัดเพชรบุรี นครปฐม สมุทรสาคร กาญจนบุรี ชลบุรี ระยอง หนองคาย นครพนม และชุมพร

อุทัยธานี

หนองคายนครพนม

สุพรรณบุรี

ฉะเชิงเทราจันทบุรีตราดระยอง

ชลบุรี

กาญจนบุรีราชบุรีเพชรบุรี

ประจวบคีรีขันธ

ชุมพร

แหลงเพาะปลูกหลัก

อุดรธานี

ลําปาง

จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปนพื้นที่สําคัญในการผลิตสับปะรดกระปอง โดยมีโรงงานมากกวา 20 โรง

อุทัยธานี

หนองคายนครพนม

สุพรรณบุรี

ฉะเชิงเทราจันทบุรีตราดระยอง

ชลบุรี

กาญจนบุรีราชบุรีเพชรบุรี

ประจวบคีรีขันธ

ชุมพร

แหลงเพาะปลูกหลัก

อุดรธานี

ลําปาง

จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปนพื้นที่สําคัญในการผลิตสับปะรดกระปอง โดยมีโรงงานมากกวา 20 โรง

Page 97: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 387

• เงื่อนไขดานอุปสงค (Demand Conditions)

– อุปสงคภายในประเทศต่ํา: ผลผลิตสับปะรดสดนํามาใชบริโภคเพียงรอยละ 20 และอีกรอยละ 80 นํามาใชเปน

วัตถุดิบในการแปรรูปเปนผลิตภัณฑตาง ๆ ไดแก สับปะรดกระปอง น้ําสับปะรด สับปะรดแชแข็ง และอื่นๆ โดยรอยละ 90 ของสับปะรดแปรรูปจะสงออกไปจําหนายยังตางประเทศ และมีการบริโภคสับปะรดกระปองภายในประเทศนอย เนื่องจากสับปะรดสดภายในประเทศมีคุณภาพดีกวาและสามารถหาซื้อไดงาย แหลงบริโภคสับปะรดกระปองที่สําคัญ ไดแก โรงงาน ภัตตาคาร และรานอาหาร โดยมีสัดสวนประมาณรอยละ 5-10 ของผลผลิตสับปะรดกระปองทั้งหมดที่ผลิตไดในประเทศ

– อุปสงคระหวางประเทศมีสูงแตตองเผชิญกับขอจํากัดทางการตลาด:

ความตองการของตลาดตางประเทศยังคงมีแนวโนมสูง เนื่องจากผูผลิตใน ตางประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา ลดปริมาณการผลิตลงเพราะประสบปญหาขาดแคลนวัตถุดิบสับปะรด ทําใหประเทศไทยยังมีโอกาสจําหนายสับปะรดกระปองในปริมาณมากขึ้น อยางไรก็ดี การสงออกสับปะรดกระปองไปตลาดตางประเทศตองเผชิญกับขอจํากัดทางการตลาดมากขึ้น ไดแก มาตรการสินคาและมาตรการสุขอนามัย มาตรการตอบโตการทุมตลาด (Anti Dumping) และระบบการใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเปนการทั่วไปแบบใหม (GSP)

• อุตสาหกรรมที่เกี่ยวโยงและสนับสนุน (Related and Supporting Industry)

– ขาดอุตสาหกรรมผลิตกระปอง:

ตนทุนการผลิตสับปะรดกระปองที่สําคัญ ไดแก คาวัตถุดิบสับปะรด และ คากระปอง ซ่ึงมีสัดสวนคิดประมาณรอยละ 30–40 ของตนทุนการผลิต ซ่ึงจําเปนตองใชกระปองที่มีคุณภาพทนกรดได จึงตองใชแผนเหล็กเคลือบดีบุก (Tinplate) ทํากระปอง ราคากระปองจึงคอนขางสูง ประกอบกับในประเทศไทยยังมี อุตสาหกรรมผลิตกระปองอยูนอย ทําใหอุตสาหกรรมผูใชกระปองขาดอํานาจการตอรอง อีกทั้งทําใหโรงงานสับปะรดกระปองมีตนทุนการผลิตสูงขึ้นตามไปดวย

• บริบทของการแขงขันและกลยุทธธุรกิจ (Context from Firm Strategy and

Rivalry)

– การขายสับปะรดเขาโรงงานยังใชระบบโควตา: โดยทั่วไปโรงงานจะกําหนดโควตาการรับซ้ือสับปะรดจากพอคาคนกลาง ในชวงที่มี

สับปะรดมากคือชวงเดือนพฤศจิกายน–กุมภาพันธ และเดือนเมษายน-พฤษภาคมซึ่งโควตาดังกลาวจะกําหนดจากปริมาณการสงสับปะรดเขาโรงงานในชวงที่ไมมีสับปะรด หากผูจัดหาวัตถุดิบ (Supplyer) รายใดมีสับปะรดสงโรงงาน ในชวงดังกลาวไดมาก ก็จะใหโควตารับซ้ือสับปะรดชวงสับปะรดลนตลาดมาก นอกจากนี้ หลายโรงงานมีการรับสินบนจากพอคาคนกลางเพื่อใหสับปะรดของตนไดเขาโรงงานกอน เปนตน

Page 98: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

388 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

– การผลิตแบบกระจายความเสี่ยง: โรงงานสับปะรดกระปองมีการผลิตเต็มที่ในชวงที่สับปะรดใหผลผลิตมาก คือ

ระหวางเดือนเมษายน-พฤษภาคม และพฤศจิกายน –กุมภาพันธ ซ่ึงในปหนึ่งๆ โรงงานผลิตสับปะรดกระปองจะทําการผลิตไดประมาณ 7-8 เดือน ดังนั้นเพื่อเปนการลดตนทุนและเพื่อใหมีงานปอนเขาโรงงานอยูตลอด จึงนําวัตถุดิบอื่นๆ เชน พืช ผัก และผลไม ไดแก เงาะ ล้ินจี่ ลําไย ฝร่ัง มะละกอ เปนตนมาแปรรูป ซ่ึงสวนใหญจะแปรรูปเปนผลไมกระปองและ น้ําผลไม ทําใหโรงงานสามารถทําการผลิตไดตลอดป และกระจายความเสี่ยงทางธุรกิจ

– มีการพัฒนาตราสินคาของตนเองและการรับจางผลิต:

โรงงานผลิตและจําหนายผลิตภัณฑสับปะรดกระปองที่จําหนายภายในสวนใหญมีการผลิตภายใตเครื่องหมายการคาของกิจการเองและโดยมากจะเปนบริษัทไทยที่มีขนาดใหญและกลาง สําหรับการผลิตเพื่อจําหนายไปยังตางประเทศสวนใหญมักจะใชตราสินคาของผูส่ังซื้อ หรือผูวาจางผลิต โดยเฉพาะบริษัทขนาดเล็กจะไมมีความสนใจในการสรางตราสินคาของตนเอง อยางไรก็ดี การจําหนายสินคาในตางประเทศยังคงขายผานตัวแทนจําหนาย (Agent) และนายหนา (Broker) เปนสวนใหญ สําหรับตราสินคาที่ครองสวนแบงการสงออกกวารอย 40 คือ Dole และ Del Monte ซ่ึงเปนตราสินคาจากบริษัทแมในสหรัฐอเมริกา

– การผลิตที่มุงเนนพัฒนาคุณภาพเขาสูมาตรฐานสากล:

โดยโรงงานแปรรูปสับปะรดกระปองมีการพัฒนากิจการใหไดรับมาตรฐานคุณภาพที่เกี่ยวกับกับการประกอบการ ไดแก ISO 9002, HACCP และ GMP เปนตน เพื่อประกันความมั่นใจแกลูกคา รวมทั้งปรับเพิ่มผลผลิตโดยใชหลักวิศวกรรมอุตสาหการ การควบคุมคุณภาพ และการใหความสําคัญตอการฝกอบรมพัฒนาพนักงานใหมีคุณภาพ

– ขาดความรวมมือระหวางผูที่เกี่ยวของในโซอุปทาน (Supply Chain Collaboration):

เร่ิมต้ังแต (1) ความรวมมือระหวางผูผลิตสับปะรดสดกับโรงงานแปรรูป กลาวคือ ยังไมมีการวางแผนการผลิตและความตองการรวมกัน มีการทําสัญญาขอตกลง (Contract Farming) ยังนอยและไมประสบความสําเร็จ ทําใหโรงงานไมมีวัตถุดิบที่ตรงตามคุณภาพและปริมาณที่กําหนด ขณะที่ผูผลิตก็ขาดความมั่นใจ ดานราคาจําหนายรวมทั้งปริมาณรับซ้ือที่แนนอน เปนผลใหบางปอุตสาหกรรมสับปะรดประสบปญหาวัตถุดิบลนตลาดและขาดตลาด และ (2) การสรางฐานขอมูลสนับสนุน โดยขอมูลการผลิตและการตลาดจากสวนราชการและเอกชน ขาดความเปนเอกภาพ ทําใหการกําหนดนโยบายสับปะรดปริมาณการผลิตและการจัดจําหนายทําไดลําบาก

Page 99: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 389

4.5.3.3 สรุปประเด็นสําคัญที่ไดจากการวิเคราะหอุตสาหกรรมสับปะรดกระปอง

Strategy, Structure, & Rivalry

Strategy, Structure, & Rivalry

Related and Supporting Industries

Related and Supporting Industries

Factor (Input)Conditions

Factor (Input)Conditions Demand ConditionsDemand Conditions

(+) มีการผลิตแบบกระจายความเสี่ยง(+) มีการผลิตมุงพัฒนาคุณภาพ(-) การขายวัตถุดิบเขาโรงงานยังใชระบบโควตา(-) มีทั้งการพัฒนาตราสินคาของตนและรับจางผลิต(-) ขาดความรวมมือระหวางผูที่เก่ียวของในหวงโซอุปทาน

(-) อุปสงคภายในประเทศต่ํา

(-) ขาดอุตสาหกรรมผลิตกระปอง

(+) เร่ิมมีการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ(-) ปริมาณและคุณภาพวัตถุดิบไมแนนอน(-) ผลิตผลตอไรต่ํา

Page 100: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

390 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

เอกสารอางอิง

กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย. เอกสารประกอบการประชุมคณะทํางานพิจารณาแกไขปญหาดานมาตรการทางการคาที่มิใชภาษีตอการสงออกสินคาอาหารไทย คร้ังที่ 3/2543. 11 เมษายน 2543.

กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. จดหมายขาวศูนยผลักดันสินคาเกษตรเพื่อการสงออก.

กรรณิการ จ่ันบุญมี, สมศักดิ์ ศรีสมบุญ และธนต โสภโชนคร, ถ่ัวเหลืองไทยพืชที่ตองแขงกับประเทศมหาอํานาจ. หนังสือพิมพกสิกร. ปที่ 75 ฉบับที่ 4 (หนา 39-52). กรกฎาคม-สิงหาคม 2545.

การปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตเพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันในอุตสาหกรรมอาหารไทย. 2542.

กองนโยบายและวางแผนการวิจัย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ ส่ิงแวดลอม. การสํารวจคาใชจายและบุคลากรทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ป 2542.

ไกรสีห ศิริรังษี, บริษัท เชียงใหมฟูดแคนนิ่ง จํากัด. กลยุทธการเพิ่มศักยภาพการแขงขันของไทยในตลาดโลก (เอกสารวิจัยสวนบุคคล ตามหลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 12 ประจําปการศึกษา พุทธศักราช 2542-2543).

ขอมูลเศรษฐกิจการคา: สินคาสงออกสําคัญของประเทศไทย ป 2540-2545. จากเวปไซด กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ: http://www.dtn.moc.go.th. มีนาคม-เมษายน 2546 .

ขั้นตอนการสงออก: อาหารสําเร็จรูปกระปอง, สับปะรด และน้ําสับปะรดกระปอง, ปลาทูนากระปอง และไกและเปด. จากเวปไซด กรมสงเสริมการสงออก: http://depthai.go.th. มีนาคม-เมษายน 2546.

คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รายงานฉบับสมบูรณ ความตองการแรงงานและการขาดแคลนแรงงาน. 2540.

นภาวรรณ นพรัตนราภรณ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. แนวทางการสรางอาหารไทยเปนอาหารโลกในสิบปขางหนา เอกสารวิจัยสวนบุคคล ตามหลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร รุนที่ 42 ประจําปการศึกษา พุทธศักราช 2542-2543).

บริษัท อินฟอรมีเดีย อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด. รางรายงานโครงการศึกษาความสามารถและความตองการของประเทศในการทดสอบอาหาร. 19 กรกฎาคม 2545.

แบบจําลองตลาดแรงงานอุตสาหกรรม. จากเวปไซด สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม: http://www.oie.go.th. มีนาคม-เมษายน 2546.

เปรมปรี ณ สงขลา, เปดโลกพืชสวนไทย...รวมหรือรุง. เคหการเกษตร. ป 25 ฉบับที่ 6 (หนา 168-174). ตุลาคม 2544.

ฝายบริการขอมูล สถาบันอาหาร. Thailand Food Export Status 2543 (2000). 31 มีนาคม 2544.

ฝายวิจัย คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Strategic to Control Veterinary Drug Residue: Asia Experience. (เอกสารประกอบการบรรยาย งานสัมมนา New Trends in Global Food Safety). 12-13 มีนาคม 2546.

Page 101: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 391

พรทิพย ภูวโรดม, คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ศักยภาพการแขงขันสินคาเกษตรสําคัญของไทย ภายใตกฎเกณฑการคาโลก. 2542.

พรศิลป พัชรินทรตนะกุล. การคาโลก หมู ไก และกุง สูอยางไรจึงจะอยูรอด?. (เอกสารประกอบการบรรยาย งานสัมมนา VIV Asia 2003 ณ. ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิต). 7 มีนาคม 2546.

พูลทรัพย วิรุฬหกุล, ฝายวิจัย คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Food Testing Laboratory Services. (เอกสารประกอบการบรรยายงาน Panel Discussion 2 in New Trends in Global Food Safety). 12-13 มีนาคม 2546.

พิศักดิ์วลี เศวตนันทน, คนการคา: หัวใจการตลาดของมาลี. โลกการคา. ปที่ 9 ฉบับที่ 83 (หนา 40-46). กุมภาพันธ 2546.

มลศิริ วีโรไทย, สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. เทคโนโลยีของผลิตภัณฑอาหารเพื่อสุขภาพ. 2545.

มัทนา แสงดาวงษ. ผลิตภัณฑประมงของไทย. สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2545.

รพีพร สุทาธรรม, สถานการณผลิตทูนาโลก ผูผลิตไทยตองจับตา. วารสารผลิตภัณฑประมง. ธันวาคม 2543.

ศูนยบริการวิชาการเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กลยุทธการพัฒนาอุตสาหกรรมในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (เอกสารประกอบการประชุมระดมสมอง, 31 ตุลาคม 2541).

ศูนยประสานการปรับโครงสรางอุตสาหกรรม สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. โอกาสของอุตสาหกรรมอาหารไทยในตลาดโลก. มิถุนายน 2545.

ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ. รายงานสถานภาพ GMOs ในประเทศไทย. มกราคม 2544.

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โครงการการศึกษาวิเคราะหแนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันเพื่อรองรับการที่จีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลกและการจัดทําเขตการคาเสรีอาเซียน-จีน ฉบับที่ 2 อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป.กันยายน 2545.

