34
กฎหมายพาณิชย 2 1. ตัวแทนชวงคืออะไร แตกตางจากการตั้งตัวแทนหลายคนอยางไร จงอธิบายและยกตัวอยางประกอบใหชัดเจน แนวตอบ ตัวแทนชวง คือ บุคคลที่ไดรับแตงตั้งจากตัวแทนใหกระทําการในหนาที่ตัวแทนใหกับตัวการ ตัวแทนชวงจึงเปรียบเสมือน ตัวแทนคนหนึ่งของตัวการ แตกตางจากการตั้งตัวแทนหลายคนตรงทีในกรณีตั้งตัวแทนหลายคนนั้น ตัวการเองเปนผูแตงตั้ง แตใน กรณีตัวแทนชวง ตัวแทนเองเปนผูแตงตั้ง อาจแตงตั้งโดยความยินยอมชัดแจงจากตัวการหรือโดยการยินยอมโดยปริยายจากตัวการ ก็ได 2.สมชายทําสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารเปนเงินจํานวน 500,000 บาท เปนระยะเวลา 1 ธนาคารคิดดอกเบี้ยในอัตรารอย ละ 15 ตอป ตอมาอีก 6 เดือน สมชายถึงแกกรรม ธนาคารจึงฟองทายาทใหรับผิดในดอกเบี้ยที่คางชําระกอนสมชายถึงแกกรรม ใน อัตรารอยละ 15 ตอป โดยคิดทบตนจํานวนหนึ่ง และคิดดอกเบี้ยทบตนในจํานวนเงินที่คางชําระหลังสมชายถึงแกกรรมอีกจํานวน หนึ่ง ดังนีธนาคารจะทําไดหรือไม เพียงใด แนวตอบ หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 655 บัญญัติวาทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืม จะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากับนั้นก็ได แตการตกลงเชน นั้นตองทําเปนหนังสือ สวนประเพณีการคาขายที่คํานวณดอกทบตนในบัญชีเดินสะพัดก็ดี ในการคาขายอยางอื่นทํานองเชนวานี้ก็ดี หาอยูใน บังคับแหงบทบัญญัติซึ่งกลาวมาในวรรคกอนนั้นไมวินิจฉัย ตามปญหา จํานวนเงิน 500,000 บาท พรอมดอกเบี้ยกอนสมชายถึงแกกรรมนั้น ธนาคารสามารถคิดดอกเบี้ยทบตนได ตาม ปพพ. มาตรา 655 วรรค 2 เนื่องจากการกูเบิกเงินเกินบัญชีประกอบดวยสัญญาบัญชีเดินสะพัด และสัญญากูยืมเงิน จึงไมอยู ในบังคับของมาตรา 655 วรรคแรก ที่หามคิดดอกเบี้ยทบตน สวนจํานวนเงิน 500,000 บาท พรอมดอกเบี้ยหลังสมชายถึงแกกรรมแลวนั้น ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได เนื่อง จากการกูยืมเงินโดยวิธีบัญชีเดินสะพัดจากธนาคาร เบิกและใชคืนในวงเงินและกําหนดเวลา ตามขอตกลงเปนเรื่องเฉพาะตัว เมื่อผู กูตายสัญญาบัญชีเดินสะพัดระงับ จึงคิดดอกเบี้ยทบตนตอไปไมได(.1862/2518) คงเรียกรองหนี้รายนี้จากทายาทของผูตายได เฉพาะตามสัญญากูยืมตามจํานวนเงินที่คางชําระเทานั้น 3.นายธงชัยเอาประกันภัยรถยนตกับบริษัทไทยประกันจํากัด วงเงิน 600,000 บาท ตอมานางอาภรณและเด็กหญิงธนาภรณ ภรรยา และบุตรสาวนายธงชัยไดขับรถคันดังกลาวไปธุระนอกบาน ไดถูกรถยนตบรรทุก 6 ลอของนายวิรัตน ซึ่งมีนายดําลูกจางนายวิรัตน เปนคนขับชนโดยประมาท เปนเหตุใหรถยนตพังยับเยินทั้งคันและเด็กหญิงธนาภรณเสียชีวิต สวนนางอาภรณบาดเจ็บสาหัส บริษัท รุงเรืองประกันภัยเปนผูรับประกันภัยค้ําจุนจากนายวิรัตน ไดตกลงจายคาเสียหายแกผูตายและผูบาดเจ็บแกนางอาภรณโดยนาง อาภรณไมติดใจฟองรองตอไป บริษัทไทยประกันจํากัดไดชดใชคาเสียหายตามสัญญาประกันภัยแกนายธงชัยเปนเงิน 600,000 บาท แลวรับชวงสิทธิจากนายธงชัยฟองนายดํา นายวิรัตน และบริษัทรุงเรืองประกันภัยใหชดใชคาเสียหาย บริษัทรุงเรืองประกันภัย ไดโตแยงวา ตนไดชดใชคาเสียหายไปเรียบรอยแลวจึงเปนการชําระหนี้มูลละเมิดแลว บริษัทไทยประกันจํากัดไมมีสิทธิมาฟองอีก ดังนีขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบายพรอมยกหลักกฎหมายประกอบ แนวตอบ

แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2 ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

  • Upload
    -

  • View
    1.030

  • Download
    111

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แนวข้อสอบเก่าอัตนัยนิติมสธ. ไฟล์นี้ได้มาจากคุณต้อยมสธ .ครับ http://stou45.thaiparagliding.com/download/khuntoii.htm

Citation preview

Page 1: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

กฎหมายพาณิชย 2 1. ตัวแทนชวงคืออะไร แตกตางจากการตั้งตัวแทนหลายคนอยางไร จงอธิบายและยกตัวอยางประกอบใหชัดเจน แนวตอบ ตัวแทนชวง คือ บุคคลที่ไดรับแตงต้ังจากตัวแทนใหกระทําการในหนาที่ตัวแทนใหกับตัวการ ตัวแทนชวงจึงเปรียบเสมือนตัวแทนคนหนึ่งของตัวการ แตกตางจากการตั้งตัวแทนหลายคนตรงที่ ในกรณีต้ังตัวแทนหลายคนนั้น ตัวการเองเปนผูแตงตั้ง แตในกรณีตัวแทนชวง ตัวแทนเองเปนผูแตงต้ัง อาจแตงต้ังโดยความยินยอมชัดแจงจากตัวการหรือโดยการยินยอมโดยปริยายจากตัวการก็ได 2.สมชายทําสัญญาเบิกเงินเกินบัญชีกับธนาคารเปนเงินจํานวน 500,000 บาท เปนระยะเวลา 1 ป ธนาคารคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอป ตอมาอีก 6 เดือน สมชายถึงแกกรรม ธนาคารจึงฟองทายาทใหรับผิดในดอกเบี้ยที่คางชําระกอนสมชายถึงแกกรรม ในอัตรารอยละ 15 ตอป โดยคิดทบตนจํานวนหนึ่ง และคิดดอกเบี้ยทบตนในจํานวนเงินที่คางชําระหลังสมชายถึงแกกรรมอีกจํานวนหนึ่ง ดังนี้ ธนาคารจะทําไดหรือไม เพียงใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 655 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง

คูสัญญากูยืม จะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากับนั้นก็ได แตการตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ

สวนประเพณีการคาขายที่คํานวณดอกทบตนในบัญชีเดินสะพัดก็ดี ในการคาขายอยางอื่นทํานองเชนวานี้ก็ดี หาอยูในบังคับแหงบทบัญญัติซ่ึงกลาวมาในวรรคกอนนั้นไม” วินิจฉัย ตามปญหา จํานวนเงิน 500,000 บาท พรอมดอกเบี้ยกอนสมชายถึงแกกรรมนั้น ธนาคารสามารถคิดดอกเบี้ยทบตนไดตาม ปพพ. มาตรา 655 วรรค 2 เนื่องจากการกูเบิกเงินเกินบัญชีประกอบดวยสัญญาบัญชีเดินสะพัด และสัญญากูยืมเงิน จึงไมอยูในบังคับของมาตรา 655 วรรคแรก ที่หามคิดดอกเบี้ยทบตน สวนจํานวนเงิน 500,000 บาท พรอมดอกเบี้ยหลังสมชายถึงแกกรรมแลวนั้น ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได เนื่องจากการกูยืมเงินโดยวิธีบัญชีเดินสะพัดจากธนาคาร เบิกและใชคืนในวงเงินและกําหนดเวลา ตามขอตกลงเปนเรื่องเฉพาะตัว เมื่อผูกูตายสัญญาบัญชีเดินสะพัดระงับ จึงคิดดอกเบี้ยทบตนตอไปไมได(ฎ.1862/2518) คงเรียกรองหนี้รายนี้จากทายาทของผูตายไดเฉพาะตามสัญญากูยืมตามจํานวนเงินที่คางชําระเทานั้น 3.นายธงชัยเอาประกันภัยรถยนตกับบริษัทไทยประกันจํากัด วงเงิน 600,000 บาท ตอมานางอาภรณและเด็กหญิงธนาภรณ ภรรยาและบุตรสาวนายธงชัยไดขับรถคันดังกลาวไปธุระนอกบาน ไดถูกรถยนตบรรทุก 6 ลอของนายวิรัตน ซ่ึงมีนายดําลูกจางนายวิรัตนเปนคนขับชนโดยประมาท เปนเหตุใหรถยนตพังยับเยินทั้งคันและเด็กหญิงธนาภรณเสียชีวิต สวนนางอาภรณบาดเจ็บสาหัส บริษัทรุงเรืองประกันภัยเปนผูรับประกันภัยคํ้าจุนจากนายวิรัตน ไดตกลงจายคาเสียหายแกผูตายและผูบาดเจ็บแกนางอาภรณโดยนางอาภรณไมติดใจฟองรองตอไป บริษัทไทยประกันจํากัดไดชดใชคาเสียหายตามสัญญาประกันภัยแกนายธงชัยเปนเงิน 600,000 บาท แลวรับชวงสิทธิจากนายธงชัยฟองนายดํา นายวิรัตน และบริษัทรุงเรืองประกันภัยใหชดใชคาเสียหาย บริษัทรุงเรืองประกันภัยไดโตแยงวา ตนไดชดใชคาเสียหายไปเรียบรอยแลวจึงเปนการชําระหนี้มูลละเมิดแลว บริษัทไทยประกันจํากัดไมมีสิทธิมาฟองอีก ดังนี้ ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบายพรอมยกหลักกฎหมายประกอบ แนวตอบ

Page 2: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 861 บัญญัติวา”อันวาสัญญาประกันภัยนั้นคือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งจะใชคาสินไหมทดแทนหรือใชเงินจํานวนหนึ่งใหในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้นหรือในเหตุอยางอื่นในอนาคตดังไดระบุไวในสัญญา…” มาตรา 877 บัญญัติวา”ผูรับประกันภัยจําตองใชคาสินไหมทดแทนดั่งจะกลาวตอไปนี้คือ (1)เพื่อจํานวนวินาศภัยอันแทจริง …” มาตรา 880 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประกันภัยไดใชคาสินไหมทดแทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันภัยยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชนซ่ึงมีตอบุคคลภายนอกเพียงนั้น" มาตรา 887 บัญญัติวา”อันวาประกันภัยคํ้าจุนนั้นคือสัญญาประกันภัยซ่ึงผูรับประกันภัยตกลงวาจะใชคาสินไหมทดแทนในนามของผูเอาประกันภัยเพื่อความวินาศภัยอันเกิดขึ้นแกบุคคลอีกคนหนึ่งและซึ่งผูเอาประกันภัยจะตองรับผิดชอบ บุคคลผูตองเสียหายชอบที่จะไดรับคาสินไหมทดแทนตามที่ตนควรจะไดนั้นจากผูรับประกันภัยโดยตรง แตคาสินไหมทดแทนเชนวานี้ หาอาจจะคิดเกินไปกวาจํานวนอันผูรับประกันภัยจะพึงตองใชตามสัญญานั้นไดไม ในคดีระหวางบุคคลผูตองเสียหายกับผูรับประกันภัยนั้น ทานใหผูตองเสียหายเรียกตัวผูเอาประกันภัยเขามาในคดีดวย อนึ่ง ผูรับประกันภัยนั้นแมจะไดสงคาสินไหมทดแทนใหแกผูเอาประกันภัยแลว ก็ยังหาหลุดพนจากความรับผิดตอบุคคลผูตองเสียหายนั้นไม เวนแตตนจะพิสูจนไดวาสินไหมทดแทนนั้น ผูเอาประกันภัยไดใชใหแกผูตองเสียหายแลว” วินิจฉัย การรับชวงสิทธิเปนหลักเกณฑอันสําคัญของสัญญาประกันวินาศภัยเพราะมีความสัมพันธเกี่ยวของกับการจายคาสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่แทจริง เมื่อผูรับประกันภัยไดจายคาสินไหมทดแทนไปจํานวนเทาใดยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยเพียงเทานั้น การรับชวงสิทธิเกิดขึ้นโดยอํานาจของกฎหมายเมื่อลูกหนี้ตองชําระคาสินไหมทดแทนตามความเสียหายเต็มราคาทรัพยซ่ึงเปนวัตถุแหงมูลหนี้ ผูรับชวงสิทธิสามารถเขาใชสิทธิของผูเอาประกันภัยทั้งหมดที่มีอยูในนามของตนเองโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูเอาประกันภัยและกฎหมายมิไดกําหนดแบบหรือหลักเกณฑกฎหมายเปนหนังสือในการรับชวงสิทธิแตอยางใด ปญหาตามอุทาหรณ เมื่อรถยนตที่เอาประกันภัยของนายธงชัยถูกรถบรรทุก 6 ลอของนายวิรัตนชนเสียหายทั้งคัน บริษัทไทยประกันจํากัดผูรับประกันภัยจึงตองชดใชคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย (มาตรา 861 และ 877) เมื่อบริษัทไทยประกันจํากัดไดชดใชคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยเต็มจํานวนแลว ยอมรับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยคือนายธงชัยไปเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูกอวินาศภัยได (มาตรา 880) ในกรณีนี้ผูกอวินาศภัยคือนายดําลูกจางของนายวิรัตน ซ่ึงกระทําละเมิดในขณะทํางานในทางการที่จางนายดําตองรับผิด และนายวิรัตนตองรับผิดในฐานะนายจางดวย สวนบริษัทรุงเรืองประกันภัยในฐานะผูรับประกันภัยคํ้าจุนตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกนายธงชัยผูเสียหายในนามนายวิรัตน ผูเอาประกันภัยคํ้าจุน (มาตรา 887 วรรคแรก) ดังนั้น บริษัทไทยประกันจํากัดผูรับชวงสิทธินายธงชัย สามารถเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากบริษัทรุงเรืองประกันภัยได กรณีที่บริษัทรุงเรืองประกันภัยไดชดใชคาเสียหายใหแกนางอาภรณเปนคารักษาพยาบาลและคาเสียหายที่เด็กหญิงธนาภรณเสียชีวิตนั้นไมเปนการชดใชคาเสียหายในกรณีที่รถยนตของนายธงชัยถูกชนเสียหายทั้งคันดวย ดังนั้นนายธงชัยยิ่งมีสิทธิไดรับชดใชคาเสียหายเต็มจํานวนจากนายดํา นายวิรัตน ซ่ึงบริษัทรุงเรืองประกันภัยตองรับผิดในฐานะผูรับประกันภัยคํ้าจุน (มาตรา 887 วรรค2) ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัด ฟงไมขึ้น สรุป 1.บริษัทไทยประกันจํากัดตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกนายธงชัยตามสัญญาประกันวินาศภัย 2.บริษัทไทยประกันจํากัดสามารถรับชวงสิทธิของนายธงชัยเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากนายดํา นายวิรัตนได และในกรณีนี้บริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัดมีความผูกพันตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายในนามนายวิรัตน ซ่ึงตองรับผิดตามสัญญาประกันภัยคํ้าจุน

Page 3: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

3.บริษัทไทยประกันจํากัดจึงสามารถเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากบริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัดได ขออางของบริษัทรุงเรืองประกันภัยจํากัดฟงไมขึ้น 4.บริษัทสุโข จํากัด จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเปนนิติบุคคล เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2530 แตบริษัทดังกลาวไดมอบอํานาจใหนายธรรมราช เปนตัวแทนไปซื้อที่ดินแทนบริษัทในวันที่ 15 มิถุนายน 2530 เมื่อบริษัทจัดตั้งเรียบรอยแลว ผูถือหุนไดทวงติงวานายธรรมราชเปนตัวแทนที่ไมถูกตองของบริษัทสุโข จํากัด ในการซื้อขายที่ดินรายดังกลาวนี้ บริษัทสุโข จํากัด จึงใหสัตยาบันแกการกระทําของนายธรรมราช ทั้งนี้เพื่อใหนายธรรมราชเปนตัวแทนที่ถูกตองในการทําสัญญาซื้อที่ดิน เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2530 ที่ผานมา ขอใหวินิจฉัยวาบริษัทสุโข จํากัด สามารถใหสัตยาบันแกการกระทําของนายธรรมราช ในกรณีดังกลาวไดหรือไม แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 823 บัญญัติวา”ถาตัวแทนกระทําการอันใดอันหนึ่งโดยปราศจากอํานาจก็ดี หรือทํานอกทําเหนือขอบอํานาจก็ดี ทานวายอมไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะไดใหสัตยาบันแกการนั้นของตัวแทน" วินิจฉัย กรณีนี้เมื่อตัวการใหสัตยาบันยอนหลังใหกับตัวแทน ตัวแทนยอมมีอํานาจสมบูรณ ในการกระทําการแทนตัวการ ดังนั้นบริษัทสุโข จํากัด จึงสามารถใหสัตยาบันได เพราะไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลโดยชอบดวยกฎหมายแลว 5.สมทําสัญญากูยืมเงินแสดจํานวน 30,000 บาท โดยระบุลงในสัญญาขอหนึ่งวา”อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย” สมคางชําระดอกเบ้ีย ดังนี้เมื่อสมผิดสัญญาดังกลาว แสดจะเรียกใหสมชําระดอกเบี้ยที่คางชําระในอัตรารอยละ 15 ตอป ไดหรือไม อยางไร และแสดจะนําตนเงิน 30,000 บาท กับดอกเบี้ยที่คางชําระมารวมเปนตนเงินใหม และคิดดอกเบี้ยจากเงินจํานวนใหมนี้ตามสัญญาที่ทําไวไดอีกหรือไม แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 7 บัญญัติวา”ถาจะตองเสียดอกเบี้ยแกกันและมิไดกําหนดอัตราไวโดยนิติกรรม หรือโดยบทกฎหมายชัดแจง ใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป” มาตรา 655 วรรคแรก บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงิน แลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นก็ได แตการตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ” วินิจฉัย ตามปญหา การที่สมทําสัญญากูยืมเงินแสดจํานวน 30,000 บาท โดยระบุลงในสัญญาขอหนึ่งวา”อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย” นั้น ยอมถือไดวากรณีนี้มิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไวโดยนิติกรรมอันใดอันหนึ่งโดยชัดแจง ก็ตองถืออัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป เพราะตองดวยกรณีตาม ปพพ. มาตรา 7 (ฎ.487/2526) แสดสามารถเรียกใหสมชําระตนเงิน จํานวน 30,000 บาท และดอกเบ้ียในอัตราดอกเบี้ยรอยละเจ็ดครึ่งตอปได แตจะเรียกใหสมชําระดอกเบี้ยที่คางชําระในอัตรารอยละ 15 ตอป ไมได แตในกรณีแสดจะนําตนเงินจํานวน 30,000 บาท รวมกับดอกเบี้ยที่คางชําระ และคิดดอกเบี้ยจากยอดเงินใหมนั้น แสดทําไมได เพราะขัดกับบทบัญญัติของกฎหมายเรื่องไมใหคิดดอกเบี้ยทบตนตามมาตรา 655 ดังกลาวมาแลว แตแสดมิสิทธิคิดอัตราดอกเบี้ยอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอปจากตนเงิน 30,000 บาท

Page 4: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

6.นายแดงนํารถยนตของตนไปประกันภัยคํ้าจุนไวกับบริษัทดีเดนประกันภัยจํากัด ในวงเงิน 200,000 บาท แตมิไดแจงใหผูประกันภัยทราบวารถยนตของตนเคยถูกชนมาแลวหลายครั้ง ตอมานายแดงขับรถยนตคันที่เอาประกันภัยไปชนรถของนายดําเสียหาย เปนเงิน 100,000 บาท บริษัทดีเดนประกันภัย จํากัด ปฏิเสธความรับผิด โดยอางวานายแดงไมเปดเผยขอความจริง สัญญาประกันภัยคํ้าจุนเปนโมฆียะ และไดบอกลางโมฆียะกรรมนั้นแลว ดังนี้ขอตอสูของบริษัทดีเดนประกันภัย ชอบดวยกฎหมายหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอันการใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียเพื่อไมเปดเผยขอความจริงซ่ึงอาจจะไดจูงใจผูรับประกันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือใหบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลวแถลงขอความนั้นเปนความเท็จไซร ทานวาสัญญานั้นเปนโมฆียะ” วินิจฉัย การที่นายแดงนํารถยนตของตนไปทําประกันภัยคํ้าจุนไวกับบริษัทดีเดนประกันภัย แมนายแดงจะไดละเวนไมเปดเผยขอความจริงแกบริษัทดีเดนประกันภัยวา รถยนตของนายแดงเคยถูกชนมากอนก็ตาม แตขอความจริงดังกลาวก็มิใชขอสําคัญอันจะมีผลเปนการจูงใจบริษัทดีเดนประกันภัยเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นกวาที่เรียกไว หรือเปนเหตุบอกปดไมยอมทําสัญญาดวย กรณีจึงไมตองดวย ปพพ. มาตรา 865 อันจะทําใหสัญญาประกันภัยเปนโมฆียะ ดังนี้ ขอตอสูของบริษัทดีเดนประกันภัยจึงไมชอบดวยกฎหมาย 7. นายธานีแตงต้ังนายจินดาเปนตัวแทนดูแลกิจการคาไมแปรรูป โดยทําสัญญาตัวแทนกันมีอายุสัญญา 2 ป นายจินดาดูแลกิจการใหนายธานีไปไดเพียง 8 เดือน นายธานีก็แจงถอนนายจินดาออกจากการเปนตัวแทนของตน นายจินดาอางวานายธานีไมมีสิทธิที่จะถอนตัวแทนกอนกําหนดเวลา 2 ป เพราะไดทําสัญญากันไวแลว สวนนายธานีก็อางวาตนมีสิทธิที่จะถอนตัวแทนไดทุกเวลา กรณีเชนนี้ใหวินิจฉัยวาขออางของฝายใดถูกตอง เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 827 วรรคแรก บัญญัติวา”ตัวการจะถอนตัวแทน และตัวแทนจะบอกเลิกเปนตัวแทนเสียในเวลาใด ๆ ก็ไดทุกเมื่อ” วินิจฉัย ดังนั้น เมื่อนายธานีถอนนายจินดาออกจากการเปนตัวแทนกอนเวลาที่ตกลงกันไว นายธานียอมกระทําได ตาม ปพพ. มาตรา 827 วรรคแรก อยางไรก็ตามหากกรณีนี้เกิดความเสียหายขึ้นแกนายจินดา นายจินดาสามารถเรียกรองเอาจากนายธานีไดเชนกัน 8. ฟาทําสัญญากูยืมเงินน้ําเงิน จํานวน 40,000 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 15 ตอป กําหนดชําระเงินคืนภายใน 3 ป ฟาคางชําระดอกเบี้ยน้ําเงินเปนเวลา 2 ป วันหนึ่งน้ําเงินไปพบฟาที่ตลาด จึงไดทวงถามฟาใหชําระดอกเบี้ยดังกลาว ฟาตอบวาไมมีชําระ แตตกลงยินยอมใหน้ําเงินคิดดอกเบี้ยทบตนจากตนเงิน 40,000 บาท ได ดังนี้ น้ําเงินจะมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนไดหรือไม เพียงใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

