65
๑๕ โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่สูง แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะสาคัญ สู่มาตรฐานสากล ตัวชี้วัดความสาเร็จ นักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีท่ 1 ทุกคนอ่านออกเขียนได้มีการประเมินที่เป็น รูปธรรม ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกฤติยา ขัติยะ และนายชาติชาย ทนะขว้าง ระยะเวลา พฤศจิกายน 2558 – กันยายน 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการให้ความสาคัญ ต่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อนาพา ประเทศ สู่ความเจริญก้าวหน้า โดยให้ความสาคัญต่อ การเรียนรู้ของนักเรียนตั้งแต่เริ่มเรียนกาหนดเป็น นโยบายสาคัญคือ ปี 2558 เป็นปีปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และปีการศึกษา 2558 “เด็กนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท1 เมื่อจบ ป.1 ต้องอ่านออกเขียนได้และมีมาตรการประเมินผลให้เป็นรูปธรรม จากการ ดาเนินการประเมินการอ่านการเขียนนักเรียน ครั้งที4 โดยใช้แบบทดสอบของสานักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. เป็นเครื่องมือในการประเมิน เมื่อวันที5 ตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา จานวนนักเรียน ป.1 ทั้งหมด 2,236 คน เข้าสอบ 1, 986 คน ขาดสอบ 250 คน เมื่อแบ่งนักเรียนที่เข้าสอบตามระดับคุณภาพ จัดกลุ่ม ได้ดังนี้ กลุ่มดีมาก 972 คน คิดเป็นร้อยละ 48.94 กลุ่มดี 613 คน คิดเป็นร้อยละ 30.89 กลุ่ม พอใช้ 273 คน คิดเป็นร้อยละ 13.75 กลุ่มปรับปรุง 128 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45 สาหรับผลการ ประเมินของโรงเรียนในเขตพื้นที่สูงในสังกัด สพป.น่าน เขต 1 จานวน 29 โรงเรียน จาก 5 อาเภอ นักเรียน ร้อยละ 50 ของนักเรียนที่เข้าสอบอยู่ในกลุ่ม ปรับปรุงและพอใช้ และร้อยละ 90 ของนักเรียนที่ขาดสอบเป็น นักเรียนของโรงเรียนในเขตพื้นที่สูง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกน่าน เขต 1 จึงจัดทาโครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียน ได้นักเรียนในเขตพื้นที่สูง ขึ้น เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการในการพัฒนา เรื่องการอ่าน การเขียน ของนักเรียนในพื้นที่สูง และพัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ไขให้ตรงกับปัญหาและความต้องการ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการอ่าน การเขียนนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท1 ในเขตพื้นที่สูง 2.2 เพื่อพัฒนานวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพื้นที่สูง 2.3 เพื่อเผยแพร่ นวัตกรรมการแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพื้นที่สูง สาหรับ โรงเรียน ที่มีความสนใจนาไปใช้ในการแก้ปัญหา

& โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๑๕

โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพ้ืนที่สูง แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญ สู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ นักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนอ่านออกเขียนได้มีการประเมินที่เป็น

รูปธรรม ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกฤติยา ขัติยะ และนายชาติชาย ทนะขว้าง ระยะเวลา พฤศจิกายน 2558 – กันยายน 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการให้ความส าคัญ ต่อการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพ่ือน าพาประเทศ สู่ความเจริญก้าวหน้า โดยให้ความส าคัญต่อ การเรียนรู้ของนักเรี ยนตั้งแต่เริ่มเรียนก าหนดเป็นนโยบายส าคัญคือ ปี 2558 เป็นปีปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ และปีการศึกษา 2558 “เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เมื่อจบ ป.1 ต้องอ่านออกเขียนได้และมีมาตรการประเมินผลให้เป็นรูปธรรม จากการด าเนินการประเมินการอ่านการเขียนนักเรียน ครั้งที่ 4 โดยใช้แบบทดสอบของส านักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. เป็นเครื่องมือในการประเมิน เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ที่ผ่านมา จ านวนนักเรียน ป.1 ทั้งหมด 2,236 คน เข้าสอบ 1,986 คน ขาดสอบ 250 คน เมื่อแบ่งนักเรียนที่เข้าสอบตามระดับคุณภาพ จัดกลุ่มได้ดังนี้ กลุ่มดีมาก 972 คน คิดเป็นร้อยละ 48.94 กลุ่มดี 613 คน คิดเป็นร้อยละ 30.89 กลุ่มพอใช้ 273 คน คิดเป็นร้อยละ 13.75 กลุ่มปรับปรุง 128 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45 ส าหรับผลการประเมินของโรงเรียนในเขตพ้ืนที่สูงในสังกัด สพป.น่าน เขต 1 จ านวน 29 โรงเรียน จาก 5 อ าเภอ นักเรียนร้อยละ 50 ของนักเรียนที่เข้าสอบอยู่ในกลุ่ม ปรับปรุงและพอใช้ และร้อยละ 90 ของนักเรียนที่ขาดสอบเป็นนักเรียนของโรงเรียนในเขตพ้ืนที่สูง ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกน่าน เขต 1 จึงจัดท าโครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพ้ืนที่สูง ขึ้น เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการในการพัฒนา เรื่องการอ่าน การเขียนของนักเรียนในพื้นท่ีสูง และพัฒนานวัตกรรมเพ่ือแก้ไขให้ตรงกับปัญหาและความต้องการ

2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการอ่าน การเขียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในเขตพ้ืนที่สูง 2.2 เพ่ือพัฒนานวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูง 2.3 เพ่ือเผยแพร่ นวัตกรรมการแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูง ส าหรับโรงเรียน ที่มีความสนใจน าไปใช้ในการแก้ปัญหา

Page 2: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๑๖

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

1) ผู้อ านวยการโรงเรียนและครูผู้สอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนในเขตพ้ืนที่สูงจ านวน 29 โรงเรียน 2) นวัตกรรมการพัฒนาการอ่าน การเขียน ตามสภาพปัญหาและความต้องการของนักเรียน ในเขตพ้ืนที่สูงจ านวน 20 ชดุ เชิงคุณภาพ 1) ผู้บริหารและครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1สามารถสะท้อนปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูงได้ 2) สามารถพัฒนานวัตกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูงได้ 3) นวัตกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูงมีประสิทธิภาพสามารถน าไปเผยแพร่ได้

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 1 ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ

ในการพัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียนชั้น ป.1 ในเขตพ้ืนที่สูง

ธันวาคม 2558 นางสาวกฤติยา ขัติยะ นายชาติชาย ทนะขว้าง

2 การพัฒนานวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหาการอ่านการเขียนของนักเรียนชั้น ป.1 ในเขตพ้ืนที่สูง

ธันวาคม 2558 มกราคม 2559

นางสาวกฤติยา ขัติยะ นายชาติชาย ทนะขว้าง

3 รายงานผลการด าเนินงาน มีนาคม 2559 นางสาวกฤติยา ขัติยะ นายชาติชาย ทนะขว้าง

5. งบประมาณ จ านวน 30,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ)

รายการ งบประมาณ

รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

กิจกรรมที่ 1 - ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง ผู้อ านวยการโรงเรียน ครูผู้สอนภาษาไทย ป.1 จ านวน 29 โรงเรียนและคณะท างานในการท า fogus group จ านวน 1 วัน (60*1*180)

10,800

10,800

Page 3: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๑๗

ที ่

รายการ

งบประมาณ รวม

ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ กิจกรรมที่ 2

- ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่างครู คศ. 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย และครูผู้สอนภาษาไทยชั้น ป.1 โรงเรียนในเขตพ้ืนที่สูงที่มีผลการอ่าน การเขียนในกลุ่มดีมาก และคณะท างาน จ านวน 30 คน 2 วัน (30*2*180) - ค่าถ่ายเอกสารสีพร้อมเข้าเล่มนวัตกรรมพัฒนาการอ่าน การเขียน จ านวน 30 เล่ม เล่มละ 40 หน้า หน้าละ 4 บาทพร้อมเข้าเล่ม ๆละ 40 บาท (30*40*4+30*40)

10,800

6,000

10,800 6,000

กิจกรรมที่ 3 -ค่าวัสดุการจัดท ารายงาน

2,400

2,400

รวม 27,600 2,400 30,000

6. การประเมินผล ตัวบงชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด

1. ผู้บริหารและครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1สามารถสะท้อนปัญหาและความต้องการในการพัฒนาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูงได้ 2. สามารถพัฒนานวัตกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูงได้ 3. นวัตกรรมเพ่ือแก้ไขปัญหา การอ่าน การเขียนนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูงมีประสิทธิภาพสามารถน าไปเผยแพร่ได้

สังเกตพฤติกรรม

การประเมิน

เผยแพร่บนเว็บไซด์ จัดท าเอกสารเผยแพร่

ผลการท า fogus group นวัตกรรมพัฒนาการอ่าน การเขียน จ านวนผู้เยี่ยมชมและดาวโหลด จ านวนรร.ที่น านวัตกรรมไปใช้

Page 4: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๑๘

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 ผลการประเมินการอ่าน การเขียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 มีพัฒนาการที่ดีขึ้น 7.2 ครูมี สื่อ และนวัตกรรมที่หลากหลายในการพัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียนในเขตพ้ืนที่สูง

----------------------------

Page 5: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๑๙

โครงการ การประเมินการอ่านออกเขียนได้ แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญ สู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ นักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนอ่านออกเขียนได้มีการประเมินที่เป็นรูปธรรม ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกฤติยา ขัติยะ และนายชาติชาย ทนะขว้าง ระยะเวลา พฤศจิกายน 2558 – กันยายน 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการให้ความส าคัญ ให้ความส าคัญต่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพ่ือ น าพาประเทศสู่ความเจริญก้าวหน้า โดยให้ความส าคัญต่อการเรียนรู้ของนักเรียนตั้งแต่เริ่มเรียนก าหนดเป็นนโยบายส าคัญคือ ปี 2558 เป็นปีปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ โดยเฉพาะ เด็กนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เมื่อจบ ป.1 ต้องอ่านออกเขียนได้ และมีมาตรการประเมินผลให้เป็นรูปธรรม โดยก าหนดให้มีการประเมิน เพ่ือสรุปผลและรายงานต่อ สพฐ. โดยใช้เครื่องมือ จากส านักทดสอบ ฯ สพฐ. ภายในวันที่ 31 มกราคม 2559และเพ่ือเป็นการเตรียมรับการประเมินดังกล่าว จึงมีความจ าเป็นต้องพัฒนานักเรียนให้มีความพร้อมรับการประเมิน โดยน าข้อมูลผลการประเมินการอ่านนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ที่ผ่านมาวิเคราะห์เพื่อค้นหาปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล ดังนั้นเพื่อเป็นการพัฒนานักเรียนให้สามารถอ่านออก เขียนได้ มีความพร้อมส าหรับการประเมินการอ่านออกเขียนได้ การประเมินเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ และมีการประเมินที่เป็นรูปธรรม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงจัดท า โครงการการประเมินการอ่านออกเขียนได้ขึ้น 2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือพัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขียนของนักเรียนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2.2 เพ่ือประเมินการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ให้เป็นรูปธรรม และมีความบริสุทธิ์ยุติธรรม

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ 1) ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทุกคน 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของทุกโรงเรียน

เชิงคุณภาพ 1) ครูสามารถแก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาการการอ่าน อ่านเขียน ของนักเรียนโดยใช้ปัญหาของนักเรียนเป็นฐานด้วย สื่อ และนวัตกรรมที่หลากหลาย 2) การประเมินการอ่านออก เขียนได้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 เป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ ยุติธรรม

Page 6: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๐

3) สามารถรายงานผลการประเมินได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด 4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1 การพัฒนาการอ่าน การเขียนโดยใช้กลุ่มโรงเรียนเป็นฐาน

พฤศจิกายน 2558 - สิงหาคม 2559

นางสาวกฤติยา ขัติยะ นายชาติชาย ทนะขว้าง

2 การประชุมชี้แจงการด าเนินการประเมิน การอ่าน การเขียน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

มกราคม 2559

3 การจัดท าแบบทดสอบการอ่าน การเขียน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

มกราคม 2559

4 การด าเนินการประเมินการอ่าน การเขียน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558

มกราคม 2559

5 รายงานผลการด าเนินงาน มีนาคม 2559

5. งบประมาณ จ านวน 100,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ)

ที ่

รายการ

งบประมาณ รวม

ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ กิจกรรมที่ 1

งบประมาณบูรณาการกับโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

-

กิจกรรมที่ 2 -ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่างส าหรับ ประธานกลุ่ม ครูวิชาการกลุ่ม และศึกษานิเทศก์ 60 คน จ านวน 1 วัน (1*60*180)

10,800

10,800

กิจกรรมที่ 3 - ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบการอ่าน การเขียน จ านวน 2356 ชุด ชุดละ 40 แผ่นๆละ 0.50 บาท (40*0.50*2356)

47,120

47,120

Page 7: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๑

ที ่

รายการ

งบประมาณ รวม

ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ กิจกรรมที่ 4

- จัดสรรงบประมาณส าหรับกลุ่มโรงเรียน ในการด าเนิน การประเมิน การอ่าน การเขียนกลุ่มโรงเรียนละ 2,000 (2,000*18)

36,000

36,000

กิจกรรมที่ 5 - ค่าวัสดุในการจัดท ารายงานผลการด าเนินงาน

6,080

6,080

รวม 93,920 6,080 100,000

6. การประเมินผล ตัวบงชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด

1. ครูสามารถแก้ปัญหาเพ่ือพัฒนาการการอ่าน อ่านเขียน ของนักเรียนโดยใช้ปัญหาของนักเรียนเป็นฐานโดยใช้ สื่อ และนวัตกรรมที่หลากหลาย 2. การประเมินการอ่านออก เขียนได้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 เป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ ยุติธรรม 3. สามารถรายงานผลการประเมินได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด