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาตลาดสินคาเกษตรตางประเทศและพัฒนาสินคาเกษตรเพื่อการสงออก กรณีของอาเซียน. พฤศจิกายน 2543.

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณโครงการศึกษาเศรษฐกิจ สินคาอุตสาหกรรมสําคัญของไทย 5 รายการ: กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป. กรกฎาคม 2542.

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร. 30 มิถุนายน 2540.

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ อุตสาหกรรมไทยในเศรษฐกิจโลก. 5 มิถุนายน 2540.

ศูนยวิจัยเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โครงการการศึกษาวิจัยเศรษฐกิจและการคาระหวางประเทศ เพื่อรองรับการเจรจาเปดเสรีทางการคา. 2544.

ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปเพาะปลูก 2543/44.

Page 102: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

392 การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. กรอบแผนปฏิบัติการดานการพัฒนากําลังคนเพื่ออุตสาหกรรม. เมษายน 2545.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. การศึกษาสภาวะและแนวโนมการจางงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. ธันวาคม 2539.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. การศึกษาสภาวะและแนวโนมการจางงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร. 2539.

สถาบันอาหาร. แผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ. กรกฎาคม 2545.

สถาบันอาหาร. เอกสารประกอบการสัมมนาพิจารณารางแผนแมบทอุตสาหกรรมอาหาร. 26 มิถุนายน 2545.

สถาบันอาหาร. รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ โครงการจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรมรายสาขา (สาขาอาหาร). กันยายน 2545.

สถาบันอาหาร. รายงานฉบับสมบูรณโครงการศึกษาเรื่องการดําเนินการตามกฎระเบียบการคาโลกใหมสําหรับ อุตสาหกรรมอาหารไทย. กันยายน 2543.

สถาบันอาหาร. รายงานวิจัยเรื่อง การศึกษาวิเคราะหกฎหมายอาหาร. 30 เมษายน 2541.

สมชาย ชาญณรงคกุล, ระบบกักกันพืช อาวุธสําคัญของการกีดกันทางการคา. หนังสือพิมพกสิกร. ปที่ 75 ฉบับที่ 6 (หนา 6-12). พฤศจิกายน-ธันวาคม 2545.

สุมาลัย ศรีกําไลทอง และปาริชาติ หลานชูไทย, ศักยภาพของอาหารพรอมบริโภคของไทยในตลาดตางประเทศ. วารสารเพื่อการวิจัยและการพัฒนา. ปที่ 17 ฉบับที่ 2 (หนา 37-40). เมษายา-มิถุนายน 2545.

สมาคมผูผลิตไกเพื่อสงออกไทย, สมาคมผูเล้ียงเปดเพื่อการคาและการสงออก, สมาคมผูเล้ียงไกพันธุ, สมาคมผูผลิตผูคา และสงออกไขไก และสมาคมผูผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการสงออก. สถิติสินคาปศุสัตว 2544. มกราคม 2544.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. รายไดประชาชาติของประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. 2544.

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. รายไดประชาชาติของประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. 2543.

สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน. สถิติประเภทกิจการที่เปดดําเนินการ มกราคม 2535 – ธันวาคม 2545.

สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 2 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. รายงานการศึกษาภาวะอุตสาหกรรมปลาทูนากระปอง. ตุลาคม 2545.

สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 2 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. รายงานภาวะอุตสาหกรรมแปรรูปสับปะรด. ตุลาคม 2545.

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมป 2545 และแนวโนมป 2546. มกราคม 2546.

อรสา ดิสถาพร, ผักไทยในรอบปและทิศทางอนาคต. เคหการเกษตร. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (หนา 75-80). มกราคม 2545.

Page 103: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

การพฒันาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย 393

อุดมพร สุพคุตร, GAP เกษตรดีที่เหมาะสมคืออะไร. หนังสือพิมพกสิกร. ปที่ 74 ฉบับที่ 6 (หนา 92-98). พฤศจิกายน-ธันวาคม 2544.

เอกสารในการสัมมนาเรื่อง โครงการศึกษาการประเมินประสิทธิภาพและขีดความสามารถของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ของไทยในภาคการผลิต, 16 สิงหาคม 2544 (เอกสารไมตีพิมพเผยแพร).

เอมอร คํานุช. โครงการวิจัยการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตเพื่อเพิ่มศักยภาพการแขงขันในอุตสาหกรรมอาหารของไทย. 2542

Asian Productivity Organization. Growth of the food processing industry in Asia and the Pacific (Report of an APO Symposium 28th September – 5th October 1993, Tokyo, Japan). 1995.

Canned Tuna. Available from: http://www.agrofoodasia.com. April, 2003.

Industrial Capacity Utilization. Available from: http://www.bot.or.th. April, 2003.

Institute for Management Education for Thailand Foundation. Competitiveness of Thailand’s Black Tiger Shrimp Industry. August 28, 2002.

Institute for Strategy and Competitiveness, Harvard Business School. Global Competitiveness Report 2002: Snapshot of Thailand’s Competitiveness. February 17, 2003.

International Trade Statistics, 2001. Available from: http://www.wto.org. April, 2003.

Manufacturer Directory. http://www.thaifoodmanufacturer.com. April, 2003.

National Food Institute. Dealing with the international food trade regulations and practices in Thai context. June, 2000.

Statistical Databases. Available from: http://www.fao.org. March-April, 2003.

Traill, B. and Pitts, E. Competitiveness in the food industry. Blackie Academic & Professional, New York. 1998.

World Economic Forum. The Global Competitiveness Report 2001-2002.

WS Atkins . Cost Structure of Major Thai Industries. October 2000.

Page 104: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Page 105: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

ภาคผนวก 1 มาตรการสําคัญตาง ๆ ที่ใชเปนขอกําหนดของอุตสาหกรรมอาหารระหวางประเทศ ในปจจุบันการคาระหวางประเทศทวีความซับซอนมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเปดเสรีทางการคาของประเทศ

ตางๆ แตในขณะเดียวกันประเทศเหลานั้นก็ตองการที่จะคงความไดเปรียบทางการคา หรือลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปดเสรีทางการคาแกผูประกอบธุรกิจภายในประเทศของตน ดังนั้นมาตรการตางๆ หลากหลายรูปแบบจึงถูกกําหนดขึ้นเพื่อเปนอุปสรรค (Barriers) ทางการคา

1. WTO (World Trade Organization) 2. Codex Alimentarius Commission (Codex) 3. Nation Standards 4. Other Barriers 5. Other Regulations

1.1 WTO (World Trade Organization)

WTO หรือ องคการการคาโลก จัดตั้งขึ้นหลังจากการเจรจาในรอบอุรุกวัยในวันที่ 1 มกราคม 2538

โดยมีสมาชิก 136 ประเทศ มีสํานักงานอยูที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด มีหนาที่ในการบริหารความตกลงพหุภาคีตางๆซึ่งครอบคลุมทั้งการคาบริการ การลงทุน และทรัพยสินทางปญญาเปนเวทีการเจรจาระหวางสมาชิกในเรื่องความสัมพันธทางการคาที่เกี่ยวของกับความตกลงฉบับตางๆ ตลอดจนการปฏิบัติตามผลของการเจรจา ประสานความเขาใจ วาดวยกระบวนการระงับขอพิพาทและกลไกทบทวนนโยบายการคา รวมมือกับกองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) และ ธนาคารโลก (IBRD) เพื่อวางนโยบายทางเศรษฐกิจที่สอดคลองกัน

ความตกลงภายใต WTO ที่สําคัญที่เกี่ยวกับการคาอาหารระหวางประเทศ ไดแก ความตกลงเรื่อง

การคาสินคาและการบริการ ความตกลงดังกลาวนี้มีสวนที่เกี่ยวกับกฎระเบียบในการสงออกและนําเขา ซึ่งมีผลกระทบตอการคาโดยเฉพาะการคาอาหารระหวางประเทศ ความตกลงในเรื่องที่เกี่ยวกับกฎระเบียบในการสงออกและนําเขาสินคา ไดแก ความตกลงพหุภาคีขององคการการคาโลก 6 ความตกลงคือ

1. ความตกลงวาดวยกฎเกี่ยวกับแหลงกําเนิดสินคา (Rules of Origin) 2. ความตกลงวาดวยการตรวจสอบกอนสงออก (Preshipment Inspection) 3. ความตกลงวาดวยการประเมินราคาเพื่อการศุลกากร (Valuation For Customs Purposes) 4. ความตกลงวาดวยวิธีดําเนินการออกใบอนุญาตนําเขา (Import Licensing Procedures) 5. ความตกลงวาดวยการใชบังคับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) 6. ความตกลงวาดวยอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา (TBT) • ความตกลงวาดวยกฎเกี่ยวกับแหลงกําเนิดสินคา (Rules of Origin)

เปนความตกลงที่กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับกฎแหลงกําเนิดสินคาเพื่อนํามาใชกับวัตถุดิบหรือสินคาสําเร็จรูปจากตางประเทศ โดยจะตองแสดงใบรับรองแหลงกําเนิดสินคา (Certificate of Origin) ในพิธีนําเขา สินคาที่ดานศุลกากร

Page 106: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

เพื่อสงเสริมใหระบบการคาโลกมีความเปนเสรีและขยายตัวยิ่งขึ้น การใชกฎแหงแหลงกําเนิดสินคาที่ชัดเจนและคาดหมายได จะชวยใหการหมุนเวียนของการคาระหวางประเทศดีขึ้น วัตถุประสงคของความ ตกลงนี้สามารถสรุปไดดังตอไปนี้

1. เพื่อใหมีกฎแหงแหลงกําเนิดสินคาที่จะไมเปนอุปสรรคตอการคาระหวางประเทศ

2. ประกันวากฎแหงแหลงกําเนิดสินคาจะไมลบลาง หรือทําใหเส่ือมเสียสิทธิตาง ๆ ของสมาชิกภายใตแกตต 1994

3. ประกันวาการเตรียมการและการใชกฎแหงแหลงกําเนิดสินคา จะเปนไปในลักษณะที่ไมลําเอียง แตโปรงใส สามารถคาดหมายลวงหนาได สอดคลองและเปนกลาง

4. จัดทํากฎแหงแหลงกําเนิดสินคาที่เปนเอกภาพและชัดเจน 5. มีกลไกและกระบวนการในการแกไขขอขัดแยงที่เกิดจากความตกลงนี้อยาง

รวดเร็ว มีประสิทธิผลและมีความเปนธรรม • ความตกลงวาดวยการตรวจสอบกอนสงออก

ความตกลงนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางกรอบในการตรวจสอบการสงออก เพื่อใหเกิดความโปรงใสทั้งในการดําเนินการตรวจสอบและกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการสงออก รวมทั้งเพื่อใหเกิดความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและยุติธรรมในการแกปญหาขอขัดแยงระหวางผูสงออกกับหนวยงานตรวจสอบ เพื่อสนับสนุนมาตรการที่จะกอใหเกิดการคาเสรีและการขยายตัวของการคาโลก ไมกระทบตอการตรวจกอนการสงออกที่จะทําใหลาชาในการสงออกหรือมีการปฏิบัติไมเทาเทียมกัน

สาระสําคัญหลักในความตกลงนีค้รอบคลุมหลักในเรื่องการไมเลือกปฏิบัติ สถานทีต่รวจสอบ

มาตรฐานความโปรงใส ความลับทางธุรกิจ และความขัดแยงทางผลประโยชน • ความตกลงวาดวยการประเมินราคาเพื่อศุลกากร

ในการเก็บอากรตามราคานั้น แตละประเทศมีวิธีประเมินราคาที่แตกตางกันไป จึงเป ็นอุปสรรคในการขยายตัวทางการคา ความตกลงนี้จึงเกิดขึ้นมาเพื่อสรางวิธีการประเมินราคาศุลกากรขึ้นมาเปนรูปแบบเดียวกันใหมีความแนนอน และสามารถคาดการณลวงหนาได

วัตถุประสงคของความตกลงนี้เพื่อสรางระบบการประเมินที่เปนธรรม มีความเปนเอกภาพ

และมีความเปนกลางเพื่อปองกันมิใหมีการประเมินราคาตามอําเภอใจ หรือตามที่สมมุติขึ้น โดยหลักการพื้นฐานใน การประเมินราคาทางศุลกากรนี้ควรจะตองเปนราคาซื้อขายใหมากที่สุด รวมทั้งควรยึดหลักความเรียบงาย มีความเสมอ ภาค สอดคลองกับวิธีปฏิบัติทางการคา และวิธีการประเมินราคานั้นควรจะใชเปนการทั่วไปโดยไมมีการแยกความแตกตางในเรื่องแหลงที่มาของสินคาแตอยางใด

Page 107: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

• ความตกลงวาดวยวิธีดําเนินการออกใบอนุญาตนําเขา การดําเนินการทางการคาระหวางประเทศอาจถูกกีดกันโดยการใชวิธีการดําเนินการออก

ใบอนุญาตที่ไมเหมาะสมได ความตกลงนี้จึงมีขึ้นเพื่อสรางความเรียบงาย และนํามาซึ่งความโปรงใสในการกําหนดวิธีการดําเนินการออกใบอนุญาตนําเขาเพื่อความเปนธรรม และความเทาเทียมกัน

• ความตกลงวาดวยสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช

ตามกฎระเบียบการคาระหวางประเทศ ภายใตความตกลงของแกตต (GATT) เมื่อป พ.ศ. 2491 ความตกลงระบุไววาประเทศภาคีสมาชิกสามารถออกมาตรการที่จําเปนเพื่อปกปองชีวิต หรือ สุขอนามยัของมนุษย สัตว และพืช ตราบเทาที่มาตรการนั้นไมเปนการเลือกปฏิบัติระหวางประเทศตางๆ และมาตรการนั้นมีการบังคับใชและไมเปนมาตรการแฝงที่ใชเพื่อการกีดกันทางการคา

ตอมาในการเจรจารอบโตเกียว พ.ศ. 2522 ไดมีการเจรจาเกี่ยวกับความตกลงวาดวย

อุปสรรคทางเทคนิคตอการคา (TBT) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับใชขอบังคับหรือกฎระเบียบเพื่อใหแนใจในเรื่องคุณภาพสินคาและการปกปองชีวิตหรือสุขภาพของคน สัตว พืช และส่ิงแวดลอมวาจะตองไมเปนการสรางอุปสรรคทางการคาโดยไมจําเปนและจากความสําคัญในเรื่องการปกปองชีวิตหรือสุขอนามัย การเจรจาในรอบอุรุกวัยเมื่อป พ.ศ. 2533 จึงมีความเห็นพองกันวาควรแยกเรื่องนี้ออกเปนความตกลงวาดวยการใชบังคับมาตรฐานอนามัยและสุขอนามัยพืชตางหาก ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2538

บทบัญญัติเกี่ยวกับสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) 1. สิทธิและหนาที่ของรัฐบาล: ภายใตบทบัญญัติของความตกลงระบุวา ประเทศภาคี

สมาชิกสามารถกําหนดขอจํากัดการคาระหวางประเทศไดตามความจําเปนเพื่อปองกันชีวิตมนุษย สัตว และพืชจากความเส่ียงตอเชื้อโรคตางๆที่อาจมีตออาหาร รวมถึงความเสี่ยงของเชื้ออาจจะกอใหเกิดโรค โดยมีพืช หรือสัตวเปนพาหะ หรือตวัผลิตภัณฑนั้นเองเปนพาหะหรือความเสี่ยงจากการใสส่ิงเจือปน การปนเปอน หรือวัตถุมีพิษในอาหาร โดยขอจํากัดหรือมาตรการเหลานี้จะตองตั้งอยูบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร การบังคับใชจะตองไมเลือกปฏิบัติและมีความเทาเทียมกัน