Page 5: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

มาตรา 655 วรรคแรก บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงิน แลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นก็ได แตการตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ” วินิจฉัย ตามปญหา การที่น้ําเงินจะนําดอกเบี้ยที่คางชําระมารวมกับตนเงิน 40,000 บาท และคิดดอกเบี้ยทบตนจากจํานวนเงินดังกลาวนั้น ตองหามตาม ปพพ. มาตรา 655 แตถามีดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่งแลว ใหคิดดอกเบี้ยทบตนกันได ในกรณีนี้ฟาคางชําระดอกเบี้ยมากวา 1 ปแลว คือ 2 ป น้ําเงินกับฟาจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นก็ได แตการตกลงกันเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ เมื่อฟาตกลงกับน้ําเงินโดยไมไดทําเปนหนังสือ ดังนั้น น้ําเงินจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได ไดแตคิดดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอป ที่ตกลงกันไวในสัญญาเทานั้น 9.นายสีนํารถยนตไปประกันภัยคํ้าจุนไวกับบริษัทรุงเรืองประกันภัย ตอมานายสีไดขับรถยนตคันดังกลาวไปชนรถยนตของนายแสงโดยประมาทเลินเลอ เปนคาเสียหายจํานวน 50,000 บาท เวลาผานพนไป 1 ป 6 เดือน นายแสงไดเปนโจทกยื่นฟองบริษัทรุงเรืองประกันภัยใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามกรมธรรมประกันภัยคํ้าจุน บริษัทรุงเรืองประกันภัยตอสูวาไมตองรับผิด เนื่องจากนายแสงไมไดฟองคดีภายในกําหนด 1 ป นับแตวันกระทําละเมิด คดีจึงขาดอายุความดังนี้ ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยรับฟงไดหรือไม เพียงใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 882 วรรคแรก บัญญัติวา”ในการเรียกใหใชคาสินไหมทดแทน ทานหามมิใหฟองคดีเมื่อพนกําหนดสองปนับแตวันวินาศภัย” วินิจฉัย จากหลักกฎหมายดังกลาว บุคคลภายนอกผูไดรับความเสียหายจะตองฟองใหผูรับประกันภัยคํ้าจุนภายในกําหนดอายุความ 2 ป นับแตวันวินาศภัย การที่นายแสงไดยื่นฟองบริษัทรุงเรืองประกันภัยใหใชคาสินไหมทดแทน ไมใชฟองในมูลหนี้ละเมิด แตนายแสงไดฟองโดยอาศัยมูลหนี้ตามสัญญาประกันภัยจึงมีอายุความ 2 ปนับแตวันเกิดวินาศภัย ตาม ปพพ. มาตรา 882 วรรคแรก จะนําอายุความละเมิดมาบังคับไมได เมื่อนายแสงไดยื่นฟองคดีภายในกําหนด 2 ปนับแตวันเกิดวินาศภัย คดีจึงยังไมขาดอายุความ ดังนั้น ขอตอสูของบริษัทรุงเรืองประกันภัยจึงรับฟงไมได 10.นายสําราญตั้งนายพรเปนตัวแทนดูแลปมน้ํามันแหงหนึ่ง ซ่ึงนายสําราญเปนเจาของ ตอมานายสําราญทราบวานายพรมักชอบยักยอกรายไดจากการขายน้ํามันอยูเสมอ นายสําราญจึงถอนนายพรจากการเปนตัวแทนและติดประกาศแจงไวที่บริเวณปมน้ํามัน นายเสถียรซ่ึงเปนลูกจางเติมน้ํามันประจําไมไดสังเกตเห็นประกาศดังกลาว จึงไดนําเงินคาน้ํามันจํานวน 3,000 บาทไปชําระใหกับนายพรที่ตลาดเพราะบังเอิญพบนายพรพอดี ตอมานายสําราญไดไปทวงเงินคาน้ํามันจํานวน 3,000 บาทจากนายเสถียร กรณีเชนนี้ นายเสถียรจะตองชําระเงินคาน้ํามันใหกับนายสําราญอีกหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 831 บัญญัติวา”อันความระงับสิ้นไปแหงสัญญาตัวแทนนั้น ทานหามมิใหยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริต เวนแตบุคคลภายนอกหากไมทราบความนั้น เพราะความประมาทเลินเลอของตนเอง”

Page 6: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

วินิจฉัย กรณีตามอุทาหรณ การที่นายสําราญบอกเลิกการเปนตัวแทนของนายพร และติดประกาศไวในบริเวณปมน้ํามัน ซ่ึงบุคคลโดยทั่วไปอาจไมสนใจอานประกาศนั้น เมื่อนายเสถียรนําเงินคาน้ํามันไปชําระใหนายพรโดยไมทราบความจริงวานายพรหาไดเปนตัวแทนนายสําราญแตอยางใด จึงถือไดวานายเสถียรไดกระทําการโดยสุจริต นายเสถียรจึงสามารถอางความสุจริตตอสูกับนายสําราญและไมจําตองชําระเงินคาน้ํามันใหกับนายสําราญอีกแตอยางใด 11.ผูรับประกันภัยเอารถยนตที่รับประกันภัยไวถูกชนเสียหายไปใหอูซอมเสร็จเรียบรอยและสงมอบใหผูเอาประกันภัยรับไปแลว ผูรับประกันภัยจึงไปฟองเรียกรองเอาคาเสียหายจากผูที่ขับรถมาชนคันที่เอาประกันภัยเสียหายนั้นตามจํานวนคาซอมที่อูเรียกเก็บ ผูที่ขับรถมาชนใหการตอสูวา ผูรับประกันภัยยังไมไดชําระเงินคาซอมใหอูซอมไมมีอํานาจฟองเรียกรองคาเสียหายจากตนได ขอเท็จจริงปรากฏวาผูรับประกันภัยยังไมไดชําระคาซอมรถยนตใหอูจริง หากทานเปนศาลจะตัดสินคดีนี้วาอยางไร แนวตอบ

ตามเฉลย อางอิง ฎ.1006/2503 แตมิไดกลาวถึงรายละเอียดใด ๆ และมิไดสรุปธงคําตอบไวให จึงขอคัดลอกฎีกามาใหอานดังนี้

. คําพิพากษาฎีกาที่ 1006/2503 เจาของรถยนตที่ถูกรถจําเลยชน ไดเอารถประกันภัยไวกับบริษัทโจทกซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อรับประกันวินาศภัย บริษัทโจทกไดเอารถยนตที่ถูกรถจําเลยชนเสียหายไปใหอูซอมเสร็จ และมอบรถใหเจาของรับไปเรียบรอยแลว บริษัทโจทกก็ตองมีความผูกพันที่จะตองใชราคาคาซอมใหแกอูผูทําการซอมตามจํานวนเงินที่ตกลงกันไว เชนนี้ นับวาบริษัท โจทกไดใชคาสินไหมทดแทนไปแลวตามจํานวนเงินราคาคาจางที่ไดตกลงไวกับอูผูทําการซอม บริษัทโจทกยอมเขารับชวงสิทธิของเจาของรถที่ถูกชนซ่ึงมีตอจําเลย บริษัทโจทกจึงมีอํานาจฟองเรียกคาเสียหายจากจําเลยไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 880 วรรค 1 หมายเหตุ หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 880 วรรคแรก บัญญัติวา"ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประกันภัยไดใชคาสินไหมทดแทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันภัยยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชนซ่ึงมีตอบุคคลภายนอกเพียงนั้น" 12.กฎหมายกําหนดใหทํา”หลักฐานเปนหนังสือ” กรณีทําสัญญากูยืมเงินกันกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ทานเขาใจวาอยางไร จงอธิบาย แนวตอบ การที่กฎหมายกําหนดใหทํา”หลักฐานเปนหนังสือ” กรณีทําสัญญากูยืมเงินกันเกินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ขาพเจาเขาใจวาการกูยืมกันเปนจํานวนตามที่กฎหมายกําหนดคือกวาหาสิบบาทขึ้นไปเทานั้นที่ตองทําหลักฐานการกูยืมเงินเปนเกณฑหรือลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญจึงจะฟองบังคับคดีกันไดตามมาตรา 653 กฎหมายกําหนดเพียงใหมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญเทานั้น สวนการกูยืมเงินกันจํานวนหาสิบบาทหรือตํ่ากวาหาสิบบาทเทานั้นไมตองมีหลักฐานเปนหนังสือ ก็ฟองรองบังคับคดีกันได หลักฐานเปนหนังสือไมใชแบบของสัญญา แมไมไดทํากันไวสัญญากูยืมก็มีขึ้น เพียงแตถาไมไดทําเปนหนังสือลงลายมือช่ือผูยืมกรณีผูยืมกวาหาสิบบาทขึ้นไปก็จะรองบังคับคดีไมไดเทานั้น หลักฐานเปนหนังสือไมไดกําหนดรูปลักษณะวาจะตองทําในรูปหนังสือสัญญากูยืมเงินเทานั้น เพราะหลักฐานเปนหนังสือไมใชแบบของนิติกรรม หลักฐานการกูยืมเงินจะมีลักษณะรูปรางอยางใด ๆ ก็ได เพียงแตมีลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญ มีขอความแสดงวาเปนหนังสือจริงตามสัญญากูยืมก็ใชได ตัวอยางหลักฐานแหงการกูยืมเงินไดแกจดหมายโตตอบแสดงความเปนหนี้กัน รายงานการประชุม บันทึกเปรียบเทียบปรับของอําเภอเปนตน

Page 7: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

13.นายกรอบกูเงินนายเกียรติจํานวน 1,000 บาท โดยไมไดทําสัญญากูยืมกันไว เนื่องจากนายเกียรติเห็นวานายกรอบเปนเพื่อน เมื่อครบกําหนดคืนเงินนายกรอบก็ยังไมชําระหนี้เงินกู นายเกียรติไปทวงเงินนายกรอบที่สํานักงานตอหนาคนอื่น นายกรอบโมโหจึงพูดวาไมคืนอยากไดคืนก็ไปฟองเอา ดังนี้นายเกียรติปรึกษาทนายความโดยแจงวาการกูเงินรายนี้ไมไดทําหนังสือสัญญากูกันไว ทนายความจึงมีจดหมายถามไปยังนายกรอบวา กูเงินนายเกียรติไปจํานวน 1,000 บาท จริงหรือไมขอใหตอบดวย เงินเปนจํานวนเล็กนอยไมอยากใหฟองรองกัน นายกรอบตอบจดหมายทนายความวากูจริงและเลาพฤติการณของนายเกียรติใหฟง และลงช่ือทายจดหมายวากรอบ ตอมานายกรอบก็ยังไมชําระหนี้ ดังนี้ นายเกียรติจะฟองเรียกเงินกูคืนไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรคแรก บัญญัติวา"การกูยืมเงินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปนหนังสืออยางหนึ่งอยางใดลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองบังคับคดีหาไดไม" วินิจฉัย ตามปญหา แมนายกรอบกูเงินนายเกียรติ จํานวน 1,000 บาท โดยไมไดทําสัญญากูยืมเงินอันเปนหลักฐานในการฟองรองใหบังคับคดีกันไวก็ตาม แตตอมานายเกียรติไดไปติดตอทนายความทําจดหมายถามนายกรอบไปวาไดกูเงินนายเกียรติจริงหรือไมและนายกรอบไดตอบจดหมายมาวากูเงินนายเกียรติไปตามที่ถามมาจริง จดหมายตอบดังกลาวก็เปนหลักฐานในการใหกูยืมเงินแลว หลักฐานในการกูยืมเงินกันนั้นไมจําตองทําเปนหนังสือสัญญากูยืมกัน หลักฐานอื่น ๆ เชนจดหมายโตตอบแสดงความเปนหนี้ บันทึกประจําวันของสถานีตํารวจ หรือรายงายการประชุม ก็ถือเปนหลักฐานในการกูยืมไดแลวเชนกัน กรณีนี้นายเกียรติสามารถนําจดหมายที่นายกรอบเขียนตอบทนายความมาเปนหลักฐานในการฟองรองบังคับคดีใหนายกรอบใชหนี้เงินกูได 14.นายสุนัยมอบอํานาจใหนางจินตนาเปนตัวแทนไปติดตอธุรกิจการคาในตางจังหวัด และเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงานของนางจินตนา นายสุนัยไดอนุญาตใหนางจินตนาใชรถยนตของนายสุนัยขับไปตางจังหวัดได นายสุนัยยังไดตกลงใหบําเหน็จแกนางจินตนาเปนเงินจํานวน 10,000 บาทดวย ตอมานางจินตนาทําหนาที่ตัวแทนใหนายสุนัยเสร็จสิ้นแลวก็ทวงถามเงินคาบําเหน็จจากนายสุนัย ซ่ึงนายสุนัยก็ผัดผอนเปนประจํา นางจินตนาจึงยึดรถยนตคันดังกลาวของนายสุนัยไว แลวแจงแกนายสุนัยวาหากไมชําระคาบําเหน็จก็จะไมคืนรถยนตให นายสุนัยอางวานางจินตนาไมมีสิทธิที่จะยึดหนวงรถยนตไวได เพราะราคารถยนตเกินกวาคาบําเหน็จมาก และไมไดมีขอตกลงกันใหยึดหนวงรถยนตไวได เชนนี้ทานเห็นวานางจินตนาจะสามารถยึดหนวงรถยนตไวจนกวานายสุนัยจะชําระคาบําเหน็จไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 819 บัญญัติวา"ตัวแทนชอบที่จะยึดหนวงทรัพยสินอยางใด ๆ ของตัวการ อันตกอยูในความครอบครองของตนเพราะการเปนตัวแทนนั้นเอาไวจนกวาจะไดรับเงินบรรดาคางชําระแกตนเพราะการเปนตัวแทน" วินิจฉัย ดังนั้นการที่สุนัยมอบใหนางจินตนาครอบครองรถยนตของนายสุนัย และนางจินตนายังมิไดคืนรถยนตคันดังกลาวใหแกนายสุนัยไป จึงทําใหนางจินตนาสามารถใชสิทธิยึดหนวงรถยนตไวจนกวานายสุนัยจะชําระคาบําเหน็จ ขออางของนายสุนัยฟงไมขึ้น เพราะการใชสิทธิยึดหนวงในกรณีนี้เปนการใชสิทธิที่กฎหมายบัญญัติไว แมไมมีขอตกลงเรื่องนี้ไวระหวางตัวการกับตัวแทน ตัวแทนก็สามารถใชสิทธิยึดหนวงได

Page 8: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

15.นายแดงขอเอาประกันภัยรถยนตกับบริษัท รุงเรืองประกันภัย จํากัด นายแดงไดกรอกใบคําขอเอาประกันภัยใหนายขาวเจาหนาที่รับประกันภัยของบริษัทไดพิจารณาแลว นายขาวตกลงรับประกันภัยโดยกําหนดเบี้ยประกันภัยใหนายแดงชําระ 6,000 บาท ตอมาบริษัทรุงเรืองประกันภัย จํากัด ไดออกกรมธรรมประกันภัยใหนายแดงแลว แตนายแดงยังไมไดชําระเบี้ยประกันภัย บริษัทรุงเรืองประกันภัย จํากัด ไดมีหนังสือทวงถามกําหนดเงื่อนไขไปวา ถาไมนําเบี้ยประกันภัยไปชําระภายในกําหนดเวลา บริษัทรุงเรืองประกันภัย จํากัด จะไมรับผิดชอบใด ๆ ตามกรมธรรมประกันภัย ตอมารถยนตคันที่เอาประกันภัยประสบอุบัติเหตุ บริษัทรุงเรืองประกันภัย จํากัด จะปฏิเสธความรับผิดตามสัญญาประกันภัยไดหรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบาย แนวตอบ

สัญญาประกันภัยเกิดขึ้นตามกฎหมายแลว ผูรับประกันภัยจะปฏิเสธความรับผิดไมได ผูรับประกันภัยตองชดใชความเสียหาย

เทียบเคียงฎีกาที่ 1306/2514 คําพิพากษาฎีกาที่ 1306/2514 โจทกเสนอขอเอาประกันภัยรถยนตบรรทุกของโจทกตอบริษัทรับประกันภัยจําเลยนอกจากบริษัทจําเลยจะใหโจทกกรอกแบบคําเสนอขอเอาประกันภัยแลว พนักงานบริษัทยังไดจดแจงจํานวนเงินเบี้ยประกันภัยไวบนใบเสนอขอเอาประกันภัยนี้ เพื่อโจทกไดทราบดวยแลวตอมาบริษัทจําเลยไดออกกรมธรรมประกันภัยใหแกโจทก พรอมทั้งมีหนังสือเตือนใหโจทกสงเงินเบี้ยประกันภัยไปยังบริษัททันทีเมื่อไดรับกรมธรรมประกันภัย เชนนี้ยอมถือวาสัญญาประกันภัยไดเกิดขึ้นและมีผลผูกมัดคูกรณีแลว ขอความในหนังสือบริษัทจําเลยซ่ึงขอใหโจทกรีบสงเบี้ยประกันภัยไปยังบริษัททันที รวมทั้งที่มีระบุไวในคําขอเอาประกันภัยวา "ยังไมมีความรับผิดใด ๆ จนกวาบริษัทจะยอมรับคําขอเอาประกันนี้และไดชําระเบี้ยประกันเต็มจํานวนแลว" ไมพอฟงเปนเงื่อนไขวา สัญญาจะมีผลผูกพันตอเมื่อมีการชําระเบี้ยประกันภัยครบถวนแลว 16.นายกลาตองการขายที่ดินแปลงหนึ่งใหกับนายแกว แตเนื่องจากนายกลากับนายแกวไมคอยจะถูกกัน นายกลาจึงมอบใหนายไกไปดําเนินการแทนให นายไกก็เขาดําเนินการแทนใหนายกลาจนการซื้อขายที่ดินแปลงดังกลาวสําเร็จลุลวงดวยดี และเนื่องจากนายกลาสัญญาวาจะใหบําเหน็จแกนายไกจํานวนหนึ่งหากงานสําเร็จ นายไกจึงทวงถามใหนายกลาชําระเงินคาบําเหน็จ แตนายกลาปฏิเสธโดยอางวา การซ้ือขายที่ดินกฎหมายกําหนดวาตองทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนก็ตองทําเปนหนังสือดวย เมื่อนายกลากับนายไกไมไดตกลงการเปนตัวแทนกันเปนหนังสือ สัญญาตัวแทนจึงใชไมไดและไมผูกพันกัน ขอใหทานวินิจฉัยดังนี้

1) นายไกเปนตัวแทนนายกลาหรือไม ในการเขาทําการแทนนายกลาเรื่องการขายที่ดินดังกลาว 2) ขออางนายกลารับฟงไดหรือไม เพราะเหตุใด ธงคําตอบ หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 797 บัญญัติวา “อันวาสัญญาตัวแทนนั้น คือ สัญญาซึ่งใหบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวแทน มีอํานาจทําการแทนบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวาตัวการ และตกลงจะทําการดั่งนั้น อันความเปนตัวแทนนั้นจะเปนโดยแตงต้ังแสดงออกชัดหรือเปนโดยปริยายก็ยอมได” มาตรา 798 บัญญัติวา “ กิจการอันใดทานบังคับไวโดยกฎหมายวาตองทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อกิจการอันนั้นก็ตองทําเปนหนังสือดวย…” วินิจฉัย ตามปญหา

Page 9: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

1.นายกลาไดมอบหมายใหนายไกไปดําเนินการขายที่ดินของตน และนายไกก็เขาทําการแทนนายกลาจนการซื้อขายที่ดินแปลงดังกลาวสําเร็จลุลวง เชนนี้เปนการที่นายไกตกลงรับทําการแทนนายกลาตัวการ นายไกจึงเปนตัวแทนนายกลา ตามมาตรา 797 แหง ปพพ.