การนิเทศ ติดตาม การนิเทศ ติดตาม การรายงานผลในระบบ E-MES

แบบนิเทศ ติดตาม แบบนิเทศ ติดตาม ข้อมูลในระบบ E-MES

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 ผลการประเมินการอ่าน การเขียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 มีพัฒนาการที่ดีขึ้น 7.2 ครูมี สื่อ และนวัตกรรมที่หลากหลายในการพัฒนาการอ่าน การเขียนของนักเรียน

---------------------------

Page 8: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๒

โครงการ การพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์สู่การยกระดับผลการประเมินระดับชาติ แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท กลยุทธ์/มาตรการ เสริมสร้างความสามารถด้านค านวณNumeracy)สู่การยกระดับผลการประเมิน ระดับชาติ (National Test) จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญ สู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ร้อยละของนักเรียนชั้น ป. 3 ด้านความสามารถด้านค านวณ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศรีรัตน์ บุญศรี, นางวิพาภรณ์ พุฒิมา , นางสุชาดา ไตรจินดา ระยะเวลา ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล

เป้าหมายและตัวบ่งชี้การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองของคณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง เป้าหมายที่ 1 ให้คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล โดยมีตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนคือ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก จากการทดสอบระดับชาติมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 50 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพิ่มข้ึนเป็นไม่ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ (ผลทดสอบ PISA) จุดเน้นของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จะประเมินเพ่ือศึกษาและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนให้เข้าสู่มาตรฐาน เพ่ือเป็นหลักประกันการเรียนรู้ (Accountability) และเตรียมการให้ผู้เรียนมีความพร้อมส าหรับรองรับการประเมิน ทั้งการทดสอบระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุ่งประเมินผลสัมฤทธิ์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาหลัก เริ่มตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (และจะเพ่ิมการตรวจสอบความพร้อม ในทักษะการอ่าน เขียน คิดค านวณ ซึ่งถือเป็นเครื่องมือพ้ืนฐานเบื้องต้นส าคัญ ที่ใช้ในการเรียนรู้) เพื่อเป็นการกระตุ้นและเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนล่วงหน้าในการรองรับการทดสอบระดับชาติหรือ O-NET ชั้น ป.6 และ ม.3 จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) และการประเมินระดับนานาชาติ (PISA 2015) ที่มีรูปแบบการประเมินท่ีหลากหลาย ตอบสนองตามเป้าหมายของการปฏิรูปในทศวรรษที่สอง ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูลส าคัญท่ีสะท้อนคุณภาพการด าเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่จ าเป็นต้องมีข้อมูลผลการเรียนรู้ เพ่ือปรับปรุง/พัฒนาและการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน และเป็นตัวบ่งชี้ คุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในภาพรวม เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการก าหนดนโยบาย และการวางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับสถานศึกษา และระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา

2. วัตถุประสงค ์จัดท านวัตกรรมชุดกิจกรรมการพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทาง

คณิตศาสตร์สู่การยกระดับผลการประเมินระดับชาติระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

จัดท าชุดกิจกรรมการพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหา

Page 9: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๓

ทางคณิตศาสตร์สู่การยกระดับผลการประเมินระดับชาติระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3ให้กับโรงเรียนที่มีผลการประเมินต่ ากว่าค่าเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนที่ จ านวน 150 โรงเรียน และเอกสารแนวการหาค าตอบส าหรับครู เชิงคุณภาพ

1) โรงเรียนมีนวัตกรรมการพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สู่การยกระดับผลการประเมินระดับชาติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สามารถพัฒนาศักยภาพและความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง

2) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีผลการประเมิน NT ความสามารถด้านค านวณสูงขึ้น ร้อยละ 5

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1 พัฒนาชุดกิจกรรม“การพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

1-30 เม.ย. 59 นางศรีรัตน์ บุญศรี และคณะ

2 จัดท าชุดกิจกรรม“การพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3”ส าหรับนักเรียน

1 พ.ค.-30 มิ.ย.59

3 - จัดท าเอกสารแนวการหาค าตอบชุดกิจกรรม ส าหรับครู - ส่งไฟล์เอกสารแนวการหาค าตอบชุดกิจกรรม ส าหรับครู ให้โรงเรียน

1 พ.ค.-30 มิ.ย.59

5. งบประมาณ จ านวน 10,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ)

ที ่ รายการ งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 1 พัฒนาชุดกิจกรรม“การพัฒนาความสามารถด้าน

ค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

2 จัดท าชุดกิจกรรม“การพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3”ส าหรับนักเรียน จ านวน(80 หน้า* 0.50 บาท* 155 ชุด) เข้าเล่มพิมพ์ปกสี รวม 150 เล่ม*15 บาท เข้าเล่มพิมพ์ปกสีเคลือบพลาสติกรวม 5 เล่ม*40 บาท

6,200 2,250

200

6,200 2,250

200 3

จัดท าเอกสารแนวการหาค าตอบชุดกิจกรรม ส าหรับครู (150 หน้า* 0.50 บาท* 10 ชุด) เข้าเล่มพิมพ์ปกสีเคลือบพลาสติกรวม 10 เล่ม*40 บาท

950

400

950

400 รวม 10,000 10,000

Page 10: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๔

6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้วัด

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความสามารถด้านค านวณสูงขึ้นร้อยละ 5

วิเคราะห์ผลสอบ

แบบรายงาน

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 โรงเรียนมีนวัตกรรมการพัฒนาความสามารถด้านค านวณและทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สู่การยกระดับผลการประเมินระดับชาติ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สามารถพัฒนาศักยภาพและความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง ที่ส่งผลต่อการประเมินระดับชาติ

7.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีผลการประเมิน NT ความสามารถด้านค านวณสูงขึ้นร้อยละ 5

-----------------------------------

Page 11: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๕

โครงการ การประเมินโดยใช้ข้อสอบกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 ปีการศึกษา 2558

สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท กลยุทธ์/มาตรการ เร่งรัดการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญ สู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ - นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 อ่านออกเขียนได้ทุกคน

-ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นป. 6 และชั้น ม.3 มีผลการทดสอบระดับชาติ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมโดยรวมเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3

ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศรีรัตน์ บุญศรี, นางวิพาภรณ์ พุฒิมา , นางสุชาดา ไตรจินดา ระยะเวลา ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559 ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานประกาศแนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยให้เพ่ิมข้อสอบแบบเขียนตอบทั้งการเขียนตอบ แบบสั้นและแบบยาว เมื่อจบหน่วยการเรียนในการสอบระหว่างภาคเรียน และการสอบปลายภาคอย่างน้อยร้อยละ 30 ของการสอบแต่ละครั้ง และให้ใช้ข้อสอบกลางที่พัฒนาโดยส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในการสอบปลายปีร้อยละ 20 ของคะแนนสอบทั้งหมดในระดับชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้

ชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ป.2 ภาษาไทย

ป.4-5 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ม.1-2 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ดังนั้นส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจึงจ าเป็นต้องจัดระบบการบริหารจัดการให้รัดกุม เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพ โดยการจัดท าแผนการประเมินโดยใช้ข้อสอบกลาง เพ่ือใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานประเมินของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องในเขตพ้ืนที่การศึกษาตามบริบทของเขตพ้ืนที่การศึกษาเพ่ือให้สามารถปฏิบัติได้จริงเป็นรูปธรรม

ตามเหตุผลและความจ าเป็นดังกล่าว ในปีงบประมาณ 2559 ส านักทดสอบทางการศึกษาร่วมกับส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงได้ด าเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 ปีการศึกษา 2558

2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 ปีการศึกษา 2558 ทุกคนโดยใช้ข้อสอบกลาง

Page 12: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๖

2.2 เพ่ือรายงานผลการประเมินโดยใช้ข้อสอบกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 ปีการศึกษา 2558และพัฒนาครูในการน าผลการสอบไปใช้ในการวางแผนพัฒนานักเรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

1) ประเมินคุณภาพนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 การศึกษา 2558 ทุกคนโดยใช้ข้อสอบกลางในสังกัดทุกคน 2) มีรายงานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพ้ืนที่โดยใช้ข้อสอบกลาง เชิงคุณภาพ

1) โรงเรียนใช้ผลการประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2ปีการศึกษา2558 โดยใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปีร้อยละ20 ของคะแนนสอบทั้งหมดในระดับชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่จัดสอบ

2) โรงเรียนและส านักงานเขตพ้ืนการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 มีสารสนเทศ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบกลาง สะท้อนศักยภาพและความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน ที ่ กิจกรรม ระยะเวลา

ด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ

1 จัดสรรงบประมาณจัดท าแบบทดสอบให้กลุ่มโรงเรียน 5-10 ม.ค.59 นางศรีรัตน์ บุญศรี และคณะ 2 เตรียมสอบคัดเลือกข้อสอบ 5-10 ม.ค.59

3 ประชุมประธานกลุ่ม/เลขานุการกลุ่มโรงเรียน/ ศึกษานิเทศก์/รอง ผอ.สพป.น่าน เขต 1 รวม 65 คน

15 ม.ค.59

4 การจัดสอบ 1.ส่งข้อสอบให้กลุ่มโรงเรียน 2.ด าเนินการสอบ 1 วัน 3.ตรวจสอบกระดาษค าตอบ 4.กลุ่มส่งผลการประเมินให้ สพป.

10 มี.ค.59 14 มี.ค.59 15 มี.ค.59 16 มี.ค.59

5 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับเขตพ้ืนที่ 1. บันทึกผลการประเมินรายวิชา/รายโรงเรียน/รายกลุ่มโรงเรียน 2. บันทึกข้อมูลเชื่อมต่อระบบข้อมูลผลสอบEPCCกับ สพฐ. 3. วิเคราะห์ผลการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียน 4. จัดท ารายงาน

16-31 มี.ค.

59 1-30 เม.ย.59 1-30 มิ.ย. 59

1 มิ.ย. - 30 ก.ค. 59

Page 13: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๗

5. งบประมาณ จ านวน 130,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ)

ที ่ รายการ งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 1 จัดสรรงบประมาณให้กลุ่มโรงเรียน 90,300 90,300 2 ประชุมการคัดเลือกข้อสอบ/เตรียมแบบบันทึกผล

ประเมิน -ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง/เครื่องดื่ม (25 คน*140*1วัน)

3,500 3,500

3

ประชุมการเตรียมสอบ 1. ค่าอาหารว่าง 65 คน*30 บาท 2. ถ่ายเอกสารคู่มือการจัดสอบ 30 หน้า*0.5 บาท*65 ชุด 3. เข้าเล่มเย็บติดแถบสันข้าง 65 เล่ม*10

1,950 975

650

1,950 975

650

4 โรงเรียนจัดสอบ 5

การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับเขตพ้ืนที่ 1. บันทึกผลการประเมินรายวิชา/รายโรงเรียน/รายกลุ่มโรงเรียน -ค่าอาหารกลางวัน/อาหารว่าง/เครื่องดื่ม(25 คน*140*2วัน) 2. บันทึกข้อมูลเชื่อมต่อระบบข้อมูลผลสอบ EPCCกับ สพฐ. 3. วิเคราะห์ผลการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียน -ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง/เครื่องดื่ม (25 คน*140*1วัน) -ถ่ายเอกสารผลการประเมิน 150 หน้า*0.5 บาท*25 ชุด - ค่าเข้าเล่มเย็บสันข้าง 25 เล่ม*10 - ค่าวัสดุ 4. จัดท ารายงาน ค่าถ่ายเอกสารรายงานผลการน าผลการประเมินไปใช้ (150หน้า*.05บาท*50 เลม่ -ค่าท าปกเข้าเล่มเคลือบพลาสติก 50 เล่ม*40 บาท

7,000 -

3,500

1,875

250

14,250 -

2,000

3,750

7,000 -

3,500

1,875

250 3,750

14,250

2,000

รวม 130,000 130,000

Page 14: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๘

6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้วัด

6.1 โรงเรียนใช้ผลการประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2, 4, 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2การศึกษา 2558 โดยใช้ข้อสอบกลางในการสอบปลายปีร้อยละ 20 ของคะแนนสอบทั้งหมดในระดับชั้นและกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่จัดสอบ

6.2 โรงเรียนและส านักงานเขตพ้ืนการศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 มีสารสนเทศ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบกลาง สะท้อนศักยภาพและความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

วิเคราะห์ผลสอบ

แบบรายงาน

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

โรงเรียนมีสารสนเทศ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ข้อสอบกลาง สะท้อนศักยภาพและความสามารถของผู้เรียนอย่างแท้จริง เพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีส่งผลต่อการประเมินระดับชาติ ดังนี้

- นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 อ่านออกเขียนได้ทุกคน -ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นป. 6 และชั้น ม.3 มีผลการทดสอบระดับชาติ O-NET

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยรวมเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3

-----------------------------

Page 15: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๒๙

โครงการ พัฒนาครูด้านงานทะเบียนและวัดผลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ online แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท จุดเน้นที่ 1 นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญสู่มาตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 5 ปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตัวช้ีวัดความส าเร็จ มีการวัดและประเมินผลการเรียนที่เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับห้องเรียน ระดับชาติ ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศรีรัตน์ บุญศรี, นางวิพาภรณ์ พุฒิมา , นางสุชาดา ไตรจินดา ระยะเวลา ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล

สพฐ.ได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารสถานศึกษา เป็นระบบที่ออกแบบเพ่ือการบริหารงานโรงเรียนที่ครอบคลุมงานทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ งานบริหารทั่วไป งานวิชาการ งานบริหารงบประมาณ และงานบริหารบุคคล ที่ผ่าน Application Server ให้บริการการจัดท าข้อมูลสารสนเทศแบบออนไลน์ในปี 2015 จะเน้นการท าข้อมูลด้านวิชาการ ข้อมูลผลการเรียนนักเรียนรายบุคคล โดยการเชื่อมโยงฐานข้อมูลนักเรียนรายบุคคลจากโปรแกรม DMC สามารถจัดเก็บและประมวลผลการเรียนของนักเรียน นอกจากนั้น ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารสถานศึกษา สามารถพิมพ์แบบปพ.ต่างๆได้ เพ่ือให้โรงเรียนการจัดท าเอกสารหลักฐานรายงานผลการเรียนนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษา โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศของ สพฐ. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงจัดให้มีโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือพัฒนาบุคลากรด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ onlineเชื่อมโยงกับระบบข้อมูลของ สพฐ.