2. มาตรฐานระหวางประเทศ: ความตกลง SPS สนับสนุนใหรัฐบาลของแตละประเทศตั้งมาตรฐานใหสอดคลองกับมาตรฐานสากลเชน Codex, IOE, IPPC เปนตน โดยปกติแลวมาตรฐานสากลมันจะสูงกวามาตรฐานในประเทศของหลายๆประเทศ แตมีบางกรณีที่มาตรฐานในประเทศสูงกวามาตรฐานสากล ซึ่งมีผลใหกลายเปนขอจํากัดทางการคา ในกรณีเชนนี้คณะกรรมการ SPS จะรองขอใหประเทศนั้นๆแสดงหลักฐานทางวิทยาศาสตรเพื่อพิสูจนความเหมาะสม

3. มาตรฐานการยอมรับการเทียบเคียง: ระบุไววามาตรการการปองกันความเสี่ยงที่อยูในระดับเดียวกันควรไดรับการยอมรับใหมีการเทียบเคียงได

4. การปรับใหเขากับสถานการณ: เนื่องจากแตละประเทศมีความแตกตางกันในหลายๆดาน เชน สภาพทางภูมิศาสตร, ภูมิอากาศ การมีอยูของแมลงและเชื้อตางๆ เปนตน การกําหนดระดับการปองกันของ แตละประเทศซึ่งมีความเหมาะสมแตกตางกันได

5. การประเมินความเสี่ยง: การประเมินความเสี่ยงภายใตความตกลง SPS จะตองใชวิธีการที่เปนระบบ และใชเหตุผลทางวิทยาศาสตรใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได เพื่อปองกันการประเมินผลโดยอําเภอใจและจะตองเปนที่ยอมรับของประเทศคูคา

Page 108: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

6. ความโปรงใส: การที่ประเทศสมาชิกมีการกําหนดกฎระเบียบใหมที่เกี่ยวกับสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชขึ้นมา หรือมีการทบทวนกฎระเบียบเดิม ซึ่งอาจมีผลตอการคาระหวางประเทศ จะตองมีการจัดพิมพ เจตจํานงและแจงใหประเทศสมาชิกทราบลวงหนาในระยะเวลาอันสมควรกอนมีการบังคับใชและประเทศนั้นๆอาจถูกตรวจสอบกลับไดในเรื่องความเหมาะสมของกฎระเบียบนั้นๆ

7. ขบวนการควบคุมการตรวจสอบและอนุมัติ: ในกรณีที่ยังไมมีมาตรฐานหรือขอกําหนดแหงชาติในการกําหนดระดับชั้นสูงของการตกคางจากสารปรุงแตงอาหาร สารพิษ หรือสารปนเปอน ประเทศภาคีสมาชิกควรนํามาตรฐานสากลมาใชเปนขอกําหนด

8. การใหความชวยเหลือทางเทคนิคและขอบัญญัติอื่นของ SPS: บทบัญญัตินี้มีขึ้นเพื่อชวยเหลือประเทศภาคีที่เปนประเทศดอยพัฒนา และกําลังพัฒนา เพื่อขยายโอกาสในการเขาถึงตลาดโดยมีการขยายเวลาอยางจํากัดการปฏิบัติตามขอตกลงตาง ๆ ของ SPS เปนพิเศษ ซึ่งการเลื่อนระยะเวลานี้ทําตามที่รองขอ โดยพิจารณาถึงสถานภาพดานตาง ๆ ของประเทศนั้นๆ เปนสําคัญ

ในขอตกลง SPS นี้จะเห็นวามีการเนนหลักการสวนใหญใหอยูบนเหตุผลและหลัก

ฐานทางวิทยาศาสตรซึ่งเมื่อพิจารณาโดยคราวแลวมีความเปนธรรมและเหมาะสม แตในความเปนจริงประเทศดอยพัฒนาและกําลังพัฒนาหลายๆประเทศมีความเสียเปรียบในขอตกลงนี้เปนอยางมาก รวมถึงประเทศไทยดวย เนื่องจากการใชหลักฐานทางวิทยาศาสตรเกี่ยวกับอาหารสวนมากตองใชผลงานวิจัยมาสนับสนุน ซึ่งงานวิจัยสวนมากใชระยะเวลานาน บางชิ้นอาจนานถึง 10 ป จึงจะสามารถยืนยันผลได ดังนั้นการกําหนดมาตรฐานตางๆ ที่มากกวามาตรฐานสากลหรือการโตแยงการใชมาตรฐานที่สูงกวาสากลของประเทศอื่นๆ จึงไมสามารถทําไดโดยงาย ประเทศไทยจึงตกอยูในฐานะผูตามเทานั้นและ ไมสามารถดําเนินการเชิงรุกได ประเด็นเรื่องการสนับสนุนดานการคนควาวิจัยจึงเปนส่ิงจําเปนที่สําคัญยิ่งในการคาระหวางประเทศในอนาคต

• มาตรการวาดวยอุปสรรคทางเทคนิคตอการคา (TBT)

การที่แตละประเทศมีความแตกตางกันในเรื่องของขอบังคับทางเทคนิคและมาตรฐาน อุตสาหกรรม จึงทําใหเกิดความยุงยากในการนําเขาและสงออกสินคาระหวางประเทศตางๆ โดยเฉพาะการใชขอบังคับทางเทคนิคเพื่อการกีดกันทางการคา ความตกลงนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อใหขอบังคับทางเทคนิค มาตรฐาน และกระบวนการประเมินความสอดคลองไมเปนอุปสรรคตอการคาระหวางประเทศ โดยมุงที่จะสนับสนุนและพัฒนามาตรฐานระหวางประเทศและระบบการประเมินที่สอดคลองกัน เพื่อปองกันมิใหเกิดการใชมาตรการหรือขอกําหนดที่มีเจตนาแอบแฝงเพื่อการกีดกัน ทางการคา

นอกจากนี้ ความตกลงนี้ยังครอบคลุมถึงสิทธิ์ในการออกมาตรการหรือขอกําหนดใดๆ เพื่อ

การปกปองชีวิตหรือสุขอนามัยของมนุษย สัตว และพืชดวย โดยมาตรการเหลานี้จะตองไมเปนการใชตามอําเภอใจและเลือกปฏิบัติ ขอบเขตของขอตกลงครอบคลุมตั้งแตขอบังคับของสินคาอุตสาหกรรมถึงสินคาเกษตร

Page 109: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

เนื่องจากขอตกลง TBT และ SPS มีความคลายคลึงกัน จึงอาจแยกความแตกตางของสองมาตรการนี้ตามวัตถุประสงคไดดังนี้

มาตรการ SPS มาตราการ TBT

1. สารปรุงแตงอาหารในอาหารหรือเครื่องดื่ม 2. การปนเปอนในอาหารและเครื่องดื่ม 3. สารพิษในอาหารและเครื่องดื่ม 4. สารตกคางจากยาสําหรับสัตวและยาฆาแมลงใน

อาหาร 5. การออกใบรับรองความปลอดภัยของอาหาร/ใบ

รับรองสุขอนามัยของสัตวหรือพืช 6. วิธีการผลิตที่มีผลตอความปลอดภัยของอาหาร 7. ขอกําหนดการปดฉลากที่มีผลโดยตรงตอความ

ปลอดภัยของอาหาร 8. การตรวจสอบกักกันพืช/สัตว 9. ขอกําหนดในการประกาศเขตปลอดแมลงและ

โรค 10. กระบวนการปองกันและควบคุมหรือกําจัดการ

แพรขยายของโรคในประเทศ 11. ขอกําหนดทางสุขอนามัยสําหรับผลิตภัณฑนํา

เขา

1. การปดฉลากผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่ม 2. ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณภาพอาหารสด 3. ขอกําหนดเกี่ยวกับการบรรจุหีบหอสําหรับผลไม

สด 4. ขอกําหนดเกี่ยวกับขนาดและโครงสรางของ

บรรจุภัณฑ 5. การปดฉลากที่เกี่ยวกับสุขอนามัยในบรรจุภัณฑ

ที่ไมใชอาหาร

Page 110: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

1.2 Codex Alimentarius Commission (Codex) Codex หรือ คณะกรรมการอาหารระหวางประเทศ ถูกกอตั้งขึ้นเมื่อป ค.ศ. 1963 โดยองคกร FAO

(Food and Agriculture Organization) และ WHO (The United Nations World Health Organization) มีจุดประสงคเพื่อคุมครองสุขอนามัยของผูบริโภค และประกันการปฏิบัติที่เปนธรรมในการคาระหวางประเทศ และสงเสริมความรวมมือ ของหนวยงานที่เกี่ยวของกับมาตรฐานสินคาอาหารทั้งในภาครัฐและเอกชน

Codex มีหนาที่จัดตั้งมาตรฐานอาหารสากล โดยมีคณะกรรมาธิการกลางเปนผูประสานงานกับ

หนวยงานมาตรฐานสินคาในประเทศตางๆ ที่เปนสมาชิกของ FAO และ WHO เกณฑมาตรฐานสินคาของ Codex นั้นครอบคลุมเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้

1. สารเจือปนในอาหาร 2. สารปนเป ื้อนในอาหาร 3. สุขลักษณะ การแสดงน้ําหนัก และการเทียบวัดคาตางๆ 4. การปดฉลาก 5. วิธีการวิเคราะห และสุมเก็บตัวอยาง 6. รายละเอียด สวนประกอบ และปจจัยคุณภาพที่สําคัญ

รายละเอียดของเกณฑดังกลาวจะคลายคลึงกับมาตรฐาน มอก. ที่ประเทศไทยใชอยูในปจจุบัน ประเทศที่เปนสมาชิกของ Codex สามารถเสนอเกณฑมาตรฐานใดๆ ก็ไดในขอบขายดังกลาว เพื่อกําหนดเปนมาตรฐานใน Codex โดยจะตองผานการพิจารณาของคณะกรรมาธิการของ Codex ตัวอยางมาตรฐานที่สําคัญ ไดแก ระบบ HACCP (The Hazard Analysis Critical Control Point System) และ ระบบ GMP (Good Manufacturing Practice) ซึ่งเปน มาตรฐานที่พบไดใน Codex

ในปจจุบันเกณฑมาตรฐานอาหารของไทยสวนใหญ จะอิงตามเกณฑของ Codex เปนหลัก และเปน

เชนนี้ในอีกหลายประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา แคนาดา สหภาพยุโรป เปนตน แตเนื่องจากหลักเกณฑใน Codex มาจากมาตรฐานของหลากหลายประเทศถึงทําใหเกณฑดังกลาวมีลักษณะเปนมาตรฐานกลาง ดังนั้น แตละประเทศจึงเลือกใชเกณฑดังกลาวตามความเหมาะสมของประเทศตนเอง กลาวคือ เกณฑมาตรฐานของสินคาบางประเภทอาจตองสูงกวาหรือต่ํากวาเกณฑมาตรฐานของ Codex แมวาจะมีการกําหนดไววา จะตองมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร เพื่อยืนยันการกําหนดมาตรฐานที่แตกตาง แตในทางปฏิบัติยังคงมีการกําหนดเกณฑมาตรฐานที่แตกตาง โดยใชหลักฐานทางวิทยาศาสตร ที่คลุมเครือเพื่อการกีดกันทางการคา จึงเปนเรื่องที่ทางประเทศไทยควรติดตามตอไป

• ระบบ HACCP

HACCP ยอมาจาก “Hazard Analysis and Critical Control Point” หรือ “ระบบวิเคราะหและควบคุมจุดวิกฤติอันตราย” ระบบนี้เริ่มใชครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาโดยใชเปนระบบตรวจสอบความปลอดภัยของอาหารของนักบินอวกาศ ในปจจุบันระบบนี้ไดรับการยอมรับจากนานาประเทศถึงประสิทธิภาพ การประกันความปลอดภัยของผลิตภัณฑอาหาร เนื่องจากระบบ HACCP เนนการควบคุมขั้นตอนการผลิต ณ จุดอันตราย ตลอดกระบวนการผลิต

Page 111: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

ดังนั้น จึงมีความปลอดภัยกวาการตรวจสอบแบบดั้งเดิม ซึ่งใชการสุมตัวอยางผลิตภัณฑ ณ ขั้นสุดทาย (ผลิตภัณฑ สําเร็จรูป) และมีความจํากัดในเรื่องจํานวนการสุม นอกจากนี้ระบบ HACCP ยังถูกกําหนดเปนมาตรฐานหนึ่งใน Codex อีกดวย ระบบนี้จึงมีความสําคัญอยางยิ่งในเวทีการคาโลก

HACCP คือ อะไร? HACCP คือ ระบบวิเคราะหอันตราย และจุดวิกฤติที่ตองควบคุมใชเปนเครื่องมือในการระบุ,

ประเมิน และควบคุมอันตราย ที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการผลิต โดยระบบ HACCP นี้มีหลักการที่สําคัญ 7 ประการ คือ 1. การวิเคราะหจุดอันตราย 2. คนหาจุดวิกฤติ 3. กําหนดมาตรฐาน หรือ ขอบเขตของจุดวิกฤติแตละจุด 4. กําหนดขั้นตอนในการเฝาติดตาม และประเมินผลของจุดควบคุม 5. กําหนดวิธีการแกไข เมื่อการประเมินผลพบวาไมเปนไปตามจุดวิกฤติ 6. กําหนดขั้นตอนการตรวจสอบ การทํางานของระบบ เพื่อใหม่ันใจวาระบบทํางาน

ไดถูกตอง 7. กําหนดขั้นตอนการเก็บเอกสารอยางมีประสิทธิภาพของระบบ HACCP

ประโยชนของระบบ HACCP

1. สรางความมั่นใจตอความปลอดภัยของผลิตภัณฑอาหาร 2. เปนเครื่องมือที่ชวยในการปองกัน ควบคุม และติดตามอันตรายที่อาจเกิดขึ้น

ในกระบวนการผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. ลดจํานวนตัวอยางที่ตองสุมตรวจ โดยวิธีแบบดั้งเดิม 4. ลดการส ูญเสียของผลิตภัณฑ 5. อํานวยความสะดวกในการดําเนินการคาระหวางประเทศ

สถานการณปจจุบันในประเทศไทย แมวาระบบ HACCP จะทวีความสําคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ในเวทีการคาโลก แตในประเทศไทย

มีโรงงานเพียงประมาณ 300 โรงงาน (มกราคม , 2546) เทานั้นที่รับการรับรองระบบ HACCP หรือเพียงประมาณรอยละ 2.55 ของจํานวนโรงงานที่ผลิตผลิตภัณฑประเภทอาหาร และเนื่องจากการรับรองระบบ HACCP ตองใชระยะเวลาดําเนินการ, ความรูความเขาใจของผูเกี่ยวของในการดําเนินการ และเงินทุนในการดําเนินการ จึงทําใหจํานวนผูไดรับการรับรองยังคงมีไมมาก และคงเพิ่มขึ้นไดไมมากในระยะเวลาอันใกลนี้ โดยเฉพาะในระดับโรงงานขนาดเล็ก เนื่องจากความจํากัดในเรื่องทุนและความรู (ในปจจุบันมีโรงงานเกี่ยวกับอาหารในประเทศไทยทั้งส้ิน จํานวนโดยประมาณ 11,747 โรง โดยเปน โรงงานขนาดใหญรอยละ 1 ขนาดกลางรอยละ 13 และขนาดเล็กรอยละ 86)