2.การที่นายกลาอางวาการซื้อขายที่ดิน กฎหมายกําหนดวาตองทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนก็ตองทําเปนหนังสือตามมาตรา 798 วรรคแรก ปพพ.นั้น เมื่อนายกลากับนายไกไมไดตกลงทําการเปนตัวแทนเปนหนังสือ สัญญาตัวแทนจึงใชไมไดนั้น มาตรา 798 มิใชแบบของสัญญาตัวแทน สัญญาตัวแทนไมมีแบบแตอยางใด เมื่อคูสัญญาตกลงกันแมดวยวาจาสัญญาตัวแทนก็เกิดขึ้น ผูกพันนายไกตัวแทน กับนายกลาตัวการ ตามมาตรา 797 ปพพ.แลว ขออางของนายกลาจึงฟงไมขึ้น 17.นายชมทําหนังสือสัญญากูยืมเงินนางชอยเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2540 จํานวน 50,000 บาท อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย กําหนดชําระภายใน 3 ป นายชมมีปญหาเรื่องเงินเนื่องจากเศรษฐกิจไมดีจึงไมไดชําระดอกเบี้ยใหนางชอยติดตอมาตั้งแตเร่ิมกูยืมเงินนางชอย นางชอยทวงถามใหนายชมชําระมาโดยตลอด แตนายชมก็ไมเคยชําระดอกเบี้ยเลย วันที่ 21 มกราคม 2541 นางชอยจึงไปพบนายชมที่บานแลวทําหนังสือสัญญาตกลงกันวา นายชมยินยอมใหนางชอยคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่คางชําระทั้งหมด ตอมานายชมไมชําระเงินตนและดอกเบี้ยจนถึงวันที่ 20 มกราคม 2543 ดังนี้นางชอยจะทวงถามใหนายชมชําระดอกเบี้ยทบตนในหนี้จํานวนดังกลาวไดหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด ธงคําตอบ หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

มาตรา 655 วรรคแรก “หามทานมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวา 1 ป คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นได แตการตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ”

ตามปญหาการที่นางชอยจะคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่นายชมคางชําระมาตั้งแตเร่ิมกูยืมกันนั้นตองหามตามกฎหมาย เพราะตาม ปพพ.มาตรา 655 นั้นมีหลักเกณฑวาดอกเบี้ยตองคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญาจึงจะตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตนได แสดงวาดอกเบี้ยที่คางชําระต้ังแตกูยืมกันในปแรกนั้นนางชอยจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได คูสัญญาจะตกลงกันใหดอกเบี้ยทบตนไดตอเมื่อนายชมคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง ดังนั้นนางชอยจะคิดดอกเบี้ยทบตนไดในปที่สอง คือ ต้ังแตวันที่ 21 มกราคม 2541 เปนตนไป สวนในปแรกตองคิดดอกเบี้ยตามกฎหมายคือรอยละเจ็ดครึ่ง ตอปโดยไมทบตน สรุป 1. นางชอยคิดดอกเบี้ยทบตนในปแรกไมได คงคิดอัตราดอกเบี้ยไดรอยละ 7.5 ตอป 2. นางชอยคิดดอกเบี้ยทบตนในปที่สองเปนตนไปได 18.นายสมทําสัญญาประกันภัยสินคาในคลังสินคาของตนกับบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด จํานวน 5 ลานบาท โดยระบุในกรมธรรมประกันภัยยกประโยชนใหนายสงบุตรชายของตนโดยใหนายสงเปนผูเก็บกรมธรรมประกันภัยไว ปรากฏวาหลังทําประกันภัยแลว 20 วัน น้ําไดทวมสินคาในคลังสินคาดังกลาวเสียหายทั้งหมด นายสงจึงไดแจงตอบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัดวา ตนจะเขาถือประโยชนตามสัญญาประกันภัย เพื่อเรียกคาสินไหมทดแทนจํานวน 5 ลานบาท จากบริษัทฯ บริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด ไดปฏิเสธสิทธิของนายสงโดยอางวา

1) นายสงไมไดเปนผูทําสัญญาประกันภัยฉบับดังกลาว 2) นายสงไมไดแสดงเจตนาตอบริษัทฯ วาจะถือเอาประโยชนจากสัญญาฉบับนี้ต้ังแตแรกที่ทําสัญญากัน ดังนี้ทานเห็นวาขออางของบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด ฟงขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด

ธงคําตอบ หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

Page 10: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

มาตรา 862 วรรคสาม บัญญัติวา "คําวา“ผูรับประโยชน” ทานหมายความวา บุคคลผูจะพึงจะไดรับคาสินไหมทดแทน หรือรับจํานวนใชให

วรรคสี่ อนึ่ง ผูเอาประกันภัยและผูรับประโยชนนั้น จะเปนบุคคลคนหนึ่งคนเดียวกันก็ได" มาตรา 374 บัญญัติวา"ถาคูสัญญาฝายหนึ่งทําสัญญาตกลงวาจะชําระหนี้แกบุคคลภายนอกไซร ทานวาบุคคลภายนอกมี

สิทธิที่จะเรียกชําระหนี้จากเจาหนี้โดยตรงได ในกรณีดังกลาวมาในวรรคตนนั้น สิทธิของบุคคลภายนอกยอมเกิดมีขึ้นตั้งแตเวลาที่แสดงเจตนาแกลูกหนี้วาจะถือเอา

ประโยชนจากสัญญานั้น"

1. ตามปญหาการที่นายสมทําสัญญาประกันภัยสินคาในคลังสินคาของตนกับบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด โดยยกประโยชนใหแกนายสงนั้น นายสงยอมเปนผูรับประโยชน ตามมาตรา 862 วรรคสาม และในกรณีดังกลาวผูเอาประกันภัยและผูรับประโยชน มิใชบุคคลเดียวกันตามมาตรา 862วรรคสี่

การที่บริษัท ทําดีประกันภัย จํากัด ปฏิเสธสิทธิของนายสงวานายสงไมไดเปนผูทําสัญญาฉบับดังกลาว จึงไมสามารถเรียกคาสินไหมทดแทนได ฟงไมขึ้น เพราะกรณีตามปญหาของนายสง เรียกคาสินไหมทดแทนในฐานะผูรับประโยชน

2. การที่นายสมทําสัญญาประกันภัยยกประโยชนใหแกนายสงบุตรชาย เปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอก บุคคลภายนอกคือนายสง มีสิทธิที่จะเรียกชําระหนี้จากลูกหนี้ คือ บริษัท ทําดีประกันภัย จํากัดโดยตรงได ตามมาตรา 374 วรรคแรก ปพพ. และการที่นายสงไดแจงตอบริษัทฯวา จะเขาถือประโยชนตามสัญญาประกันภัย เมื่อน้ําไดทวมคลังสินคาดังกลาวเสียหายนั้น ถือวาสิทธิของนายสงไดเกิดขึ้นตั้งแตเวลาที่แสดงเจตนาแกลูกหนี้คือบริษัท ทําดีประกันภัย จํากัดวาจะถือเอาประโยชนจากสัญญานั้น แลวตามมาตรา 374 วรรคสอง ปพพ. บริษัทจะปฏิเสธสิทธิของนายสงวาไมไดแสดงเจตนาแกบริษัทฯ วาจะถือเอาประโยชนจากสัญญาฉบับนี้ต้ังแตแรกที่ทําสัญญากัน ขออางของบริษัทฯ ดังกลาวฟงไมขึ้น 19. นายทอง เปนตัวแทนขายประกันใหกับบริษัท จงดี จํากัด ประกันภัย โดยมีขอตกลงเรื่องบําเหน็จตัวแทนตามธรรมเนียมของธุรกิจประเภทนี้ เนื่องจากบริษัท จงดีจํากัดประกันภัยมีปญหาดานการเงิน จึงติดคางคาบําเหน็จแกนายทองเปนเงิน 30,000 บาท นายดําไดทําสัญญาประกันชีวิตผานนายทองตัวแทนของบริษัท จงดีจํากัดประกันภัย และเมื่อครบกําหนดการชําระเบี้ยประกัน นายดําไดนําเงินจํานวน 25,000 บาท มาชําระใหกับนายทอง นายทองไดแจงบริษัทฯ วา ตนจําเปนตองยึดเงินจํานวนนี้ไว เพราะทางบริษัทฯไมยอมชําระคาบําเหน็จที่คางอยู บริษัทฯก็ไมวากลาวอะไรกับนายทอง แตไดมีหนังสือทวงถามนายดําใหชําระเบี้ยประกัน ซ่ึงนายดําก็ไดแจงบริษัทฯวา ตนชําระแลวผานทางตัวแทนคือนายทอง และไดไปทวงเงิน 25,000 บาท ดังกลาวจากนายทอง โดยโตแยงวา นายทองไมมีสิทธิยึดหนวงไว เพราะเปนเงินของนายดํามิใชเงินของบริษัทฯ เชนนี้

1) ทานเห็นวา เงินจํานวน 25,000 บาทนี้ เปนทรัพยสินของบริษัท จงดี จํากัดประกันภัยที่นางทองสามารถยึดหนวงไวไดหรือไม

2) นายดําตองชําระเบี้ยประกันใหบริษัท จงดีจํากัดประกันภัยใหมอีกหรือไม หากไมสามารถจะเรียกคืนจากนายทองได แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 819 บัญญัติวา “ ตัวแทนชอบที่จะยึดหนวงทรัพยสินอยางใด ๆ ของตัวการอันตกอยูในความครอบครองของตน

เพราะการเปนตัวแทนนั้นเอาไวไดจนกวาจะไดรับเงินบรรดาคางชําระแกตนเพราะการเปนตัวแทน” มาตรา 820 บัญญัติวา “ ตัวการยอมมีความผูกพันตอบุคคลภายนอก ในกิจการทั้งหลายอันตัวแทนหรือตัวแทนชวงได

ทําไปภายในขอบเขตอํานาจแหงฐานตัวแทน” วินิจฉัย

กรณีตามอุทาหรณ เมื่อนายดําชําระเบี้ยประกันใหกับนายทอง กรรมสิทธิ์ในเงินจํานวนนี้ไดตกเปนของบริษัท จงดีจํากัดประกันภัยแลว ดังนั้นนายทองจึงสามารถยึดหนวงไวได เพราะเหตุที่บริษัทฯ ซ่ึงเปนตัวการไดคางชําระบําเหน็จตัวแทนแกนายทอง

Page 11: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

และเมื่อนายดําไดชําระเบี้ยประกันใหกับตัวแทนของบริษัทฯ โดยถูกตองครบถวนแลว บริษัทฯ ในฐานะตัวการก็ตองรับผิดชอบในการกระทําของตัวแทนของตน กลาวคือ ตองถือวานายดําชําระเบี้ยประกันใหบริษัทฯไปแลว จึงไมมีหนาที่ตองชําระเบี้ยประกันใหมแตอยางใด

สรุป 1. เงินจํานวน 25,000 บาท เปนทรัพยสินของทางบริษัทฯที่นายทองสามารถยึดเหนี่ยวไวได 2. นายดําไมตองชําระเบี้ยประกันใหกับบริษัทฯอีก

20. นายขาวกูยืมเงินนายเขียว 50,000 บาท โดยทําสัญญากูยืมเงินกันเปนหนังสือมีกําหนดชําระภายใน 3 ป ตอมานายขาวไดยายภูมิลําเนาไปอยูตางจังหวัด เมื่อถึงกําหนดชําระหนี้เงินกู นายขาวไมสะดวกจะเดินทางมาชําระหนี้เงินกูดวยตนเอง จึงโอนเงินเขาบัญชีเงินฝากของนายเขียวที่ธนาคาร ไทยนคร โดยทางโทรเลข นายเขียวไดรับชําระหนี้ครบถวน แตเห็นชองวางทางกฎหมายวานายขาวไมมีหลักฐานการใชเงินแตอยางใด จึงฟองใหนายขาวใชหนี้เงินกูจํานวน 50,000 บาทอีก ดังนั้นนายขาวจะมีขอตอสูนายเขียวเพื่อจะไดไมตองชําระหนี้ดังกลาวอีกไดหรือไม เพียงใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรค 2 “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดก็ตอเมื่อมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไดเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว” มาตรา 321 “ถาเจาหนี้ยอมรับการชําระหนี้อยางอื่นแทนการชําระหนี้ที่ไดตกลงกันไว ทานวาหนี้นั้นก็เปนอันระงับสิ้นไป” วินิจฉัย ตามปญหาการกูยืมเงินระหวางนายขาวและนายเขียวเปนการกูยืมเงินที่มีหลักฐานเปนหนังสือ การนําสืบการใชเงินก็ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือไดมีการเวนคืนหลักฐานการกูยืมเงิน หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรค 2 จึงจะตอสูนายเขียวผูใหยืมได แตการที่นายขาวไดโอนเงินทางโทรเลขเขาบัญชีเงินฝากของนายเขียวที่ธนาคาร ไทยนครนั้นถือเปนการชําระหนี้อยางอื่นตาม ปพพ. มาตรา 321 ไมอยูในบังคับของมาตรา 653 วรรค 2 เมื่อนายเขียวในฐานะเจาหนี้ไดยอมรับแลว ถือวานายขาวไดชําระหนี้เงินกูใหนายเขียวแลว นายขาวจึงไมตองปฏิบัติตาม มาตรา 653 วรรค 2 ดังนั้นนายขาวสามารถตอสูนายเขียวไดโดยไมตองชําระหนี้ดังกลาวอีก (ฎีกา 2965/2531) 21. นายไสวขับรถยนตชนรถของนายสนองเสียหาย บริษัท จักรินทรประกันภัย จํากัด ที่นายสนองทําประกันภัยรถยนตของตนไวไดซอมแซมรถยนตของนายสนองเปนเงินทั้งสิ้น 100,000 บาท บริษัทฯจึงฟองเรียกเงินจากนายไสวในฐานะละเมิด ดังนี้ บริษัทจักรินทรประกันภัย จํากัด มีสิทธิฟองไดหรือไม เมื่อขอเท็จจริงไดความวา นายสนองยังไมไดยื่นฟองนายไสวแตอยางใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 880 “ ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประกันภัยไดใชคาสินไหมทดแทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันก็ยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชนซ่ึงมีตอบุคคลภายนอกเพียงนั้น” วินิจฉัย กรณีตามปญหา เมื่อบริษัท จักรินทรประกันภัย จํากัด ผูรับประกันไดซอมรถยนตใหแกนายสนองผูเสียหายแลว ยอมถือวาไดชดใชคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยตามกฎหมาย จึงฟองเรียกเงินจากนายไสวในฐานละเมิดไดเปนจํานวน 100,000 บาท แมขอเท็จจริงไดความวา นายสนองยังไมไดยื่นฟองนายไสวแตอยางใด (ฎีกา 1006/2503)

Page 12: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

22.สมทรงเปนเจาของรานขายขาวสาร แตงต้ังสมหญิงเปนตัวแทนทําหนาที่ผูจัดการราน โดนมีคําสั่งใหสมหญิงขายขาวสารใหแกลูกคาเงินสดเทานั้น สมนึกเปนเพื่อนสนิทของสมหญิงไดมาขอซื้อขาวสารจากรานดวยเงินเขื่อจํานวน 5,000 บาท และสมหญิงก็ไดขายใหสมนึกไป ตอมาถึงกําหนดชําระหนี้ สมทรงไดทําหนังสือทวงถามคาขาวสารจากสมนึก แตสมนึกก็ไมยอมชําระให สมทรงจึงเรียกรองเอาจากสมหญิง ดังนี้ สมหญิงจะมีขอตอสูเพื่อขอไมรับผิดตอสมทรงอยางไรบางหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 812 บัญญัติวา “ ถามีความเสียหายเกิดขึ้นอยางใด ๆ เพราะความประมาทเลินเลอของตัวแทนก็ดี เพราะไมทํา

การเปนตัวแทนก็ดี หรือเพราะทําการโดยปราศจากอํานาจหรือนอกเหนืออํานาจก็ดี ทานวาตัวแทนจะตองรับผิด” มาตรา 823 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “ถาตัวแทนกระทําการอันใดอันหนึ่งอันปราศจากอํานาจก็ดีหรือทํานอกเหนือขอบ

อํานาจก็ดี ทานวายอมไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะใหสัตยาบันแกการนั้น…”

วินิจฉัย การที่สมหญิงขายขาวสารแกสมนึกดวยเงินเช่ือไปนั้น เปนการที่ตัวแทนกระทําการโดยนอกเหนือขอบอํานาจ เนื่องจากสมทรงตัวการไดใหขายขาวสารแกลูกคาดวยเงินสดเทานั้น ตอมาเมื่อสมทรงตัวการไดทําหนังสือทวงถามคาขาวสารจากสมนึกนั้นยอมเปนการใหสัตยาบันแกการที่สมหญิงตัวแทนทําการนอกเหนือขอบอํานาจ เปนผลใหการซ้ือขายขาวสารดวยเงินเช่ือนั้นผูกพันสมทรงตัวการ ตาม ปพพ. มาตรา 823 วรรคหนึ่ง แตอยางไรก็ตามไมเปนผลใหสมหญิงตัวแทนหลุดพนจากความรับผิดที่มีตอสมทรงตัวการอันเนื่องมาจากการกระทําดังกลาวที่ทําใหสมทรงตัวการไดรับความเสียหายจากการที่ไมไดรับชําระหนี้จากสมนึกเปนเงินจํานวน 5,000 บาท ตาม ปพพ. มาตรา 812 ดังนั้นสมหญิงจึงตองรับผิดในหนี้ดังกลาวตอสมทรง (นัยคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1611/2512,1394/2526) สรุป สมหญิงไมมีขอตอสูใดเพื่อไมขอรับผิดตอสมทรง 23. สุนันททําหนังสือกูยืมเงินสุนัยไป 800,000 บาทโดยตกลงใหมีการคิดดอกเบี้ยรอยละ 18 ตอเดือน เมื่อสุนันทไมชําระหนี้เงินกู สุนัยจึงมีจดหมายทวงถามใหชําระหนี้ สุนันทตอบจดหมายวาไมเคยกูยืมเงินสุนัยไปและลงช่ือสุนันทในจดหมาย ดังนั้น สุนัยจะฟองเรียกหนี้เงินกูจํานวน 800,000 บาท และเรียกดอกเบี้ยจากสุนันทไดหรือไม เพียงใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “การกูยืมเงินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานการกูยืมเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองใหบังคับคดีหาไดไม…” มาตรา 654 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยเกินรอยละสิบหาตอป ถาในสัญญากําหนดดอกเบี้ยเกินกวานั้น ก็ใหลดลงมาเปนรอยละสิบหาตอป” วินิจฉัย สุนัยฟองเรียกตนเงิน 800,000 บาทจากสุนันทได เนื่องจากการกูยืมรายนี้ไดทําหลักฐานการกูยืมเงิน คือ สัญญากูยืมเงินเปนหนังสือไว สวนการที่สุนันทตอบจดหมายวาไมเคยกูเงินสุนัยไป ก็ไมมีผลใหสัญญากูยืมเงินที่ทําไวเสียหายไปแตอยางไร สุนัยจึงสามารถฟองรองเรียกตนเงินจากสุนันทได สวนดอกเบี้ยที่คิดในอัตรารอยละ 18 ตอเดือนนั้น เกินอัตราที่กฎหมายกําหนด ตามมาตรา 654 ดอกเบี้ยตามสัญญาจึงเปนโมฆะทั้งหมด ดังนั้น สวนที่เปนดอกเบี้ยจึงเรียกไมได แตสุนัยสามารถเรียกดอกเบี้ยไดรอยละ 7ครึ่งตอป นับต้ังแตผิดนัดเปนตนไปตามมาตรา 224

Page 13: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

สรุป สุนัยฟองเรียกเงินกูจํานวน 800,000 บาทได และเรียกดอกเบี้ยจากสุนันทนับต้ังแตวันที่ผิดนัดไดรอยละ 7.5 ตอป 24. สายัณหเขาใจวาบานของตนมีราคา 5,000,000 บาท จึงไดทําสัญญาประกันวินาศภัยบานไวกับบริษัทยามเย็นประกันภัย เปนจํานวน 5,000,000 บาท ตอมาบานถูกไฟไหม สายัณหเรียกรองใหบริษัทยามเย็นฯ ชดใชคาสินไหม จํานวน 5,000,000 บาท ใหแกตน ดังนี้ บริษัทฯ ตองจายเงินจํานวน 5,000 ,000 บาท ตามที่สายัณหไดทําสัญญาไวหรือไม ถาหากบริษัทฯ พิสูจนไดวาบานของสายัณหมีราคาเพียง 2,000,000 บาท เทานั้น และสายัณหมีสิทธิเรียกรองบริษัทอยางไรบาง แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 863 บัญญัติวา “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถาผูเอาประกันภัยมิไดมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันภัยไวนั้นไซร ทาน

วายอมไมผูกพันคูสัญญาแตอยางหนึ่งอยางใด” มาตรา 874 บัญญัติวา “ถาคูสัญญาไดกําหนดราคาแหงมูลประกันภัยไว ผูรับประกันภัยชอบที่จะไดลดจํานวนคาสิน

ไหมทดแทน ก็แตเมื่อพิสูจนไดวาราคาแหงมูลประกันภัยตามที่ไดตกลงกันไวนั้นเปนจํานวนสูงเกินไปหนัก และคืนจํานวนเบี้ยประกันภัยใหตามสวนกับทั้งดอกเบี้ยดวย”

วินิจฉัย การเอาประกันภัยมากกวาสวนไดเสียที่ผูเอาประกันภัยมีอยู ไมมีผลกระทบถึงความสมบูรณของสัญญาประกันแตอยางใด ตราบที่ผูเอาประกันภัยมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันภัยแลวสัญญายอมผูกพันกันตามมาตรา 863 ตามที่สายัณหทําสัญญาประกันภัยบานไวจํานวน 5 ลานบาทโดยเขาใจวาบานของตนมีราคา 5 ลานบาท แตปรากฏวาเมื่อบริษัทฯ พิสูจนไดวาราคาบานที่เอาประกันภัยเปนจํานวนสูงเกินไปหนักคือราคาเพียง 2 ลานบาท บริษัทก็สามารถลดจํานวนคาสินไหมได และคืนจํานวนเบี้ยประกันภัยใหกับสายัณหตามสวนกับทั้งดอกเบี้ย ดังนั้นสายัณหมีสิทธิใหบริษัทฯ คืนเบี้ยประกันใหตนตามสวนพรอมทั้งดอกเบี้ยตามาตรา 874 25. สําลีเปนเจาของรานขายอะไหลรถยนต มอบหมายใหสํารวยเปนผูจัดการรานและอนุญาตใหสํารวยตั้งสํานวนเปนตัวแทนชวงได หากขอเท็จจริงปรากฏวา ขณะที่สําลีไปทําธุรกิจตางจังหวัด สํารวยจึงตั้งสํานวนและสําคัญเปนตัวแทนชวง โดยที่สํารวยทราบดีวาสํานวนเคยถูกศาลพิพากษาใหจําคุกในคดีความผิดที่เกี่ยวกับทรัพยมาหลายครั้งแลวไมแจงใหสําลีทราบ ปรากฏวาตอมาสํานวนไดยักยอกเงินของรานไปเปนจํานวน 5,000 บาท ดังนี้ การตั้งตัวแทนชวงของนายสํารวยชอบดวยกฎหมายหรือไม และสําลีจะฟองเรียกคาสินไหมทดแทนในความเสียหายดังกลาวจากสํารวยไดหรือไม อยางไร แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 797 บัญญัติวา “อันวาสัญญาตัวแทนนั้น คือ สัญญาซึ่งใหบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวแทน มีอํานาจทําการแทนบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวาตัวการ และตกลงจะทําการดั่งนั้น อันความเปนตัวแทนนั้นจะเปนโดยแตงต้ังแสดงออกชัดหรือเปนโดยปริยายก็ยอมได” มาตรา 808 บัญญัติวา “ตัวแทนตองทําการดวยตนเอง เวนแตจะมีอํานาจใชตัวแทนชวงทําการได” มาตรา 813 บัญญัติวา “ตัวแทนผูใดตั้งตัวแทนชวงตามที่ตัวการระบุใหต้ัง ทานวาตัวแทนผูนั้นจะตองรับผิดเพียงแตในกรณีที่ตนไดรูวาตัวแทนชวงนั้นเปนผูที่ไมเหมาะแกการหรือเปนผูที่ไมสมควรไววางใจแลวและมิไดแจงความนั้นใหตัวการทราบหรือมิไดเลิกถอนตัวแทนชวงนั้นเสียเอง” วินิจฉัย