2. วัตถุประสงค ์พัฒนาครูด้านงานทะเบียนและวัดผลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ online

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

1.พัฒนาครูแกนน าด้านงานทะเบียนและวัดผลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาใน ระบบ online จ านวน 1 วันจ านวน 18 กลุ่มโรงเรียนๆละ 2 คน จ านวนครู 36คนวิทยากร 6 คน

2.กลุ่มโรงเรียนพัฒนาครูงานทะเบียนและวัดผลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาใน ระบบ online จ านวน 1 วัน เชิงคุณภาพ

ครูด้านงานทะเบียนและวัดผล สามารถใช้และบันทึกข้อมูลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษา ในระบบ online ได้

Page 16: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๐

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน ที ่ กิจกรรม ระยะเวลา

ด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ

1 พัฒนาครูแกนน าด้านงานทะเบียนและวัดผลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ online

1-30 ธันวาคม 58

งานวัดและประเมินผล

2 -กลุ่มโรงเรียนพัฒนาครูงานทะเบียนและวัดผลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ online -โรงเรียนบันทึกผลการประเมินนักเรียนรายบุคคลทุกชั้นเรียน

1-30 ธันวาคม 58 1 ม.ค.-30เมษ59

3 ตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศ งานทะเบียนและวัดผลรายโรงเรียน

1 พ.ค.-30 มิ.ย.59

5. งบประมาณ จ านวน 40,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ)

ที ่ รายการ งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 1 พัฒนาครูแกนน าด้านงานทะเบียนและวัดผลด้วย

โปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ online (42*180*2 วัน)

15,120

15,120 2 -กลุ่มโรงเรียนพัฒนาครูงานทะเบียนและวัดผลด้วย

โปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ online ค่าเบี้ยเลี้ยงวิทยากร 2 คน*18 กลุ่ม*1วัน*240 ค่าอาหาร 80 บาท*203 คน -โรงเรียนบันทึกผลการประเมินนักเรียนรายบุคคลทุกชั้นเรียน

8,640 16,240

-

8,640 16,240

-

3

ตรวจสอบข้อมูลสารสนเทศ งานทะเบียนและวัดผลรายโรงเรียน

รวม 40,000 40,000 6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด ครูงานทะเบียนและวัดผลด้วยโปรแกรมบริหารสถานศึกษาในระบบ online ได้

ตรวจสอบผลการบันทึกข้อมูล

แบบตรวจสอบ

Page 17: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๑

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 โรงเรียนมีหลักฐานการวัดและประเมินผลการเรียนให้เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับห้องเรียน ระดับชาติ

7.2 ครูหรือนายทะเบียนมีความรู้ความเข้าใจ ด้านการวัดผลและประเมินผลการศึกษาตามหลักที่สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในการพัฒนาการจัดการศึกษา

7.3 .สพป.น่าน เขต 1 มีข้อมูลสารสนเทศผลการประเมินผู้เรียนที่มีมาตรฐานเดียวกัน

--------------------------------

Page 18: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๒

โครงการ พัฒนาครูเครือข่าย/สมาชิกชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาสพป.น่าน เขต 1 แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท จุดเน้นที่ 1 นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญสู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ สมาชิกชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคนมีความเข้มแข็งด้าน การประเมิน ลักษณะโครงการ ต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศรีรัตน์ บุญศรี, นางวิพาภรณ์ พุฒิมา , นางสุชาดา ไตรจินดา ระยะเวลา ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล การที่ประเทศไทยได้เข้าร่วมโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Programme for International Student Assessment: PISA) และผลการประเมินความสามารถของนักเรียนไทยในด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในระดับนานาชาติ (Trends in International Mathematics and Science Study : TIMSS) ซึ่งผลการประเมินดังกล่าวสะท้อนคุณภาพของนักเรียนไทยที่มีแนวโน้มลดลงในทุกด้านและทุกปี ประกอบกับเมื่อพิจารณาจากผลคะแนนทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติหรือ O-NET ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ใน 5 วิชาหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม และภาษาต่างประเทศ ต่ ากว่าร้อยละ 50 ซึ่งจากผลการประเมินดังกล่าวน่าไปสู่การจัดท าโครงการยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบเพ่ือเตรียมเด็กไทยให้มีความพร้อมเพ่ือพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยเฉพาะอย่างยิ่งจ่าเป็นต้องพัฒนาทักษะที่จ่าเป็นในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย การคิดวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การร่วมมือกันผ่านเครือข่าย การปรับตัว การสร้างสรรค์ การสื่อสารทั้งด้วยการพูดและเขียน การเข้าถึงและการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารความรู้ ความอยากรู้อยากเห็นและการจินตนาการ ดังนั้นการวัดและประเมินผลคุณภาพการศึกษาจึงถือว่าเป็นกลไกลที่ส าคัญในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาที่สะท้อนให้เห็นถึงสัมฤทธิผลของการจัดการศึกษาของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงได้จัดตั้งชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาขั้นพ้ืนฐานขึ้นในปี พ.ศ. 2558เพ่ือให้สมาชิกชุมนุมฯ เป็นผู้น าในการส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในด้านการวัดผลและประเมินผล ตลอดจนเป็นวิทยากรในการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลทางการศึกษาต่อไปในปัจจุบันการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระดับสถานศึกษาเริ่มมีบทบาทที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นไม่ว่าจะเป็นการวัดและประเมินผลเพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (assessment for learning) การวัดและประเมินผลเพ่ือการตัดสินผลการเรียนรู้ (assessment of learning) และการวัดและประเมินผลที่เป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนรู้ (assessment as learning) ดังนั้น ถ้าการวัดและการประเมินคุณภาพผู้เรียนมีความเป็นระบบ มีมาตรฐานและน่าเชื่อถือ รวมทั้งถูกต้องตามหลักวิชาการและสอดคล้องกับหลักสูตรและการเรียนรู้ของผู้เรียน ผลที่ได้ก็จะน่าไปสู่การปรับปรุงคุณภาพของผู้เรียนอย่างจริงจังจะท าให้เกิดคุณูปการต่อการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้มากทีเดียว ด้วยเหตุนี้ ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงจัดท าโครงการพัฒนาครูเครือข่ายด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา เพ่ือให้สมาชิกของชุมนุมร่วมกันก าหนดทิศทางและแนวทางการวัดและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีความเป็นระบบ มีมาตรฐานและน่าเชื่อถือ รวมทั้งถูกต้องตาม

Page 19: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๓

หลักวิชาการ นอกจากนี้ยังเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านการวัดและประเมินผลทางการศึกษาเพ่ือขยายพรมแดนความรู้ทางด้านการวัดและประเมินผลทางการศึกษาด้วย

2. วัตถุประสงค ์

2.1 เพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถในด้านการวัดและประเมินผลคุณภาพการศึกษา สามารถพัฒนางานให้มีความเป็นระบบ มีมาตรฐานและน่าเชื่อถือ ทันสมัยและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของศาสตร์ทางการวัดและประเมินผลทางการศึกษา

2.2 เพ่ือเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านการวัดและประเมินผลทางการศึกษา

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ สมาชิกชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคน ได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านการวัดและประเมินผลทางการศึกษาให้ทันสมัยและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของศาสตร์ทางการวัดและประเมินผลทางการศึกษา เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านการวัดและประเมินผลทางการศึกษาให้ทันสมัยและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของศาสตร์ทางการวัดและประเมินผลทางการศึกษา 2) ได้แนวทางในการพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ที่มีความเป็นไปได้และเหมาะสมกับสภาพบริบท

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1 พัฒนาระบบWebsite สมาชิกเครือข่ายชุมนุมวัดและประเมินผลการศึกษา สพป.น่าน เขต 1

1-30 ธันวาคม 58

งานวัดและประเมินผล

1 พัฒนาครูเครือข่าย ในเรื่อง - บทบาทของชุมนุมนักวัดและประเมินผลฯ กับการพัฒนา

คุณภาพการศึกษา - ขยายพรมแดนความรู้เกี่ยวกับการวัดและประเมินผล

การศึกษา - การสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 - แนวทางการใช้ข้อค าถามเพ่ือการพัฒนาการเรียนรู้ - การประเมินในศตวรรษที่ 21

1 ม.ค -30 พ.ค 59

งานวัดและประเมินผล

2 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการแนวทางการพัฒนาระบบการวัดและประเมินในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ผ่านระบบ Website

1มิ.ย-30 ต.ค 59

Page 20: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๔

5. งบประมาณ จ านวน 40,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ) ที ่ รายการ งบประมาณ รวม

ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 1 ค่าดูแลระบบWebsite สมาชิกเครือข่ายชุมนุมวัดและ

ประเมินผลการศึกษา สพป.น่าน เขต 1 2. ค่าจ้างเขียนโปรแกรม เพ่ือพัฒนาเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การวัดและประเมินผลการศึกษา สพป.น่าน เขต 1

5,000

20,000

5,000

20,000

2 อบรมพัฒนาครูเครือข่าย ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม (84 คน*180*1วัน)

15,000 15,000

3

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการแนวทางการพัฒนาระบบการวัดและประเมินในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา ผ่านระบบ Website

รวม - 40,000 - 40,000 6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด สมาชิกชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษา สพป.น่าน เขต 1 สามารถสร้างเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการศึกษาที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการประเมินฯ และสภาพบริบทของสถานศึกษา

ตรวจสอบผลการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้บนระบบ Website

แบบตรวจสอบ

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 สมาชิกชุมชุมนุมนักวัดและประเมินผลการศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคนได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านการวัดและประเมินผลทางการศึกษาให้ทันสมัยและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของศาสตร์ทางการวัดและประเมินผลทางการศึกษา 7.2 ได้แนวทางในการพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความเป็นไปได้และเหมาะสมกับสภาพบริบท

------------------------------

Page 21: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๕

โครงการ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้กลุ่มโรงเรียนเป็นฐาน แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อยุทธ์ศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท

จุดเน้นที่ 1.1 นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญสู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ 1. นักเรียนจบประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนอ่านออกเขียนได้มีการประเมินที่เป็นรูปธรรม

2. ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของการทดสอบ NT เพ่ิมข้ึน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 3. ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 3 ของ ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคมฯ

วิทยาศาสตร์ โดยรวมเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 4. สถานศึกษามีแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีแนวทางการการวัดและประเมินผลที่เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับห้องเรียน ระดับชาติ และนานานชาติ ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ และคณะ ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล

จากการพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะส าคัญ สู่มาตรฐานสากล โดยมีตัวชี้วัดความส าเร็จที่ส าคัญ ดังนี้ นักเรียนจบประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนอ่านออกเขียนได้มีการประเมินที่เป็นรูปธรรม ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของการทดสอบ NT เพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคมฯ วิทยาศาสตร์ โดยรวมเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ตลอดจนสถานศึกษามีแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีแนวทางการการวัดและประเมินผลที่เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับห้องเรียน ระดับชาติ และนานานชาตินักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามเป้าหมาย มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 และมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีสอดล้องตามช่วงวัย ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน ตามศักยภาพรวมทั้งการด าเนินงานตามจุดเน้นและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น นโยบายการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การอ่านออกเขียนได้ การปฏิรูปการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นตัวผู้เรียนเป็นส าคัญ เป็นต้น

ผลการด าเนินงานปีท่ีผ่านมา จากการประเมินการอ่าน การเขียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งที่ 4 ยังไม่สามารถท าได้ตามเป้าหมายได้ ยังมีจ านวนนักเรียนถึงร้อยละ 6 ที่ยังต้องปรับปรุงทั้งด้านการอ่าน และการเขียนและผลการประเมิน O-NET ใน 4 กลุ่มวิชาหลักในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ตามเป้าหมายเพียงวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษาฯ เท่านั้น ส่วนในวิชาภาษาไทย กับคณิตศาสตร์ยังไม่ได้ตาม

Page 22: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๖

เป้าหมาย ส่วยในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นั้น ได้ตามเป้าหมายในวิชาคณิตศาสตร์และสังคมศึกษาฯส่วนวิชาภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย 2. วัตถุประสงค์ 2.1.เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านออก เขียนได้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2.2. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน4 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก ของนักเรียนชั้นระถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงขึ้น และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 2.3 เพ่ือพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน การค านวณ และการให้เหตุผล ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้สูงขึ้น 2.4 เพ่ือพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ บริบทของโรงเรียน และการพัฒนานักเรียนในศตวรรษที่ 21 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

พัฒนาผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และนักเรียน จ านวน 18 กลุ่มโรงเรียน ดังนี้ ครูจ านวน 1,862 คน นักเรียนจ านวน 18,796 คน ตามสภาพปัญหาและความ ต้องการของแต่ละกลุ่มโรงเรียน เชิงคุณภาพ

1) แต่ละกลุ่มโรงเรียนมีรูปแบบในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน เพ่ือส่งผล ต่อคุณภาพนักเรียน

2) ได้นวัตกรรมที่เป็น Best Practice ของแต่ละกลุ่มโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพ นักเรียน ที่มีคุณภาพ

Page 23: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๗

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1 กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการศึกษานิเทศก์เพ่ือศึกษาปัญหา แนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ และคุณภาพของนักเรียน รายกลุ่มโรงเรียน

ธันวาคม 2558 นายสมเกียรติ รัตนวิฑูรย์

2 กิจกรรมที่ 2 การประชุมเพ่ือก าหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ของแต่ละกลุ่มโรงเรียน ( การวางแผนร่วมกันระหว่างศึกษานิเทศก์ ประธานกลุ่ม ผู้บริหารโรงเรียน และครูวิชาการโรงเรียน )ได้รูปแบบ/กิจกรรม/นวัตกรรม ของแต่ละกลุ่มโรงเรียน