Page 112: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

• ระบบ GMP GMP ยอมาจาก “Good Manufacturing Practice” หรือ หลักการปฏิบัติที่ดีในกระบวนการ

ผลิต ซึ่งประกาศใชเปนครั้งแรกโดยประเทศสหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ. 1963 เนื่องจากการขยายของอุตสาหกรรมดานผลิตภัณฑอาหาร ระบบ GMP ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนมาตรฐานในการผลิตอาหารใหไดคุณภาพที่ดี และสามารถเขาใจ และปรับใชไดงายกับอุตสาหกรรมอาหารหลากหลายรูปแบบ หลักการพื้นฐานของ GMP นั้น มีเรื่องการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑเปนหัวใจใหญ ซึ่งแนวความคิดเรื่องการประกันคุณภาพนี้ อาจแบงไดเปน 3 หลักการ คือ

1. คุณภาพ ความปลอดภัย และความมีประสิทธิภาพในการทํางาน ตองถูกกําหนดและสรางขึ้น ในการผลิตผลิตภัณฑ

2. คุณภาพของผลิตภัณฑไมสามารถถูกตรวจสอบ หรือทดสอบได โดยการพิจารณาแคผลิตภัณฑขั้นสุดทายเทานั้น

3. แตละขั้นตอนในกระบวนการผลิต ตองถูกตรวจสอบและควบคุม ใหเหมือนกับ ณ ขั้นตอนนั้นจะเปนผลิตภัณฑขั้นสุดทาย

กฎขอบังคับของ GMP บังคับใหผูผลิตและผูที่เกี่ยวของในกระบวนการผลิต ตองมีขั้นตอน

และมาตรการลวงหนาในการดําเนินงาน เพื่อประกันวาผลิตภัณฑของตนมีความปลอดภัย และอยางที่กลาวไวขางตน ระบบ GMP นั้น ไมไดมีขอบังคับตายตัว แตเปนหลักการ ดังนั้น แตละโรงงานจึงตองพิจารณาปรับใชระบบ GMP ให เหมาะสมกับสภาพภายในโรงงาน และผลิตภัณฑของตนเอง นอกจากนี้แลวระบบ GMP ยังเปนพื้นฐานของระบบ HACCP อีกดวย ผูที่จะไดรับการรับรองระบบ HACCP จะตองเริ่มจากระบบ GMP กอน แลวจึงคอยพัฒนาเปนระบบ HACCP

ขอบขายของระบบ GMP กฎขอบังคับของระบบ GMP มีขอบขาย ดังตอไปนี้

1. การเก็บบันทึก 2. การระบุคุณสมบัติบุคลากร 3. สุขอนามัย 4. ความสะอาด 5. การตรวจสอบความถูกตอง สมบูรณของอุปกรณ 6. การตรวจสอบความถูกตองของกระบวนการผลิต 7. ขั้นตอนในการจัดการเมื่อไดรับแจงความผิดปรกติของผลิตภัณฑ

1.3 National Standards ไดแกมาตรฐานและกฎหมายของประเทศตาง ๆ ที่ประกาศใชในประเทศของตน เนื่องจากมาตรฐาน

และกฎหมายเหลานี้แตกตางกันตามแตละประเทศ จึงขอยกตัวอยางของประเทศคูคาที่สําคัญ ดังตอไปนี้

Page 113: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

• สหรัฐอเมริกา ใชพระราชบัญญัติวาดวยอาหาร ยา และเครื่องสําอาง ค.ศ. 1938 (Federal Food , drug and

Cosmetic Act (FDCA)) เปนกฎหมายหลักในการควบคุม เพื่อใหความมั่นใจตอผูบริโภควาอาหารนั้นๆ บริสุทธิ์และ มีประโยชนตอสุขภาพ ปลอดภัยในการบริโภค และผลิตขึ้นภายใตเงื่อนไขที่ถูกสุขอนามัย ขอความที่ระบุในฉลาก และ หีบหอถูกตองตามความจริง ใหขอมูลที่เปนประโยชน และไมหลอกลวง

สาระสําคัญของกฎหมายฉบับนี้ หามมิใหกระทําการดังตอไปนี ้นําเขาเพื่อมาจําหนายในสหรัฐอเมริกา ซึ่งผลิตภัณฑที่ปลอมปน หรือไมมีเครื่องหมายการคา

อาหารที่มีการปลอมปน หมายถึง ผลิตภัณฑนั้นมีขอบกพรอง ไมปลอดภัยหรือสกปรก ผลิตจากสัตวที่มีเชื้อโรค หรือการผลิตที่ไมเปนไปตามเงื่อนไขที่ถูกสุขอนามัย ปดเครื่องหมายการคาไมตรงความจริง รวมถึงการปดเครื่องหมาย หรือรูปภาพ หรือฉลากที่มีขอความที่ไมถูกตอง กอใหเกิดความเขาใจผิด และจงใจไมใหขอมูล ตามที่กําหนดไวในกฎหมาย

วัตถุประสงคหลักของพระราชบัญญัติวาดวยอาหาร ยา และเครื่องสําอาง มี 2 ประการคือ

– เพื่อปองกันสุขอนามัยของผูบริโภค และสงเสริมสาธารณสุขของประชาชน – เพื่อคุมครองผลประโยชนทางเศรษฐกิจของผูบริโภค และใหหลักประกันการปฏิบัติทาง

การคาดวยความเปนธรรม โดยปองกันมิใหผูบริโภคถูกหลอกลวง เนื่องจากความเขาใจผิด ในขอความของฉลาก

เนื้อหาของพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ครอบคลุมเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้

1. การทดลองกอนวางตลาด และการอนุมัติ สํานักงานอาหารและยาไดกําหนดประเภทและขอบเขตการทดสอบกอนวางตลาดเอาไว การที่จะตองทดสอบหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับขอกําหนดของกฎหมายที่บังคับใชกับผลิตภัณฑเฉพาะ

2. การนําเขา ผลิตภัณฑที่นําเขาจะตองไดเกณฑมาตรฐานตามขอกําหนด และเพื่อบังคับใหเปนไปตามกฎหมาย FCDA จึงไดออกกฎระเบียบของ FDA ดังตอไปนี้

– ขอบัญญัติการปฏิบัติที่ดีทางการปฏิบัติ (GMP) – ขอบัญญัติของระดับความสกปรก เชน การกําหนดรายการของระดับสารตกคาง

ระดับสูง (MRL) 3. รายชื่อสารปรุงแตงอาหารที่ไดรับการอนุมัติ เนื้อหาสวนนี้ยังระบุถึงปริมาณการใชของสาร

แตละตัวดวย 4. วิธีวิเคราะห 5. ขอกําหนดการติดฉลาก 6. มาตรฐานอาหาร

Page 114: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

เพื่อสนับสนุนใหการปฏิบัติทางการคาเปนไปดวยความเปนธรรม จึงตองมีมาตรฐานอาหารเพื่อใชเปรียบเทียบ โดยบทบัญญัติของ FDCA ไดกําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับอาหารทุกประเภท ภายใตชื่อสามัญ หรือชื่อปกติของผลิตภัณฑนั้นๆ มาตรฐานที่กําหนดนี้ เปนมาตรฐานขั้นต่ําที่ผูผลิตจะตองทําใหได

นอกจากนี้แลวสหรัฐอเมริกายังมีกฎหมายที่เกี่ยวของกับอาหารอื่นบางฉบับและพระราชบัญญัติ

แกไขที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ 1. กฎหมายวาดวยบรรจุหีบหอ และการปดฉลากดวยความเปนธรรม 2. กฎหมายวาดวยการปดฉลากแสดงคุณคาอาหาร และการศึกษา ค.ศ. 1990 3. กฎหมายวาดวยการนําเขานมของรัฐบาลกลาง 4. ขอกําหนดการนําเขาตนไมและพืช 5. ขอกําหนดการนําเขาเนื้อสัตว 6. การควบคุมสุขอนามัยสัตว

นอกเหนือจากกฎระเบียบดังกลาวขางตนแลว สหรัฐอเมริกายังมีขอกําหนดพิเศษเกี่ยวกับผูที่

ตองการนําเขาอาหารกระปอง ไดแก ขอกําหนดเรื่องอาหารกระปองกรดต่ํา (Low-Acid Canned Food (LCF) โดยผลิตภัณฑที่มีลักษณะเขาขายคุณสมบัติดังตอไปนี้

1. มีคา pH มากกวา 4.6 และมีปริมาณน้ําอิสระ (Water Activity) มากกวา 0.85 2. บรรจุในภาชนะปดสนิท ( Hermetical Sealed) 3. ใชกระบวนการพาสเจอไรสในการถนอมอาหาร

ผลิตภัณฑเหลานี้จะตองขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับใบอนุญาตการนําเขาอาหารที่มีกรดต่ํา เพื่อเฝาระวังเชื้อโรคบางชนิดที่ไมสามารถกําจัดไดโดยการใชความรอนในการถนอมอาหาร

• สหภาพยุโรป (European Communities) สหภาพยุโรปประกอบไปดวยสมาชิกรวม 15 ประเทศ คือ ฝร่ังเศส เยอรมนี อิตาลี เนเธอรแลนด

เบลเยี่ยม ลักแซมเบอรก ไอรแลนด เดนมารค สหราชอาณาจักร สเปน โปรตุเกส กรีซ ออสเตรีย สวีเดน และฟนแลนด ไดกอตั้งขึ้นเปนสหภาพศุลกากรในเริ่มแรก ตอมาจึงรวมตัวกันเปนตลาดเดียว ดังนั้นกฎหมายวาดวยอาหารของกลุมประเทศในสหภาพยุโรปจึงซับซอน เนื่องจากแตละประเทศสมาชิกก็มีกฎหมายของตนเอง หลักการทั่วไปวาดวยกฎหมายเกี่ยวกับอาหารของสหภาพยุโรปนั้น ระบุไววาประเทศสมาชิกสามารถที่จะใชมาตราฉุกเฉินในการปกปองสุขอนามัยของประชาชนในประเทศได ซึ่งมาตรการนั้นอาจเครงครัดกวาบทบังคับของสหภาพยุโรปก็ได นอกจากนี้ผลิตภัณฑใดๆเมื่อสามารถผานเขาประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรปที่ใดที่หนึ่งไดแลวหลักการผลิตภัณฑนั้นๆ แลว สามารถเคลื่อนยายไปประเทศใดๆ ในสหภาพยุโรปได และหากเกิดกรณีที่บทบัญญัติของประเทศสมาชิกขัดแยงกับบทบัญญัติของกฎหมายของสหภาพยุโรปใหถือบทบัญญัติของสหภาพยุโรปเปนสําคัญ

เดิมทีสาระสําคัญของกฎหมายวาดวยอาหารเปนเรื่องที่ประเทศสมาชิกแตละประเทศเปนผูกําหนด

แตหลังจากเกิดวิกฤตการณดานอาหารหลายเหตุการณในสหภาพยุโรป เชน โรควัวบา สาร Dioxin เปนตน ความเชื่อม่ันของผูบริโภคไดเส่ือมคลายลงอยางมาก จึงเกิดแรงผลักดันอยางสูงของผูบริโภคในสหภาพยุโรปใหดําเนินการเรื่องความ

Page 115: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

ปลอดภัยดานอาหาร “สมุดปกขาวสําหรับความปลอดภัยของอาหาร (White Paper on Food Safety)” จึงถูกจัดทําขึ้นและไดรับการอนุมัติเมื่อ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 เพื่อฟนฟูความเชื่อม่ันของผูบริโภค ปรับเปล่ียนไดรวดเร็ว และมีความเปนเอกภาพเพื่อใหม่ันใจวาอาหารจะมีความปลอดภัยสูงและปกปองผูบริโภคได ในปจจุบันกําลังมีการผลักดันรางนโยบายดังกลาวออกมาเปนกฎหมายมาตรการสําคัญที่รวมอยูในรางนโยบายสมุดปกขาวไดแก มาตรการสืบแหลงที่มาในวงจรผลิตอาหาร (Traceability) มาตรการดานสวัสดิภาพสัตว (Animal Welfare) และมาตรการปองกันภัยลวงหนา (Precautionary)

ภารกิจหลักที่สหภาพยุโรปพยายามผลักดันใหเกิดขึ้นภายใตสมุดปกขาวมีดวยกัน 5 ประการ คือ

1. ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยของอาหารใหม เพื่อฟนฟูความเชื่อม่ันของผูบริโภคโดยผลักดันนโยบายความปลอดภัยแบบ “จากฟารมสูโตะ” (From Farm to Table) ขึ้นเปนภารกิจแรกที่จะตองเรงดําเนินการ

2. จัดตั้งหนวยงานที่มีอํานาจดูแลความปลอดภัยของอาหารในสหภาพยุโรป European Food Safety Authority (EFSA) ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในเรื่องการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) และการสื่อสารใหขอมูลดานความเสี่ยงของอาหารแกผูบริโภค (Risk Communication) เพื่อใหเกิดความเชื่อม่ันวาการปรับปรุงและจัดทํากฎระเบียบดานอาหารขึ้นมาใหมนั้นอางอิงอยูบนพื้นฐานของหลักการทางวิทยาศาสตร และสอดคลองกับมาตรฐานอาหารระหวางประเทศ

3. ปรับปรุงการควบคุมความปลอดภัยทางดานอาหารใหเขมงวดมากขึ้นโดยพัฒนขอบขายของการพัฒนาและดําเนินงานดานระบบควบคุมความปลอดภัยดานอาหารระดับประเทศ พัฒนาขั้นตอนการปฏิบัติตางๆ ที่จะบังคับใชใหสามารถนําไปใชไดอยางรวดเร็ว ขยายขอบเขตการควบคุมใหครอบคลุมตั้งแตพรมแดนนําเขา และเพิ่มความรวมมือระหวางหนวยงานตรวจสินคาแตละแหง

4. ส่ือสารและใหขอมูลดานความเสี่ยงตอสุขภาพของผูบริโภคอยางถูกตอง และทันตอ เหตุการณโดยหนวยงาน EFSA

5. นําเสนอและอธิบายรายละเอียดของขอปฏิบัติ ขอกําหนด และกฎระเบียบตางๆ ภายใตสมุดปกขาวแกประเทศคูคา

มาตรการภายใตสมุดปกขาวที่สําคัญ ไดแก 1. ระบบการตรวจยอน หรือการสืบแหลงที่มา (Traceability)

ระบบนี้หมายถึงความสามารถในการตรวจยอน และติดตามอาหารมนุษย อาหารสัตว สัตวที่นํามาผลิตเปนอาหารมนุษย หรือสารที่จะนํามารวมในอาหารมนุษยหรืออาหารสัตวตลอดทุกขั้นตอนการผลิต การแปรรูปและการจัดจําหนาย หรือใหสามารถตรวจยอนกลับตัวผลิตภัณฑนั้นอาจมีความเสี่ยงตอสุขอนามัยของมนุษย พืช และสัตวได เพื่อเอื้อตอการเก็บขอมูลที่จําเปนสําหรับการศึกษาผลกระทบตอมนุษยในระยะยาวและเพื่อใหสามารถพิสูจนลักษณะและขอความที่กลาวอางในตัวสินคาได

Page 116: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

2. ระบบเตือนภัยเรงดวน (Rapid Alert System) ระบบนี้เปนระบบขอมูลขาวสารเกี่ยวกับอาหารมนุษยและอาหารสัตวที่มีความเสี่ยงสูงที่มี