Page 14: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

ตามปญหา สํารวยผูจัดการรานอะไหลรถยนตมีอํานาจกระทําการแทนสําลีจึงเปนตัวแทนของสําลีตาม ปพพ. มาตรา 797 สํารวยจะตั้งสํานวนและสําคัญเปนตัวแทนชวง ซ่ึงตามขอเท็จจริงปรากฏวา สําลีตัวการอนุญาตใหต้ังสํานวนเปนตัวแทนชวงได แตหาไดอนุญาตใหต้ังสําคัญเปนตัวแทนชวงดวยไม ดังนั้นสํารวยตัวแทนจึงตั้งสํานวนเปนตัวแทนชวงได แตจะต้ังสําคัญเปนตัวแทนชวงไมได ตาม ปพพ. มาตรา 808 ขอเท็จจริงปรากฏวาสํารวยตัวแทนทราบวาสํานวนเคยถูกศาลพิพากษาใหจําคุกในคดีความผิดที่เกี่ยวกับทรัพยมาหลายครั้งแลวและไมแจงใหสําลีตัวการทราบถึงการที่สํานวนตัวแทนชวงซ่ึงสําลีตัวการอนุญาตใหต้ังนั้นเปนผูที่ไมสมควรไววางใจ แลวตอมาปรากฏวาสํานวนตัวแทนชวงไดยักยอกเงินของรานไปจํานวน 5,000 บาท เชนนี้สํารวยตัวแทนจึงตองรับผิดตอสําลีตัวการในกรณีดังกลาวตาม ปพพ. มาตรา 813

สรุป 1. การแตงต้ังสํานวนเปนตัวแทนชวงของสํารวยชอบดวยกฎหมาย แตการแตงตั้งสําคัญเปนตัวแทนชวงของสํารวยไมชอบดวยกฎหมายตาม ปพพ. มาตรา 808

2.สําลีตัวการฟองเรียกคาสินไหมทดแทนในความเสียหายดังกลาวไดจากสํารวยตัวแทนไดตามปพพ. มาตรา 813

26. ตาสอนกูเงินยายมา จํานวน 40 บาท โดยทําสัญญาเงินกูกันเปนหนังสือมอบใหยายมาเก็บรักษาไว ตอมาเมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ ตาสอนไดนําเงินจํานวนดังกลาวไปชําระหนี้ใหแกยายมา โดยมีตาสินเปนผูเห็นเหตุการณ แตไมไดขอสัญญากูคืน ไมไดแทงเพิกถอนในสัญญากู และไมไดทําหลักฐานการชําระเงินกันเปนหนังสือแตอยางไร ตอมาตาสอนไดรับหนังสือทวงถามจากทนายความของยายมาใหชําระหนี้เงินกูตามสัญญากูดังกลาว มิฉะนั้นจะฟองศาล ดังนี้ หากตาสอนมาปรึกษาทานในฐานะที่เปนนักกฎหมาย ทานจะใหคําปรึกษาอยางไร แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรค 2 “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดก็ตอเมื่อมีหลักฐานเปน

หนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไดเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว”

วินิจฉัย การกูยืมเงินระหวางตาสอนกับยายมาไดทําสัญญากูยืมกันเปนหนังสือ ซ่ึงสัญญากูยืมดังกลาวนั้นก็เปนหลักฐานเปนหนังสือ ดังนั้นการนําสืบการใชเงินก็ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือไดเวนคืนสัญญากูยืมเงินนั้นแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืมดังกลาวแลวนั้นตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรคสอง แมวาจํานวนเงินที่กูยืมจะไมเกินกวา 50 บาทก็ตาม แตตามขอเท็จจริงปรากฏวาตาสอนไดไปชําระหนี้เงินกูดังกลาวใหแกยายมาโดยมิไดขอสัญญากูยืมคืน ไมไดแทงเพิกถอนในสัญญากูยืมนั้นและไมไดทําสัญญาการชําระเงินกันเปนหนังสือแตอยางใด คงมีตาสินเปนผูเห็นเหตุการณเทานั้น เชนนี้แลว ตาสอนจะนําสืบการใชเงินดังกลาวไมได สรุป ขาพเจาในฐานะนักกฎหมายจะใหคําปรึกษาแกตาสอนวาตาสอนจะนําตาสินซ่ึงเปนพยานบุคคลมาสืบถึงการใชเงินในจํานวนดังกลาวมิได ตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรคสอง และจะตองชําระหนี้เงินกูดังกลาวใหแกยายมา มิฉะนั้นจะถูกฟองเปนคดีตอศาล 27.สันตเปนโรคถุงลมโปงพองรักษาไมหายขาด แตไดแจงกับแพทยของบริษัทสองแสงประกันชีวิตจํากัด วาไมเคยเปนโรคใด ๆ มากอน เมื่อแพทยตรวจรางกายสันตแลว เห็นวามีสุขภาพปกติ จึงรายงานตอบริษัทสองแสงวาควรรับประกันชีวิต บริษัทฯจึงตกลงรับประกันชีวิตสันตโดยพิจารณาจากความเห็นแพทยกับคําขอเอาประกันชีวิต ตอมาบริษัทฯทราบวาสันตเปนโรคถุงลมโปงพอง จึงบอกลางโมฆียะดังกลาว สันตอางวาบริษัทฯประมาทเลินเลอในการรับประกันภัยจะบอกลางโมฆียะกรรมไมได ดังนี้ ทานเห็นวาขอตอสูของสันตชอบดวยกฎหมายหรือไม อยางไร

Page 15: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอันการใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียไมเปดเผยขอความจริงซ่ึงอาจจะไดจูงใจผูรับประกันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลววาแถลงขอความอันเปนเท็จไซร ทานวาสัญญานั้นเปนโมฆียะ” มาตรา 866 บัญญัติวา “ถาผูรับประกันภัยไดรูขอความจริงดั่งกลาวในมาตรา 865 นั้นก็ดี หรือรูอยูแลววาขอแถลงเปนความเท็จก็ดี หรือควรจะไดรูเชนนั้นหากใชความระมัดระวังดั่งพึงจะคาดหมายไดแตวิญูชนก็ดี ทานใหฟงวาสัญญานั้นเปนอันสมบูรณ” วินิจฉัย ตามปญหา การที่สันตเปนโรคถุงลมโปงพองเรื้อรังรักษาไมหาย แจงตอแพทยของบริษัทฯวาไมเคยเปนโรคใด ๆ มากอนการตรวจรางกายในการขอเขาทําประกันภัย ถือวา สันตละเวนไมเปดเผยขอความจริงเกี่ยวกับโรคที่เปน ซ่ึงเรื่องนี้มีความสําคัญที่บริษัทตองทราบเพื่อจะนําไปประกอบการวินิจฉัยวาจะรับประกันชีวิตผูเอาประกันหรือไม สัญญาดังกลาวตกเปนโมฆียะตามาตรา 865 การที่สันตอางวาเปนการประมาทเลินเลอของแพทยผูตรวจที่ไมตรวจรางกายใหละเอียด สัญญาประกันชีวิตสมบูรณนั้นไมได มาตรา 866 เพราะการตรวจโรคถุงลมโปงพองโดยวิธีธรรมดาจะทําไดยากนอกจากฉายเอ็กซเรยหรือใชสีฉีดเขาไปในปอดแลวฉายเอ็กซเรย แตเมื่อสันตปกปดมิไดแจงเรื่องที่เจ็บปวยใหแพทยผูตรวจสุขภาพทราบ ก็ไมมีเหตุที่แพทยจะตองฉายเอ็กซเรยเพื่อตรวจถุงลมของสันต การที่บริษัทประกันภัยโดยพิจารณาจากรายงานของแพทยประกอบกับคําขอเอาประกันชีวิต จะฟงวาบริษัทประมาทเลินเลอไมไดเพราะหนาที่เปดเผยความจริงเปนหนาที่ของผูเอาประกันชีวิต สรุป ขอตอสูของสันตไมชอบดวยกฎหมาย 28. นายจันทรต้ังนายพุธเปนตัวแทนทําหนาที่จัดการผลประโยชนของนายจันทรโดยไมมีบําเหน็จ และใหมีอํานาจตั้งตัวแทนชวงได นายพุธไดต้ังนายศุกรเปนตัวแทนชวงใหไปเก็บเงินคาเชาจากนางอังคารลูกหนี้ของนายจันทร ซ่ึงโดยปกตินายพุธก็เคยใชนายศุกรไปเก็บเงินในกิจการสวนตัวของนายพุธเสมอมา ปรากฏวาเมื่อนายศุกรเก็บเงินจากนางอังคารไดแลวไมยอมสงมอบใหแกนายพุธและไดหลบหนาไป ดังนี้

ก.ใครมีอํานาจฟองเรียกเงินคืนจากนายศุกรไดบาง ข. นายจันทรจะฟองเรียกเงินจากนายพุธโดยอางวานายพุธต้ังตัวแทนชวงโดยประมาทเลินเลอไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 807 บัญญัติวา “ตัวแทนตองทําการตามคําสั่งแสดงออกชัดแจงหรือโดยปริยายของตัวการ เมื่อไมมีคําสั่งเชนนั้น

ก็ตองดําเนินตามทางที่เคยทํากันมาในกิจการคาขายอันเขาใหตนทําอยูนั้น อนึ่งบทบัญญัติมาตรา 659 วาดวยการฝากทรัพยนั้น ทานใหนํามาใชโดยอนุโลมตามควร” มาตรา 814 บัญญัติวา “ตัวแทนชวงยอมรับผิดโดยตรงตอตัวการฉันใดกลับกันก็ฉันนั้น”

วินิจฉัย

ก. นายพุธมีอํานาจตั้งนายศุกรเปนตัวแทนไดตามที่นายจันทรไดใหอํานาจไว ดังนั้นนายจันทรตัวการเทานั้นที่มีอํานาจฟองเรียกเงินคืนจากนายศุกรตัวแทนชวง เพราะตัวแทนชวงยอมตองรับผิดตอตังการโดยตรงตามปพพ.มาตรา 814

Page 16: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

ข.นายพุธเปนตัวแทนไมมีบําเหน็จ ดังนั้นความระมัดระวังในการจัดทํากิจการยอมใชในระดับตนเองเหมือนเชนเคยประพฤติในกิจการของตัวเอง ตาม ปพพ. มาตรา 807 ที่ใหนําบทบัญญัติวาดวยเรื่องฝากทรัพยมาใชบังคับ ซ่ึงโดยปกติแลวนายพุธก็เคยใชนายศุกรใหไปเก็บเงินในกิจการของตนเองเสมอมา ดังนั้นการที่นายพุธต้ังนายศุกรเปนตัวแทนชวงไปเก็บเงินจากนางอังคารจึงเปนการปฏิบัติหนาที่ตัวแทนตามกฎหมายแลว ไมเปนการประมาทเลินเลอแตอยางใด ดังนั้นนายพุธไมตองชดใชคาเสียหายแกนายจันทร

นายจันทรจึงฟองเรียกเงินจากนายพุธไมได 29. สมหมายกูยืมเงินนายสมบูรณจํานวน 400,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 15 % ตอป โดยมีขอสัญญาเปนหนังสือวาใหผูกูสงดอกเบ้ียเปนรายเดือน หากผูกูผิดนัดไมชําระเดือนใด ผูใหกูมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนไดทันที โดยไมตองรอใหดอกเบี้ยคางชําระถึง 1 ป ดังนั้นเมื่อสมหมายไมไดผอนชําระหนี้เปนเวลา 6 เดือนนับต้ังแตวันทําสัญญากูยืมเงินกัน สมบูรณจะคิดดอกเบี้ยทบตนจากดอกเบ้ียที่คางชําระในชวง 6 เดือน ดังกลาวไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 655 วรรคแรก “หามทานมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยนั้นทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเขากันนั้นได แตการตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ” วินิจฉัย สัญญากูที่ตกลงใหสงดอกเบี้ยเปนรายเดือน หากผูกูผิดนัดไมชําระเดือนใด ผูใหกูมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตนไดทันที โดยไมตองรอใหดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่งกอนนั้น ฝาฝนมาตรา 655 วรรคแรก จึงเปนโมฆะ ดังนั้นสมบูรณไมสามารถคิดดอกเบ้ียทบตนในชวง 6 เดือน ที่สมหมายคางชําระได เนื่องจากดอกเบี้ยคางชําระนอยกวา 1 ป แมจะมีการตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตนเปนหนังสือก็ตาม 30. เทพทําสัญญาประกันวินาศภัยรถยนตของตนไวกับบริษัทเพียงฟาจํากัดในวงเงิน 500,000 บาท ตอมาเซียนคนขับรถของเทพขับรถยนตคันดังกลาวดวยความประมาทเลินเลอชนรถยนตของนางฟาเสียหายทั้งคัน นางฟาจึงเรียกรองใหบริษัทเพียงฟาจํากัด ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกตนจํานวน 800,000 บาท เชนนี้

1. บริษัทเพียงฟา จํากัด จะไมยอมชดใชคาเสียหายแกนางฟาโดยอางวานางฟาตองไปเรียกรองเอาจากเทพผูเอาประกันภัยกอน

2. หากกรณีดังกลาว นางฟาฟองบริษัทเพียงฟา โดยเรียกเทพเขามาในคดีดวย และศาลไดพิพากษาใหบริษัทเพียงฟา จํากัดชดใชคาเสียหายใหแกนางฟาเปนเงินจํานวน 500,000 บาท แลว สวนอีก 300,000 บาท บริษัทเพียงฟาจํากัด จะใหนางฟาไปเรียกรองเอาจากเทพผูเอาประกันเอง

ดังนี้ ทานเห็นวาบริษัทเพียงฟา จํากัด จะกระทําไดเพียงใด เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 887 บัญญัติวา “อันวาประกันภัยคํ้าจุนนั้น คือสัญญาประกันภัยที่ผูรับประกันภัยตกลงวาจะใชคาสินไหมทดแทนในนามของผูเอาประกันเพื่อความวินาศภัยอันเกิดแกบุคคลอีกคนหนึ่ง และซ่ึงผูเอาประกันภัยตองรับผิดชอบ บุคคลผูเสียหายชอบที่จะไดรับคาสินไหมทดแทนตามที่ตนควรจะไดนั้นจากผูรับประกันโดยตรงแตคาสินไหมทดแทนเชนวานี้หาอาจจะคิดเกินไปกวาจํานวนอันผูรับประกันภัยจะพึงตองใชตามสัญญานั้นไดไม ในคดีระหวางบุคคลผูตองเสียหายกับผูรับประกันภัยนั้น ทานใหผูตองเสียหายเรียกตัวผูเอาประกันภัยเขามาในคดีดวย

Page 17: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

มาตรา 888 บัญญัติวา “ถาคาสินไหมทดแทนอันผูรับประกันภัยไดใชไปโดยคําพิพากษานั้นยังไมไดคุมคาวินาศภัยเต็มจํานวนไซร ทานวาผูเอาประกันภัยก็ยังคงตองรับใชตามจํานวนที่ยังขาด เวนไวแตบุคคลผูตองเสียหายจะไดละเลยเสียไมเรียกเอาตัวผูเอาประกันภัยเขามาสูคดีดวยดังกลาวไวในมาตรากอน” วินิจฉัย (ผูพิมพวินิจฉัยเอง เพราะขอสอบชวงนี้ขาดหายไป ผูอานกรุณาตรวจสอบความถูกตองดวย)

1. ตามปญหา การที่บริษัทเพียงฟา จํากัด จะไมยอมชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกนางฟาโดยอางวา ตองไปเรียกรองเอาเทพผูเอาประกันภัยกอนนั้นทําไมได เนื่องจากความรับผิดของผูรับประกันภัยตอบุคคลภายนอกมีความสัมพันธสืบเนื่องมาขากความรับผิดของผูเอาประกัน และถือวาเปนวัตถุแหงหนี้ตามสัญญาประกันภัยคํ้าจุน ซ่ึงเปนสัญญาเพื่อบุคคลภายนอกโดยผลของกฎหมาย บุคคลภายนอกผูไดรับความเสียหายจึงสามารถเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัยไดโดยตรง ตาม ปพพ.มาตรา 887 วรรคสอง

สรุป บริษัทเพียงฟา จํากัดตองชดใชคาเสียหายใหนางฟาโดยไมตองใหนางฟาไปเรียกรองเอาจากดุสิตผูเอาประกันภัยกอน

2. ตามปญหาการที่ ศาลพิพากษาใหบริษัทเพียงฟา จํากัด ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกนางฟาเปนจํานวนเงิน 500,000 บาท แลว สวนอีก 300,000 บาทบริษัทเพียงฟา จํากัด จะใหนางฟาไปเรียกรองเอาจากเทพผูเอาประกันภัยเอง นั้นชอบดวยกฎหมาย ปพพ.มาตรา 888 เนื่องจากเทพทําสัญญาประกันภัยไวกับทางบริษัทฯในวงเงิน 500,000 บาท

ดังนั้น บริษัทเพียงฟา จํากัด จะตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหกับนางฟาเปนจํานวนเงิน 500,000 บาท และเนื่องจากนางฟาเรียกเทพเขามาในคดีดวย จึงสามารถเรียกคาสินไหมที่ยังไมครบตามจํานวนที่เสียหายจริง คือ อีก 300,000 บาทไดจากเทพ ตามปพพ.มาตรา 887 และ 888 31.ทับทิมกูเงินมรกตจํานวน 500,000 บาท โดยไมไดทําหนังสือสัญญากูยืมเงินไว แตมรกตตองการหลักฐานแหงการกูยืมเงิน จึงไดบันทึกวิดีโอเอาไวทุกขั้นตอนของการกูยืมเงิน และเมื่อถึงกําหนดชําระหนี้ ทับทิมไมยอมชําระหนี้ตามสัญญากูยืมเงินดังกลาว ดังนี้มรกตจะฟองรองใหทับทิมชําระหนี้กูยืมแกตนไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “การกูยืมเงินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานการกูยืมเปนหนังสืออยางใด

อยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองใหบังคับคดีหาไดไม” วินิจฉัย ตามปญหา ทับทิมกูเงินมรกตโดยไมไดทําหนังสือสัญญากูยืมเงินไว เพียงแตไดถายวิดีโอไวเทานั้น แมหลักฐานอื่น ๆ เชน จดหมาย รายการการประชุมที่มีขอความบงถึงความเปนหนี้กูยืมเงินก็เปนหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปนหนังสือได แตการบันทึกวิดีโอไวตามเหตุการณที่ไดมีการกูยืมเงินกันไมใชการทําหลักฐานกูยืมเงินเปนหนังสือ ดังนั้นมรกตจะฟองรองใหทับทิมชําระหนี้กูยืมเงินจํานวน 500,000 บาท แกตนไมได เนื่องจากเปนการกูยืมเกินกวา 50 บาท ไมมีหลักฐานการกูยืมเงินเปนหนังสือแตอยางใด 32. จงอธิบายความหมายของตัวแทนชวงโดยละเอียด โดยใหครอบคลุมถึงความหมาย การแตงตั้งและผลทางกฎหมาย แนวตอบ ตัวแทนชวง คือ บุคคลที่ไดรับแตงต้ังจากตัวแทนใหกระทําการในหนาที่ตัวแทนใหกับตัวการ ตัวแทนชวงจึงเปรียบเสมือนตัวแทนคนหนึ่งของตัวการ การแตงต้ังชวงอาจแตงต้ังโดยความยินยอมชัดแจงจากตัวการ หรือโดยการยินยอมโดยปริยายก็ได ตัวแทนชวงเกิดขึ้นได 2 กรณี คือ