ธันวาคม 2558 ศึกษานิเทศก์แต่ละกลุ่มโรงเรียน

4 กิจกรรมที่ 3 การด าเนินงานตามรูปแบบ /กิจกรรม ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนของแต่ละกลุ่มโรงเรียน

มกราคม – พฤษภาคม 2559

ศึกษานิเทศก์แต่ละกลุ่มโรงเรียน

4 กิจกรรมที่ 4 การประชุมปฏิบัติการศึกษานิเทศก์ เพ่ือสรุปและรายงานการด าเนินงาน

มิถุนายน –กรกฎาคม 2559

นายสมเกียรติ รัตนวิฑูรย์

5. งบประมาณ จ านวน 600,000 บาท(หกแสนบาทถ้วน) ถัวจ่ายทุกรายการ

ที ่ รายการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

1 กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการศึกษานิเทศก์เพ่ือศึกษาปัญหา แนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ และคุณภาพของนักเรียน รายกลุ่มโรงเรียนจ านวน 2 วัน 1.1เตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์และเอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการ 1.2 ด าเนินการประชุมปฏิบัติการฯ (1). ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง จ านวน 25คน (25*2*250 = 12,500) (2).ค่าวัสดุ

12,500

7,000

นายสมเกียรติ รัตนวิฑูรย์

รวมกิจกรรมที่ 1 (19,500 บาท) 12,500 7,000 2 กิจกรรมที่ 2 การประชุมเพ่ือก าหนดแนวทางใน

การพัฒนาคุณภาพนักเรียน ของแต่ละกลุ่มโรงเรียน ( การวางแผนร่วมกันระหว่างศึกษานิเทศก์ ประธานกลุ่ม ผู้บริหารโรงเรียน และครูวิชาการโรงเรียน ) ได้รูปแบบ/กิจกรรม/นวัตกรรม ของแต่ละกลุ่มโรงเรียน

นายสมเกียรติ รัตนวิฑูรย์ และคณะ

Page 24: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๘

ที ่ รายการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

กิจกรรมที่ 3 การด าเนินงานตามรูปแบบ /กิจกรรม ในการพัฒนาคุณภาพนักเรียนของแต่ละกลุ่มโรงเรียน จัดสรรให้ด าเนินงานในกิจกรรมที่ 2 และ กิจกรรมที่ 3 ดังนี้ - กลุ่มโรงเรียนเมือง 1 (25,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนเมือง 2 (35,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนเมือง 3 (50,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนเมือง 4 (25,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนเวียงสา 1 (30,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนเวียงสา 2 (45,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนเวียงสา 3 (45,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนเวียงสา 4 (25,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนนาน้อย 1(35,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนนาน้อย 2 (30,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนนาน้อย 3 (25,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนนาหมื่น 1 (25,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนนาหมื่น 2 (20,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนบ้านหลวง(25,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนแม่จริม(40,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนสันติสุข (35,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนภูเพียง 1 ( 25,000 บาท) - กลุ่มโรงเรียนภูเพียง 2 (20,000 บาท) (รวมทั้งสิ้น 560,000 บาท) (รายละเอียดการใช้งบประมาณของแต่ละกลุ่มโรงเรียน แนบท้ายโครงการ)

560,000 นายสมเกียรติ รัตนวิฑูรย์

รวมกิจกรรมที่ 2 และกิจกรรมที่ 3 (560,000) 560,000 3 กิจกรรมที่ 4 การประชุมปฏิบัติการศึกษานิเทศก์

เพ่ือสรุปและรายงานการด าเนินงาน 1.1เตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์และเอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการ 1.2 ด าเนินการประชุมปฏิบัติการฯ (1). ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง จ านวน 25 คน (25*2*250 = 12,500) (2).ค่าวัสดุ

12,500

8,000

นายสมเกียรติ รัตนวิฑูรย์

รวมกิจกรรมที่ 4 (20,500 บาท) 12,500 8,000

Page 25: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๓๙

6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 อ่านออก เขียนได้ ทุกคน

การประเมินครั้งท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีกศ. 2558

แบบทดสอบ

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก ของนักเรียนชั้นระถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงขึ้น และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

การทดสอบทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)

แบบทดสอบ

3.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความสามารถด้านการอ่าน การค านวณ และการให้เหตุผลสูงขึ้น

การทดสอบ NT แบบทดสอบ

4.สถานศึกษาในสังกัดมีการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ

การประเมินหลักสูตร แบบประเมิน

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 อ่านออก เขียนได้ ทุกคน 7.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก ของนักเรียนชั้นระถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงขึ้น และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

7.3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความสามารถด้านการอ่าน การค านวณ และการให้เหตุผลสูงขึ้น

7.4. สถานศึกษาในสังกัดมีการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ 7.5 ได้รูปแบบในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน เพ่ือส่งผลต่อคุณภาพนักเรียน ของ

ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 7.6 ได้นวัตกรรมที่เป็น Best Practice ของแต่ละกลุ่มโรงเรียนในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ที่มี

คุณภาพ

--------------------------

Page 26: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๐

โครงการ ปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน

แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท

จุดเน้นที่ 1.1 นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญสู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ 1. นักเรียนจบประถมศึกษาปีที่ 1 ทุกคนอ่านออกเขียนได้มีการประเมินที่เป็นรูปธรรม

2. ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของการทดสอบ NT เพ่ิมข้ึน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 3. ค่าเฉลี่ยร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 3 ของ ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคมฯ

วิทยาศาสตร์ โดยรวมเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 4. สถานศึกษามีแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มีแนวทางการการวัดและประเมินผลที่เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับห้องเรียน ระดับชาติ และนานาชาติ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวัชรพงค์ โนทะนะ และคณะ ระยะเวลาด าเนินการ ปีงบประมาณ 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตุผล ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา น่าน เขต 1 ได้ด าเนินงานตามโครงการปฏิรูปการ เรียนรู้สู่ผู้เรียน โดยได้ด าเนินการในโรงเรียนน าร่องจ านวน 15 โรงเรียน เริ่มด าเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ 2558 โดยมีแนวคิดหลักคือ การเปลี่ยนแนวคิดและวิธีการสอนจากเดิมที่เน้นการให้ความรู้โดยครูเป็น “ผู้รู้” และเด็กเป็น “ผู้รับความรู้” มาเป็นการจัดการศึกษาใหม่ที่มีจุดเน้นในการ “สร้างกระบวนการเรียนรู้” ให้ผู้เรียนมีทั้งความรู้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 และมีคุณลักษณะนิสัยที่ดีเป็นพลเมืองคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) สร้างความเป็นพลเมืองที่ดีให้กับนักเรียน และ 3) เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการสะท้อนผลหลังการสอน (After Action Review:AAR) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของครูผู้สอนในรูปแบบของวงสนทนา PLC (Professional Learning Community) และเริ่มกิจกรรมการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนด้วยรูปแบบ AL (Active Learning)ด้วยกิจกรรมหลัก PBL (Problem Base Learning) จากการด าเนินงานมาตลอดระยะเวลาปีงบประมาณ 2558 ซึ่งเป็นระยะเริ่มต้นของการด าเนินงาน ผลที่ปรากฏเด่นชัดจากการด าเนินงานคือ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงในระดับห้องเรียน นั่นคือ ครูมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอน เป็นกระบวนการเรียนรู้ นักเรียนได้ลงมือฝึกปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองมากขึ้น มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในวงวิชาชีพ ซึ่งกระบวนการเหล่านี้จะต้องด าเนินการอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน ดังนั้นจึงได้จัดท าโครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน ระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2559 เพ่ือให้ครูเข้าใจและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการท างาน (กระบวนการเรียนรู้ส าคัญกว่าความรู้ กระบวนการหาค าตอบส าคัญกว่าค าตอบ ครูและนักเรียนเท่าเทียมกันในฐานะนักเรียนรู้ ) พร้อมทั้งขับเคลื่อนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของครูมืออาชีพ PLC (Professional Learning Community) ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

Page 27: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๑

2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือกระตุ้นให้เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ร่วมกันของโรงเรียนน าร่องเกิดเป็น “ชุมชนครูมืออาชีพ” (Professional Learning Community) ที่มุ่งพัฒนาตนเองเพ่ือยกระดับทักษะความสามารถในการออกแบบการเรียนการสอนที่ท าให้ผู้เรียนมีความรู้มีทักษะและมีคุณลักษณะนิสัยที่ดี

2.2 เพ่ือสื่อสารสร้างการเรียนรู้ให้ครูและ ผู้ปกครอง ได้เข้าใจ “บทบาทใหม”่ ของครูในศตวรรษ ที่ 21 เพ่ือให้ “ครู” เกิดแรงบันดาลในการน าไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและ “สังคม” ร่วมผลักดันและร่วมสนับสนุนให้ครูผู้บริหารสถานศึกษาให้สามารถปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนให้สอดคล้องกับแนวทางจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จนสามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสาระวิชาหลักให้สูงขึ้นกว่าเดิม และสามารถพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน ทั้งด้านความรู้ ทักษะในศตวรรษที่ 21 และความเป็นพลเมืองไทยที่ดี 2.3 เพ่ือติดตามประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู และติดตามความก้าวหน้าของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู และเสริมสร้างความเข้มแข็งในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

โรงเรียนในสังกัดจ านวน 15 โรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียน 15 คน ครูทุกคนใน 15 โรงเรียน เชิงคุณภาพ

1) โรงเรียนทั้ง 15 โรงเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น มีทักษะในศตวรรษที่ 21 และความเป็นพลเมืองไทยที่ดี ทุกโรงเรียน

2) โรงเรียนทั้ง 15 โรงเรียนมีความเข้มแข็ง สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของครูมืออาชีพในโรงเรียน สามารถออกแบบการเรียนรู้แบบ Active learning ด้วยรูปแบบกิจกรรม PBL 4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 1. การลงพ้ืนที่เสริมพลัง สร้างความ

เข้มแข็งให้กับโรงเรียน โรงเรียนละอย่างน้อย 2 ครั้งต่อ 1 ภาคเรียน

พ.ย.58-มี.ค.59 คณะศึกษานิเทศก์ มูลนิธิสดศรี (วิทยากร

พิเศษ) 2 วงสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน

โรงเรียน โรงเรียนละ 2 ครั้ง ธ.ค.58–มี.ค.59 นายวัชรพงค์ โนทะนะ

คณะศึกษานิเทศก์ และคณะวิทยากรพิเศษ 3 ถอดบทเรียนผลการด าเนินงาน

กิจกรรม PBL มี.ค. 59 – พ.ค.59

4 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขตพ้ืนที่ เม.ย. 59 – พ.ค. 59 คณะศึกษานิเทศก์

Page 28: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๒

5. งบประมาณ จ านวน 90,000 บาท ถัวจ่ายทุกรายการ ที ่ รายการ งบประมาณ

รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

1. การลงพ้ืนที่เสริมพลัง สร้างความเข้มแข็งให้กับโรงเรียน 1.1 ค่าพาหนะเดินทางวิทยากรจากมูลนิธิสดศรี ลงพื้นที่เสริมพลัง จ านวน 1 คน ไป – กลับ

7,000

7,000 1.2 ค่าตอบแทนวิทยากร ลงพ้ืนที่เสริมพลัง ชม.ละ 1,000 บาท วันละ 6 ชม. ระยะเวลา 3 วัน

18,000

18,000

1.3 ค่าท่ีพัก คืนละ 1,000 บาท จ านวน 3 คืน 3,000 3,000 1.4 ค่าอาหาร อาหารว่าง เครื่องดื่ม กิจกรรม PLC ของโรงเรียน

- -

2. วงสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC ในโรงเรียน - ค่าใช้จ่ายในการท ากิจกรรมวงสนทนา โรงเรียนละ 1 ครั้ง

4,000

4,000

3. ถอดบทเรียนผลการด าเนินงาน - ค่าเอกสารจัดท ารูปเล่ม เอกสารถอดบทเรียนผลการด าเนินงานโครงการปฏิรูปการเรียนรู้สู่ผู้เรียน จ านวน 200 เล่ม เล่มละ 100 บาท - ค่าอาหาร อาหารว่าง เครื่องดื่ม ครูแกนน าโรงเรียนละ 2 คน คณะท างาน รวมจ านวน 30 คน

20,000

-

20,000

3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการด าเนินงานระหว่างโรงเรียนในโครงการ - ค่าอาหารวันละ 180 บาท จ านวนผู้เข้าร่วมสัมมนา 200 คน - ค่าวัสดุ /อุปกรณ์ - ค่าจ้างเหมาท าเอกสาร

36,000 -

2,000

36,000

2,000 -

รวมงบประมาณทั้งสิ้น 88,000 2,000 90,000 ถัวจ่ายทุกรายการ

Page 29: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๓

6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด 1. โรงเรียนมีกิจกรรมในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

ติดตามตรวจสอบการด าเนินงานของโรงเรียน

แบบนิเทศติดตามของ สพป.น่าน เขต 1

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระหลักสูงขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3

วิเคราะห์จากผลการทดสอบระดับชาติ O-NET

แบบทดสอบระดับชาติ O-NET

3.ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 และมีความเป็นพลเมืองที่ดี

ติดตามตรวจสอบการด าเนินงานของโรงเรียน

แบบทดสอบระดับชาติ O-NET

4. โรงเรียนมีความเข้มแข็ง ครูมีความเป็นครูมืออาชีพ และมีการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ Active Learning

-วงสนทนา PLC ของครูในโรงเรียน -การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขตพ้ืนที่ -ถอดบทเรียนผลการด าเนินงาน