เครือขายเชื่อมโยงทุกประเทศภายในสหภาพยุโรป มีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดการปองกันการกระจายอาหารที่มีความเสี่ยงตอผูบริโภคดําเนินงานโดย EFSA เปนหนวยงานกลาง

3. หลักการปองกันลวงหนา (Precautionary Principle) เปนเครื่องมือสําคัญที่นํามาใชเพื่อการบริหารจัดการความเสี่ยง ตามหลักการแลวหลักการนี้

จะนํามาใชเมื่อเกิดกรณีที่มีความเสี่ยงตอสุขภาพอนามัยมนุษย และขอมูล หลักฐานทางวิทยาศาสตรที่มีอยูไมเพียงพอหรือคลุมเครือไมชัดเจนและการประเมินผลในเบื้องตนมีเหตุที่เชื่อไดวาอาจมีความเสี่ยงเกิดขึ้นได

ในมาตรการทั้งหมดของนโยบายสมุดปกขาว นับวามาตรการหลักการปองกันลวงหนานับ

วามีความไมโปรงใสมากที่สุด เนื่องจากหลักการนี้ไดใหอํานาจในการขึ้นบัญชีผลิตภัณฑที่มีความเสี่ยงได โดยขาดหลักฐานทางวิทยาศาสตรมารับรอง แมวามาตรการนี้จะเปนเพียงแคมาตรการชั่วคราวแตการพิจารณาชวงเวลายังไมมีหลักเกณฑที่แนนอนจึงเปนประเด็นที่ไทยควรติดตามเพื่อหามาตรการปองกันและแกไขตอไป

• ญี่ปุน (Japan)

ประเทศญี่ปุนมีกฎหมายที่สําคัญเกี่ยวกับความปลอดภัยดานอาหารอยูสามฉบับไดแก 1. กฎหมายสุขอนามัยอาหาร (Food Sanitation Law) 2. กฎหมายกักกันพืชและสัตว (Quarantine Law) 3. มาตรฐานการเกษตรกรรมญี่ปุน (JAS Standard) กฎหมายที่เกี่ยวกับมาตรฐานและการติด

ฉลากใหถูกตองของผลิตภัณฑเกษตร ปาไมและสัตวน้ํา กฎหมายสุขอนามัยอาหาร (Food Sanitation Law) กฎหมายสุขอนามัยอาหารไดกําหนดมาตรฐานไวสําหรับอาหาร สารปรุงแตง เครื่องมือและการ

หีบหออาหารที่นําเขาตองเปนไปตามขอกําหนดของกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการของญี่ปุนภายใตกฎหมายสุขอนามัยหามการผลิต หามนําเขา หรือหามจําหนายสินคาดังตอไปนี้

1. อาหารที่ไมถูกสุขอนามัย และอาหารที่ใสสารปรุงแตง เชน อาหารที่ประกอบดวยของที่เส่ือมคุณภาพ เนาเปอย สารมีพิษหรือสารอันตราย

2. อาหารที่ปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมาใหม ซึ่งยังไมไดมีการปรับใหเขากับมาตรฐาน อุตสาหกรรมหรือการถนอมอาหาร หรือมีสวนประกอบหรือสวนผสมของอาหารที่ตองหามของกระทรวงสาธารณสุขและ สวัสดิการที่กําหนดขึ้น

3. อุปกรณ เครื่องมือเครื่องใช หรือหีบหอที่ใชบรรจุอาหารมีพิษ หรือวัตถุที่เปนอันตราย หรือหีบหอที่ไมเปนไปตามขอกําหนดและมาตรฐาน

Page 117: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

สาระสําคัญของกฎหมายฉบับนี้ ประกอบไปดวยขอกําหนด 3 ขอไดแก – ขอกําหนดการปดฉลาก: การปดฉลากสินคาและผลิตภัณฑอาหารจะตองมีราย

ละเอียดเปนภาษาญี่ปุน ซึ่งใหตรวจสอบสินคาไดมาตรฐานและเปนไปตามที่กําหนดหรือไม ซึ่งไดแก ชื่อผลิตภัณฑ ชื่อประเทศผูผลิต ชื่อบริษัทผูนําเขา เครื่องปรุงลําดับตามสัดสวนจากมากไปนอย สารปรุงแตงอาหารลําดับตามน้ําหนักจากมากไปนอย น้ําหนักสุทธิและความทนทานของหีบหอที่กําหนดโดยกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการ กําหนดวันบริโภคและวันหมดอายุ วิธีใช และวิธีเก็บรักษา

– กฎระเบียบวาดวยการปรุงแตงอาหาร: กระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการเขมงวดในการใชสารปรุงแตงทั้งผลิตภัณฑที่อยูในรายชื่อและที่ไมไดอยูในรายชื่อ รายชื่อของสารปรุงแตงจะตองมี สเปคและ มาตรฐานสําหรับอาหาร สารปรุงแตงอาหารของ JETRO ภายใตกฎหมายสุขอนามัยอาหาร 1999 สารกันบูดบางชนิดที่ไดรับการอนุมัติใหใชไดเปนการเฉพาะกับบางผลิตภัณฑจะไมสามารถใชกับผลิตภัณฑอื่นได จะกระทาํไดก็ตอเมื่อไดรับการอนุมัติจากกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการ โดยดูจากการบริโภคสารนั้นโดยเฉลี่ยของคนญี่ปุนตอวันและการยื่นขออนุมัติ

– ขอหามเรื่องยาฆาแมลงและสารปนเปอน: มีการกําหนดคาของระดับสารตกคาง (MRL) ในแตละรายการอาหาร สารปนเปอนอื่นๆ และสารพิษตกที่ควบคุม คือ กาซพิษไรสี (Cyanogens) เนยจากถั่วเหลือง ถั่วขาวตางๆ Saltani Bean ฯลฯ เพรานอลในสุรากล่ันและไวน Gossypol ในเมล็ดฝายที่นําไปสกัดน้ํามัน Salmonella ในเนื้อสัตวที่ใชบริโภคดิบ, Trichina in game birds, อาหารเนาเสียทุกชนิด, Oxolinic acidloxy-tetracyle line in Frozen Shrimp

กฎหมายกักกันพืชและสัตว มีจุดประสงคเพื่อปองกันสารกอโรคในมนุษยที่นําไปสูการติดเชื้ออื่นๆ โรคระบาดที่จําตองผานการ

ตรวจกักกันรวมถึง Ebola virus, Hemorrhagic fever, Crimean-Congolese Hemorrhagic fever, Plague (Black Death), Marburg disease, Lassa fever, Cholera and Yellow fever นอกจากจะมีการตรวจสอบกักกันโรคเฉพาะบุคคลที่เขาประเทศแลวยังมีการตรวจสอบผลิตภัณฑสัตวน้ําจากบางประเทศดวย ซึ่งมีการระบุรายชื่อประเทศไวตามรายชื่อของเชื้อโรคที่ตองตรวจสอบ กฎหมายกักกันพืชและสัตว ประกอบดวยกฎหมาย 2 ฉบับ คือ

1. กฎหมายควบคุมโรคสัตวติดเชื้อในประเทศ เปนสาขาพิเศษของกฎหมายกักกันพืชและสัตวซึ่งดูแลและปองกันสุขภาพของสัตว โดยการ

ควบคุมดูแลของสํานักงานสุขอนามัยสัตวระหวางประเทศของญี่ปุน, กองสุขอนามัยสัตว, สํานักงานอุตสาหกรรมปศุสัตว, กระทรวงเกษตร ปาไม และการประมง การกําหนดรายการกักกันพืชและสัตว รวมถึง

– สัตวที่มีกีบที่เทา รวมถึง มา ไก ไกงวง นกกระทา หาน สุนัข กระตาย และผ้ึง – ไขไก ไขเปด ไขไกงวง ไขนกกระทา ไขหาน – กระดูกตางๆ ไขมัน เลือด ผม หนัง เขาสัตว กีบเทาสัตว เอ็น เครื่องในสัตว – นมสด เชื้ออสุจิ (semen) ไขที่ฟกตัว เลือดกอน (Blood meal) ผงของกีบเทา

และเขาสัตว เครื่องในสัตวปน – ผงเนื้อปน เนื้อ กระดูกปน เลือดปน – ไสกรอก แฮม และเบคอน – ผลิตภัณฑตางๆภายใตการหามนําเขาแตไดนําเขาญี่ปุนโดยการอนุมัติจาก

กระทรวงฯ เพื่อทดลองและวิจัย และเพื่อวัตถุประสงคอื่น

Page 118: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

2. กฏหมายปองกันพืช มีขึ้นเพื่อกําจัดทั้งจุลชีพและศัตรูพืชที่เปนอันตรายตอพืชตางๆเพื่อปองกันการแพรกระจายและ

สงเสริมความปลอดภัยและการพัฒนาผลิตผลทางการเกษตร ผลิตภัณฑจากพืชที่นําเขาแบงได 3 ประเภท ดังนี้ – พืชผักที่มีแมลงและดินติดอยูจากพื้นที่ที่เปนที่ราบ – พืชผักที่กําหนดใหตรวจสอบเมื่อนําเขา ที่ตองผานการตรวจสอบคือ ตนไมออน

ตนไมสําหรับตกแตง, ดอกไมตัด, หัวสวนที่อยูใตดิน, เมล็ดผลไม, เมล็ดผัก, เมล็ดขาว, เมล็ดพืชผักจําพวกถั่ว, ไม, เครื่องปรุงอาหารดิบสําหรับทําอาหารเผ็ด, เครื่องปรุงดิบสําหรับยาจีน

– พืชผักที่ไมตองผานการตรวจสอบ คือ ผลิตภัณฑจากพืชที่ผานการแปรรูปแลว เชน ชาแปรรูป

มาตรฐานการเกษตรของญี่ปุน (JAS) กฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานและการติดฉลากใหถูกตองของผลิตภัณฑเกษตร ปาไม และสัตวน้ํา

JAS ยอมาจาก “Japanese Agricultural Standard” ระบบ JAS ถูกสรางขึ้นโดยคํานึงถึงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการปดฉลากที่ไดมาตรฐานและเหมาะสมของผลิตภัณฑที่ไดจากเกษตรและปาไม เพื่อสงเสริมการปรับปรุงคุณภาพ, การคาที่เปนธรรม และการใชทรัพยากรการเกษตรและปาไมอยางมีเหตุผล และเพื่อทําใหผูบริโภคสามารถเลือกบริโภคสินคาไดอยางถูกตองและมั่นใจ โดยการติดฉลากที่ถูกตองและเหมาะสมบนผลิตภัณฑ โดยระบบนี้เปนระบบที่ใชโดยสมัครใจ

1.4 Other Barriers

ในปจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกานับวาเปนผูนําดานการสงออกสินคาเกษตรของโลก ดังนั้น การที่

สหรัฐอเมริกาประกาศใชกฎหมายอุดหนุนภาคการเกษตรภายในประเทศ หรือ The Farm Security and Rural Investment Act of 2002 หรือ Farm Bill 2002 จึงมีผลกระทบโดยตรงกับประเทศไทยซึ่งเปนผูสงออกสินคาดานการเกษตรอันดับตนๆของโลกเชนกัน การอุดหนุนภาคการเกษตรของสหรัฐอเมริกาจะทําใหเกษตรกรสามารถขายผลผลิตของตนไดในราคาที่ ต่ํากวาความเปนจริง เมื่อสินคาเกษตรเหลานี้ถูกระบายสูตลาดโลกก็จะเกิดการบิดเบือนทางการคา ทําใหราคาของผูผลิตจากที่อื่นๆ ตองลดต่ําลงดวย

ตามขอตกลงวาดวยการเกษตรภายใต WTO (World Trade Organization) ซึ่งหลายประเทศทั่วโลก

ไดพยายามเจรจาตอรองกันเรื่อยมา ไดขอสรุปในเรื่องความตกลงวาดวยการเกษตร (Agreement on Agriculture) วาทุกประเทศสมาชิกจะตองลดภาษีศุลกากร ยกเลิกมาตรการที่มิใชภาษี ลดการอุดหนุนภายในและลดการอุดหนุนการสงออก แตกอนที่วาระการประชุมการเจรจาการคาโลกรอบใหมเรื่องการเกษตรจะมาถึงสหภาพยุโรปก็ประกาศ Agenda 2000 ซึ่งมีสาระสําคัญหนึ่งคือ นโยบายรวมทางการเกษตร (Common Agriculture Policy–CAP) ที่เสนอใหเปล่ียนกลไก การสนับสนุนดานการเกษตรจากการสนับสนุนดานราคา (Price Support) เปนการสนับสนุนโดยตรง (Direct Payment) รวมทั้งนโยบายพัฒนาชนบท เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก

Page 119: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

เมื่อสหภาพยุโรปยังคงยืนกรานที่จะอุดหนุนการเกษตร ในวาระกฎหมาย Farm Bill 1996 ของ สหรฐัอเมริกาครบวาระ ประธานาธิบดี จอรช บุช ก็ไดลงนามประกาศใช Farm Bill 2002 เปนกฎหมายฉบับใหม เมื่อวันที่ 13พฤษภาคม 2545 ซึ่งมีการเพิ่มปริมาณเงินอุดหนุนมากขึ้น ความตกลงภายใต WTO จึงเปนเรื่องไกลความสําเร็จออกไปมากขึ้น เพราะผูนําในการผลักดันความตกลงวาดวยการเกษตรมาตั้งแตตนอยางสหรัฐอเมริกา ยังคงยืนยันเพิ่มการอุดหนุนทําใหมีแนวโนมวาการคาอาจจะกลับเขาสูการแขงขันที่ไมเปนธรรมแบบเดิม

1.5 Other Regulations

• Halal

ผลิตภัณฑอาหารฮาลาล คือผลิตภัณฑอาหารที่ชาวมุสลิมสามารถบริโภคไดตามหลักศาสนาอิสลามเนื่องจากในศาสนาอิสลาม มีการระบุไวถึงขอกําหนดเกี่ยวกับอาหารที่ผูนับถือศาสนาอิสลามสามารถบริโภคได ซึ่งจะพบไดในคัมภีรอัลกุรอานของศาสนาอิสลาม ดังนั้นการบริโภคอาหารในศาสนาอิสลามจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญที่ตองทําใหถูกตองตามหลักศาสนา

ในปจจุบันมีชาวมุสลิมอยูทั่วโลกมากกวา 1,300 ลานคน และประเทศไทยเองก็มีชาวมุสลิม

อยูภายในประเทศประมาณ 3-4 ลานคน จึงนับวาตลาดผูบริโภคชาวมุสลิมเปนตลาดที่ใหญทั้งในประเทศและตางประเทศ Codex ไดกําหนดมาตรฐานสากลของเครื่องหมายฮาลาลเพื่อเปนแนวทางในการควบคุมการใชเครื่องหมายทั่วโลก โดยมาตรฐานนี้ตั้งอยูบนหลักการของศาสนาอิสลาม ความปลอดภัยและหลักโภชนาการ ตั้งแตวัตถุดิบและสวนประกอบที่ใช กระบวนการผลิต การขนสง และการจัดจําหนาย

ตามระเบียบปฏิบัติอาหารฮาลาลนี้ บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลสามารถยื่นคําขอมีและใช