Page 18: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

กรณีแรก ไดแกกรณีที่ตัวการมอบอํานาจไวโดยชัดเจนใหแตงตั้งตัวแทนชวงได การมอบอํานาจนี้อาจมอบอํานาจโดย ลายลักษณอักษรหรือโดยวาจาก็ได กรณีที่สอง เปนกรณีเมื่อมีธรรมเนียมในทางการคาหรือกิจการนั้นยอมใหมีตัวแทนชวงกันได หรือ มีความจําเปนบังคับใหจําตองมีตัวแทนชวง โดยสรุป การตั้งตัวแทนชวงตัวการตองใหความยินยอมดวยเสมอ และเมื่อมีการแตงตั้งตัวแทนชวงโดยถูกตองแลว ฐานะของตัวแทนชวงจะอยูในฐานะตัวแทนคนหนึ่งของตัวการ 33.นายปอรูตัวดีวาเปนโรคตอมไทรอยดเปนพิษ และเคยเขารับการตรวจรักษาตัวที่โรงพยาบาลมากอน ไดขอเอาประกันชีวิตตอบริษัทอิสระประกันภัยจํากัด ซ่ึงบริษัทกําหนดใหโรคตอมไทรอยดเปนโรคอันตรายที่บริษัท ฯ อาจจะรับหรือไมรับประกันชีวิตผูขอเอาประกันที่มีประวัติเปนโรคนี้ดวย ตัวแทนผูหาประกันชีวิตของบริษัทอิสระประกันภัยจํากัด ไดจัดใหแพทยตรวจรางกายนายปอแลว แตนายปอเองมิไดแจงใหบริษัท ฯ ไดทราบเกี่ยวกับประวัติการเปนโรคนี้ ตอมาอีก 2 ป นายปอถูกรถชนตาย นายปองบิดาผูรับผลประโยชนเรียกรองใหบริษัทอิสระประกันภัยจํากัด จายเงินตามสัญญาประกันชีวิต แตบริษัท ฯ กลับบอกลางสัญญาประกันชีวิตโดยอางวานายปอปกปดขอความจริงอันเปนสาระสําคัญ สัญญาประกันชีวิตจึงเปนโมฆียะเมื่อบริษัท ฯ ใชสิทธิบอกลางแลวสัญญาเปนโมฆะ บริษัท ฯ ไมตองจายเงินตามสัญญา แตนายปองอางวาตัวแทนของบริษัท ฯ ไดจัดใหแพทยตรวจรางกายแลวถือวาบริษัท ฯ ทราบแลว และบริษัท ฯ ไดตกลงทําประกันชีวิตแลว สัญญายอมสมบูรณ และนายปอก็ตายดวยเหตุอื่น บริษัทอิสระประกันภัยจํากัด จึงตองจายเงินตามสัญญาประกันชีวิต จงพิจารณาวาขออางของใครถูกตอง ใหอธิบายพรอมทั้งยกหลักกฎหมายประกอบดวย แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอันการใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียไมเปดเผยขอความจริงซ่ึงอาจจะไดจูงใจผูรับประกันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลววาแถลงขอความอันเปนเท็จไซร ทานวาสัญญานั้นเปนโมฆียะ” วินิจฉัย บริษัทอิสระประกันภัยจํากัด กําหนดวาโรคตอมไทรอยดเปนพิษ เปนโรครายแรง ซ่ึงผูเอาประกันภัยจะตองเปดเผยขอความจริง หากผูเอาประกันภัยมีประวัติเปนโรคดังกลาว ดังนั้นการเปดเผยขอความจริงในเรื่องนี้ จึงถือเปนสาระสําคัญ หากผูเอาประกันภัยละเลยในการเปดเผยขอความจริง จึงเปนเหตุใหสัญญาประกันชีวิตเปนโมฆียะ ตามมาตรา 865 การที่ตัวแทนของบริษัทอิสระประกันภัยจํากัดใหแพทยตรวจรางกายนายปอนั้นแพทยมิใชตัวแทนของบริษัท ฯ จะถือวา บริษัท ฯ ผูรับประกันภัยทราบการเปนโรคตอมไทรอยดเปนพิษไมได เมื่อนายปอปดบังขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ สัญญาประกันชีวิตระหวางนายปอกับบริษัท ฯ จึงเปนโมฆียะ บริษัทอิสระประกันภัยจํากัดจึงบอกลางสัญญาได และไมตองชําระเงินตามสัญญา (ฎีกาที่ 771/2531) ขออางของนายปองฟงไมขึ้น 34.สมัยกูเงินสโมสรจํานวน 50,000 บาท โดยทําหนังสือสัญญากูยืมเงินกันไว อัตราดอกเบี้ย 14% ตอป กําหนดชําระคืนภายใน 3 ป ครบกําหนดชําระ สมัยนําตนเงินพรอมดอกเบี้ยไปชําระคืนสโมสร และสมัยใหสโมสรแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืม สโมสรจึงนําสัญญากูยืมฉบับนั้นมาใหสมัยแทงเพิกถอนเอง สมัยจึงแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืมพรอมลงลายมือช่ือตนไว แตสมัยเกรงวาจะไมมีหลักฐานใดไปแสดงใหภริยาดูวาไดชําระหนี้แลวจริง จึงขอใหสโมสรออกใบเสร็จรับเงินให สโมสรเห็นวาหนังสือสัญญากูยืมยังอยูที่ตน จึงออกใบเสร็จรับเงินจํานวนดังกลาวใหสมัย ตอมาอีก 1 อาทิตย สโมสรนําหนังสือสัญญากูยืมฉบับนั้นมาฟองสมัยใหชําระหนี้แกตนอีก อางวาสมัยยังไมไดชําระหนี้เงินกูจํานวน 50,000 บาท สวนสมัยตอสูวาไดชําระหนี้แลว เนื่องจากตนไดแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืม สโมสรตอสูวาสมัยจะนําสืบเชนนั้นไดตอเมื่อสโมสรไดแทงเพิกถอนลงในสัญญากูยืมนั้นเอง สมัยจึงปรึกษาภริยา

Page 19: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

ภริยาแนะนําใหสมัยนําใบเสร็จรับเงินไปตอสูสโมสรวาไดชําระหนี้กูยืมแลว ดังนี้ ทานเห็นวาขออางของสโมสรหรือขอตอสูของภริยาสมัยถูกตองหรือไม เพราะเหตุใด และสมัยจะตองชําระหนี้จํานวนดังกลาวใหกับสโมสรอีกหรือไม แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรคสอง บัญญัติวา “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดตอเมื่อมีหลัก

ฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไวเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว” วินิจฉัย ตามปญหา การที่สมัยไดชําระหนี้เงินกูยืมคืนสโมสรแลว และใหสโมสรแทงเพิกถอนลงในเอกสารสัญญากูยืม แตสโมสรกลับใหสมัยแทงเพิกถอนเอง ซ่ึงการนําสืบการใชเงินกรณีแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้น ผูใหกูยืมจะตองเปนคนแทงเพิกถอนเองและลงลายชื่อผูใหกูยืมไว การแทงเพิกถอนครั้งนี้จึงใชไมได ขอตอสูขอนั้นของสโมสรถูกตอง แตการที่สมัยใหสโมสรออกใบเสร็จรับเงินนั้น ถือวาสมัยมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือสโมสรผูใหยืมมาแสดงแลว สมัยนําสืบการใชเงินได การนําสืบการใชเงินตามมาตรา 653 วรรค 2 นั้น จะนําสืบอยางหนึ่งอยางใดก็ได สมัยไมตองชําระหนี้เงินกูคืนสโมสรอีก ขาพเจาเห็นวาขอตอสูของภริยาสมัยขอหลังนี้ถูกตอง 35. คาบําเหน็จในการเปนตัวแทน คืออะไร ตัวแทนจะรับคาบําเหน็จจากตัวการไดในเงื่อนไขอยางไรบาง จงอธิบาย และยกตัวอยางประกอบ แนวตอบ บําเหน็จ คืออะไรนั้น กฎหมายมิไดใหความหมายไว จึงตองพิจารณาจากความหมายธรรมดาโดยทั่วไป ซ่ึงหมายความถึงทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดที่ตัวการตกลงที่จะใหแกตัวแทน อาจเปนเงิน หรือทรัพยสินหรือประโยชนอื่นก็ได แตประโยชนที่จะเปนบําเหน็จไดนั้น จะตองเปนประโยชนในลักษณะที่เปนทรัพยสิน ตาม ปพพ. มาตรา 803 ไดกําหนดเงื่อนไขของการที่ตัวแทนจะไดรับบําเหน็จจากตัวการไวดังนี้

1. จะตองมีขอตกลงกันไววาใหบําเหน็จหรือ 2. ตัวแทน และตัวการเคยประพฤติตอกันวามีบําเหน็จ หรือ 3. มีธรรมเนียมในเรื่องนั้นวามีบําเหน็จ

เมื่อเขาหลักเกณฑอยางใดอยางหนึ่งในสามประการนี้แลว ตัวแทนก็สามารถเรียกบําเหน็จจากตัวการได บําเหน็จนี้ ตัวการจะจายใหตัวแทนเมื่อการเปนตัวแทนสิ้นสุดลง เวนแตจะตกลงกันเปนประการอื่น ๆ 36. นายสุโขเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด โดยไมไดระบุตัวผูรับผลประโยชนไวต้ังแตแรก ตอมานายสุโขเกิดรักใครนางสาวนวลหวังจะสมรสดวย จึงสงมอบกรมธรรมใหนางสาวนวล และนางสาวนวลไดสลักหลังกรมธรรม ระบุตัวเองเปนผูรับประโยชนไวเรียบรอยแลวเปนลายลักษณอักษร ตอมานายสุโขเกิดทะเลาะกับนางสาวนวล และไปแตงงานกับนางสาวนิ่ม โดยจดทะเบียนสมรสกันไว และใหนางนิ่มแจงบริษัททรงธรรมประกันภัยจํากัดวานางนิ่มแสดงเจตนาเปนผูรับผลประโยชนตามสัญญาประกันชีวิต โดยไดจดหมายไปบอกกลาวบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด ทันที ตอมาอีก 6 เดือน นายสุโขถูกรถชนเสียชีวิต นางสาวนวล นางนิ่มภริยานายสุโข และนางนอยมารดานายสุโขตางเรียกรองใหทางบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด จายเงินตามสัญญาประกันชีวิตแกตน ถาทานเปนที่ปรึกษากฎหมายของบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด จะแนะนําใหบริษัทจายเงินใหแกผูใด เพราะเหตุใด จงยกหลักกฎหมายประกอบการอธิบายสัก 3 กรณี

Page 20: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตาม ปพพ. มาตรา 891 บัญญัติวา”แมในกรณีที่ผูเอาประกันภัยมิไดเปนผูรับประโยชนเองก็ดี ผูเอาประกันยอมที่จะมีสิทธิที่จะโอนประโยชนแหงสัญญานั้นใหบุคคลอีกคนหนึ่งได เวนแตจะไดสงมอบกรมธรรมประกันภัยใหแกผูรับประโยชนไปแลว และผูรับประโยชนไดบอกกลาวเปนหนังสือไปยังผูรับประกันภัยวาตนจํานงจะถือเอาประโยขนแหงสัญญานั้น ถากรมธรรมประกันภัยไดทําเปนรูปใหใชเงินตามเขาสั่งแลว ทานใหนําบทบัญญัติมาตรา 309 มาใชบังคับ” มาตรา 309 บัญญัติวา”การโอนหนี้อันพึงตองชําระตามเขาสั่งนั้น ทานวาจะยกขึ้นเปนขอตอสูลูกหนี้ หรือบุคคลภายนอกคนอื่นไดแตเฉพาะเมื่อการโอนนั้นไดสลักไวในตราสาร และตัวตราสารนั้นไดสงมอบใหแกผูรับโอนไปดวย” วินิจฉัย จากอุทาหรณ นายสุโขไดเอาประกันชีวิตตนเองโดยมิไดระบุตัวผูรับประโยชนไว แตไดสงมอบกรมธรรมใหแกนางสาวนวลแลว แมตอมานายสุโขสมรสกับนางนิ่ม โดยใหนางนิ่มแจงบริษัทรับประกันชีวิตเพื่อแสดงตนเปนผูรับประโยชนก็ตาม แตเปนการแจงโดยนางนิ่มเอง และกระทําหลังจากที่ไดสงมอบกรมธรรมแกนางสาวนวลไปแลว ผูเอาประกันจึงไมอาจจะโอนประโยชนใหกับบุคคลอื่นอีก ตามมาตรา 891 และในกรณีนี้ไมเขาลักษณะการโอนประโยชนใหบริษัทประกันภัยใชเงินตามเขาสั่ง ตามมาตรา 309 ดวย ดังนั้น เมื่อนายสุโขถูกรถชนเสียชีวิต และนางสาวนวลไดเรียกรองใหบริษัทประกันชีวิตจายเงินตามสัญญาแกตนก็เปนการแสดงเจตนาแกลูกหนี้ คือ บริษัทประกันชีวิตวาตนถือเอาประโยชนตามสัญญาประกันชีวิตแลว ทางบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด จําตองชําระเงินตามสัญญาประกันประกันชีวิตใหนางสาวนวลดังกลาว ตามหลักกฎหมายมาตรา 891 สวนนางนิ่ม แมจะเปนภริยาที่ชอบดวยกฎหมายของนายสุโข แตนายสุโขก็มิไดดําเนินการโอนประโยชนตามสัญญาประกันชีวิตแกนางนิ่ม โดยถูกตองและไดสงมอบกรมธรรมดังกลาวใหกับนางสาวนวลไปกอนหนาแลว นางนิ่มจึงมิใชผูรับประโยชนตามกรมธรรมประกันชีวิต จึงไมมีสิทธิไดรับเงินตามสัญญาประกันชีวิตดังกลาว สําหรับนางนอยมารดานายสุโข ก็มิใชผูที่นายสุโขระบุใหเปนผูรับประโยชนตามกรมธรรมประกันชีวิต จึงไมมีสิทธิไดรับเงินตามสัญญาประกันชีวิตเชนกัน

สรุป หากขาพเจาเปนที่ปรึกษากฎหมายของบริษัททรงธรรมประกันภัย จํากัด จะแนะนําใหบริษัทจายเงินแกนางสาวนวล ซ่ึงนายสุโขไดสงมอบกรมธรรมประกันชีวิตไวใหและนางสาวนวลไดบอกกลาวเปนหนังสือแสดงเจตนาจะถือเอาประโยชนแหงสัญญาประกันชีวิตแลว 37. นายมิตรกูยืมเงินนายแมนจํานวน 10,000 บาท โดยทําหนังสือสัญญากูยืมเงินกันไว แตยังไมไดกําหนดเวลาในการชําระหนี้ เวลาลวงเลยมา 1 ป นายมิตรไดชําระหนี้เงินตนพรอมดอกเบี้ยใหนายแมนครบถวนแลว แตไมไดทําหลักฐานการใชเงินไวแตอยางใด หลังจากชําระหนี้คืนแลว 5 ป นายแมนไดมาทวงถามหนี้เงินกูพรอมดอกเบี้ยคืนจากนายมิตรอีก นายมิตรไมยอมชําระหนี้ นายแทนฟองรองคดีตอศาล นายมิตรตอสูวา หนี้เงินกูระงับแ แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรคสอง บัญญัติวา “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดตอเมื่อมีหลัก

ฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไวเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว” วินิจฉัย

Page 21: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

กรณีดังกลาว พิจารณาวาเปนเรื่องการนําสืบการใชเงิน กรณีมีหลักฐานการกูยืมเงินเปนหนังสือ ตาม ปพพ. มาตรา 653 วรรคสอง ตามปญหาเปนเรื่องการกูยืมเงินที่มีหลักฐานการกูยืมเงินเปนหนังสือ การนําสืบการใชเงินตองปฏิบัติตามมาตรา 653 วรรคสอง การที่นายมิตรไดชําระหนี้เงินกูยืมใหนายแมนแลว แตไมไดทําหลักฐานการใชเงินเปนหนังสือลงลายชื่อนายแมนผูใหกูยืมเปนสําคัญ และขอเท็จจริงไมไดหมายความวา นายแมนไดเวนคืนหนังสือสัญญากูใหนายมิตร หรือแทงเพิกถอนลงในสัญญากู นายมิตรจะนําสืบการใชตนเงินดังกลาวไมได สวนในเรื่องดอกเบี้ยนายมิตรนําสืบได ขอตอสูเร่ืองขาดอายุความนั้น กฎหมายไมไดกําหนดอายุความในการเรียกรองเงินกูไว จึงฟองคดีไดในกําหนดเวลา 10 ป นับแตทําสัญญากู ตามปญหาระยะเวลาตั้งแตทําสัญญากูยืมเงินมีกําหนด 6 ป จึงไมขาดอายุความฟองรอง ขอตอสูเร่ืองอายุความก็ตกไปเชนเดียวกัน

ถาขาพเจาเปนศาลจะไมรับฟงขอตอสูของนายมิตรทั้งสองกรณี 38. บริษัท สุโขทัย จํากัด ดําเนินกิจการขายพืชผลทางการเกษตร ไดแตงตั้งใหนายธรรมเปนผูจัดการดูแลกิจการทั้งหมด ตอมานายธรรมขอลาออกแตเกษตรที่เคยติดตอคาขายกับบริษัทยังคงนําพืชผลมาสงบริษัทผานนายธรรมเพราะความคุนเคยกัน และนายธรรมก็ชําระคาพืชผลแทนบริษัทไปกอนเปนจํานวน 1 ลานบาท แลวจะไปเบิกคืนจากบริษัท อีก 1 ปตอมานายธรรมไดไปกูเงินจากนายเที่ยง จํานวน 10 ลานบาท เพื่อซ้ือที่ดินปลูกคอนโดมิเนียมไวขายเนื่องจากเปนที่นิยมและจะไดกําไรมาก โดยนายธรรมเจรจากับบริษัทวาตนประสงคจะทําเพื่อบริษัทเปนการตอบแทนที่เคยทํางานกันมานานและบริษัทไดใหสัตยาบันการกูเงินรายนี้และใชช่ือวา สุโขทัย คอนโดเทล ปรากฏวา คอนโดมิเนียมที่ปลูกนั้นไมมีผูจองซ้ือเพราะกอสรางไมดี กิจการขาดทุน นายเที่ยงมาเรียกรองใหบริษัท สุโขทัย จํากัด ชําระหนี้ตามที่ไดใหสัตยาบันการกูเงินครั้งนี้ แตบริษัทไมยอมชําระ ขอใหทานวินิจฉัยวา

1.นายธรรมจะเรียกรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด ชดใชเงิน 1 ลานบาทที่นายธรรมชําระคาพืชผลแทนบริษัทไดหรือไม 2.นายเที่ยงจะฟองรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด รับผิดชําระเงินกู 10 ลานบาทได หรือไม 3.บริษัทสุโขทัย จํากัด จะเรียกรองใหนายธรรมชดใชคาเสียหายที่ทําใหบริษัทเสียหายเนื่องจากสรางคอนโดมิเนียมไมดี

ทําใหกิจการขาดทุนและเปนที่เสื่อมเสียช่ือเสียงของบริษัทไดหรือไม แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 823 วรรคแรกบัญญัติวา”ถาตัวแทนทําการอันใดอันหนึ่งโดยปราศจากอํานาจก็ดี หรือทํานอกทําเหนือจากอํานาจก็ดี ทานวายอมไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะใหสัตยาบันแกการนั้น…” มาตรา 821 บัญญัติวา”บุคคลใดเชิดบุคคลอีกคนหนึ่งออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี รูแลวยอมใหบุคคลอีกคนหนึ่งเชิดตัวของเขาเองออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี ทานวาบุคคลผูนั้นจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกผูสุจริตเสมือนวาบุคคลอีกคนหนึ่งนั้นเปนตัวแทนของตน” มาตรา 816 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาในการจัดทํากิจการอันเขามอบหมายแกตนนั้น ตัวแทนไดออกเงินทดรองหรือออกเงินคาใชจายไปซ่ึงพิเคราะหตามเหตุควรนับวาเปนการจําเปนไดไซร ทานวาตัวแทนจะเรียกเอาเงินชดใชจากตัวการ รวมทั้งดอกเบี้ยนับแตวันที่ไดออกเงินไปนั้นดวยก็ได” มาตรา 820 บัญญัติวา”ตัวการยอมมีความผูกพันตอบุคคลภายนอกในกิจการทั้งหลายอันตัวแทนหรือตัวแทนชวงไดทําไปในขอบอํานาจแหงฐานตัวแทน” วินิจฉัย กรณีจากอุทาหรณแมนายธรรมจะขอลาออกจากการเปนผูจัดการดูแลกิจการแลว แตบริษัทก็ยังยอมใหนายธรรมติดตอรับซ้ือพืชผลจากเกษตกรและในบางครั้งก็ใหนายธรรมจายเงินคาสินคาไปกอนดวย ทําใหบุคคลภายนอกเชื่อวานายธรรมเปนตัวแทนของบริษัทอยูตามมาตรา 821 และเมื่อนายธรรมไดจายเงินคาสินคาแกเกษตกรไปกอนในฐานะที่เปนตัวแทนเชิดดังกลาวตัวการยอมตองรับผิดชดใชเงินที่ตัวแทนไดทดรองจายไปกอนรวมทั้งดอกเบี้ยดวย ตามมาตรา 816

Page 22: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

สวนกรณีที่สองนายธรรมไปกูเงินจากนายเที่ยงจํานวน 10 ลานบาท เพื่อปลูกคอนโดมิเนียมขายนั้นเปนกิจการนอกวัตถุประสงคของบริษัทสุโขทัย จํากัด แมบริษัทจะใหสัตยาบันการกูเงินดังกลาวตลอดจนใหใชช่ือ สุโขทัยคอนโดเทล ก็ตาม ก็ไมอาจเปนการใหสัตยาบันแกนายธรรมได เนื่องจากตัวการเองก็ไมมีอํานาจที่จะกระทําได ตัวการจะใหสัตยาบันการกระทําใด ๆ แกตัวแทน ตัวการเองตองมีความสามารถที่จะกระทําการดวยตัวเองได ดังนั้นในกรณีนี้จึงไมเขาหลักเกณฑตามกฎหมาย มาตรา 823 นายธรรมจึงมิใชตัวแทนของบริษัทสุโขทัย จํากัด เมื่อนายธรรมมิใชตัวแทนของบริษัท กิจการใด ๆ ที่นายธรรมกระทําลงไปยอมผูกพันนายธรรมแตเพียวผูเดียวและไมผูกพันตัวการ ตามมาตรา 820 เพราะนายธรรมมิใชตัวแทน

ดังนั้นนายเที่ยงจะฟองรองบริษัทสุโขทัย จํากัดใหรับผิดชําระหนี้เงินกู 10 ลานบาทไมได ตองไปเรียกรองเอาจากนายธรรมโดยตรง

และเมื่อนายธรรมมิใชตัวแทนของบริษัทสุโขทัย จํากัด ๆ จึงไมมีสิทธิเรียกรองใหนายธรรมชดใชคาเสียหายที่ทําใหกิจการคอนโดมิเนียมขาดทุน เนื่องจากการกอสรางไมดี เพราะมิใชกิจการของบริษัทสุโขทัย จํากัด ดังกลาว สวนในเรื่องเสื่อมเสียช่ือเสียงของบริษัทนั้นเปนเรื่องที่บริษัทใหความยินยอมใชช่ือบริษัทโดยสมัครใจจึงไมมีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากนายธรรม กิจการคอนโดมิเนียมทั้งหมดนายธรรมเปนผูรับผิดโดยสวนตัวและขาดทุนโดยสวนตัวจึงไมเกิดความเสียหายแกบริษัท สุโขทัย จํากัด นอกจากเรื่องใชช่ือบริษัทซ่ึงบริษัทยินยอมเอง

สรุป 1.นายธรรมจะเรียกรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด ชดใชเงินจํานวน 1 ลานบาทที่นายธรรมชําระคาพืชผลแทนบริษัทได 2.นายเที่ยงจะฟองรองใหบริษัทสุโขทัย จํากัด รับผิดชําระหนี้เงินกู 10 ลานบาทไมได ตองเรียกรองเอาจากนายธรรมโดย

ตรง 3.บริษัท สุโขทัย จํากัด จะเรียกรองใหนายธรรมชดใชคาเสียหายและคาเสื่อมเสียช่ือเสียงของบริษัทมิได เพราะนายธรรม

มิใชตัวแทนซึ่งกระทําความเสียหายแกบริษัท หากแตเปนเรื่องที่นายธรรมเสียหายเอง 39. จงอธิบายการเปรียบเทียบลักษณะและสาระสําคัญของสวนไดสวนเสียในสัญญาประกันวินาศภัย สัญญาประกันชีวิต และสัญญาประกันภัยรับขน แนวตอบ คําวาสวนไดเสียในเหตุประกันภัย หมายถึง การที่บุคคลใดจะตองไดรับความเสียหาย เมื่อมีเหตุการณอันใดอันหนึ่งเกิดขึ้นหรือบุคคลนั้นไดรับประโยชนหากเหตุการณอันใดอันหนึ่งซ่ึงระบุไวในสัญญาประกันภัยไมเกิดขึ้น ในสัญญาประกันภัยทุกชนิดผูเอาประกันจะตองเปนผูมีสวนไดเสีย ซ่ึงเปนสาระสําคัญของการประกันภัย เพื่อมิใหการประกันภัยเปนการพนันขันตอ หรือกอใหเกิดการทุจริตทําลายทรัพยสินหรือชีวิตเพื่อใหไดมาซ่ึงเงินเอาประกัน แตลักษณะและสาระสําคัญของสวนไดเสียในสัญญาประกันวินาศภัย สัญญาประกันชีวิตและสัญญาประกันภัยรับขนจะมีสวนที่แตกตางกันคือ ในสัญญาประกันวินาศภัยเปนสัญญาเพื่อชดใชคาสินไหมทดแทน(Indemnity Contract) สวนไดเสียของผูเอาประกันภัยจึงมีความสําคัญอยูตลอดเวลาที่สัญญายังมีผลบังคับ เมื่อเกิดภัยขึ้นตามที่สัญญากําหนดไว ผูรับประกันภัยคงจายคาสินไหมทดแทนเพียงเทาที่เสียหายจริงเทานั้น ถาไมสวนไดเสียก็ไมมีความเสียหาย จึงกลาวสรุปไดวา ลักษณะของสวนไดเสียในสัญญาประกันวินาศภัยนั้น ผูเอาประกันภัยตองมีสวนไดเสียอยูในขณะที่ทําสัญญาประกันภัยดังกลาวมาแลว และสวนไดเสียยังตองสามารถประมาณเปนเงินได เพราะสวนไดเสียของผูเอาประกันภัยเปนเครื่องกําหนดวาผูเอาประกันภัยจะไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนมากนอยเพียงใดเพราะผูเอาประกันภัยจะไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทนเทาที่ไดรับความเสียหายจริงเทานั้น ดังนั้นสวนไดเสียนั้นจึงตองเปนสวนไดเสียที่ประมาณเปนเงินได เพื่อที่จะกําหนดไดวาคาสินไหมทดแทนจะเปนจํานวนเทาใด แตถาในขณะที่เกิดเหตุแมผูเอาประกันภัยไมมีสวนไดเสีย สัญญาก็สมบูรณเพียงแตผูเอาประกันภัยเมื่อไมมีสวนไดเสีย ยอมไมอาจเรียกคาสินไหมทดแทนไดดังกลาว สวนลักษณะของสวนไดเสียตามสัญญาประกันชีวิตนั้นจะแตกตางกันไป เพราะสัญญาประกันชีวิต ไมใชสัญญาชดใชคาสินไหมทดแทน(Non- Indemnity Contract) สวนไดเสียในการประกันชีวิตจึงไมจําเปนจะตองประมาณราคาเปนเงินได การประกันชีวิตตนเองราคาของสวนไดเสียไมเปนสาระสําคัญจึงเอาประกันชีวิตตนเองเทาไหรก็ได หากสามารถสงเบี้ยประกันได เพราะชีวิตคนเราถือวาไมอาจจะประเมินราคาเปนเงินได ตางจากสวนไดเสียในสัญญาประกันวินาศภัย สําหรับการเอาประกันชีวิตผูอื่น

Page 23: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

นั้น ถาผูเอาประกันมีสวนไดเสียเนื่องจากความสัมพันธทางครอบครัว ราคาของสวนไดเสียก็ไมเปนสาระสําคัญเชนกัน แตถาผูเอาประกันมีสวนไดเสียเนื่องจากความสัมพันธทางธุรกิจก็สามารถกําหนดราคาสวนไดเสีย การประกันชีวิตคํานึงถึงสวนไดเสียวาจะตองมีขณะที่เกิดสัญญาประกันภัยเปนสําคัญ แตเมื่อเกิดเหตุขึ้นตามสัญญา ผูเอาประกันหรือผูรับประโยชนจะมีสวนไดเสียหรือไมไมเปนสาระสําคัญ ผูรับประกันภัยตองใชเงินตามจํานวนที่ไดตกลงกันไว สําหรับสวนไดเสียในสัญญาประกันภัยรับขนนั้น มีลักษณะที่พิเศษกวาในสัญญาประกันภัยทั้ง 2 ขางตน การประกันภัยในการรับขนเปนการประกันภัยเพื่อคุมครองวินาศภัยที่เกิดขึ้นในการรับขนสินคาจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ซ่ึงอาจมีการเสี่ยงภัยในระหวางการขนสงดวยวินาศภัยชนิดตาง ๆ ตลอดเวลาที่สินคาอยูในความครอบครองของผูขนสง ซ่ึงเปนการไมแนนอนวาผูรับตราสงจะไดรับสินคาหรือไม จึงมีความจําเปนตองมีบทบัญญัติเฉพาะในการประกันภัยรับขนใหผูรับประกันภัยตองรับผิดในวินาศภัยทุกชนิดที่เกิดขึ้นในระหวางการขนสง และวัตถุที่เอาประกันภัยในการขนสงอาจมีราคาเพิ่มขึ้น เมื่อไปถึงตําบลอันกําหนดใหสง ฉะนั้นมูลประกันภัยในสถานที่ที่ผูรับประกันภัยรับสินคาจากผูสง กับมูลประกันภัยในสถานที่ที่ผูขนสงมอบสินคาใหกับผูรับสินคายอมไมเทากัน และสินคายังมีราคาสูงขึ้นจากคาระวางและคาใชจายในการขนสงตลอดถึงผลกําไรอันจะพึงได ซ่ึงมูลประกันภัยนี้เปนสิทธิโดยชอบที่จะไดรับความคุมครองตามกฎหมายและเมื่อเกิดวินาศภัย ผูเอาประกันหรือผูรับประโยชนก็ไมตองสูญเสียทรัพยสินรวมทั้งคาใชจายผลกําไรอันพึงมีดังกลาว นอกจากนั้นการประกันภัยรับขนอาศัยหลักสุจริตอยางยิ่งในการพิจารณาสวนไดเสียของผูเอาประกันภัย กลาวคือ แมสินคาที่ขนสงไดเกิดวินาศภัยแลว แตคูสัญญาทั้งสองฝายไมทราบถึงการเกิดวินาศภัยดังกลาว ถือวาสัญญาประกันภัยมีผลบังคับใช ผูรับประกันตองจายคาสินไหมทดแทน เมื่อวินาศภัยที่ไดเกิดมีขึ้นกอนทําสัญญาประกันภัย ซ่ึงยกเวนหลักทั่วไปที่วาผูเอาประกันภัยตองมีสวนไดเสียในทรัพยที่เอาประกันภัยขณะทําสัญญาประกันภัย นอกจากนี้ผูมีสวนไดเสียในเหตุประกันภัยซ่ึงอาจมีการซ้ือขายสินคาที่เอาประกันในระหวางการขนสงอันจะทําใหกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินโอนไปยังผูซ้ือแลวก็ตามผูขายก็อาจเอาประกันภัยได โดยขายสินคารวมกับเงื่อนไขในการประกันภัยสินคาและกระทําการแทนผูซ้ือ และถือวาการโอนทรัพยที่เอาประกันภัยนั้นไมเปนเหตุใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มขึ้น และผูเอาประกันตองมีสวนไดเสียในวัตถุที่เอาประกันภัยในเวลาที่เกิดวินาศภัย ถึงแมวาจะไมมีสวนไดเสียในขณะที่สัญญาประกันภัยมีผลบังคับก็ตาม ซ่ึงตางจากการประกันวินาศภัยโดยทั่วไป 40.นายเล็งเปนเจาของปมน้ํามันบริการ ยินยอมใหบุคคลอื่นเขาไปจอดรถในบริเวณปมน้ํามันของนายเล็ง โดยไดรับเงินคาจอด และปดปายหนาปมวาใหเชาที่จอดรถ สวนการนํารถเขาจอดนั้น เด็กปมจะบอกชี้ใหจอดตรงที่วางในบริเวณปม หากมีการเคลื่อนยายรถ พนักงานของปมจะใชแมแรงจรเขยกเพลาทายเพื่อทําการเคลื่อนยาย เมื่อปมจะปดจะมีร้ัวเหล็กปดกั้นหนาปมใสกุญแจ มีคนเฝาประจําปม นายเลี่ยไดนํารถยนตเขาจอดในบริเวณปมน้ํามันของนายเล็งและใหคาจอดรถเปนรายเดือน ปรากฏวาในวันที่ 2 กรกฏาคม 2535 รถยนตของนายเลี่ยหายไป นายเลี่ยจึงเรียกรองใหนายเล็งเจาของปมน้ํามันชดใชคาเสียหาย นายเล็งไมยอมชดใชอางวาตนเปดบริการใหเชาที่จอดรถเทานั้น ไมตองรับผิดในกรณีที่รถยนตนายเลี่ยสูญหาย ดังนี้นายเลี่ยจะมีทางเรียกใหนายเล็งชดใชคาเสียหายไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 657 บัญญัติวา “อันวาฝากทรัพยนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวาผูฝาก สงมอบทรัพยสินใหแกบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา ผูรับฝาก และผูรับฝากตกลงวาจะเก็บรักษาทรัพยสินนั้นไวในอารักขาแหงตนแลวจะคืนให” วินิจฉัย กรณีเปนเรื่องสัญญาฝากทรัพย ตามปญหาเปนการที่ปมน้ํามันของนายเล็งรับมอบการครอบครองรถยนตไวในอารักขาแหงตนแลว เพราะเปนการจอดไมประจําที่ และปมสามารถเคลื่อนยายที่จอดรถได มีร้ัวปดกั้นหนาปมใสกุญแจและมีคนเฝาปมเปนประจํา แมจะมีประกาศปดไววาใหเชาที่จอดรถก็ตาม กรณีนี้นายเลี่ยเจาของรถยนตมิไดตกลงดวย จึงเปนสัญญาฝากทรัพย ไมใชสัญญาเชาที่จอดรถดังที่นางเล็งอาง ดังนั้นเมื่อทรัพยที่รับฝากสูญหายไป นายเล็งเจาของปมที่รับฝากตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกนายเลี่ยเจาของรถยนต (ฎ.331/2524)

Page 24: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

41.นายมั่นเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัทสุโขทัยประกันชีวิต จํากัด วงเงิน 1 ลานบาท ชําระเบี้ยประกันปละ 1 แสนบาท ระยะเวลา 10 ป โดยระบุนางคงภรรยา เปนผูรับประโยชน นอกจากนี้นายมั่นยังเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัทธรรมาธิราชประกันภัย จํากัด วงเงิน 1 ลานบาท ชําระเบี้ยประกันปละ 1 แสนบาท ระยะเวลา 10 ป เชนกัน โดยระบุใหนายจงรักเจาหนี้เปนผูรับประโยชน โดยนายมั่นมีรายไดเดือนละ 15,000 บาท นายมั่นทําประกันชีวิตทั้งสองรายได 5 ป นายมั่นก็เสียชีวิตลง นายมั่นมีเจาหนี้อีก 3 ราย คือ นายทนงศักด์ิ นายภักดี และนายเทวา เจาหนี้ทั้งสามตางเรียกรองใหชดใชหนี้แกตนจากเงินประกันที่บริษัททั้งสองจายใหแกผูรับประโยชน โดยอางวานายมั่นนํารายไดที่ควรจะนํามาใชหนี้ไปชําระเบี้ยประกัน ทําใหตนเสียเปรียบ หากทานเปนที่ปรึกษากฎหมายของนางคง และนายจงรัก ทานจะใหคําแนะนําแกบุคคลทั้งสองอยางไร แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1637 บัญญัติวา”ถาคูสมรสฝายใดที่ยังมีชีวิตอยูเปนผูรับประโยชนตามสัญญาประกันชีวิต คูสมรสฝายนั้นมีสิทธิรับจํานวนเงินทั้งหมดที่ไดตกลงไวกับผูรับประกันภัย แตจําตองเอาจํานวนเบี้ยประกันภัยเพียงเทาที่พิสูจนไดวาสูงกวาจํานวนเงินที่ผูตายจะพึงสงใชเปนเบี้ยประกันภัยได ตามรายไดหรือฐานะของตนโดยปกติ ไปชดใชสินเดิมของคูสมรสอีกฝายหนึ่ง หรือสินสมรสแลวแตกรณี ถึงอยางไรก็ดี จํานวนเงินเบี้ยประกันภัยซ่ึงจะพึงสงคืนตามบทบัญญัติขางตนนั้นรวมทั้งสิ้นตองไมเกินจํานวนเงินที่ผูรับประกันภัยไดชําระให" มาตรา 1742 บัญญัติวา”ถาในการชําระหนี้ซ่ึงคางชําระอยูแกตนเจาหนี้คนใดคนหนึ่ง ไดรับต้ังในระหวางที่ผูตายยังมีชีวิตอยูใหเปนผูรับประโยชนในการประกันชีวิต เจาหนี้คนนั้นชอบที่จะไดรับเงินทั้งหมด ซ่ึงไดตกลงไวกับผูรับประกัน อนึ่งเจาหนี้เชนวานั้น จําตองสงเบี้ยประกันภัยคืนเขากองมรดก ก็ตอเมื่อเจาหนี้คนอื่น ๆ พิสูจนไดวา

(1) การที่ผูตายชําระหนี้ใหแกเจาหนี้โดยวิธีดังกลาวมานั้นเปนการขัดตอบทบัญญัติมาตรา 1237 แหงประมวลกฎหมายนี้ และ

(2) เบ้ียประกันเชนวานั้น เปนจํานวนสูงเกินสวนเมื่อเทียบกับรายไดและฐานะของผูตาย ถึงอยางไรก็ดี เบ้ียประกันภัยซ่ึงพึงจะสงคืนเขากองมรดกนั้นตองไมเกินกวาจํานวนเงินที่ผูรับประกันชําระให"

วินิจฉัย จากอุทาหรณ นายมั่นเอาประกันชีวิตตนเองกับบริษัทสุโขทัยประกันภัย จํากัด และบริษัทธรรมาธิราชประกันภัย จํากัด โดยชําระเบี้ยประกันปละ 1แสนบาทตอบริษัทนั้นรวมเบี้ยประกันเปนเงิน 2 แสนบาทตอป นายมั่นมีรายไดเดือนละ 15,000 บาท เทากับมีรายไดปละ 180,000 บาทตอป ดังนั้น นายมั่นตองสงเบี้ยประกันภัยในจํานวนที่สูงกวารายได 20,000 บาทตอป หรือสูงกวาที่จะพึงสงใชเบ้ียประกันภัยบริษัทละหนึ่งหมื่นบาทตอป ในกรณีแรก นางคงผูภรรยามีสิทธิไดรับเงินประกันชีวิตในฐานะผูรับประโยชนทั้งหมดตามสัญญาประกันชีวิต 1 ลานบาท แตตองเอาจํานวนเบี้ยประกันภัยเพียงที่สูงกวาจํานวนเงินที่ผูตายพึงจะสงใชเบ้ียประกันภัยไดตามปกติ กลาวคือ ปละ 1 หมื่นบาท รวม 5 ป เปนจํานวนเงิน 5 หมื่นบาท ไปชดใชสินสมรสและเงินจํานวนดังกลาวไมเกินจํานวนเงินที่บริษัทประกันภัยไดชําระใหนางคง ดังนั้น นางคงมีสิทธิรับเงินใชใหทั้งจํานวน 1 ลานบาทและชดใชสินสมรส 5 หมื่นบาท ในกรณีที่สอง นายจงรักเปนผูไดรับต้ังในระหวางที่ผูตายยังมีชีวิตอยูใหเปนผูรับประโยชนในการประกันชีวิต และชอบที่จะไดรับเงินใชใหเต็มจํานวน 1 ลานบาท แตเนื่องจากการชําระหนี้ดังกลาวทําใหเจาหนี้รายอื่นเสียเปรียบ และเบี้ยประกันชีวิตสูงเกินสวนของรายได นายจงรักจึงตองสงเบี้ยประกันภัยคืนเขากองมรดก เบ้ียประกันภัยทั้งหมดปละ 1 แสนบาทรวม 5 ป เปนเงิน 5 แสนบาท อนึ่ง เงินดังกลาวไมเกินจํานวนเงินใชใหที่บริษัทประกันภัยไดชําระให ดังนั้น นายจงรักมีสิทธิไดรับเงินใชใหทั้งจํานวนหนึ่งลานบาท และชดใชกองมรดก 5 แสนบาท

Page 25: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

สรุป ขาพเจาจะใหคําปรึกษาดังกลาวแกนางคงและนายจงรักตามหลักกฎหมายขางตน โดยใหนางคงรับเงินใชใหหนึ่งลานบาท และชดใชสินสมรสในสวนเบี้ยประกันภัยที่เกินราคาได 5 หมื่นบาท ใหนายจงรักรับเงินใชใหหนึ่งลานบาทและชดใชกองมรดกจากเบี้ยประกันทั้งหมด 5 แสนบาท 42.ตัวแทนเชิดคืออะไร มีผลทางกฎหมายอยางไร ระหวางตัวการกับตัวแทน และระหวางตัวการกับบุคคลภายนอก จงอธิบายและยกตัวอยาง แนวตอบ ตัวแทนเชิดเปนหลักการที่สรางขึ้นเพื่อคุมครองบุคคลภายนอกผูสุจริต กลาวคือ เปนกรณีที่บุคคลหนึ่งไปแสดงตนตอบุคคลภายนอกวาตนเปนตัวแทนของบุคคลอีกคนหนึ่งจนบุคคลภายนอกหลงเชื่อและกอนิติสัมพันธขึ้นดวย ตัวแทนเชิดอาจเกิดขึ้นได 2 ทาง คือ ทางหนึ่งเปนกรณีที่ไมเคยมีความเปนตัวการตัวแทนมากอนเลย กับอีกทางหนึ่งเปนกรณีที่เปนตัวแทนกันอยูแลวแตตัวแทนทําการเกินอํานาจที่ไดรับมอบหมาย ผลทางกฎหมายก็คือ ถือวาเกิดสัญญาตัวแทนขึ้นระหวางคูกรณี แตสําหรับบุคคลภายนอกหับตัวแทนเชิดนั้น ตัวแทนจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในฐานะคูสัญญาดวยลําพังตนเอง ตอเมื่อบุคคลภายนอกมารูความจริงในภายหลังแลว เมื่อนั้นบุคคลภายนอกก็มีสิทธิจะเลือกวาจะยึดถือใครเปนคูสัญญา เชน ก.ไปอวดอางกับ ข. วาเปนตัวแทนของ ค. จะขายรถยนตของ ค. ให ข. ข. หลงเชื่อจึงซ้ือรถยนตไป สวน ค. นั้น เมื่อทราบแตแรกก็ไมช้ีแจงหรือปฏิเสธแก ข. วา ก. มิใชตัวแทน เชนนี้ ค. ตองรับผิดชอบตอการกระทําของ ก. ในฐานะเปนตัวการ 43.นางอําไพมอบหมายใหนางอนงคนําที่ดินของตนไปจํานองไวกับนางองุน ซ่ึงนางอนงครับทําการดังกลาวแตไดกรอกขอความลงในใบมอบอํานาจที่มีแตเพียงลายมือช่ือของนางอําไพวานางอําไพมอบหมายใหตนนําที่ดินดังกลาวไปขายใหแกนางองุน และนางองุนไดตกลงทําสัญญาซื้อขายที่ดินดังกลาว โดยไมทราบถึงการกระทําของนางอนงคดังกลาว เมื่อถึงเวลาชําระหนี้ตามสัญญาซื้อขาย นางอําไพปฏิเสธไมยอมโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกลาวใหแกนางองุนโดยอางวาตนไมไดรับมอบหมายใหนางอนงคนําที่ดินแปลงดังกลาวไปขายแตอยางใด ดังนี้ ขออางของนางอําไพฟงขึ้นหรือไม อยางไร แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 821 บัญญัติวา “บุคคลผูใดเชิดบุคคลอีกคนหนึ่งออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี รูแลวยอมใหบุคคลอีกคนหนึ่งเชิดตัวเขาเองออกแสดงเปนตัวแทนของตนก็ดี ทานวาบุคคลผูนั้นจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกผูสุจริตเสมือนวาบุคคลอีกคนหนึ่งนั้นเปนตัวแทนของตน” มาตรา 822 บัญญัติวา”ถาตัวแทนทําการอันใดเกินอํานาจของตัวแทน แตทางปฏิบัติของตัวแทนทําใหบุคคลภายนอกมีมูลเหตุอันสมควรจะเชื่อวาการอันนั้นอยูภายในขอบอํานาจของตัวแทนไซร ทานวาใหใชบทบัญญัติมาตรากอนนี้เปนบทบังคับ แลวแตกรณี” วินิจฉัย ตามปญหา นางอนงคเปนตัวแทนเชิดของนางอําไพที่มีอํานาจนําที่ดินของนางอําไพไปจํานองไวกับนางองุน แตนางอนงคไดนําที่ดินดังกลาวไปขายใหแกนางองุนซ่ึงเปนการกระทําที่เกินอํานาจของตัวแทนตามมาตรา 822 แตในทางปฏิบัติของนางอําไพที่ลงลายมือช่ือในใบมอบอํานาจโดยไมกรอกขอความแลวนางอนงคไดกรอกขอความวานางอําไพมอบหมายใหตนนําที่ดินดังกลาวไปขายใหแกนางองุนนั้นทําใหนางองุนซ่ึงเปนบุคลภายนอกมีมูลเหตุจูงใจอันสมควรจะเชื่อไดวาการอันนั้นอยูในขอบอํานาจของนางอนงคตัวแทน ตามมาตรา 822 แหง ปพพ. ดังนั้นเมื่อนางองุนเปนบุคคลภายนอกที่สุจริต ไมทราบถึงการกระทําของนางอนงคดังกลาวเชนนี้ นางอําไพจะตองรับผิดโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินดังกลาวใหแกนางองุนตามมาตรา 821 แหง ปพพ. จะอางวาตนไมไดรับมอบหมายใหนางอนงคนําที่ดินแปลงดังกลาวไปขายไมได สรุป ขออางของนางอําไพฟงไมขึ้น