แบบสอบถาม /สังเกต ประเมินพฤติกรรม สะท้อน

พฤติกรรม

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. โรงเรียนทั้ง 15 โรงเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น นักเรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 และความเป็นพลเมืองไทยที่ดี 2. ได้แนวทางการขับเคลื่อนกิจกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้ เริ่มจากการบริหารจัดการในโรงเรียน และการพัฒนาครูในโรงเรียนด้วยกระบวนการ After Action Review:AAR 3. ได้แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ Active Learning นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ 4. ครูมีความเป็นครูมืออาชีพ สามารถจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ Active Learning ด้วยกิจกรรม PBL และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ PLC

--------------------------

Page 30: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๔

โครงการ การขับเคลื่อนการด าเนินการตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” แผนงาน พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญสู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ๑. ร้อยละของโรงเรียนในโครงการมีการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม

เหมาะสมสามารถพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีการคิดวิเคราะห์ พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้ ๒. ระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้ปกครองโรงเรียนในโครงการที่มีต่อการจัดกิจกรรม

ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเกสร สมรรคเสวี และปิยะนุช พุดหอม ระยะเวลาด าเนินการ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๘ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลักการและเหตุผล สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงมีพระราชด ารัสในเรื่องการศึกษาว่าการจัดการศึกษาต้องดูภาพรวมทั้งประเทศ เพราะทุกวันนี้การศึกษาค่อนข้างอ่อนแอ และมุ่งเน้นการเรียนการสอนเนื้อหาบางเรื่องมากเกินไป ทรงมีพระราชดาริให้มีการน าองค์ ๔ แห่งการศึกษา คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา และหัวใจนักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ หมายถึง การฟัง การคิด การถามและการเขียน ซึ่งเป็นหัวใจส าคัญของนักปราชญ์และบัณฑิต อีกทั้งยังจะเป็นเทคนิคในการช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนเก่งมากขึ้น โดยทรงมีพระราชดาริให้น าทั้งสองเรื่องมาใช้ในการจัดการศึกษาแนวทางการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม นโยบายหนึ่งของรัฐบาล คือ การลดเวลาเรียนภาควิชาการลง แต่ต้องไม่กระทบเนื้อหาหลักที่เด็กๆ ควรเรียนรู้ ซึ่งหมายความว่าครูต้องใช้ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ให้นักเรียนได้สาระที่ต้องรู้ครบถ้วนอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากนโยบายการลดเวลาเรียนดังกล่าว จึงน ามาสู่การปฏิบัติโดยก าหนดให้โรงเรียนเรียนภาควิชาการ ถึงเวลาบ่าย ๒ โมงครึ่งหรือเวลา ๑๔.๓๐ น. แต่เวลาที่โรงเรียนเลิกยังคงเหมือนเดิมตามก าหนดของแต่ละโรงเรียนซึ่งมักจะเป็นช่วงบ่าย ๔ โมง หรือเวลา ๑๖.๐๐ น. ดังนั้นช่วงระยะเวลาระหว่างหลังเลิกเรียนจนกว่านักเรียนจะกลับบ้านซึ่งนักเรียนยังคงอยู่ที่โรงเรียน โรงเรียนจะต้องจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ให้นักเรียนปฏิบัติ และควรเป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลายที่ช่วยเพ่ิมพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ความมีน้ าใจต่อกัน การทางานเป็นทีม และท่ีส าคัญควรมีกิจกรรมกระตุ้นให้เด็กได้ค้นหาศักยภาพและความชอบของตนเอง ซึ่งเชื่อว่าเด็กทุกคนมีความพิเศษ มีความสามารถในแบบฉบับของตนเอง การจัดกิจกรรมไม่จาเป็นต้องเปิดให้เฉพาะห้องเดียวกัน หรือระดับชั้นเดียวกัน บางกิจกรรมสามารถศึกษาหรือท าร่วมกันหลายระดับชั้นได้ เพ่ือให้เด็กๆ รู้จักปรับตัว การช่วยเหลือดูแลกัน การมีปฏิสัมพันธ์กับคนหลายช่วงวัย โดยเป็นการจ าลองสภาพจริงในสังคมให้เด็กได้เรียนรู้ ซึ่งจะยิ่งช่วยเพ่ิมทักษะในการแก้ปัญหาให้กับเด็กไทยต่อไป

การลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ เป็นกรอบวิสัยทัศน์ ด้านการศึกษา เพ่ือเตรียมนักเรียนให้พร้อมเข้าสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ของไทยนั้น สอดคล้องกับของหลายประเทศที่เป็นผู้น าด้านการศึกษาของโลกที่เห็นพ้องกันกับแนวคิดส าคัญในศตวรรษที่ ๒๑ เรื่องของจิตสานึกต่อโลก ความรู้พ้ืนฐานการประกอบสัมมาอาชีพ ความรู้พ้ืนฐานด้านพลเมือง สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม และทักษะที่จ าเป็น อันได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และ

Page 31: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๕

นวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะการท างาน ทักษะชีวิตที่ใช้ได้จริง (กับครอบครัว โรงเรียน ชุมชน รัฐ และประเทศชาติ) โลกก าลังเปลี่ยนแปลง คนที่มีความรู้และทักษะในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่ๆ ได้เท่านั้นที่จะประสบความส าเร็จ ทักษะเหล่านี้จะช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

นอกจากนั้น จากผลการสังเคราะห์เอกสาร งานวิจัยเกี่ยวกับหลักสูตร และผลการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนผลการประเมินคุณภาพการศึกษาต่าง ๆ พบว่า ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของนักเรียนต่ ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนด ทั้งผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ผลการสอบ PISA ทั้ง ๆ ที่โรงเรียนใช้เวลาจัดการเรียนการสอนมากขึ้นเป็นเวลา ๗ หรือ ๘ ชั่วโมงต่อวัน เด็กคิดไม่เป็น วิเคราะห์ไม่ได้ ขาดทักษะชีวิต อัดแน่นเนื้อหาวิชาการมากกว่าให้เรียนรู้ด้วยตนเอง เด็กนักเรียนมีภาระงาน การบ้านมากเกินไป หรือต้องน าการบ้านไปท าที่บ้าน เด็กเครียด และต้องเรียนพิเศษมาก เพ่ือสนองต่อพระราชด าริและสนองต่อนโยบายของรัฐบาลในการจัดการศึกษาแนวทางการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพ ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑ จึงจัดท าโครงการ การขับเคลื่อนการด าเนินการตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” เพ่ือให้โรงเรียนแกนน าจ านวน ๒๗ โรงเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจการขับเคลื่อนนโยบาย“ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” สามารถขับเคลื่อนการน าหลักสูตรสถานศึกษา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนด

๒. วัตถุประสงค์

๒.๑ เพ่ือขับเคลื่อนการน าหลักสูตรสถานศึกษา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๒.๒ เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล

๒.๓ เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้” ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคล ๒.๔ เพ่ือให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้ ๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

1) ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียนในโครงการสามารถขับเคลื่อนการน าหลักสูตรสถานศึกษา ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2) ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียนในโครงการสามารถบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตามความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล

Page 32: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๖

3) ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงเรียนในโครงการสามารถการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้” ได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคล 4) ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนโรงเรียนในโครงการมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้

เชิงคุณภาพ ระดับความพึงพอใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม“ลดเวลา

เรียนเพ่ิมเวลารู้” ๔. กิจกรรมและการด าเนินงาน ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 1 2

กิจกรรมที่ ๑ การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ ความเข้าใจการขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้”ให้กับบุคลากรของส านักงานเขตพ้ืนที่ ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน ครูวิชาการ โรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ จ านวน ๒๗โรงเรียน รวมจ านวนทั้งสิ้น ๘๐ คน กิจกรรมที่ ๒ การประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้”ระหว่างศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน ครูวิชาการ โรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ จ านวน ๒๗โรงเรียน รวมจ านวนทั้งสิ้น ๘๐ คน กิจกรรมที่ ๓ การติดตาม ทบทวน การขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” หลังการปฏิบัติ กิจกรรมที่ ๔ การน าเสนอผลการขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ของโรงเรียนที่ประสบความส าเร็จในการจัดกิจกรรม

๑๕-๑๖ ตุลาคม ๕๘

๒๐ พฤศจิกายน๕๘

๒๑ พฤศจิกายน๕๘ ถึง ๓๑ มีนาคม๕๙

๓๑ มีนาคม๕๙

นางเกษรสมรรคเสวี นางวิพาภรณ์ พุฒิมานายวันชัย ภูผาคุณ นายไชยยศ ค าสังวาลย์ นายสุวิทย์ ผูกจิต นางปิยะนุช พุดหอม

Page 33: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๗

๕. งบประมาณ จ านวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ) ดังนี้

ที ่ รายการ จ าแนกงบประมาณ รวม

ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ ๑ กิจกรรมที่ ๑ การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ ความ

เข้าใจการขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ๑.๑ค่าบริหารจัดการ เตรียมการก่อนการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ ความเข้าใจการขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ๑.๒ ค่าจ้างท าอาหารกลางวัน และอาหารว่าง(วันที่ ๑๕-๑๖ ต.ค.)จ านวน ๘๐ คน ๑.๓ ค่าเช่าสัญญาณอินเทอร์เน็ตเพื่อการถ่ายทอดสดทางไกลผ่านดาวเทียมแนวทางการด าเนินงานลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ทางช่อง DLTV ๑.๔ จัดท าคู่มือการบริหารจัดการด าเนินการขับเคลื่อน “สดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้”ของส านักงานเขตพ้ืนที่ฯ จ านวน ๘๐ เล่ม เล่มละ ๕๐ บาท

๘,๔๐๐

๖,๒๐๐

๒,๕๕๐

๔,๐๐๐

๒๑,๑๕๐

๒ กิจกรรมที่ ๒ การประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การขับเคลื่อนนโยบาย“ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ค่าจ้างท าอาหารกลางวัน และอาหารว่าง จ านวน ๘๐ คน คนละ ๑๘๐ บาท จ านวน ๑ วัน

๑๔,๔๐๐ ๑๔,๔๐๐

๓ กิจกรรมที่ ๓ การติดตาม ทบทวนการขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” หลังการปฏิบัติ ๓.๑ ค่าจ้างท าอาหารกลางวัน และอาหารว่างใน การร่วมกันท า AAR ระดับเขตพ้ืนที่ฯ โดยผู้บริหารระดับเขตพ้ืนที่ ร่วมกับทีมศึกษานิเทศก์ประจ ากลุ่ม จ านวน ๒๕ คน จ านวน๔ ครั้งคนละ ๑๒๐ บาท จ านวน ๔ ครั้ง ๓.๒ ค่าจ้างท าอาหารกลางวัน และอาหารว่างค่าใช้สอยในการร่วมกันท า AAR ระดับเขตพ้ืนที่ฯโดยผู้บริหารระดับเขตพ้ืนที่ ร่วมกับทีมศึกษานิเทศก์ประจ ากลุ่ม และโรงเรียนในโครงการ จ านวน ๘๐ คน จ านวน ๒ ครั้ง

๑๒,๐๐๐

๒๘,๘๐๐

๔๐,๘๐๐

๔ กิจกรรมที่ ๔ การน าเสนอผลการขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” ๔.๑ ค่าจ้างเหมารถรับจ้าง กลุ่มละ ๑ โรงเรียน รวม ๖ โรงเรียนๆ ละ ๒,๐๐๐ บาท ๔.๒ ค่าจ้างท าอาหารกลางวัน และอาหารว่างจ านวน ๑๘๐ บาท จ านวน ๖๐ คน จ านวน ๑ วัน ๔.๓ ค่ากรอบเกียรติบัตรจ านวน ๖ กรอบๆละ ๑๕๐ บาท

12,000

๑๐,๘๐๐

๘๕๐

๒๓,๖๕๐

Page 34: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๘

๖. ผลการประเมิน

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ ๑. ร้อยละของโรงเรียนในโครงการมีการบริหารจัด การเวลาเรียน และจัดกิจกรรมเหมาะสมสามารถพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนให้มีการคิดวิเคราะห์ พัฒนาตนเอง ตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพ และมีความสุขกับการเรียนรู้ ๒. ระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้ปกครองโรงเรียนในโครงการที่มีต่อการจัดกิจกรรม

- ตรวจแบบนิเทศติดตามการด าเนินงานตามท่ีสพฐ.ก าหนดให้ - ตรวจแบบสอบถามความพึงพอใจ

แบบนิเทศติดตาม แบบสอบถาม ความพึงพอใจ

๗. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๗.๑ ครูผู้สอนจัดการศึกษาแนวทางการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพ ๗.๒ นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ พัฒนา ตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพและมีความสุขกับการเรียนรู้

-----------------------------------

Page 35: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๔๙

โครงการ การขับเคลื่อนกระบวนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อกลยุทธ์ที่ ๑ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญสู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ร้อยละของโรงเรียนที่จ าแนกตามความพร้อมมีผลการทดสอบระดับชาติ

O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มีมาตรฐานตามที่ก าหนด ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปิยะนุช พุดหอม ระยะเวลาด าเนินการ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลักการและเหตุผล เป้าหมายหลักของการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยคือการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพด้วยกระบวนการเรียนรู้เพ่ือความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยถ่ายทอดความรู้การฝึกการอบรมการสืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการการสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคมการเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓) การที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวต้องอาศัยครูผู้สอนที่มีทักษะในการจัดการเรียนรู้มีเจตคติต่อวิชาชีพครูที่ดีมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงโดยเฉพาะในยุคศตวรรษที่ ๒๑เป็นทักษะแห่งอนาคตใหม่ที่ครูควรมีทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพ่ือสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่ในอันที่จะพัฒนาผู้เรียนที่เยาวชนในยุคใหม่ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนสอดคล้องหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา๒๒ที่ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุดกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ

ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑ มีจ านวนโรงเรียนในสังกัด ทั้งหมด ๑๙๖ โรงเรียน ๔ สาขา รวม ๒๐๐ โรงเรียน (จัดการเรียนการสอน ๑๙๓ โรงเรียน ๓ สาขา รวม ๑๙๖ โรงเรียน) และเป็นโรงเรียนที่เปิดการสอนขยายโอกาสทางการศึกษาในสังกัดจ านวน ๕๓ โรงเรียน ได้จัดการศึกษาตามภารกิจโดยส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตรฯ แต่จากผลการติดตามของสพฐ. ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ที่ผ่านมา พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) จ าแนกตามความพร้อม พบว่า