เครื่องหมายฮาลาลได โดยกระบวนการตรวจสอบเพื่อใหหนังสือรับรองผลิตภัณฑฮาลาลมีกฎเกณฑวาผลิตภัณฑอาหาร และเครื่องดื่มที่จะไดรับเครื่องหมายฮาลาลจะตองไมมีสวนประกอบใดๆ ที่ไมถูกตองตามบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม นอกจากนี้ จะตองมีการตรวจสอบสถานที่ผลิต กระบวนการผลิต และสถานที่เก็บรักษาวามีการแยกสวนจากผลิตภัณฑ ที่ไมใช ฮาลาล การตรวจสอบมีทั้งการตรวจสอบเมื่อยื่นคํารอง การตรวจสอบรายเดือน และการตรวจสอบเมื่อขอตออายุหนังสือรับรองผลิตภัณฑ

• Green Dot

มาตรฐาน Green Dot นั้นเปนมาตรฐานที่ใชควบคุมของเหลือใชประเภทบรรจุภัณฑของ สหภาพยุโรปโดยบรรจุภัณฑ หรือภาชนะหีบหอที่สงเขามาในสหภาพยุโรปนั้น จะตองมีคุณสมบัติดานการนํากลับมาใชประโยชนใหม (Reuse) หรือการนํามาผานกระบวนการผลิตใหม (Recycle) และการกําจัดบรรจุภัณฑหีบหอที่ปนเปอนสารอันตราย (Hazardous Waste) ตามที่กําหนด มาตรฐาน Green Dot นีมั้กจะถูกเขาใจผิดวาเกี่ยวของกับฉลากการนํากลับมาใชใหม (Recycle Symbol) และฉลากเพื่อการรักษาสิ่งแวดลอม (Eco Labeling) ซึ่งไมเกี่ยวของกันโดยตรง

Page 120: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

ในทางปฏิบัติผูสงออกไมจําเปนตองใชบรรจุภัณฑ หรือภาชนะหีบหอซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กําหนดก็ไดโดยสามารถซื้อฉลาก Green Dot ที่ออกโดยองคกรเฉพาะที่ตั้งขึ้นเพื่อดูแลรับผิดชอบจากประเทศที่ตองการ สงสินคาไปขายได โดยองคกรนั้นจะรับผิดชอบในการกําจัดบรรจุภัณฑเอง

มาตรฐาน Green Dot มีขอสังเกตที่สําคัญ 3 ประการ ดังตอไปนี้

1. เปนมาตรการโดยความสมัครใจ 2. ประเทศตางๆในกลุมสหภาพยุโรปมีมาตรการที่แตกตางกันไป ดังนั้นการซื้อฉลาก

จะตองซื้อจากประเทศที่ตองการสงสินคาไปขายเทานั้น 3. มาตรฐานนี้ใชเพียงบางประเทศในสหภาพยุโรปเทานั้น

ในปจจุบันมาตรฐาน Green Dot กอใหเกิดปญหากับผูสงออกไทยนอยมากเนื่องจากสามารถซื้อฉลากไดงาย แตก็มีภาระดานตนทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการที่ตองซื้อฉลาก

1.6 การผลิตทางการเกษตรที่ถูกตองและเหมาะสม (Good Agricultural Practice (GAP))

เกษตรดีที่เหมาะสม คือ แนวทางในการทําการเกษตรกรรม เพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ตรงตามมาตรฐานที่กําหนด ผลผลิตสูงคุมคาการลงทุน และขบวนการผลิตจะตองปลอดภัยตอเกษตรกร และผูบริโภค มีการใชทรัพยากรที่เกิดประโยชนสูงสุด เกิดความยั่งยืนทางการเกษตร และไมทําใหเกิดมลพิษตอส่ิงแวดลอมการผลิตดังกลาวจะมีคําแนะนําของทางราชการ ซึ่งจัดทําขึ้น เพื่อใหเกษตรกรนําไปปฏิบัติไดภายใตสภาวะที่เปนจริง เหมาะสมแกสภาพทองถิ่น และภูมิประเทศขั้นตอนการผลิตทางการเกษตรบางขั้นตอน อาจกอใหเกิดปญหา ทําใหผลผลิตที่ไดไมเปนไปตาม วัตถุประสงค เชน การปองกันกําจัดศัตรูพืช อาจมีการใชสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช ที่มีอันตรายและมีพิษตกคางสูง เปนอันตรายตอผูบริโภค หรือการใหปุยใหน้ําแกผักหรือผลไมที่ใชบริโภคสดอาจมีเชื้อโรคติดมาเปนอันตรายตอผูบริโภค ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการแนะนําแนวทางการผลิตทางการเกษตรที่ถูกตองและเหมาะสมเพื่อไมใหเกิดปญหาดังกลาว

การผลิตทางการเกษตร ในอนาคตอันใกลจําเปนตองเปนการผลิตที่ถูกตองและเหมาะสม เนื่องจาก

เหตุผลหลายประการ คือ 1. เมื่อคุณภาพชีวิตสูงขึ้น ความตองการเรื่องคุณภาพของสินคายอมสูงขึ้น สินคาที่มีคุณภาพ และได

มาตรฐานเทานั้นที่จะสามารถแขงขัน และจําหนายไดราคาที่สูงกวา 2. ปญหาเรื่องสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary) ซึ่งรวมทั้งที่มีปญหาจริง

และใชเปนเครื่องมือในการกีดกันทางการคาแทนการกีดกันโดยภาษีเมื่อมีการเปดการคาเสรี 3. การผลิตทางการเกษตรในปจจุบันยังกอใหเกิดปญหามากมาย ตั้งแตอันตรายตอผูผลิต ผูบริโภค

และเกิดมลภาวะในสิ่งแวดลอม การแกปญหาดังกลาวจําเปนตองแกไขตั้งแตเริ่มขบวนการผลิต การผลิตเพื่อใหไดสินคาทางการ

เกษตรที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐานนั้นจะตองเริ่มตั้งแตตนเมื่อเริ่มหรือแมกระทั่งกอนปลูกพืช เมื่อขบวนการทุกขั้นตอนถูกตอง จึงสามารถคาดหมายผลผลิตที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานได หากขั้นตอนใดขั้นตอนหนึง่ผิดพลาด โอกาสทีจ่ะไดสินคาเกษตร ที่เปนที่ตองการของตลาดก็จะนอยลงหรือเปนไปไมไดจึงเปนที่มาของแนวคิดในเรื่องการผลิตทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม

Page 121: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

องคประกอบหลักการจัดทํา GAP 1. การจัดการดิน 2. การจัดการน้ํา 3. การผลิตพืช 4. การปองกันกําจัดศัตรูพืช 5. การเก็บเกี่ยวและแปรรูประดับฟารมและการเก็บรักษา 6. การจัดการพลังงานและของเสีย 7. สวัสดิภาพ สุขภาพ และความปลอดภัยผูปฏิบัติงาน 8. ชนิดพันธุสัตวและพืชปา และสภาพภูมิประเทศ

Page 122: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

ภาคผนวก 2 สรุปพระราชบัญญัติสําคัญที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหาร พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ

พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522

เพื่อควบคุมคุณภาพอาหารเพื่อใหผูบริโภคภายในประเทศไดรับสินคาอาหารที่มีคุณภาพดี ปริมาณครบถวน และปลอดภัย โดยการควบคุมอาหารเริ่มตั้งแตจัดตั้งโรงงาน กระบวนการผลิต ตลอดจนการนําเขาและการสงออกสินคาของประเทศไทย

1. การใชกลไกการควบคุมการผลิต การนําเขา อาหาร โดยใหอํานาจรัฐในฐานะฝายบริหารเปนผูกําหนดประเภทของอาหารที่จําเปนตองใชมาตรการควบคุมในระดับตางๆ

2. การประกาศกําหนดประเภทอาหาร โดยแบงเปนประเภทดังตอไปนี้ อาหารควบคุมเฉพาะ คืออาหารที่ตองมีใบอนุญาตผลิต มีใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับอาหาร ถาเปนการผลิตในโรงงาน ถาเปนการผลิตเปนอุตสาหกรรมอาหารในครัวเรือน ตองมีใบอนุญาตใชฉลาก ถาเปนการนําเขาไมตองขออนุญาต แตมีขออนุญาตนําเขาและขึ้นทะเบียนตํารับอาหาร อาหารควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน คือ อาหารที่ตองมีใบอนุญาตผลิตและขออนุญาตใชฉลาก แตไมตองขึ้นทะเบียนตํารับอาหาร ถาการนําเขา ตองขออนุญาตนําเขาและขออนุญาตใชฉลาก อาหารที่กําหนดใหมีฉลาก คืออาหารตองขออนุญาตผลิต และ ขออนุญาตใชฉลาก ถาเปนการนําเขาและขออนุญาตใชฉลากอาหารทั่วไป ที่ผลิตในโรงงาน ตองมีใบอนุญาตผลิต แตไมตองขึ้นทะเบียนตํารับ ที่นําเขา ตองขออนุญาตใชฉลาก อาหารที่หามมิใหผูใดผลิต นําเขา เพื่อจําหนาย หรือจําหนาย

1. อาหารไมบริสุทธิ์ 2. อาหารปลอม 3. อาหารผิดมาตรฐาน 4. อาหารอื่นที่รัฐมนตรีกําหนด

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 123: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ ระบบการควบคุมโดยการกําหนดประเภทอาหารขางตนเปนระบบการปองกันความเสียหายของสาธารณชน โดยการควบคุมที่ตนทางการผลิต การนําเขา นอกจากนั้นกฎหมายอาหารฉบับนี้ยังกําหนดการตรวจติดตาม ภายหลังการออกสูตลาด เพื่อควบคุมปลายทางดวย

พืช พระราชบัญญัติพันธุพืช พ.ศ. 2518 ฉบับที่ 2 ป 2535

เพื่อคุมครองเกษตรกรใหไดใชเมล็ดพันธุพืชที่มีคุณภาพไมปลอมปนหรือเส่ือมคุณภาพโดยควบคุมใหผูรวบรวม ผูขาย ผูนําเขาผูสงออกหรือผูนําผานซึ่งเมล็ดพันธุควบคุมจะตองไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ นอกจากนี้ยังเปนการอนุรักษพันธุพืชที่ใกลจะสูญพันธุใหคงอยูไดอีกทั้งเปนการสงเสริมใหมีการปรับปรุงหรือพัฒนาพันธุพืชใหม

1. เมล็ดพันธุควบคุม 1.1) รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร และสหกรณเปนผูกําหนดชนิดและชื่อของพันธุพืชชนิดใดใหเปนเมล็ดพันธุควบคุม เชนขาวเปลือก ขาวฟาง ขาวโพด ถั่วเขียว ฯลฯ 1.2) ผูรวบรวม ขาย นําเขา สงออก หรือ นําผานซึ่งเมล็ดพันธุควบคุมเพื่อการคาจะตองไดรับใบอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ และจะตองรวบรวมขาย นําเขาสงออกซึ่งเมล็ดพันธควบคุมที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามที่กําหนดไมเปนเมล็ดพันธุปลอมปนหรือเส่ือมคุณภาพ 2. การรับรองเมล็ดพันธุรับรองพันธุพืชขั้นทะเบียน หรือพันธุพืชรับรอง ผูใดประสงคจะขอหนังสือรับรองพืชชนิดใดใหเปนเมล็ดพันธุรับรองพันธุพืชขึ้นทะเบียน หรือพันธุพืชรับรองสามารถขอการรับรองจากกรมวิชาการเกษตรไดโดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่รัฐมนตรีกําหนด 3. พืชอนุรักษ 3.1) รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณเปนผูประกาศใหพืชที่กําหนดไวในบัญชีแนบทายอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตว

พืชตองหามรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณเปนผูกําหนดชนิดและชื่อพันธุของพืชชนิดใดใหเปนพืชตองหาม ซึ่งบุคคลใดๆจะนําเขาพืชตองหามดังกลาวมิได ไมวากรณีใดซึ่งในขณะนี้ยังไมเคยประกาศใหพืชชนิดใดเปนพืชตองหาม โทษหนักที่สุดจําคุกไมเกินหาปหรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ

Page 124: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ ปาและพืชปาที่กําลังจะสูญพันธุ (Cites) เปนพืชอนุรักษ เชน ตนกลวยไมปา ปรง เปนตน 3.2) ผูนําเขา สงออก หรือนําผานพืชอนุรักษและซากของพืชอนุรักษจะตองไดรับหนังสืออนุญาตจากอธิบดีกรมวิชาการเกษตร 4. พืชสงวน 4.1) รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณเปนผูประกาศใหพืชชนิดใดเปนพืชสงวนซึ่งในปจจุบันมี 7 ชนิด คือ ทุเรียน สมโอ องุน ลําไย ล้ินจี่ มะขาม มะพราว 4.2) ผูสงออกพืชสงวน จะตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณและจะอนุญาตไดเฉพาะเพื่อประโยชนในการทดลองหรือวิจัยในทางวิชาการเทานั้น

พระราชบัญญัติปุย พ.ศ. 2518

เพื่อควบคุมการผลิต การขาย และการนําหรือส่ังปุยเคมีเขามาในราชอาณาจักรใหเกษตรกรไดใชปุยที่มีคุณภาพ ในการดําเนินงาน

1. คณะกรรมการปุยเปนผูใหคําแนะนํา หรือความเห็นแกอธิบดีหรือรัฐมนตรีแลว แตกรณี ในเรื่องตางๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ เชน การอนุญาต การผลิตปุยเคมีเพื่อการคา การขายปุยเคมี การนําหรือส่ังปุยเคมี เขามาในราชอาณาจักร และการขึ้นทะเบียนปุยเคมี เปนตน 2. ผูใดผลิตเพื่อการคาขาย มีไวเพื่อขายนําหรือส่ังเขามาในราชอาณาจักรหรือนําผาน ซึ่งปุยเคมี จะตองไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ สําหรับผูผลิตและผูนําหรือส่ังเขามาในราชอาณาจักร จะตองขึ้นทะเบียนกอน ยกเวนปุยเคมีมาตรฐาน 7 ชนิดดังนี้ - ปุยเคมีแอมโนเนียมซัลเฟต - ปุยเคมียูเรีย

- ปุยเคมีซูเปอรฟอสเฟต

ปุยเคมีที่มีสารเปนพิษที่อาจเปนอันตรายแก คน สัตว พืช หรือทรัพยอื่นผสมอยูดวยเกินอัตราสวนที่มีในปุยเคมีมาตรฐานโทษสูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุก ตั้งแต 5 - 15 ป หรือปรับตั้งแตหาหมื่นบาทถึงหาแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 125: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ - ปุยเคมีดับเบิ้ลซูเปอรฟอสเฟต - ปุยเคมีริบเบิ้ลซูเปอรฟอสเฟต - ปุยเคมีโปตัสเซียมคลอไรค - ปุยเคมีโปตัสเซียมซัลเฟต 3. ผูใดผลิต ขาย มีไวเพื่อขาย หรือนําส่ังเขามาในราชอาณาจักร ซึ่งปุยเคมีตอไปนี้มีความผิด - ปุยเคมีปลอม - ปุยเคมีผิดมาตรฐาน - ปุยเคมีเส่ือมคุณภาพ - ปุยเคมีที่ตองขึ้นทะเบียนแตมิไดขึ้นทะเบียนไว - ปุยเคมีที่รัฐมนตรีส่ังเพิกถอนทะเบียน

พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507

เพื่อปองกันมิใหโรคและศัตรูพืชระบาดเขามาในราชอาณาจักรโดยใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศกําหนดชื่อพืชศัตรูพืชหรือพาหะชนิดใดชนิดหนึ่งเปนส่ิงตองหามหรือส่ิงจํากัดส่ิงตองหามหรือส่ิงกํากัด เมื่อหมดความจําเปนแลว ประกาศเพิกถอนได