Page 26: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

44. แมวกูยืมเงินจากเหมียวไป 100,000 บาท มีกําหนดชําระคืนภายใน 3 ป แมวชําระหนี้ใหเหมียวทุกเดือน ๆ ละ 5,000 บาทพรอมดอกเบี้ย เมื่อกูยืมไปได 2 ป แมวก็ชําระทั้งตนเงินและดอกเบี้ยใหเหมียวเสร็จสิ้น เหมียวไมคืนสัญญากูยืมใหแมว แตไดออกใบเสร็จรับเงินใหแมวไวในงวดสุดทาย 5,000 บาท เมื่อเวลาผานไป 2 ป เหมียวไดนําสัญญากูฉบับที่ทําไวกับแมวมาฟองเรียกใหแมวชําระหนี้รายนี้อีก แมวทําใบเสร็จรับเงินหายหมดเหลือแตใบเสร็จรับเงินในงวดสุดทายมาแสดง เหมียวอางวาชําระเพียง 5,000 บาทเทานั้น แมวจะตอสูเหมียวอยางไร แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรค 2 “ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดก็ตอเมื่อมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไดเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว” มาตรา 327 บัญญัติวา”ในกรณีชําระดอกเบี้ย หรือชําระหนี้อยางอื่นอันมีกําหนดชําระเปนระยะเวลานั้น ถาเจาหนี้ออกใบเสร็จใหเพื่อระยะหนึ่งแลวโดยมิไดอิดเอื้อน ทานใหสันนิษฐานไวกอนวาเจาหนี้ไดรับชําระเพื่อระยะกอน ๆ นั้น” วินิจฉัย การที่แมวชําระหนี้ใหเหมียวแลว แมเหมียวจะไมไดเวนคืนหรือแทงเพิกถอนเอกสารสัญญากูยืมเงินก็ตาม แตเหมียวไดออกใบเสร็จรับเงินไวใหแมว ถือวาไดมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง แมวจึงนําใบเสร็จรับเงินงวดสุดทายมาตอสูวาชําระหนี้ใหเหมียวแลว การที่เหมียวออกใบเสร็จรับเงินงวดสุดทายใหแมว กฎหมายสันนิษฐานวาในเดือนกอน ๆ ไดรับชําระตนเงินจากแมวผูยืมแลว ตามมาตรา 327 45.สมศักด์ินํารถยนตหมายเลขทะเบียน 1ง-3914 กรุงเทพมหานคร ที่ตนไดขายใหแกสาวิตรีทําประกันวินาศภัยกับบริษัทประกันภัย ซ่ึงขณะที่ทําประกันภัย ตนยังไมไดโอนทะเบียนรถยนตคันดังกลาวใหแกสาวิตรี ตอมาสาวิตรีไดขับรถยนตชนกับรถของนายสุชาติ บริษัทประกันภัยไดจายคาซอมรถแทนสมศักด์ิผูเอาประกัน แลวบริษัทจะรับชวงจากนายสมศักด์ิมาเรียกรองเอากับนายสุชาติไดหรือไม แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 863 บัญญัติวา “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถาผูเอาประกันภัยไมมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันภัยไวนั้นไซร ทานวา

จะไมผูกพันคูสัญญาแตอยางหนึ่งอยางใด” มาตรา 869 บัญญัติวา”อันวาคําวา “วินาศภัย” ในหมวดนี้ ทานหมายรวมเอาความเสียหายอยางใด ๆ ซ่ึงจะพึงประมาณเปนเงินได” มาตรา 880 บัญญัติวา “ถาความวินาศภัยนั้นไดเกิดขึ้นเพราะการกระทําของบุคคลภายนอกไซร ผูรับประกันเสียคาสินไหมทดแทนไปเปนจํานวนเพียงใด ผูรับประกันภัยยอมเขารับชวงสิทธิของผูเอาประกันและของผูรับประโยชนซ่ึงมีบุคคลภายนอกเพียงนั้น” วินิจฉัย ตามปญหา การที่สมศักด์ิเจาของรถยนตหมายเลขทะเบียน 1ง-3914 ไดโอนขายรถยนตใหสาวิตรีไปกอนการนํารถยนตไปประกันวินาศภัยไดกับโจทกตามมาตรา 869 แมการประกันทําในนามของสมศักด์ิเอง แตสมศักด์ิก็มิใชผูมีสวนไดเสียในรถยนตที่เอาประกันไว ตามมาตรา 863 ที่วาผูเอาประกันภัยตองมีสวนไดเสียในเหตุที่เอาประกันภัยไว มิฉะนั้นจะไมผูกพันคูสัญญา ดังนั้นกรมธรรมประกันภัยระหวางสมศักด์ิกับบริษัทประกันจึงไมผูกพันคูกรณี เมื่อรถยนตที่บริษัทประกันฯ รับประกันไว ชนกับรถของสุ

Page 27: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

ชาติ แมบริษัทฯ ไดชําระคาซอมรถยนตแทนสมศักด์ิผูเอาประกันไปแลว บริษัทฯ ก็ไมไดรับชวงสิทธิตามกฎหมายที่จะเรียกคาซอมรถจากสุชาติตามมาตรา 880(ฎ.115/2521) 46.นางเดือนมอบหมายใหนางดาวเปนตัวแทนนําลําไยไปสงใหแกนางจันทร ซ่ึงเปนแมคาขายผลไมที่ตลาดน้ําอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี โดยใหนางดาวนํารถยนตของตนบรรทุกลําไยดังกลาว ในระหวางเดินทางปรากฎวา รถยนตคันที่นางดาวขับเสียหลักพุงเขาชนเสาไฟฟาขางถนนเสียหายเปนเงินจํานวน 20,000 บาท ดังนั้นนางดาวจะเรียกคาเสียหายดังกลาวจากนางเดือนไดหรือไม ถาความเสียหายดังกลาวเกิดจากเหตุการณตอไปนี้

(1) นางดาวหักพวงมาลัยหลบรถยนตที่นายเมฆขับรถสวนทางมาดวยความเร็วสูงและล้ําเขามาในเลนของนางดาวซึ่งขับมาปกติ

(2) นางดาวขับรถยนตดังกลาวดวยความเร็วสูง โดยไมไดใชความระมัดระวังในขณะนั้นแลวหักพวงมาลัยหลบรถยนตที่นายเมฆขับสวนทางมาตามปกติ แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 816 วรรคสาม บัญญัติวา”ถาในการจัดกิจกรรมการอันเขามอบหมายแกตนนั้น เปนเหตุใหตัวแทนตองเสียหายอยางหนึ่งอยางใด มิใชเปนเพราะความผิดของตนเองไซร ทานวาตัวแทนจะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนจากตัวการก็ได” วินิจฉัย ตามปญหา

(1) การที่นางดาวนํารถยนตของตนบรรทุกลําไยไปสงใหแกนางจันทร ซ่ึงเปนการจัดทํากิจกรรมตามที่นางเดือนตัวการมอบหมาย เปนเหตุใหรถยนตคันดังกลาวเสียหายจากการที่ตนหักพวงมาลับหลบรถยนตที่นายเมฆขับสวนทางมาดวยความเร็วสูงและล้ําเขามาในเลนของนางดาวซึ่งขับมาตามปกติ โดยมิใชความผิดของตนเอง ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคสาม

ดังนั้น ในกรณีนี้ นางดาวเรียกคาสินไหมทดแทนดังกลาวจากนางเดือนตัวการได (2) การที่นางดาวนํารถยนตของตนบรรทุกลําไยไปสงใหแกนางจันทร ซ่ึงเปนการจัดทํากิจกรรมตามที่นางเดือนตัวการ

มอบหมาย เปนเหตุใหรถยนตคันดังกลาวเสียหายจากการที่ตนขับรถดวยความเร็วสูง โดยไมไดใชความระมัดระวังในขณะนั้น แลวหักพวงมาลัยหลบรถยนตที่นายเมฆขับสวนทางมาตามปกติ โดยเปนความผิดของตนเอง ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคสาม

ดังนั้น ในกรณีนี้ นางดาวตัวแทนจะเรียกคาสินไหมทดแทนดังกลาวจากนางเดือนตัวการไมได 47.พระภิกษุแดงนําเงินสวนตัวไปใหนางสมกูจํานวน 20,000 บาท คิดดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป โดยนางสมเขียนเอกสารการกูยืมเงินดวยลายมือตัวเองระบุช่ือตัวเองเปนผูกูยืมเงินพระภิกษุแดง แตไมไดลงลายมือช่ือไว ตอมานางสมไดทํารายพระภิกษุแดงเปนคดีอาญา เมื่อหนี้เงินกูดังกลาวถึงกําหนดชําระ พระภิกษุแดงจึงนํารายงานประจําวันเกียวกับคดีเปรียบเทียบปรับนางสมในขอหาทํารายพระภิกษุแดงซ่ึงมีขอความวา นางสมไดขอยืมเงินพระภิกษุและสัญญาจะชดใชเงินคืนทั้งไดลงลายมือช่ือตัวเองไวดวย มาฟองเรียกหนี้เงินกูดังกลาว นางสมตอสูวาพระภิกษุแดงไมมีสิทธิฟองเพราะขณะทําสัญญากูไมมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือช่ือตนแตอยางใด สัญญากูดังกลาวจึงตกเปนโมฆะ ดังนี้ขอตอสูของนางสมฟงขึ้นหรือไม อยางไร แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรคแรก บัญญัติวา “การกูยืมเงินเกินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปนหนังสือแตอยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองบังคับคดีหาไดไม” วินิจฉัย

Page 28: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

ตามปญหา รายงานประจําวันเกี่ยวกับคดีที่เปรียบเทียบปรับนางสมในขอหาทํารายพระภิกษุแดงซ่ึงมีขอความวา นางสมไดกูยืมเงินพระภิกษุแดง และสัญญาจะชดใชเงินคืนทั้งหมดไดลงลายมือช่ือไวดวย ถือวาเปนหลักฐานแหงการกูยืมเงินที่พระภิกษุแดงใชฟองรองนางสมเปนคดีได แมวาในขณะทําสัญญากูยืมเงินจะมิไดมีหลักฐานเปนหลักฐานลงลายมือนางสมก็ตาม ดังนั้น พระภิกษุแดงยอมมีสิทธิฟองเรียกรองตนเงินและดอกเบี้ยจากนางสมได และสัญญากูยืมเงินดังกลาวหาตกเปนโมฆะแตอยางใด สรุป ขอตอสูของนางสมฟงไมขึ้น 48.นายสุดจิตไดทําสัญญาประกันชีวิต ด.ช.สุดใจบุตรชายของตนกับบริษัท รุงโรจนประกันภัย จํากัด วงเงิน 1 ลานบาท โดยระบุใหตนเปนผูรับประโยชนจากสัญญาดังกลาว ตอมาอีก 1 ป นายสุดจิตคาขายขาดทุนตองการเงินใชหมุนเวียน จึงเดินทางไปทําธุรกิจตางจังหวัดพรอมดวยบุตรชาย รถยนตคันที่ขับไปชนตนไมใหญขางทาง ด.ช.สุดใจถึงแกความตาย นายสุดจิตบาดเจ็บสาหัส นายสุดจิตเรียกรองใหบริษัทรุงโรจนใชเงินตนจํานวน 1 ลานบาทในเหตุมรณะของ ด.ช.สุดใจ บริษัทฯ จะปฏิเสธการใชเงินจํานวนดังกลาวไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 863 บัญญัติวา “อันสัญญาประกันภัยนั้น ถาผูเอาประกันภัยมิไดมีสวนไดเสียในเหตุที่ประกันไวนั้นไซร ทานวายอมไมผูกพันคูสัญญาแตอยางหนึ่งอยางใด” มาตรา 889 บัญญัติวา”ในสัญญาประกันชีวิตนั้น การใชจํานวนเงินยอมอาศัยความทรงชีพ หรือมรณะของบุคคลคนหนึ่ง” มาตรา 895 บัญญัติวา”เมื่อใดจะตองใชจํานวนเงินในเหตุมรณะของบุคคลคนหนึ่งคนใด ทานวาผูรับประกันภัยจําตองใชเงินนั้นในเมื่อมรณภัยอันนั้นเกิดขึ้น เวนแต…

(2)บุคคลผูนั้นถูกผูรับประโยชนฆาตายโดยเจตนา”

วินิจฉัย ตามปญหา นายสุดจิตสามารถเอาประกันชีวิต ด.ช.สุดใจ บุตรของตนได เพราะถือวานายสุดจิตมีสวนไดเสียในชีวิตบุตร ตาม ปพพ. มาตรา 863 และเมื่อ ด.ช.สุดใจ ถึงแกความตาย บริษัทรุงโรจนยอมตองใชเงินใหแกนายสุดจิตเพราะสัญญาประกันชีวิตนั้นการใชเงินตองอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของบุคคลหนึ่ง แตบริษัทฯ ไมตองจายเงินจํานวนที่เอาประกันไว เมื่อบุคคลผูนั้นถูกผูรับผลประโยชนฆาตายโดยเจตนา ดังนั้นตามขอเท็จจริงดังกลาว ไมไดความวาการที่นายสุดจิตขับรถยนตชนตนไมใหญมีเจตนาฆา ด.ช.สุดใจ บริษัทฯ ตองใชเงินในเหตุมรณะของ ด.ช.สุดใจ ไมตองตามมาตรา 895(2) 49. ทิวามอบหมายใหราตรีไปทําสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนดเลขที่ 123 กับจันตรี และราตรีตกลงทําการดังกลาว ในการทําสัญญาซื้อขายที่ดินนั้น ราตรีไดออกเงินคาธรรมเนียมสําหรับการทําสัญญาดังกลาวเปนจํานวน 2,000 บาท เพื่อใหกิจการของทิวาสําเร็จลุลวงไป ตอมาราตรีไดเรียกรองใหทิวาชดใชเงินจํานวนดังกลาว ทิวาปฏิเสธโดยอางวา การที่ราตรีออกเงินคาธรรมเนียมไปนั้น มิไดมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือช่ือทิวา ทั้งการมอบหมายใหราตรีไปทําการดังกลาวนั้นก็มิไดทําเปนหนังสือแตอยางใด ดังนี้ขออางของทิวาฟงขึ้นหรือไม แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 797 วรรคแรก บัญญัติวา”อันวาสัญญาตัวแทนนั้น คือสัญญาซึ่งใหบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวแทน มีอํานาจทําการแทนบุคคลอีกบุคคลหนึ่ง เรียกวา ตัวการ และตกลงจะกระทําการดั่งนั้น…”

Page 29: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

มาตรา 798 วรรคแรก บัญญัติวา”ถาในการใด ทานบังคับไวโดยกฎหมายวาทําเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อกิจการนั้นก็ตองทําเปนหนังสือดวย…” มาตรา 816 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในการจัดทํากิจการอันเขามอบหมายแกตนนั้นตัวแทนไดออกเงินทดรองหรือออกเงินคาใชจายไป ซ่ึงพิเคราะหตามเหตุควรนับวาเปนการจําเปนไดไซร ทานวาตัวแทนจะเรียกเอาเงินชดใชจากตัวการรวมทั้งดอกเบี้ยนับต้ังแตวันที่ไดออกเงินไปนั้นดวยก็ได…” วินิจฉัย ตามปญหา ราตรีเปนตัวแทนของทิวาในการทําสัญญาซื้อขายที่ดินโฉนดเลขที่ 123 กับจันตรี ตาม ปพพ. มาตรา 797 เพราะราตรีตกลงรับทําการใหกับทิวาตามที่ไดรับมอบหมายและในการจัดทํากิจการตามที่ทิวาไดรับมอบหมายนั้น ราตรีไดออกเงินคาธรรมเนียมสําหรับการทําสัญญาดังกลาวอันเปนเงินทดรอง ซ่ึงถือไดวาเปนการจําเปนเพื่อใหการทําสัญญานั้นสําเร็จลุลวงไป ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคแรก ทิวาซ่ึงเปนตัวการจึงมีหนาที่ตองชดใชเงินจํานวน 2,000 บาท ที่ราตรีไดออกไป ทิวาจะปฏิเสธโดยอางวา การที่ราตรีออกเงินคาธรรมเนียมไปนั้น มิไดมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือช่ือทิวาไมได เพราะตามปญหาไมใชกรณีการกูยืมเงินกวา 50 บาท แตอยางใด และจะอางวาการมอบหมายใหราตรีไปทําการดังกลาวนั้นมิไดทําเปนหนังสือ ตาม ปพพ. มาตรา 798 วรรคแรก ก็ไมไดเนื่องจากสัญญาตัวแทนไมมีแบบ เมื่อทิวาเปนตัวการยอมมีหนาที่ตาม ปพพ. มาตรา 816 วรรคแรก ดังกลาวทั้งตามปญหาเปนเรื่องระหวางตัวการกับตัวแทนซึ่งไมอยูในบังคับของมาตรา 798 สรุป ขออางของทิวาฟงไมขึ้น 50. นกเอี้ยง นกแกว นกขุนทอง เลนแชรรวมกับเพื่อน 7 คน โดยมีนกขุนทองเปนนายวงแชร นกเอี้ยงเปยแชรได นกขุนทองไดเก็บเงินจากลูกวงทุกคนเพื่อรวบรวมใหนกเอี้ยง แตในสวนของนกแกวไมมีเงินจาย นกแกวจึงไดกูยืมนกขุนทองเพื่อจายคาแชรจํานวน 1,000 บาท แตนกขุนทองเกรงวาจะไมมีพยานรูเห็นจึงมอบเงินที่ใหกูยืมตอหนาลูกวงแชร ตอมานกแกวก็ไมยอมนําเงินจํานวนนั้นสงคาแชรที่คางอยู ดังนี้นกเอี้ยงจะฟองเรียกเงินคาแชรที่คางชําระและนกขุนทองจะฟองเรียกเงินที่นกแกวกูยืมเงินไปไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 653 วรรคแรก บัญญัติวา “การกูยืมเงินเกินกวาหาสิบบาทขึ้นไปนั้น ถามิไดมีหลักฐานแหงการกูยืมเงินเปนหนังสือแตอยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญ ทานวาจะฟองรองบังคับคดีหาไดไม ในการกูยืมเงินมีหลักฐานเปนหนังสือนั้น ทานวาจะนําสืบการใชเงินไดตอเมื่อมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูใหยืมมาแสดง หรือเอกสารอันเปนหลักฐานแหงการกูยืมนั้นไวเวนคืนแลว หรือไดแทงเพิกถอนลงในเอกสารนั้นแลว” วินิจฉัย ตามปญหานกเอี้ยงสามารถฟองเรียกเงินคาแชรที่คางจากนกขุนทองนายวงแชรได เนื่องจากการเลนแชรเปยหวยเปนสัญญาชนิดหนึ่งผูกพันคูสัญญา สัญญาเลนแชรเปยหวยไมใชสัญญากูยืมเงิน ไมจําเปนตองมีหลักฐานเปนหนังสือก็สามารถเรียกรองเงินกันได (ตามนัยคําพิพากษาฎีกาที่ 2253/2518) สวนกรณีนกขุนทองนั้น การใหนกแกวยืมเงิน มีวัตถุประสงคเพื่อจายคาแชรไมตองหามตามกฎหมายแตอยางใด จึงใชบังคับกันได เมื่อการกูยืมเงินกันเปนจํานวนกวา 50 บาท ไมมีหลักฐานในการกูยืมกันเปนหนังสือลงลายมือช่ือนกแกวผูยืมเปนสําคัญ จึงฟองรองบังคับคดีไมได แมวาจะมีพยานบุคคลรูเห็นก็ตาม สรุป นกเอี้ยงจะฟองเรียกเงินคาแชรที่คางชําระได และนกขุนทองจะฟองเรียกเงินที่นกแกวกูยืมไปไมได 51. นายสุขสมเปนตัวแทนประกันชีวิตของบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จํากัด ไดเสนอใหนายสดใสประกันชีวิตกับบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จํากัด โดยตนจะลดคาประกันใหเปนพิเศษ นายสดใสไดตกลงรับทําประกันชีวิตกับนายสุขสม โดยใหภริยาเปนผูรับ

Page 30: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

ประโยชนตามสัญญา และแถลงขอความจริงวาตนเปนโรคความดันโลหิตสูง บริษัท แสนสุขประกันชีวิต จํากัด ไดสงกรมธรรมประกันชีวิตใหแกนายสดใส นายสดใสไดถึงแกความตายดวยโรคเสนโลหิตในสมองแตก ขอเท็จจริงปรากฏวา นายสุขสมไมไดแจงใหบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จํากัด ทราบวา นายสดใสเปนโรคความดันโลหิตสูง หากภริยาของนายสดใสมาเรียกรองใหบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จํากัด ชดใชคาสินไหมทดแทนใหตน ทานในฐานะทนายความของบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จะใหคําแนะนําแกบริษัท ฯ อยางไร แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 861 บัญญัติวา “อันวาสัญญาประกันภัยนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะชดใชคาสินไหมทดแทน หรือใชเงินจํานวนหนึ่งในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้น หรือในเหตุอยางอื่นในอนาคตดั่งไดระบุไวในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะสงเงินซ่ึงเรียกวา เบ้ียประกันภัย”