๑. โรงเรียนความพร้อมสูง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เพ่ิมข้ึนร้อยละ ๑๐.๔๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ลดลงร้อยละ ๙.๑๑

๒. โรงเรียนความพร้อมปานกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เพ่ิมข้ึนร้อยละ ๔.๘๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ลดลงร้อยละ ๙.๑๑ ๓. โรงเรียนความพร้อมน้อย

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เพ่ิมขึ้นร้อยละ ๓.๐๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ลดลงร้อยละ ๒.๔๒

Page 36: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๐

จะเห็นว่าผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) จ าแนกตามความพร้อมในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ต่ ากว่าเป้าหมายที่จังหวัดตั้งไว้

ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากเขตพ้ืนที่ฯให้ด าเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาครูจ านวน ๒ โครงการ คือ

๑. จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้สู่การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ”เพ่ือพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษโรงเรียนที่มีความพร้อมปานกลางและโรงเรียนความพร้อมน้อยเนื่องจากขาดครูผู้สอนที่มีวุฒิภาษาอังกฤษจ านวน ๙๙ โรงเรียน ให้สามารถจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่เน้นความสามารถด้านการสื่อสารสู่การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบได้สอดคล้องกับความพร้อมตามบริบทของสถานศึกษาและสอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน CEFR งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท

๒. โครงการ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา) ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๘ จ านวน ๕๓ โรงเรียน จ านวนเงิน ๗๕,๐๐๐ บาท (เจ็ดหมื่นห้าพันบาทถ้วน) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินการยกระดับผลการทดสอบระดับชาติ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) โดยรวมเพ่ิมขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓

เพ่ือให้การด าเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามท่ีหลักสูตรก าหนดแบบยั่งยืน กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาจึงได้จัดท าโครงการ การขับเคลื่อนกระบวนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนี้ขึ้นเพ่ือติดตาม และประเมินผลการด าเนินการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของครูระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ในภาคเรียนที่ ๒ ของปีการศึกษา ๒๕๕๙ เพ่ือให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติสูงขึ้นร้อยละ ๓ ต่อไป ๒. วัตถุประสงค์

๒.๑เพ่ือขับเคลื่อนกระบวนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่เน้นความสามารถด้านการสื่อสารสู่การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

๒.๒เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีทักษะความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารตามมาตรฐานการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพตามความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล ๒.๓เพ่ือให้นักเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สูงขึ้นตามเกณฑ์ความพร้อมของสถานศึกษาที่ก าหนด ๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

ร้อยละ ๘๐ ของโรงเรียนที่มีความพร้อมน้อยและความพร้อมปานกลางมีการขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่การจัดการเรียนรู้สู่การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ

เชิงคุณภาพ ๑) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนที่มีความพร้อมสูงมีผลการทดสอบระดับชาติ

O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพ่ิมขึ้นร้อยละ ๕ ขึ้นไป

Page 37: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๑

๒) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนที่มีความพร้อมปานกลางมีผลการทดสอบระดับชาติ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพ่ิมข้ึนร้อยละ ๓-๕ ๓) ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนที่มีความน้อยมีผลการทดสอบระดับชาติ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพ่ิมข้ึนร้อยละ ๒ ขึ้นไป ๔. กิจกรรมและการด าเนินงาน ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ ๑

การติดตาม การขับเคลื่อนกระบวนการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้ ๑. กระบวนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ของโรงเรียนความพร้อมปานกลางและความพร้อมน้อย จ านวน ๙๙ โรงเรียน ที่เน้นความสามารถด้านการสื่อสารสู่การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ๒. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ านวน ๕๓ โรงเรียน

๒ พฤศจิกายน ๕๘ ถึง ๓๑ มีนาคม๕๙

นางปิยะนุช พุดหอม นางดวงตา ล าลึก

๕. งบประมาณจ านวน ...........-.........บาท (บูรณาการกับโครงการนิเทศเต็มพิกัด)

๖. ผลการประเมิน

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ ๑. ร้อยละ ๘๐ ของโรงเรียนที่มีความพร้อมน้อยและความพร้อมปานกลางมีการขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่การจัดการเรียนการสอนสู่การวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ ๒. ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ของ โรงเรียนที่มีความพร้อมสูง เพ่ิมข้ึนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ โรงเรียนที่มีความพร้อมปานกลาง เพิ่มขึ้นร้อยละ ๓-๕ โรงเรียนที่มีความพร้อมน้อย เพิ่มข้ึนร้อยละ ๒-๕

- ตรวจแบบนิเทศติดตามการด าเนินงาน - ผลการทดสอบ O-NET

แบบนิเทศติดตาม แบบทดสอบระดับชาติ

Page 38: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๒

๗. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๗.๑ ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถด้านการสื่อสาร ๗.๒ นักเรียนมีความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ พัฒนาตนเองตามความสนใจและความถนัดอย่างเต็มตามศักยภาพและมีความสุขกับการเรียนรู้

-----------------------------

Page 39: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๓

โครงการ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ (โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ)

แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อกลยุทธ์ที่ ๑ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ จุดเน้น นักเรียนมีสมรรถนะส าคัญสู่มาตรฐานสากล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ

ตามมาตรฐานที่ก าหนด ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดวงตา ล าลึก และ นางปิยะนุช พุดหอม ระยะเวลาด าเนินการ ๒ พฤศจิกายน๒๕๕๘ – ๓๐กันยายน๒๕๕๙

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขัน้พ้ืนฐานเพ่ือการเตรียมความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ โดยเน้นการใช้กรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล คือ The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เป็นกรอบความคิดหลักในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของประเทศรวมถึงเน้นการยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูให้มีความรู้ความสามารถด้านการสอนภาษาอังกฤษแบบสื่อสาร (Communicative Language Teaching: CLT) ตามกรอบความคิดหลัก CEFR

ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑ ได้จัดการศึกษาตามภารกิจโดยส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษให้กับโรงเรียนที่เปิดการสอนขยายโอกาสทางการศึกษาในสังกัดจ านวน ๕๓ โรงเรียนมาโดยตลอด และเพ่ือสนองต่อตัวชี้วัดความส าเร็จของสพฐ.ได้ก าหนดเกณฑ์มาตรฐานจ าแนกตามความพร้อมของโรงเรียน กล่าวคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓โรงเรียนความพร้อมสูงต้องมีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ร้อยละ ๘๐ โรงเรียนความพร้อมปานกลางต้องมีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ร้อยละ ๕๐โรงเรียนความพร้อมน้อยต้องมีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ร้อยละ ๓๐ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ สถาบันภาษาอังกฤษ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้จัดสรรงบประมาณให้ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑ จัดประชุม เชิงปฏิบัติการ การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพส าหรับครูผู้ สอนภาษาอังกฤษที่สอนในระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาส จ านวน ๕๓ โรงเรียน ตามโครงการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และเพ่ือด าเนินการต่อยอดโครงการดังกล่าว ได้ก าหนดให้สถานศึกษาส่งแผนปฏิทินการน าสื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพไปสู่ห้องเรียนโดยครูผู้สอนตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ให้กับส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑เพ่ือการติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน พร้อมทั้งจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพในสถานศึกษา ในภาคเรียนที่ ๒ เพ่ือเป็นการต่อยอดการด าเนินการให้ผู้เรียนมีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานแยกตามระดับความพร้อมของสถานศึกษาที่ก าหนดไว้ จึงได้จัดท าโครงการ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน

Page 40: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๔

ภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ) ในปีการศึกษา ๒๕๕๙ ต่อไป ๒. วัตถุประสงค ์

๒.๑ เพ่ือให้สถานศึกษาทั้ง ๕๓ โรงเรียนสามารถขับเคลื่อนการน าหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช๒๕๕๑

๒.๒ เพ่ือให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ มีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษมีคุณภาพตามมาตรฐานความพร้อมของสถานศึกษาที่ก าหนด ๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ ร้อยละของโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับมีนักเรียนมีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานที่ก าหนด โรงเรียนที่มีความพร้อมสูง ร้อยละ ๘๐

โรงเรียนที่มีความพร้อมปานกลาง ร้อยละ ๕๐ โรงเรียนที่มีความพร้อมน้อย ร้อยละ ๓๐ เชิงคุณภาพ

ระดับคุณภาพของโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับมีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานที่ก าหนด ๔. กิจกรรมและการด าเนินงาน ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ ๑

กิจกรรมที่ ๑การติดตาม ทบทวนการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ)จ านวน ๕๓ โรงเรียน

๒พฤศจิกายน ๕๘-๓๑ มีนาคม ๕๙

นางปิยะนุช พุดหอม นางดวงตา ล าลึก

๒ กิจกรรมที่ ๒ การน าเสนอโครงงาน การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ) จ านวน ๑๙ โรงเรียน

๑ เมษายน ๕๙-๓๑ กันยายน ๕๙

Page 41: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๕

๕. งบประมาณ จ านวน ๕๐,๐๐๐ บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน) (ถัวจ่ายทุกกิจกรรม)

ที ่

รายการ

งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

๑ กิจกรรมที่ ๑ การติดตาม ทบทวน การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ) จ านวน ๕๓ โรงเรียน

- - - -

๒ กิจกรรมที่ ๒ การน าเสนอโครงงาน การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ืออาชีพนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (โรงเรียนการศึกษาภาคบังคับ) จ านวน ๑๙ โรงเรียน ๒.๑ ค่าจ้างเหมาพาหนะโรงเรียนในแต่ละกลุ่ม - อ าเภอเมืองน่าน อ าเภอภูเพียงและอ าเภอเวียงสา จ านวน ๙ โรงเรียน โรงเรียนละ ๑,๐๐๐ บาท - อ าเภอสันติสุข,อ าเภอนาน้อย อ าเภอแม่จริม และ อ าเภอบ้านหลวง จ านวน ๑๐ โรงเรียน โรงเรียนละ ๒,๐๐๐ บาท ๒.๒ ค่าอาหารกลางวัน และอาหารว่าง ส าหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ านวน ๑๐๐ คนคนละ ๑๘๐ คน จ านวน ๑ วัน ๒.๓ ค่ากรอบเกียรติบัตรจ านวน ๑๙ อันๆละ๑๕๐ บาท ๒.๔ ค่าวัสดุ

๙,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๑๘,๐๐๐ ๒,๘๕๐

๑๕๐

๕๐,๐๐๐

รวมทั้งสิ้น ๔๙,๘๕๐ ๑๕๐ ๕๐,๐๐๐

๖. ผลการประเมิน ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้

ร้อยละของโรงเรียนการศึกษาภาคบังคับมีนักเรียนมีความสามารถด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษตามมาตรฐานที่ก าหนด โรงเรียนที่มีความพร้อมสูง ร้อยละ ๘๐ โรงเรียนที่มีความพร้อมปานกลาง ร้อยละ ๕๐ โรงเรียนที่มีความพร้อมน้อย ร้อยละ ๓๐

- ผลการทดสอบ ความสามารถด้าน การสื่อสารระดับโรงเรียน

แบบนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทักษะความสามารถด้านการสื่อสาร

๗. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๗.๑ ครูผู้สอนมีการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถด้านการสื่อสาร ๗.๒ นักเรียนมีความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ

-----------------------

Page 42: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๖

โครงการ เสริมสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของสภานักเรียน แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เ พ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้น พ้ืนฐานให้ทั่วถึง

ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ จุดเน้นที่ 1.2 นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม รักสามัคคีปรองดอง สมานฉันท์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ภูมิใจในความเป็นไทยห่างไกลยาเสพติด มีคุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม

ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ระดับความส าเร็จการด าเนินกิจกรรมให้ผู้เรียนมีค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ ครบทุกตัวสอดคล้องตามช่วงวัย ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมงคล เมธะพันธุ์ ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตุผล ด้วย ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ก าหนดแนวทางในการพัฒนากิจกรรมสภานักเรียน ให้โรงเรียนได้น าไปปฏิบัติเป็นรูปธรรมมาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้บทบาทหน้าที่การเป็นพลเมืองที่ดี ตามวิถีประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อันได้แก่ คารวะธรรม สามัคคีธรรม ปัญญาธรรม รวมทั้งการน าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ การมีจิตอาสาและการพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ อันส่งผลต่อคุณลักษณ์อันพึงประสงค์ บนพ้ืนฐานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมก้าวสู่ความเป็นสากล โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคี

2. วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาองค์กรสภานักเรียน ให้เข้มแข็ง สามารถด าเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล เป็นวิถีชีวิตที่รัฐธรรมนูญวางไว้ให้ 2. เพ่ือสร้างความคุ้นเคยกับสังคมธรรมาภิบาล และเคารพกลไก กติกา การด าเนินงานองค์กรนักเรียน 3. เป้าหมาย

เชิงปริมาณ นักเรียนแกนน าสภานักเรียนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จ านวน 53โรงๆละ 2 คนรวมเป็น 106 คน

เชิงคุณภาพ นักเรียนแกนน าโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาทุกคน ได้รับการพัฒนา ให้เข้มแข็ง สามารถด าเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล เป็นวิถีชีวิตที่รัฐธรรมนูญวางไว้ให้ และพัฒนาคุณลักษณะความมีวินัย ความซื่อสัตย์ ความพอเพียง และความมีจิตสาธารณะ

Page 43: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๗

4. กิจกรรม / วิธีด าเนินการ

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ผู้รับผิดชอบ 1 แต่งตั้งคณะท างาน และคณะกรรมการ พฤษภาคม2559 กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

2 จัดท าหลักสูตรการอบรมโครงการ

กิจกรรมสภานักเรียน พฤษภาคม2559 กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

คณะท างาน/วิทยากร 3 อบรมโครงการกิจกรรมสภานักเรียน

มิถุนายน2559 กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

คณะท างาน/วิทยากร 4 นิเทศ ติดตาม การด าเนินการกิจกรรม

สภานักเรียน สิงหาคม2559 กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

กลุ่มนิเทศฯ 5 สรุปรายงานผล สิงหาคม2559 กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