ส่ิงตองหาม หามนําเขาหรือนําผานซึ่งส่ิงตองหามเวนแตไดรับอนุญาตจากอธิบดีเฉพาะเพื่อประโยชนในการทดลองหรือการวิจัยเทานั้น ทั้งนี้ผูนําเขาหรือนําผานจะตองมีใบรับรองปลอดศัตรูพืชของเจาหนาที่ของประเทศที่สงส่ิงตองหามนั้นหรือหนังสือสําคัญอยางอื่นอันเปนที่เชื่อถือได สําหรับประเทศที่ไมมี การออกใบรับรองปลอดศัตรูพืชกํากับมาดวย นําเขาไดทางดานตรวจพืชตอไปนี้ - ดานตรวจพืชทาเรือกรุงเทพ - ดานตรวจพืชทาอากาศยานกรุงเทพ - ดานตรวจพืชไปรษณียกลางกรุงเทพ ส่ิงจํากัด การนําเขาหรือนําผานจะตองนําเขาหรือนําผานทางดานตรวจพืชเพื่อใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจ โดยจะตองมี

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกไมเกิน 6 เดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 126: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ ใบรับรองปลอดศัตรูพืชของเจาหนาที่ของประเทศซึ่งสงส่ิงกํากัดนั้นออกหรือหนังสือสําคัญอยางอื่นอันเชื่อถือได สําหรับประเทศที่ไมมีการออกใบรับรองปลอดศัตรูพืชกํากับมาดวย ส่ิงไมตองหาม ผูนําเขาหรือนําผานใหแจงตอพนักงานเจาหนาที่ตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง กําหนดในกฎกระทรวง

พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

เพื่อปองกันและระงับอันตรายอยางรายแรงที่อาจเกิดแกบุคคล สัตว พืช ทรัพย และส่ิงแวดลอมจากการใชวัตถุอันตราย

1. พระราชบัญญัตินี้อยูภายใตความรับผิดชอบของหนวยงานหลัก 3 หนวยงาน คือ กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยรับผิดชอบตามวัตถุประสงคของการใชวัตถุอันตราย เชน กระทรวงเกษตรและสหกรณรับผิดชอบวัตถุอันตรายที่ใชในทางการเกษตร เปนตน 2. รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เปนผูประกาศกําหนดชนิดของวัตถุอันตราย และหนวยงานที่รับผิดชอบ วัตถุอันตรายจะแบงเปน 4 ชนิด 2.1) วัตถุอันตรายชนิดที่1เปนวัตถุอันตรายที่เปนอันตรายนอย เชน Acrylic acidกรมโรงงานอุตสาหกรรมเปนผูรับผิดชอบวัตถุอันตรายชนิดนี้ ไมตองแจงหรือขออนุญาตผลิตนําเขา สงออกหรือมีไวในครอบครอง แตตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีผูรับผิดชอบกําหนดซึ่งในกรณีนี้ คือ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม สําหรับวัตถุอันตรายชนิดที่ 1 ไมมีในวัตถุอันตรายที่ใชในทางการเกษตร 2.2) วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 เปนวัตถุอันตรายที่มีอันตรายมากกวาชนิดที่ 1

ผูขายหรือ ผูสงมอบวัตถุอันตรายใหแกบุคคลใด ตองรับผิดชอบเพื่อการเสียหายของบุคคลดังกลาวอันเกิดแตวัตถุอันตรายนั้น เวนแตจะพิสูจนไดวาความเสียหายนั้นเกิดแตเหตุสุดวิสัยหรือเกิดเพราะความผิดของผูตองเสียหายนั้นเองโทษ หนักที่สุด จําคุกไมเกินสิบปหรือปรับไมเกิน หนึ่งลานบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 127: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ เชน Azame- thiphos สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเปนผูรับผิดชอบวัตถุอันตรายชนิดนี้ ซึ่งผูผลิตผูนําเขา ผูสงออก หรือผูมีไวในครอบครองวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 ตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบกอนผลิต นําเขา สงออก หรือมีไวในครอบครอง และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขกําหนด 2.3) วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 เปนวัตถุอันตรายที่มีอันตรายมากกวาชนิดที่ 2 เชน Methyl Bromidel กรมวิชาการเกษตรเปนผูรับผิดชอบวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 จะตองขออนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด 2.4) วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 เปนวัตถุอันตรายที่มีอันตรายมาก ที่หามมิใหผลิตนําเขาสงออกหรือมีไวครอบครองเชน Endrin เปนตน 3. วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 และชนิดที่ 3 จะตองไดรับการขึ้นทะเบียนเสียกอนจึงจะผลิตหรือนําเขาได 4. ผูผลิต นําเขา สงออก หรือมีไวครอบครอง จะตองผลิต นําเขา สงออก หรือมไวในครอบครองวัตถุอันตรายที่มีคุณภาพ ไมเปนวัตถุอันตรายปลอมวัตถุอันตรายผิดมาตรฐาน หรือวัตถุอันตรายเส่ือมคุณภาพ 5. ผูผลิต ผูนําเขา ผูขนสง หรือผูมีไวในครอบครอง ซึ่งวัตถุอันตรายตองรับผิดชอบเพื่อการเสียหายอันเกิดแตวัตถุอันตรายที่อยูในความครอบครองของตน

Page 128: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ เวนแตจะพิสูจนไดวาความเสียหายนั้นเกิดแตเหตุสุดวิสัยหรือเกิดเพราะความผิดของผูตองเสียหายนั้นเอง

พระราชบัญญัติคุมครองพันธุพืช พ.ศ. 2542

เพื่อคุมครองพันธุพืชในประเทศไทย พันธุพืชไทย และ พันธุพืชเฉพาะทองถิ่น

พันธุพืช 1. มีความสม่ําเสมอของลักษณะ

ประจําพันธุทางดานสัณฐานวิทยา สรีรวิทยาหรือคุณสมบัติอื่นที่เปนผล เนื่องจากการแสดงออกของสภาพทางพันธุกรรมที่จําเพาะตอพันธุพืชนั้น

2. มีความคงตัวของลักษณะประจําพันธุที่สามารถแสดงลักษณะประจําพันธุไดในทุกครั้งของการผลิตสวนขยายพันธุพืชนั้น เมื่อขยายพันธุดวยวิธีทั่วไปสําหรับพืชนั้น

3. มีลักษณะประจําพันธุแตกตางจากพันธุอื่นอยางเดนชัด ทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา หรือมีคุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใด ซึ่งเปนผลเนื่องจากการแสดงออกของสภาพทางพันธุกรรมที่แตกตางจากพันธุพืชอื่นลักษณะของพันธุพืชตาม 1 ไมใชบังคับกับพันธุพืชปา

การคุมครองพันธุพืชใหม พันธุพืชที่จะขอจดทะเบียนพันธุพืชใหมตามพระราชบัญญัตินี้ ตองมีองคประกอบดังตอไปนี้ 1. เปนพันธุพืชที่ไมมีการนําสวนขยาย

พันธุมาใชประโยชนไมวาจะเปนการขายหรือจําหนายดวยประการใด ทั้งในหรือนอกราชอาณาจักรโดนนักปรับปรุงพันธุ หรือดวยความยินยอมของนักปรับปรุงพันธุ

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกไมเกินหกเดือนถึงหาป หรือปรับไมเกินส่ีแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 129: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ เกินกวาหนึ่งปกอนวันยื่นขอจดทะเบียน

2. มีความแตกตางจากพันธุพืชอื่นที่ปรากฏอยูในวันยื่นขอจดทะเบียนโดยความแตกตางนั้นเกี่ยวของกับลักษณะที่เปนประโยชนตอการเพราะปลูก การบริโภค เภสัชกรรม การผลิต หรือการแปรรูป และใหหมายความรวมถึงมีความแตกตางจากพันธุพืชดังตอไปนี้ดวย

3. พันธุพืชที่ไดรับการจดทะเบียนคุมครองไวแลว ไมวาในหรือนอกราชอาณาจักร กอนวันยื่นขอจดทะเบียนพันธุพืชที่มีการยื่นขอจดทะเบียนในราชอาณาจักรไวแลวและไดรับการจดทะเบียนในเวลาตอมา

การคุมครองพันธุพืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น พันธุพืชที่จะขอจดทะเบียนเปนพันธุพืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นตามพระราชบัญญัตินี้ ตองประกอบดวยลักษณะดังตอไปนี้ เปนพันธุพืชที่มีอยูเฉพาะในทองที่ใดทองที่หนึ่งภายในราชอาณาจักรเทานั้น เปนพันธุพืชที่ไมเคยจดทะเบียนเปนพันธุพืชใหม

สัตว พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว พ.ศ. 2525 และ ฉบับที่ 2 ป 2542

เพื่อกําหนดใหผูผลิตอาหารสัตวหรือนําเขาซึ่งอาหารสัตว จะตองยื่นคําขอใบอนุญาตและขึ้นทะเบียนอาหารสัตวที่จะผลิต หรือนําเขาตอพนักงานเจาหนาที่ และเมื่อไดรับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนแลว จึงจะผลิตหรือนําเขาอาหารสัตวนั้นได และจะตองผลิต หรือนําเขาใหตรงตามที่ไดขึ้นทะเบียน

ั ไ

ประเภทใบอนุญาต • ใบอนุญาตผลิตอาหารสัตว • ใบอนุญาตนําเขาซึ่งอาหารสัตว • ใบอนุญาตขายอาหารสัตว • ใบอนุญาตโฆษณา การขออนุญาตโฆษณา ผูประกอบการที่ประสงคจะโฆษณาคุณภาพหรือสรรพคุณของอาหารสัตวทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน ทาง

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกหนึ่งถึงหาปหรือปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงหาหมื่นบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ

Page 130: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ อาหารสัตวไว สวนผูขายอาหารสัตวตองขายเฉพาะอาหารสัตวที่มีทะเบียนเทานั้น

ฉายภาพ ภาพยนตร หรือทางหนังสือพิมพ หรือส่ิงพิมพอื่น หรือดวยวิธีอื่นใด เพื่อประประโยชนในทางการคา ตองนําเสียง ภาพ ภาพยนตรหรือขอความที่จะโฆษณาดังกลาวนั้น ใหผูอนุญาตตรวจพิจารณากอน เมื่อไดรับอนุญาตแลวจึงโฆษณาได ประเภทและชนิดของอาหารสัตวที่ประกาศควบคุมมี 5 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทวัตถุดิบมี 17 ชนิด 2. ประเภทวัตถุที่ผสมแลวมี 3 ชนิด 3. ประเภทผลิตภัณฑนมเกี่ยวกับสัตว

มี 6 ชนิด 4. ประเภทอาหารเสริมสําหรับสัตว 5. ประเภทอาหารสัตวผสมยา อาหารสัตวที่หามผลิต นําเขา หรือขาย 1. อาหารสัตวปลอมปน 2. อาหารสัตวผิดมาตรฐาน 3. อาหารสัตวเส่ือมคุณภาพ 4. อาหารสัตวที่มิไดขึ้นทะเบียน 5. อาหารสัตวที่อธิบดีส่ังเพิกถอน 6. อาหารสัตวอื่นที่อธิบดีกําหนด

พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว พ.ศ. 2499 ฉบับที่ 2 ป 2542

เพื่อปองกันโรคระบาดที่เกิดจากสัตว กําหนดเขตโรคระบาดและเขตปลอดโรคระบาดสัตว และควบคุมการคาสัตวและซากสัตว

โรคระบาดสัตว 1. โรครินเดอรเปสต 2. โรคเฮโมรายิกเซพติซีเมีย 3. โรคแอนแทรกซ 4. โรคเซอรา 5. โรคสารติก 6. โรคมงคลอพิษ 7. โรคปากและเทาเปอย 8. โรคอหิวาตสุกร 9. โรคอื่นๆ ตามที่กําหนดในกฎ

กระทรวง

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินส่ีหมื่นบาทหรือ ทั้งจําทั้งปรับ

Page 131: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ การปองกันโรคระบาดสัตว ถาสัตวปวยหรือตายโดยรูวาเปนโรคระบาด หรือมีสัตวปวยหรือตายโดยไมทราบสาเหตุ หรือถาในหมูบานเดียวกัน หรือในบริเวณใกลเคียงมีสัตวปวยหรือตาย มีอาการคลายคลึงกันตั้งแตสองตัวขึ้นไปในระยะเวลาหางกันไมเกินเจ็ดวันใหเจาของแจงตอเจาหนาที่ภายในเวลายี่สิบส่ีชั่วโมงนับแตเวลาที่สัตวปวยหรือตาย เขตปลอดโรคระบาด กําหนดขึ้นเพื่อปองกันมิใหเกิดโรคระบาดสําหรับสัตวในทองที่ที่กําหนด หรือในทองที่บางสวน การประกาศนั้นจะตองระบุชนิดของสัตวและโรคระบาดไวดวย และเมื่อประกาศเขตปลอดโรคระบาดแลว หามมิใหผูใดเคลื่อนยายสัตวหรือซากสัตวเจาในหรือผานเขตนั้น เวนแตไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดีหรือสัตวแพทยซึ่งอธิบดีมอบหมาย เขตโรคระบาด ผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจประกาศกําหนดเขตทองที่ที่มีโรคระบาดหรือสงสัยวามีโรคระบาด ประกาศนี้ตองระบุชนิดของสัตวและโรคระบาดไวดวย เมื่อประกาศแลวหามมิใหผูใดเคลื่อนยายสัตวหรือซากสัตวภายในเขตนั้นหรือเคลื่อนยายสัตว หรือซากสัตวเขาในหรือออกนอกเขต ยกเวนไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากสัตวแพทย การควบคุมการคาสัตวและซากสัตว หามมิใหผูใดทําการคา ชาง มา โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือสัตวชนิดอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงหรือทําการคาซากสัตวตามที่กําหนดในกฎกระทรวงเวนแตไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียน

Page 132: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ พระราชบัญญัติควบคุมการฆาและจําหนายสัตว พ.ศ. 2535

เพื่อควบคุมการฆาสัตวและจําหนายสัตวโดยมีการควบคุมครอบคลุมตั้งแตการตั้งโรงฆาสัตว โรงพักสัตว และ การฆาสัตว

สัตวในพระราชบัญญัตินี้หมายความเฉพาะโค กระบือ แพะ แกะ สุกร และสัตวอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง 1. เพื่อประโยชนในการกํากับดูแลการ

ตั้งโรงฆาสัตวโรงพักสัตวและการฆาสัตวใหรัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงดังตอไปนี้ กําหนดที่ตั้ง เนื้อที่ แผนผัง และหลักเกณฑเกี่ยวกับส่ิงปลูกสรางและสุขลักษณะของโรงฆาสัตว โรงพักสัตว และการฆาสัตว กําหนดวัน เวลาเปดและปดโรงฆาสัตว โรงพักสัตว และการฆาสัตว กําหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหผูประกอบกิจการปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดเรียบรอยภายในโรงฆาสัตว โรงพักสัตว และการฆาสัตวใหถูกตองตามสุขลักษณะและอนามัย การจัดใหมีที่รวบรวมหรือกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล การระบายน้ําทิ้ง การระบายอากาศ การจัดใหมีการปองกันมิใหเกิดเหตุรําคาญและปองกันการระบาดของโรคติดตอ