มาตรา 865 วรรคแรก บัญญัติวา “ถาในเวลาทําสัญญาประกันภัย ผูเอาประกันภัยก็ดี หรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอันการใชเงินยอมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รูอยูแลวละเวนเสียไมเปดเผยขอความจริงซ่ึงอาจจะไดจูงใจผูรับประกันภัยใหเรียกเบี้ยประกันภัยสูงขึ้นอีกหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา หรือรูอยูแลววาแถลงขอความอันเปนเท็จไซร ทานวาสัญญานั้นเปนโมฆียะ” วินิจฉัย แมภริยาของนายสดใสจะมีสวนไดเสียในสัญญาประกันชีวิตตาม ปพพ. มาตรา 863 แตก็ไมมีสิทธิเรียกรองใหบริษัทแสนสุขประกันชีวิต จํากัด ชดใชคาสินไหมทดแทนเนื่องจากความตายของสดใสได เพราะสัญญาประกันชีวิตนั้นเปนโมฆียะ บริษัท ฯ มีสิทธิบอกลางสัญญาดังกลาวได การที่นายสุขสมตัวแทนตกลงรับประกันชีวิตใหแกนายสดใสโดยทราบขอความจริงวา นายสดใสเปนโรคความดันโลหิตสูง และไมไดแจงใหบริษัททราบ จะถือวาบริษัท ฯ รับทราบขอความจริงเกี่ยวกับนายสดใสไมได เพราะนายสุขสมเปนตัวแทนหาประกันชีวิตใหกับบริษัทเทานั้น ไมไดมีลักษณะเปนตัวแทนตาม ปพพ. เพราะฉะนั้นขอความจริงที่ตัวแทนประกันชีวิตรูจะถือวาบริษัทรูไมได สรุป หากขาพเจาเปนทนายความจะแนะนําวาบริษัท ฯ รับทําสัญญาประกันชีวิต โดยไมทราบขอความจริงเกี่ยวกับเรื่องที่นายสดใสเปนโรคความดันโลหิตสูง ซ่ึงอาจจะจูงใจใหบริษัท ฯ เรียกเบี้ยประกันสูงขึ้นหรือบอกปดไมยอมทําสัญญา สัญญานี้ยอมมีผลเปนโมฆียะ เมื่อบริษัท ฯ บอกลางสัญญายอมตกเปนโมฆะ ภริยานายสดใสจึงไมมีสิทธิเรียกรองใหบริษัท ฯ ชดใชคาสินไหมทดแทนในกรณีนี้ได 52.นายธานี แตงต้ังใหนายอาสาเปนตัวแทนดูแลกิจการคาขาวสารของนายธานี ระหวางที่นายธานีเดินทางไปตางประเทศ ระหวางนั้นนายธานีไดโทรศัพทมาสอบถามการทํางานจากนายอาสาและไดเกิดโตเถียงขัดแยงขึ้น วันตอมานายอาสาจึงสงโทรเลขไปที่นายธานีขอบอกเลิกการเปนตัวแทน และไมไปทํางานในรานขาวสารของนายธานีอีกตอไป นายธานีทราบเรื่องที่นายอาสาโทรเลขไป จึงรีบเดินทางกลับประเทศไทย แตมาไมไดเพราะเครื่องบินติดพายุหิมะ เสียเวลาไป 3 วัน กิจการคาขาวสารของนายธานีเกิดความเสียหายเพราะขาดคนดูแลออกไปซื้อขาวสารมาขายในชวงนั้นเปนชวงที่ขาวสารกําลังมีราคาดี นายธานีจึงเรียกรองใหนายอาสาชดใชคาเสียหายใหนายธานี แตนายอาสาปฏิเสธโดยอางวาตนบอกเลิกการเปนตัวแทนแลว ทานเห็นวา นายธานีเรียกรองเอาคาเสียหายจากนายอาสาไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 827 บัญญัติวา “ตัวการจะถอนตัวแทน และตัวแทนจะบอกเลิกเปนตัวแทนเสียในเวลาใดก็ไดทุกเมื่อ คูสัญญาฝายซ่ึงถอนตัวแทน หรือบอกเลิกเปนตัวแทนในเวลาที่ไมสะดวกแกอีกฝายจะตองรับผิดตอคูสัญญาฝายนั้นในความเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตการนั้น เวนแตในกรณีที่ความจําเปนอันมิอาจจะกาวลวงเสียได

Page 31: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

วินิจฉัย มาตรา 827 ไดบัญญัติวา ใหตัวการหรือตัวแทนสามารถบอกเลิกการเปนตัวการหรือตัวแทนตอกันไดทุกเมื่อ กลาวคือตัวการจะถอนตัวแทนเมื่อใดก็ได และตัวแทนจะบอกเลิกการเปนตัวแทนเมื่อใดก็ได แตเพื่อปองกันมิใหฝายใดฝายหนึ่งตองเสียหายอันเนื่องมาจากการบอกเลิกสัญญาตัวแทนในเวลาที่ไมสะดวกแกฝายใดฝายหนึ่ง บทบัญญัติวรรคสองจึงกําหนดใหคูสัญญาฝายที่บอกเลิกสัญญาตองรับผิดชอบตอคูสัญญาอีกฝายในความเสียหายอยางใด ๆ ที่เกิดจากการบอกเลิกสัญญาในเวลาที่ไมสะดวกแกอีกฝายหนึ่ง เวนแตกรณีที่มีความจําเปนอันมิอาจกาวลวงเสียได ตามขอเท็จจริงนายอาสาบอกเลิกสัญญาตัวแทนตอนายธานีในขณะที่ขาวสารในรานกําลังมีราคาดี ขาดคนดูแลออกไปซ้ือขาวสารมาขาย อันอยูในเวลาที่ไมสะดวกแกนายธานี และภายหลังบอกเลิกสัญญาแลว นายอาสาก็งดปฏิบัติหนาที่ตัวแทนทันทีทําใหกิจการของนายธานีเสียหาย นายอาสาจึงตองรับผิดในความเสียหายดังกลาวตอนายธานีทั้งในกรณีมิไดมีความจําเปนอันมิอาจจะกลาวลวงเสียได นายอาสาจึงตองรับผิดในคาเสียหายดังกลาว สรุป นายธานีเรียกรองเอาคาเสียหายจากนายอาสาได 53.นายวองทําสัญญากูยืมเงินธนาคารเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2536 จํานวน 5,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 15%ตอป กําหนดชําระภายใน 5 ป นายวองมีปญหาเรื่องเงินจึงไมไดชําระดอกเบี้ยธนาคารติดตอกันมาตั้งแตเร่ิมกูยืมเงิน ธนาคารทวงถามใหนายวองชําระหนี้มาโดยตลอดแตนายวองก็ไมไดชําระดอกเบี้ยเลย วันที่ 30 ตุลาคม 2537 ธนาคารจึงเชิญนายวองมาพบ แลวตกลงกันทําเปนหนังสือวา นายวองยินยอมใหธนาคารคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่คางชําระทั้งหมด ตอมานายวองไมชําระตนเงินและดอกเบี้ยจนถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2542 ดังนี้ ธนาคารจะทวงถามใหนายวองชําระดอกเบี้ยทบตนในหนี้จํานวนดังกลาว ไดหรือไม เพียงใด เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 655 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนที่ทบเขานั้นก็ได แตการตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ” วินิจฉัย

ตามปญหา การที่ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่นายวองไดคางชําระมาตั้งแตเร่ิมกูยืมกันนั้นตองหามตามกฎหมาย เพราะตามมาตรา 655 นั้นบัญญัติวาดอกเบี้ยตองคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญาจึงจะตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตนได แสดงวาดอกเบี้ยที่คางชําระต้ังแตกูยืมกันในปแรก ธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนไมได คูสัญญาจะตกลงใหคิดดอกเบี้ยทบตนได ตอเมื่อนายวองคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง ดังนั้นธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนไดในปที่สอง คือ ต้ังแต 31 ตุลาคม 2537 เปนตนไป สวนในปแรกตองคิดในอัตรา 15% ตอป ไมทบตน 54.นายสุชาติ มอบอํานาจใหนายดนัย เปนตัวแทนไปหาซื้อเหมาผลไม เพื่อที่จะนํามาขายตอเอากําไร โดยนายสุชาติ จะมอบใหนายดนัยขับรถบรรทุกของนายสุชาติทุกครั้งที่ใชงานดังกลาว กรณีนี้ หากในระหวางทาง รถเกิดเสีย และนายดนัยตองนํารถไปซอมเพื่อใชงาน ทําใหเปนหนี้กับอูรถเปนเงิน 4,000 บาท และในขณะเดียวกัน เงินที่นายสุชาติใหมา ไมเพียงพอในการซื้อเหมาผลไม นายดนัยตองเปนหนี้พอคาผลไมอีก 10,000 บาท เชนนี้นายดนัยสามารถเรียกรองเอาเงินที่จายไปเพื่อนายสุชาติจํานวน 10,000 บาท และเรียกรองใหนายสุชาติชําระหนี้จํานวน 4,000 บาท ใหอูซอมรถดังกลาวหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

Page 32: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

มาตรา 816 บัญญัติวา”ตัวแทนสามารถเรียกรองเงินทดรองหรือคาใชจาย หรือคาเสียหายจากตัวการไดหากในการปฏิบัติหนาที่ของตนนั้น ตัวแทนไดออกเงินหรือคาใชจายอยางใดไปเพื่อตัวการ” วินิจฉัย

กรณีของนายดนัย ขอเท็จจริงฟงไดวา นายดนัยจําเปนตองซอมรถยนตและจําเปนตองออกเงินทดรองใหแกนายสุชาติไปกอน ดังนั้น นายดนัยสามารถเรียกรองใหนายสุชาติชําระหนี้คาซอมรถยนตแทนตนได ในขณะเดียวกันนายสุชาติก็ตองชําระเงิน 10,000 บาท คืนใหนายดนัยพรอมทั้งดอกเบี้ยดวย ซ่ึงในกรณีนี้ไมไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยกันไว ก็ตองใชอัตรา 7.5% ในจํานวนเงิน 10,000 บาท ดังกลาว ทั้งนี้ตาม ปพพ. มาตรา 7 55.จงอธิบายการโอนและผลของการโอนวัตถุที่ไดเอาประกันภัยโดยผลของกฎหมายและโดยผลของนิติกรรมพรอมทั้งยกตัวอยางประกอบดวย และเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับสิทธิตามสัญญาประกันภัยโดยละเอียด แนวตอบ การโอนวัตถุที่เอาประกันโดยผลของกฎหมาย มีดังนี้

(1) การโอนทางมรดกทั้งในฐานะทายาทโดยธรรม และผูรับพินัยกรรม (2) การโอนโดยบทบัญญัติของกฎหมาย เชน การบังคับซ้ือตามพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย การโอนทรัพยที่เอาประกันภัยโดยพินัยกรรมอยูในประเภทการโอนโดยกฎหมายเพราะการเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ใน

ทรัพยจากผูทําพินัยกรรมไปยังผูรับพินัยกรรมเปนไปโดยผลของกฎหมายเนื่องจากการตายของผูทําพินัยกรรม เชนเดียวกับการรับมรดกของทายาทโดยธรรมซึ่งเปนการโอนที่ปราศจากการแสดงเจตนาของเจามรดก

การโอนทรัพยที่เอาประกันภัยโดยผลของกฎหมาย ไมเปนผลใหผูรับโอนเขาเปนผูเอาประกันภัยคนใหมตามสัญญาประกันภัยเดิม เพราไมเขาเงื่อนไขตามมาตรา 862 วรรคสาม กลาวคือไมใชคูสัญญาฝายซ่ึงตกลงจะสงเบี้ยประกันภัย

การโอนทรัพยที่เอาประกันโดยนิติกรรมมีผลใหสิทธิตามสัญญาประกันภัยโอนตามไปยังผูรับโอนดวย แตถาผูโอนไมมีสิทธิใด ๆ ตามสัญญาประกันภัย เชน ไดยกประโยชนตามสัญญาประกันภัยนั้นใหผูรับประโยชนแลว ผูรับโอนยอมไมไดรับสิทธิตามสัญญาประกันภัย

กรณีที่สัญญาประกันภัยมิไดหามการโอนทรัพยที่เอาประกันภัยไว สิทธิในสัญญาประกันภัยจะโอนตามไปดวย เมื่อการโอนไดปฏิบัติถูกตองตามที่กฎหมายกําหนด และผูเอาประกันภัยไดบอกกลาวการโอนไปยังผูรับประกันภัยแลว

สัญญาประกันภัยจะตกเปนโมฆะเนื่องจากการโอนทรัพยที่เอาประกันภัยโดยนิติกรรมที่เปนผลโดยตรงใหชองวางแหงภัยเปลี่ยนไป หรือเพิ่มมากขึ้น

ผลของการโอนวัตถุที่เอาประกันภัยแยกประเภทได 2 กรณี คือ (1) โอนโดยผลของกฎหมาย สิทธิของผูเอาประกันภัยยอมโอนตามไปดวยโดยไมตองไดรับความยินยอมจากผูรับประ

กันภัย (2) โอนโดยนิติกรรม แยกไดเปน 2 กรณี คือ ในกรณีที่สัญญาประกันภัยไมมีเงื่อนไขหามโอน เมื่อไดปฏิบัติตามมาตรา

875 วรรคสอง คือ ไดบอกกลาววาการโอนทรัพยไปยังผูรับประกันภัยแลว สิทธิของผูเอาประกันภัยโอนไปยังผูรับโอนดวย แตในกรณีที่การโอนโดยนิติกรรมนี้เปนผลใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงไป หรือเพิ่มมากขึ้น สัญญาประกันภัยเปนโมฆะ

เปรียบเทียบเหตุผลของกฎหมายในกรณีการโอนโดยกฎหมาย และการโอนโดยนิติกรรม การโอนโดยผลของกฎหมาย

(1) สิทธิของผูเอาประกันภัยโอนตามไปดวยโดยมิตองบอกกลาว หรือไดรับความยินยอมจากผูรับประกันภัย (2) เงื่อนไขหามโอนวัตถุที่เอาประกันภัยในสัญญาประกันภัยใชบังคับไมได (3) สัญญาประกันภัยยังใชบังคับได แมการโอนนั้นจะทําใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มมากขึ้นก็ตาม

การโอนโดยนิติกรรม (1) สิทธิของผูเอาประกันภัยโอนเมื่อไดมีการบอกกลาวการโอนตามมาตรา 875 วรรคสองแลว

Page 33: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

(2) เงื่อนไขหามโอนวัตถุที่เอาประกันภัยในสัญญาประกันภัยใชบังคับได (3) หากการโอนเปนผลใหชองแหงภัยเปลี่ยนแปลงไป หรือเพิ่มมากขึ้น สัญญาประกันภัยเปนโมฆะ ผลของเงื่อนไขที่หามโอนวัตถุที่เอาประกันภัยในสัญญาประกันภัย แยกพิจารณาได 2 กรณี คือ (1) การโอนโดยบทบัญญัติของกฎหมาย เงื่อนไขหามโอนดังกลาวใชบังคับไมได เพราะมิใชการโอนโดยการแสดง

เจตนาของคูสัญญาแตอยางใด (2) การโอนโดยนิติกรรม เงื่อนไขหามโอนดังกลาวใชบังคับได เพราะการโอนเกิดขึ้นดวยการแสดงเจตนาของผูเอาประ

กันภัยซ่ึงเปนคูสัญญาฝายหนึ่งที่ไดตกลงในเงื่อนไขหามโอนแลวยอมใชบังคับได ประกอบกับสิทธิตามสัญญาประกันภัยเปนบุคคลสิทธิไมติดไปกับตัวทรัพยที่โอนดวย เมื่อคูสัญญาตกลงหามโอนยอมเปนไปตามเจตนานั้น 56.นายวุธทําสัญญากูยืมเงินธนาคารจํานวน 1,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 15% ตอป กําหนดชําระภายใน 3 ป ปแรกนายวุธชําระดอกเบี้ยใหธนาคารทุกเดือน สวนในปที่ 2 และ 3 นายวุธคางชําระดอกเบี้ยมาโดยตลอด ธนาคารไดทวงถามหลายครั้ง นายวุธก็ไมมีชําระ ธนาคารจึงแจงใหนายวุธทราบวาธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนในดอกเบี้ยที่คางชําระทั้งหมด ตอมานายวุธก็ไมยอมชําระดอกเบี้ย โดยอางวาธนาคารไมมีสิทธิคิดดอกเบี้ยทบตน ดังนี้ขอตอสูของนายวุธฟงไดหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ

หลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 655 บัญญัติวา”ทานหามมิใหคิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่คางชําระ แตทวาเมื่อดอกเบี้ยคางชําระไมนอยกวาปหนึ่ง คูสัญญากูยืมจะตกลงกันใหเอาดอกเบี้ยทบเขากับตนเงินแลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนที่ทบเขานั้นก็ได แตการตกลงเชนนั้นตองทําเปนหนังสือ” วินิจฉัย ตามปญหา การที่นายวุธไดคางชําระดอกเบี้ยในปที่ 2 และ 3 นั้น เปนการคางชําระดอกเบี้ยกวาปหนึ่งแลว แมธนาคารจะไดแจงใหนายวุธทราบเมื่อทวงถามแลวนายวุธไมชําระก็ไมมีขอตกลงเปนหนังสือระหวางคูสัญญาใหเอาดอกเบี้ยทบเขากับตนเงิน แลวใหคิดดอกเบี้ยในจํานวนที่ทบกันนั้น ซ่ึงเปนวิธีคิดดอกเบี้ยทบตน ดังนั้นธนาคารจะคิดดอกเบี้ยทบตนในหนี้ที่คางชําระไมได ไดแตจะคิดในวิธีธรรมดาไมทบตน 57.กรณีที่ตัวแทนทําการเกินอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบจากตัวการ และตอมาตัวการใหสัตยาบันกับการกระทําดังกลาวนั้นของตัวแทน การใหสัตยาบันเชนนี้เกิดผลอยางไรทางกฎหมาย แนวตอบ การใหสัตยาบันของตัวการยอมกอใหเกิดผลทางกฎหมาย กลาวคือ ถือวาการกระทํานั้นสมบูรณ ผูกพัน และจะถือวาเปนการกระทําของตัวการมาตั้งแตตน ลักษณะดังกลาวนี้ ยอมกอใหเกิดผลตอตัวการและตัวแทนดังนี้

1.ตัวแทนหลุดพนความรับผิดเปนการสวนตัว ทั้งนี้เพราะถือวา ตัวแทนไดกระทําในนามของตัวการแลว 2.ตัวแทนมีสิทธิตอตัวการ เมื่อมีการใหสัตยาบันแลว ตัวแทนยอมมีสิทธิและหนาที่ตอตัวการตามกฎหมาย เชน สิทธิใน

บําเหน็จ เปนตน อยางไรก็ตามในบางกรณีการใหสัตยาบันของตัวการอาจไมทําใหเกิดผลเปล่ียนแปลงฐานะของตัวแทนตอบุคลภายนอกได เชน กรณีที่ตัวแทนทําละเมิดตอบุคคลภายนอก ตัวแทนจะตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในเหตุละเมิดนั้น แตเมื่อตัวการใหสัตยาบันแกการกระทํานั้นก็ทําใหตัวการตองรวมรับผิดดวย และการใหสัตยาบันนั้นยอมไมกระทบกระเทือนตอสิทธิที่บุคคลภายนอกเขามีอยูแลวกอนใหสัตยาบัน

Page 34: แนวข้อสอบเก่า กฎหมายพาณิชย์ 2  ยืม ฝากทรัพย์ ตัวแทน ประกันภัย

58 .ก.เหตุใดผูรับประกันภัยที่ชําระคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยคํ้าจุนใหผูเอาประกันจึงไมหลุดพนความรับผิด และการที่ผูตองเสียหายไมเรียกเอาผูเอาประกันภัยเขาไปในคดีที่ตนฟองผูรับประกันภัยนั้น มีผลตามกฎหมายอยางไร จงอธิบาย ข. อายุความตมสัญญาประกันภัยคํ้าจุนเกี่ยวของกับอายุความในมูลหนี้ที่ผูเอาประกันภัยจะตองรับผิดอยางใด และปญหาอายุความเปนปญหาที่เกี่ยวดวยอํานาจฟองของผูรับประกันภัยใชหรือไม แนวตอบ

ก. ผูรับประกันภัยที่ชําระคาสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัยคํ้าจุน ใหผูเอาประกันภัยไมหลุดพนความรับผิด เพราะผูเอาประกันภัยมิใชผูไดรับความเสียหายจากวินาศภัยที่เกิดขึ้น การที่ผูรับประกันภัยชําระคาสินไหมทดแทนใหไปจึงไมใชการชดใชคาสินไหมทดแทนตามความเสียหายที่แทจริง ผูรับประกันภัยจึงไมหลุดพนความรับผิด

การที่ผูตองเสียหายไมเรียกเอาผูเอาประกันภัยเขาไปในคดีที่ฟองผูรับประกันภัยนั้น มีผลตามกฎหมายคือ ผูตองเสียหายจะนําคดีไปฟองผูเอาประกันภัยใหชดใชคาสินไหมทดแทนสวนที่ขาดเปนคดีใหมไมได เพราะถือวาผูตองเสียหายไดแสดงเจตนาสละสิทธิของตนในมูลหนี้ที่มีตอผูเอาประกันภัยแลว

ข. อายุความตามสัญญาประกันภัยคํ้าจุนเกี่ยวของกับอายุความในมูลหนี้ที่ผูเอาประกันภัยจะตองรับผิด กลาวคือ ถาปรากฏวาคดีที่ผูตองเสียหายฟองผูเอาประกันภัยขาดอายุความ ผูเอาประกันภัยไมตองรับผิดตอผูเสียหาย ผูรับประกันภัยยอมไมตองรับผิด ตามมาตรา 887 วรรคแรก แตถาไมมีคดีฟองผูกอความเสียหายและผูเอาประกันภัยไมไดปฏิเสธความรับผิดดวยเหตุอายุความ ผูรับประกันภัยจะตอสูวาสิทธิเรียกรองของผูเสียหายที่มีตอผูเอาประกันภัยขาดอายุความแลวไมได เพราะไมใชขอตอสูในมูลหนี้ของสัญญาประกันภัย

ตามปกติปญหาอายุความไมใชปญหาที่เกี่ยวดวยอํานาจฟองของผูรับประกันภัย แตถาการขาดอายุความนั้นเปนปญหาที่เกี่ยวดวยความรับผิดของผูเอาประกันภัย ซ่ึงเปนผลใหผูตองเสียหายไมมีอํานาจฟองผูรับประกันภัยแลว แมผูรับประกันภัยจะไมไดยกเรื่องอายุความขึ้นมาตอสู ศาลก็มีอํานาจยกขึ้นวินิจฉัยได