กลุ่มนิเทศฯ 5. งบประมาณจ านวน 70,000 บาท (เจ็ดหม่ืนบาทถ้วน)ขอถัวจ่ายทุกรายการ

รายการ งบประมาณ

รวม แยกตามประเภทรายจ่าย

ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ 1.ค่าอาหารวิทยากร/เจ้าหน้าที่/นักเรียนแกนน า จ านวน 120 คนคนละ 50 บาท/มื้อ จ านวน 7 มื้อ

42,000 42,000

2.ค่าอาหารว่างวิทยากรเจ้าหน้าที่/นักเรียนแกนน า จ านวน 120 คนๆ ละ 25 บาทจ านวน 7 มื้อ

21,000 21,000

3.ค่าตอบแทนวิทยากร 2,000 2,000 4.ค่าบ ารุงสถานที ่ 3,000 3,000 5.ค่าจัดสถานที ่ 1,000 1,000 6. ค่าจัดท าเอกสาร จ านวน 120 เล่มๆละ 10 บาท

1,000 1,000

รวม 70,000 2,000 68,000 - 6. การประเมินผล

ตัวช้ีวัดความส าเร็จ วิธีการวัด/ประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ นักเรียนได้รับการพัฒนา ให้เข้มแข็ง มีจิตส านึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต

Page 44: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๘

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนแกนน าสภานักเรียน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1จ านวน 53โรงเรียน ได้รับการพัฒนา ให้เข้มแข็ง สามารถด าเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนตามหลักสูตร ให้มีร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการด ารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข มุ่งปลูกฝังจิตส านึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยใช้กระบวนการ จัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย ทั้งยังส่งเสริมให้โรงเรียนด าเนินกิจกรรมสภานักเรียน เพื่อเตรียมนักเรียนให้เป็นพลเมืองที่ดีเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง

----------------------------

Page 45: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๕๙

โครงการ ส่งเสริมความประพฤติและป้องปรามการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของนักเรียน นักศึกษา แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อยุทธศาสตร์ที่ 2 เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ทั่วถึง ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับ

โอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ จุดเน้นที่ 1.2 นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม รักสามัคคีปรองดอง สมานฉันท์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ภูมิใจในความเป็นไทยห่างไกลยาเสพติด มีคุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม

ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ระดับความส าเร็จการด าเนินกิจกรรมให้ผู้เรียนมีค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ ครบทุกตัวสอดคล้องตามช่วงวัย ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางทิพย์วรรณ ฉิมพลี ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตุผล ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายด าเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียน/นักศึกษา ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับสภาและวัย และประพฤติผิดกฎกระทรวง ว่าด้วยความประพฤตินักเรียน นักศึกษา พ.ศ.2548 เช่นหนีเรียน เล่นการพนัน พกอาวุธ เสพสุรา บุหรี่ ยาเสพติด ก่อเหตุทะเลาะวิวาท แสดงพฤติกรรมทางชู้สาว ค้าประเวณี โดยให้สถานศึกษาหรือโรงเรียน ก าหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียน นักศึกษา ได้เท่าที่ไม่ขัดแย้งกับกฎกระทรวง และเพ่ือด าเนินการตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 หมวด 7ที่ก าหนดให้มีการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน/นักศึกษาส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้ออกตรวจตราความประพฤตินักเรียน นักศึกษา ร่วมกับสถานศึกษาในสังกัด สถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษา ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดน่าน บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดน่าน ต ารวจ และส่วนราชการอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงได้จัดท าโครงการออกตรวจตราความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา ขึ้น

2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือระดมหน่วยงานที่มีส่วนในการรับผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนในจังหวัดน่านร่วมกันแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรมของนักเรียน/นักศึกษา เด็กและเยาวชน 2.2 เพ่ือออกตรวจตราความประพฤตินักเรียน/นักศึกษา เด็กและเยาวชน ในพื้นที่รับผิดชอบของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 2.3 เพ่ือปกป้อง คุ้มครอง สอดส่อง ดูแล นักเรียน นักศึกษา เด็กและเยาวชนที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพและวัย 2.4 เพื่อดูแลความสงบเรียบร้อยของสังคมจังหวัดน่านอีกทางหนึ่ง

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

- พ้ืนที่ความรับผิดชอบของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

Page 46: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๐

เชิงคุณภาพ - หน่วยงานที่มีส่วนในการรับผิดชอบงานด้านเด็กและเยาวชนในจังหวัดน่าน ร่วมกันแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรมของนักเรียน/นักศึกษา เด็กและเยาวชน

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 1. ออกตรวจความประพฤตินักเรียน/นักศึกษา

ตามสถานที่และแหล่งต่าง ๆ ที่เป็นจุดเสี่ยงต่อการมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมของนักเรียน นักศึกษา ในเขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบของส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1

ตุลาคม 2558- กันยายน 2559

นางทิพย์วรรณ ฉิมพลี

5. งบประมาณจ านวน บาท 27,360 บาท(สองหมื่นเจ็ดพันสามร้อยหกสิบบาทถ้วน) ถัวจ่ายทุกรายการ

ที ่ รายการ งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

1. ค่าเบี้ยเลี้ยง ครั้งละ 120 บาท ครั้งละ 12 คน จ านวน จ านวน 19 ครั้ง

- 27,360 - 27,360

รวม - 27,360 27,360 6. การวัดและประเมินผล

ตัวบ่งชี้ความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด 1.นักเรียน นักศึกษา ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมลดลง 2.นักเรียน นักศึกษา ไม่กระท าผิดซ้ าซาก 3.นักเรียน นักศึกษาที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดลดลง

-รวบรวมสถิ ติ ข้ อ มู ล จ า นวนนักเรียน นักศึกษา ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม

-แบบสรุปผลการปฎิบัติงาน

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ จ านวนนักเรียน นักศึกษา ที่มีความประพฤติไม่เหมาะสมกับสภาพและวัยลดลง และนักเรียน นักศึกษาที่เคยมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่กลับมามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมซ้ าซากอีกและมีความประพฤติดีขึ้น นักเรียน นักศึกษา ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดลดลง และนักเรียน นักศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ด าเนินชีวิตที่ถูกต้องเหมาะสม เป็นสมาชิกที่ดีของสังคมและประเทศ ต่อไป

--------------------------

Page 47: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๑

โครงการ ประเมินสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เ พ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้น พ้ืนฐานให้ทั่วถึง

ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ จุดเน้นที่ 1.2 นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม รักสามัคคีปรองดอง สมานฉันท์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ภูมิใจในความเป็นไทยห่างไกลยาเสพติด มีคุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม

ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ระดับความส าเร็จการด าเนินกิจกรรมให้ผู้เรียนมีค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ ครบทุกตัวสอดคล้องตามช่วงวัย ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางยอดนารี ปุญญมัย ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.หลักการและเหตุผล การพัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการด ารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ห่างไกลจากยาเสพติดสื่อลามกอนาจาร เกมออนไลน์ การพนัน และการทะเลาะวิวาท ซึ่งเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนที่สังคมไม่ยอมรับ ถือเป็นกลยุทธ์ที่ส าคัญตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่ก าหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งด าเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข โดยบูรณาการแผนงานกับทุกภาคส่วน จัดท าองค์ความรู้และประสานงานเป็นกลไกขับเคลื่อนงานในสถานศึกษาส่งผลให้สถานศึกษาสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและปัจจัยเสี่ยงรอบสถานศึกษาโดยใช้แนวคิดและหลักการของ “4 ประสาน 2 ค้ า”ซ่ึง 4 ประสาน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนนักเรียน และ 2 ค้ า ได้แก่ ต ารวจและพระสงฆ์ ซึ่งอยู่ในบริเวณท้องถิ่นและชุมชน และกลยุทธ์ 4 ต้อง 2 ไม่ โดยสถานศึกษาต้องมียุทธศาสตร์ ต้องมีแผนงาน ต้องมีเครือข่าย ต้องมีระบบข้อมูล และ 2 ไม่ ไม่ปกปิดข้อมูล และไม่ไล่นักเรียนออก ดังนั้น ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงได้จัดโครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพ่ือประเมินผลการด าเนินงานสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ตามแนวทางและเกณฑ์การประเมินโครงการสถานศึกษาสีขาวและมอบเกียรติบัตรให้กับสถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพดีเด่น เพ่ือเป็นศูนย์การเรียนรู้สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข

2.วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษา 2. เพ่ือลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขทั้งในและนอกสถานศึกษา 3. เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมกระบวนการด าเนินการด าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายา

เสพติดและอบายมุข ทั้งในและนอกสถานศึกษาให้มีกระบวนการที่เข้มแข็ง ต่อเนื่องและยั่งยืน 4. ให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ในการน าไปพัฒนาและสร้างระบบการป้องกันและแก้ไข

ปัญหายาเสพติด อบายมุข ปัจจัยเสี่ยงรอบสถานศึกษา

Page 48: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๒

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัด เข้าร่วมโครงการและรับการประเมินประจ าปี เพื่อประกาศให้เป็นสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข

เชิงคุณภาพ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง นักเรียน มีจิตส านึกร่วมกันในการดูแล เฝ้าระวังไม่ให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุข

2) มีสถานศึกษาที่เป็นศูนย์การเรียนรู้สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงาน 4.กิจกรรมและการด าเนินงาน

กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 1. ประชุมคณะกรรมการวางแผนการประเมิน 2. แจ้งแนวทางและเกณฑ์การประเมิน ให้โรงเรียนทุกแห่งในสังกัด 3. รับสมัครโรงเรียนที่ประสงค์เข้ารับการประเมินสถานศึกษาสีขาวฯ 4. ด าเนินการออกประเมินโรงเรียนที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ 5. สรุปผลการประเมินเพ่ือมอบเกียรติบัตร

ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559

นางยอดนารี ปุญญมัย

5. งบประมาณ จ านวน 20,000.-บาท (สองหมื่นบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้

ที ่ รายการ งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

1 ประชุมคณะกรรมการ -ค่าอาหารและอาหารว่าง 9 คนๆละ 90บาท

810

810

2 ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะกรรมการออกประเมิน -กรรมการ9 คนๆละ 240 บาท 6 อ าเภอ -กรรมการ 9 คนๆละ 120 บาท 2 อ าเภอ

12,960 2,160

12,960 2,160

3 ค่าจัดท าเกียรติบัตรพร้อมกรอบ 3 อันๆละ 250 บาท 750 750 4 วัสดุ 2,320 2,320 5 ค่าจัดท าเอกสารสรุปรายงานผลเป็นรูปเล่ม 1,000 1,000 รวม 17,680 2,320 20,000

Page 49: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๓

6.การวัดและประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ 1.ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง นักเรียน มีจิตส านึกร่วมกันในการดูแล เฝ้าระวังไม่ให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุข 2.สถานศึกษาท่ีเป็นศูนย์การเรียนรู้สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข

แบบประเมิน การนิเทศติดตาม

แบบประเมิน การนิเทศติดตาม

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้บริหารสถานศึกษามีความตระหนักในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้พ้นภัยจากยาเสพติดและจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เข้มแข็งและยั่งยืน และมีมาตรการในการเฝ้าระวังไม่ให้มีการแพร่ระบาดของยาเสพติด จัดระเบียบพื้นที่เสี่ยง ขจัดพ้ืนที่อับโดยจัดสภาพแวดล้อมที่ไม่ให้เอ้ือต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติด

---------------------------------

.

Page 50: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๔

โครงการ ขับเคลื่อนกระบวนการลูกเสือสู่กิจกรรมการเรียนการสอน แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เ พ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้น พ้ืนฐานให้ทั่วถึง

ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ จุดเน้นที่ 1.2 นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม รักสามัคคีปรองดอง สมานฉันท์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ภูมิใจในความเป็นไทยห่างไกลยาเสพติด มีคุณลักษณะและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม

ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ระดับความส าเร็จการด าเนินกิจกรรมให้ผู้เรียนมีค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ ครบทุกตัวสอดคล้องตามช่วงวัย ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชลวิทย์ เบ็ญจมาลย์ และนายสมเพชร เชื้อหมอ ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.หลักการและเหตุผล

การจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน นอกจากด้านการเรียนทางวิชาการแล้ว กิจกรรมที่จะเสริมให้ผู้เรียนมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น ในด้านความเป็นระเบียบวินัย รู้จักการแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีความเป็นผู้น า และผู้ตามที่ดีได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี เป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมที่ส่งเสริม พัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนาการที่ดีขึ้น สามารถน าไปปรับใช้ใน ชีวิตประจ าวัน และสังคมได้เป็นอย่างดี

ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้เล็งเห็นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวกับลูกเสือ – เนตรนารี เช่น การประชุมคณะกรรมการลูกเสือจังหวัดน่าน ประจ าปี 2558 /การจัดศูนย์การเรียนรู้กิจการลูกเสือระดับอ าเภอ /การนิเทศ ก ากับ ติดตามการด าเนินงานลูกเสือในสถานศึกษา / โครงการอบรมลูกเสือ เนตรนารี และโครงการศึกษาดูงานคณะกรรมการลูกเสือ สพป.น่าน เขต 1 จึงได้จัดท าโครงการนี้ขึ้น

2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการส่งเสริมให้เยาวชนลูกเสือ – เนตรนารี เป็นคนดีของชาติในอนาคต 2.2 เพื่อปลูกจิตส านึกและสร้างความตระหนัก ให้กับลูกเสือ– เนตรนารี ในการร่วมกันรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นการบ าเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ตามอุดมการณ์ของลูกเสือ

2.3 เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตให้กับลูกเสือ - เนตรนารี ได้น าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับสถานศึกษา ชุมชนและสังคม ให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

2.4 เพื่อให้ลูกเสือ - เนตรนารี มีความรัก ความสนใจ และเห็นคุณค่าในกิจกรรมลูกเสือมากยิ่งขึ้น