2. ผูใดมีความประสงคจะตั้งโรงฆาสัตว โรงพักสัตว และการฆาสัตว ใหขอรับใบอนุญาตจากอธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายตามหลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

โทษสูงสุดของกฎหมายนี้คือจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับตัวละไมเกินหาพันบาทเรียงตามรายตัวสัตวที่ฆา หรือ ทั้งจําทั้งปรับ

Page 133: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ 3. ผูใดมีความประสงคจะฆาสัตวให

แจงจํานวนสัตวที่จะฆาวันและเวลาที่จะดําเนินการฆาสัตว และชื่อของโรงฆาสัตวตามแบบที่กระทรวงมหาดไทยประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษาตอพนักงานเจาหนาที่ และเสียอากรการฆาสัตวตามอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง

4. ผูที่ประสงคจะฆาสัตวนําสัตวไปยังโรงพักสัตวและจะตองฆาสัตวนั้นในโรงฆาสัตวตามวันและเวลาที่พนักงานเจาหนาที่กําหนด

5. เมื่อไดฆาสัตวแลวหามมิใหผูใดนําเนื้อสัตวออกจากโรงฆาสัตวกอนที่พนักงานเจาหนาที่ประทับตรารับรองใหจําหนายที่เนื้อสัตวนั้นแลว ในกรณีที่ปรากฏแกพนักงานตรวจโรคสัตววาเนื้อสัตวของสัตวที่ไดฆาเปนโรคและหรือมีลักษณะตามที่กําหนดในกฎกระทรวงวาไมเหมาะสมที่จะใชเนื้อสัตวเชนนั้นเปนอาหาร ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจทําลายเนื้อสัตวนั้นเสียทั้งตัวหรือบางสวน หรือจัดทําใหเปนเนื้อสัตวที่ควรใชเปนอาหารเสียกอนได

6. ในกรณีตอไปนี้ จะฆาสัตวนอกโรงฆาสัตวไดแตตองปฏิบัติตามขอกําหนดในกฎกระทรวง การฆาสัตวซึ่งตองฆา ณ ที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะ ตามพิธีกรรมในทางศาสนา การฆาสัตวในทองที่ซึ่งผูวาราชการจังหวัดแหงทองที่นั้นประกาศเปนครั้งคราววาเปนทองที่กันดาร และจําเปนตองฆาสัตวในทองที่นั้น

Page 134: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ การฆาสัตวในกรณีที่มีเหตุสมควรเปนพิเศษ

7. ผูใดประสงคจะจําหนายเนื้อสัตวของสัตวที่ตายเองหรือที่มิไดถูกฆาตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนําเนื้อสัตวของสัตวนั้นซึ่งอยูในสภาพที่ยังมิไดชําแหละไปใหพนักงานตรวจโรคสัตวตรวจ

สัตวน้ํา พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.2490 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2496, (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2528

เพื่อควบคุมผูมีอาชีพในการประมง การคาสินคาสัตวน้ํา ผลิตภัณฑสัตวน้ํา และอุตสาหกรรมสัตวน้ํา ใหปฏิบัติตามหลักปฏิบัติที่ถูกตองซึ่งจะตองไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและผูบริโภค

1. หามมิใหบุคคลใดทําการประมงหรือเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในที่จับสัตวน้ําดังตอไปนี้ ประเภทของที่จับสัตวน้ํา

1. ที่รักษาพันธุพืช 2. ที่วาประมูล 3. ที่อนุญาต 4. ที่สาธารณประโยชน

2. หามมิใหบุคคลใด เท ทิ้ง ระบาย หรือทําใหวัตถุมีพิษตามที่รัฐมนตรีกําหนดลงไปในที่จับสัตวน้ํา หรือกระทําการใดๆอันทําใหสัตวน้ํามึนเมา หรือ เท ทิ้ง ระบาย หรือทําส่ิงใดลงในที่จับสัตวน้ําในลักษณะที่เปนอันตรายแกสัตวน้ําหรือทําใหที่จับสัตวน้ําเกิดมลพิษ

3. หามมิใหใชกระแสไฟฟาหรือวัตถุระเบิดในการทําการประมง

4. ผูที่จะประกอบกิจการเกี่ยวกับการประมงจะตองมาขออนุญาตตอพนักงานเจาหนาที่กอนดําเนินอาชีพดังกลาว

5. หามมิใหบุคคลใดครอบครองสัตวน้ําหรือผลิตภัณฑสัตวน้ําชนิดใดชนิดหนึ่งตามที่ระบุไวในพระราชกฤษฎีกา หรือ ครอบครองสัตวน้ําหรือผลิตภัณฑสัตวน้ําชนิดใดชนิด

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินสองแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 135: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ หนึ่งเกินจํานวนหรือปริมาณหรือเล็กกวาขนาดที่ระบุไวในพระราชกฤษฎีกา ยกเวนไดรับอนุญาต

พระราชบัญญัติอื่นที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2541

เพื่อปองกันผูบริโภคจากพฤติกรรมที่ฉอฉล เกี่ยวพันกับธุรกิจโดยทั่วไป

คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค 1. ใหมีคณะกรรมการคุมครองผู

บริโภค มีหนาที่พิจารณาเรื่องราวรองทุกข ดําเนินการ เกี่ยวกับสินคาที่อาจเปนอันตราย แจงขาวสารเกี่ยวกับสินคา และบริการที่อาจกอความเสียหาย หรือเส่ือมเสียแกผูบริโภค พิจารณาคําวินิจฉัย อุทธรณคําส่ังคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง วางระเบียบ สอดสองเจาหนาที่ ดําเนินคดีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ

2. ใหมีคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 3 คณะ ไดแก คณะกรรมการวาดวยการโฆษณา คณะกรรมการวาดวยฉลาก คณะกรรมการวาดวยสัญญา

3. ใหมีการจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค มีหนาที่รับเรื่องราวรองทุกข ติดตามสอดสองพฤติการณผูประกอบธุรกิจ สนับสนุนการศึกษาวิจัย ใหการศึกษาแก ผูบริโภค เผยแพรงานทางวิชาการ

การคุมครองผูบริโภค สวนที่ 1 วาดวยการคุมครองผูบริโภคในดานการโฆษณา กําหนดหามไมใหทําการโฆษณาที่ใชขอความเกินจริง หลวกลวง กอใหเกิดความเขาใจผิด เปนอันตรายตอผูบริโภค ละเมิดสิทธิ และกําหนดใหผูประกอบการที่สงสัยวาการ

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 136: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ โฆษณาของตนจะฝาฝนกฎหมาย หรือไมสามารถขอความเห็นจากคณะกรรมการเฉพาะเรื่องโดยเสียคาธรรมเนียมได สวนที่ 2 การคุมครองผูบริโภคในดานฉลาก กําหนดใหสินคาที่ผลิตในประเทศ และนําเขามาขายเปนสินคาควบคุมฉลากที่ตองมีลักษณะที่ใชขอความที่ไมกอใหเกิดความเขาใจผิดในสาระของสินคา ขอความจําเปนที่เปดเผยขอเท็จจริงที่เปนสาระตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการวาดวยฉลากกําหนด สวนที่ 2 ทวิ การคุมครองผูบริโภควาดวยสัญญา ใหอํานาจคณะกรรมการวาดวยสัญญา มีอํานาจกําหนดประเภทธุรกิจที่ควบคุมการทําสัญญาที่กําหนด ใหใชขอสัญญาที่จําเปนที่ไมทําใหผูบริโภคเสียเปรียบ หามใชสัญญาที่ไมเปนธรรม สวนที่ 3 การคุมครองผูบริโภคโดยประการอื่น กําหนดใหคณะกรรมการมีอํานาจใหมีการทดสอบ พิสูจนสินคาที่อาจเปนอันตราย และมีคําส่ังหามขายสินคาที่อาจเปนอันตรายได และกําหนดใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งเจาพนักงานอัยการ โดยความเห็นชอบของสํานักงานอัยการสูงสุด เปนเจาหนาที่คุมครองผูบริโภคเพื่อดําเนินคดีทางแพงและคดีอาญาแกผูกระทําละเมิดสิทธิของผูบริโภค

Page 137: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ พระราชบัญญัติการสงออกไปนอกและนําเขามาในราชอาณาจักรซึ่งสินคา พ.ศ. 2522*

1. เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 2. เพื่อปองกันและรักษาสา

ธารณประโยชน 3. เพื่อประโยชนดานสาธารณ

สุข 4. เพื่อความมั่นคง ความสงบ

เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

5. เพื่อใหเปนไปตามความตกลงระหวางประเทศ

ในกรณีที่จําเปนหรือสมควรเพื่อความม่ันคงทางเศรษฐกิจ สาธารณประโยชน การสาธารณสุข ความมั่นคงของประเทศความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อประโยชนอื่นใดของรัฐ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชยโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาในเรื่องหนึ่งเรื่องใดดังตอไปนี้ 1. กําหนดสินคาใดใหเปนสินคาที่ตอง

หามในการสงออกหรือในการนําเขา

2. กําหนดสินคาใดใหเปนสินคาที่ตองขออนุญาตในการสงออกหรือในการนําเขา

3. กําหนดประเภท ชนิด คุณภาพ มาตรฐาน จํานวน ปริมาตรขนาด น้ําหนัก ราคา ชื่อที่ใชในทางการคา ตรา เครื่องหมายการคาถิ่นกําเนิด สําหรับสินคาที่สงออกหรือนําเขา ตลอดจนกําหนดประเทศที่สงไปหรือประเทศที่สงมาซึ่งสินคาดังกลาว

4. กําหนดประเภทและชนิดของสินคาที่จะตองเสียคาธรรมเนียมพิเศษในการสงออกหรือในการนําเขา

5. กําหนดใหสินคาใดที่สงออกหรือนําเขาเปนสินคาที่ตองมีหนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา หนังสือรับรองคุณภาพสินคา หรือหนังสือรับรองอื่นใดตามความตกลงหรือประเพณีทางการคาระหวางประเทศ

6. กําหนดมาตรการอื่นใดเพื่อประโยชนในการจัดระเบียบในการสงออกหรือการนําเขาตามพระราชบัญญัตินี้

โทษสูงสุดของกฎหมายนี้คือระวางโทษจําคุกไมเกินสิบปหรือปรับเปนเงินหาเทาของสินคาที่สงออกหรือนําเขา หรือทั้งจําทั้งปรับกับใหริบสินคารวมทั้งส่ิงที่ใชบรรจุและพาหนะใด ๆ ที่ใชในการบรรทุกสินคาซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความผิดรวมทั้งพาหนะที่ใชลากจูงพาหนะบรรทุกสินคานั้นเสีย

Page 138: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ พระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาขาออก พ.ศ. 2503 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2522

1. เพื่อใหสินคามาตรฐานที่สงออก มีมาตรฐานถูกตองตามที่กฎหมายกําหนด

2. เพื่อสรางความนาเชื่อถือแกผูนําเขาในตางประเทศและเพื่อสรางศักยภาพแกสินคาสงออกของไทย

1. สินคามาตรฐานที่ไดกําหนดมาตรฐานสินคาสงออกในปจจุบันมี 10 ชนิด ไดแก ขาวโพด ปอฟอก เมล็ดละหุง ปุยนุน ไมสักแปรรูป ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ขาวฟาง ปลาปน ถั่วเขียว ถั่วเขียวผิวดํา และ ขาวหมอมะลิ

2. ผูสงออกสินคามาตรฐานจะตองจดทะเบียนเปนผูทําการคาขาออกซึ่งสินคามาตรฐาน

3. สินคามาตรฐานซึ่งผูทําการคาขาออกประสงคจะสงหรือนําออกนอกราชอาณาจักร ผูสงจะตองจัดใหมีการตรวจสอบมาตรฐานสินคาและขอรับใบรับรองสินคามาตรฐาน

4. ผูประกอบธุรกิจตรวจสอบมาตรฐานสินคาจะตองเปนผูที่ไดรับอนุญาตจากสํานักงานมาตรฐานสินคา

5. ผูประกอบธุรกิจตรวจสอบมาตรฐานสินคาตองจัดทํารายงานประจําเดือนเกี่ยวกับการตรวจสอบมาตรฐานสินคายื่นตอสํานักงานมาตรฐานสินคาภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป

6. ผูตรวจสอบมาตรฐานสินคาจะตองเปนผูไดรับอนุญาตจากสํานักงานมาตรฐานสินคา และจะตองไมเปนหุนสวนในหางหุนสวนสามัญ หุนสวนหรือผูจัดการในหางหุนสวนนิติบุคคล กรรมการหรือผูจัดการในบริษัทจํากัด ซึ่งทําการคาสินคาซึ่งตนไดรับอนุญาตใหเปนผูตรวจสอบมาตรฐาน

7. การออกใบรับรองมาตรฐานสินคาซึ่งตองแสดง ณ ดานศุลกากรทําได

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกตั้งแตสามเดือนถึงหาป หรือปรับตั้งแตสามหมื่นถึงสองแสนบาท

Page 139: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ เฉพาะ ที่สํานักงานมาตรฐานสินคาหรือสํานักงานสาขา หรือ บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปนผูออกใบรับรองมาตรฐานสินคาเฉพาะประเภทหรือชนิดของสินคามาตรฐาน

พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2535

เพื่อปองกัน และรักษาสิทธิของผูซื้อ เกี่ยวพันทั้งผูผลิตและผูนําเขาสินคา กําหนดมาตรฐานเพื่อประโยชนในการสงเสริมอุตสาหกรรม เพื่อความปลอดภัย หรือเพื่อปองกันความเสียหายอันอาจเกิดแกประชาชน หรือแกกิจการอุตสาหกรรมหรือเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งกฎหมายนี้จะชวยสรางความมั่นใจแกผูซื้อที่มีตอสินคาที่ผลิตภัณฑตางๆ

1. การขอทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหเปนไปตามมาตรฐานของพระราชบัญญัติ ผูประกอบการรายใดทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมผลิตภัณฑที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหตองเปนไปตามมาตรฐาน ตองแสดงหลักฐานใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบและไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ และจะตองทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมใหเปนไปตามมาตรฐาน เชน ถาจะผลิตเพื่อสงออกหรือ การนําเขา ผลิตภัณฑจะตองเปนไปตามมาตรฐานของตางประเทศหรือมาตรฐานระหวางประเทศ ไมวาจะต่ํากวาหรือสูงกวามาตรฐานตามพระราชบัญญัตินี้ (ในสวนของอาหาร ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดไดแก สับปะรดกระปอง)

2. การขอรับใบอนุญาตนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหตองเปนไปตามมาตรฐานเพื่อเขามาจําหนายในราชอาณาจักร ผูใดนําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดใหตองเปนไปตามมาตรฐานเขามาเพื่อจําหนายในราชอาณาจักรตองแสดง หลักฐานใหพนักงาน เจาหนาที่ตรวจสอบ และไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ

โทษ สูงสุดของกฎหมายนี้คือ จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 140: Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)

พระราชบัญญัติ วัตถุประสงค รายละเอียด บทลงโทษ 3. การขอแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ผูประกอบการรายใดที่ทําผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่มีประกาศกําหนดมาตรฐานแลว จะแสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนั้นไดตองใหพนักงาน เจาหนาที่ตรวจสอบและไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการ และหามมิใหผูรับใบอนุญาต แสดงเครื่องหมายมาตรฐานกับผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมที่ไมเปนไปตามมาตรฐาน