Page 51: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๕

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

1) ผู้บริหารสถานศึกษาทุกแห่งผ่านการพัฒนาหลักสูตรผู้บังคับบัญชาลูกเสือ-เนตรนารี 2) ศูนย์การเรียนรู้ลูกเสือ น าร่อง จ านวน 4 ศูนย์ 3) สถานศึกษาทุกแห่งขับเคลื่อนกระบวนการลูกเสือสู่กิจกรรมการเรียนการสอน

เชิงคุณภาพ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา ที่ผ่านการฝึกอบรมและร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ

สามารถน าไปขับเคลื่อนกระบวนการลูกเสือสู่กิจกรรมการเรียนการสอน 2) นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความตระหนัก

ความเสียสละ อดทน รู้จักการรักษา สิ่งแวดล้อม เป็นการบ าเพ็ญประโยชน์เพ่ือช่วยเหลือสังคม ชุมชน และประเทศชาติ ตามอุดมการณ์ของลูกเสือ

4. วิธีด าเนินการและระยะเวลาการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

1 แต่งตั้งคณะท างานขับเคลื่อนกระบวนการลูกเสือสู่กิจกรรมการเรียนการสอน

ธ.ค.58 ชลวิทย์ เบ็ญจมาลย์

และคณะ

2 ประชุมคณะกรรมการลูกเสือจังหวัด

3 จัดอบรมผู้ก ากับการลูกเสือ ม.ค.59

4 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้กระบวนการลูกเสือ น าร่องระดับอ าเภอ 4 ศูนย์ ม.ค.59

5 นิเทศ ก ากับ ติดตาม ก.พ.59

6 สรุปและรายงานผล มี.ค.59

Page 52: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๖

5. งบประมาณจ านวน 170,000 บาท (หนึ่งแสนเจ็ดหมื่นบาทถ้วน) ถัวจ่ายทุกรายการ

ที ่ รายการ งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

กิจกรรมที่ 1 ไม่ใช้งบประมาณ - - กิจกรรมที่ 2 -ค่าอาหารและอาหารว่าง 11,250 11,250 กิจกรรมที ่3 -ค่าใช้จ่ายในการจัดอบรมผู้ก ากับลูกเสือ 73,750 73,750 กิจกรรมที่ 4 -จัดสรรให้รร.น าร่องจัดตั้งศูนย์ลูกเสือ 4

ศูนย์ๆละ 20,000 บาท 80,000 80,000

กิจกรรมที่ 5 -ค่าเบี้ยเลี้ยงออกนิเทศ ติดตาม 5,000 5,000 รวม - 170,000 - 170,000

6.การวัดและประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ 1. นักเรียนมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ตาม

หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน

แบบประเมิน การนิเทศติดตาม

แบบประเมิน การนิเทศติดตาม

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู มีความเข้าใจในการน ากระบวนการลูกเสือสู่กิจกรรมการเรียนการสอน สามารถบูรณาการได้ทุกสาระการเรียนรู้

------------------------

Page 53: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๗

โครงการ การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนปีการศึกษา 2559 แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เ พ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้น พ้ืนฐานให้ทั่วถึง

ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ จุดเน้น นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตามศักยภาพเป็น รายบุคคล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษที่ได้รับโอกาสให้สามารถพัฒนาได้ เต็มตามศักยภาพ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจีรวรรณ ศรีริ , นางอรวรรณ ติลสาร ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2557 – 30 กันยายน 2559 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1.หลักการและเหตุผล งานแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนเป็นงานนโยบายที่ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มอบหมายทุกเขตพ้ืนที่การศึกษาต้องด าเนินการจัดกิจกรรมขั้นในทุก ๆ ปี เพ่ือมีเวทีให้นักเรียนได้แสดงออกซ่ึงความรู้ ความสามารถทางด้านทักษะและวิชาชีพ ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงออกถึงศักยภาพในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพราะถ้าหากนักเรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาชีพให้มีศักยภาพสูง ได้รับความเอาใจใส่ ส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่องจะน าไปสู่ความเป็นเลิศได้ในที่สุด ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 เป็นหน่วยงานต้นสังกัด และได้เห็น ความส าคัญและความจ าเป็นที่จะพัฒนานักเรียนให้มีความสามารถในทุกกลุ่มสาระจึงได้ท าโครงการกิจกรรมแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนขึ้นเป็นประจ าทุก ๆ ปี 2. วัตถุประสงค์

1. เพ่ือมีเวทีให้นักเรียนได้แสดงความรู้ความสามารถทางด้านทักษะและวิชาชีพ 2. เพ่ือจัดให้มีการประกวดแข่งขันความสามารถทางด้านทักษะการงานอาชีพต่างๆ 3. เพ่ือจัดแข่งขันกิจกรรมนักเรียนในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันในระดับ

ภาคต่อไป 3. เป้าหมาย ด้านปริมาณ จัดกิจกรรมประกวดแข่งขันทักษะศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นเวลา 2 วันจากนักเรียน 19 กลุ่ม โรงเรียน ด้านคุณภาพ ผู้บริหาร ครู นักเรียน ที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับประสบการณ์ตรงการร่วมงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกิจกรรมประกวดแข่งขันด้านศิลปหัตถกรรมรวมทั้งกิจกรรมที่เป็นหนทางสร้างอาชีพ ในอนาคต เพื่อให้เป็นไปตามพระราชปณิธานของล้านเกล้ารัชการที่ 6

Page 54: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๘

4. กิจกรรมและข้ันตอนการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ

1

ระยะที่ 1 แข่งขันระดับภาคเหนือ นักเรียนที่เป็นตัวแทนระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เข้าแข่งขันระดับภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก

ธ.ค.58

นางจีรวรรณ ศรีริ นางอรวรรณ ติลสาร

1

ระยะที่ 2 แข่งขันระดับเขตพื้นที่ ประชุมคณะท างาน ชี้แจง เพื่อวางแผนการ ด าเนินการจัดกิจกรรมประกวดแข่งขัน

31 ส.ค. 59

2 แต่งตั้งคณะท างาน คณะกรรมการการ ประกวดแข่งขัน

15 ก.ย.59

3 ประชุมชี้แจง มอบหมายหน้าที่คณะกรรมการ ด าเนินงาน

25 ก.ย.59

4 จัดประกวด แข่งขันคัดเลือกในระดับกลุ่ม โรงเรียน

1 ส.ค. – 11 ก.ย.59

5 ประเมินผลการคัดเลือกในระดับกลุ่มโรงเรียน 15 ก.ย.59 6 ประชาสัมพันธ์การจัดการประกวดแข่งขันใน

ระดับเขตพ้ืนที่ ส.ค.- ต.ค.59

8 ประชุมคณะกรรมการแต่ละกิจกรรมก่อนประกวดแข่งขัน

25 ก.ย. 59

9 จัดการประกวด แข่งขันทักษะวิชาการ และ ศิลปหัตถกรรม ระดับเขตพ้ืนที่

ต.ค.59

10 สรุปผลการประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการ พ.ย.59

Page 55: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๖๙

5. งบประมาณ จ านวน 344,500 บาท( โดยขอถัวจ่ายทุกรายการ) โดยจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายการด าเนินการ 2 ระยะ ดังนี้

รายการ/กิจกรรม งบประมาณ ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม

ระยะที่ 1 แข่งขันระดับภาคเหนือจังหวัดพิษณุโลก 1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของ ข้าราชการเจ้าหน้าที่ สพป. น่านเขต 1 เพ่ือไปด าเนินงาน และสังเกตการณ์การแข่งขัน ที่จังหวัดพิษณุโลก วันที่16–18 ธันวาคม 58 - เจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริม จ านวน 10 คน - ศึกษานิเทศก์ จ านวน 20 คน - ค่าเบี้ยเลี้ยง 30 x 240 x 2 = 14,400.บาท 2. ค่าเช่าที่พักเหมาจ่าย คนละ 800 จ านวน 15 ห้องจ านวน 1 คืน 3. ค่าพาหนะน้ ามันเชื้อเพลิง 4,500.- บาท 4. ค่าสนับสนุนนักเรียนตัวแทนไปแข่งขันระดับภาค จังหวัดพิษณุโลกจ านวน 400 คนๆละ 300 บาท

14,400 24,000 4,500 120,000

14,400 24,000 4,500 120,000

รวมงบประมาณระยะท่ี 1 162,900 162,900 ระยะที่ 2 แข่งขันระดับเขตพื้นที่ 1.ค่า อาหารว่าง น้ าดื่มส าหรับคณะกรรมการด าเนินงาน คณะกรรมการตัดสินกิจกรรม ประชุมเตรียมงาน จ านวน 350 คน คนละ 30 บาท 2.ค่าอาหาร อาหารว่าง และน้ าดื่มส าหรับคณะกรรมการ คณะกรรมการตัดสินและเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดการแข่งขัน ในวันแข่งขัน 2 วัน คนละ 130 บาท จ านวน 650 คน 3.ค่าจ้างเหมาจัดสถานที่เวทีกลาง พิธีเปิด-ปิด 4.ค่าเช่าเครื่องเสียง เครื่องดนตรีสตริง เวทีกลาง ประกวดร้องเพลง และสนามการจัดการศึกษาพิเศษเรียนร่วม 2 วัน 5.ค่าจัดท าป้ายประชาสัมพันธ์ จ านวน 2 ป้าย ป้ายเวทีกลาง และป้ายสถานที่แข่งขัน 4แห่ง 6. ค่าตอบแทนกรรมการตัดสินจากบุคลภายนอก 7. ค่าวัสดุส านักงาน

10,500

84,500

30,000 35,000

6,000

7,000

8,600

10,500

84,500

30,000 35,000 6,000

7,000 8,600

รวม - 181,600 - 181,600 รวมทั้งสิ้น 335,900 344,500

Page 56: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๐

6.การวัดและประเมินผล

ตัวบ่งชี้ความส าเร็จ

วิธีวัดและประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้วัด ผลการประกวดแข่งขันและผลงานที่น าเสนอในงานแข่งขันทักษะวิชาการและศิลปหัตถกรรม

สอบถาม สังเกต บันทึกภาพ บันทึกวิดีทัศน์

แบบสอบถาม แบบประเมินผล

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. ผลการประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการและศิลปหัตถกรรมของผู้เข้าประกวดทุกระดับ 2. นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะทางวิชาการเต็มตามศักยภาพ และสามารถเข้าแข่งขันในภูมิภาค

-----------------------------

Page 57: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๑

โครงการ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning) แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เ พ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้น พ้ืนฐานให้ทั่วถึง

ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ จุดเน้น นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

เป็นรายบุคคล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษท่ีได้รับโอกาสให้สามารถพัฒนา

ได้เต็มตามศักยภาพ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุวิทย์ ผูกจิต ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. เหตุผล/ความจ าเป็นที่ต้องท า ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 37 ระบุว่า ให้มีการจัดการศึกษาทางไกลเป็นการจัดการศึกษาลักษณะหนึ่ง ที่จะเสริมการบริหารและการจัดการของเขตพ้ืนที่การศึกษาได้ โดยการเชื่อมต่อกับโครงการตามแนวพระราชด าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และจากข้อสั่งการของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องเร่งรัดด าเนินการในประเด็นการศึกษา ที่ต้องพิจารณาแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในพ้ืนที่ห่างไกล จากเหตุผลดังกล่าว ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้ด าเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมีกิจกรรมหลัก คือ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning) เป็นการจัดการศึกษาที่ใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอนในทุกห้องเรียน แก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก ครูสามารถจัดการเรียนรู้ในทุกสาระได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนและครูได้เข้าถึง สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย นักเรียนและครูมีเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา การน าเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (Distance Learning) มายกระดับคุณภาพการศึกษา เป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television ; DLTV) และการจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning via Information Technology ; DLIT) มาด าเนินงานโดยเร่งด่วนเพ่ือแก้ปัญหาคุณภาพการศึกษา โดยมีการจัดสภาพการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ของครูอย่างครบถ้วน ทั้งกระบวนการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้น กระบวนการสร้างความรู้ จากการลงมือปฏิบัติ เนื้อหา ตลอดจนสื่อและอุปกรณ์ที่จ าเป็นในการจัดเรียนการสอน อันจะเป็นการลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา ลดช่องว่างและเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพให้กับ ประชาชนไทยทุกคน อันเป็นการด าเนินการตามรอยเบื้องพระยุคลบาทและสนองพระราชด าริในการที่จะพัฒนาการศึกษาไทยให้เจริญก้าวหน้า

Page 58: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๒

2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือสร้างความตระหนัก ความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนการจัดการน าเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (Distance Learning) สู่การปฏิบัติ 2.2 เพ่ือสร้างความรู้ และความเข้าใจในแนวทางการบริหารจัดการ การน าเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล (Distance Learning) ในระดับโรงเรียน

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

1. ผู้อ านวยการโรงเรียนสังกัด สพป.น่าน เขต 1 2. ครูทุกคนโรงเรียนสังกัด สพป.น่าน เขต 1 เชิงคุณภาพ

สถานศึกษาขนาดเล็กสามารถจัดการศึกษาโดยน าเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกห้องเรียน ครูสามารถจัดการเรียนรู้ในทุกสาระได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนและครูได้เข้าถึง สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

4. กิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินงาน

กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ 1. นิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทางไกลฯ 2พ.ย. 58 –30 ก.ย. 59 รองผอ.สพป.น่าน เขต 1

ศึกษานิเทศก์ 2.คัดเลือกโรงเรียนที่ด าเนินกิจกรรมการเรียนสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning) ได้ดีโดยแยกเป็น 2 รูปแบบ 1. การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television ; DLTV) 2. การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning via Information Technology ; DLIT)

1 - 15 ก.ค. 59 ศึกษานิเทศก์ ประจ ากลุ่มโรงเรียน คณะกรรมการที่ ได้ รับแต่งตั้ง นายสุวิทย์ผูกจิต

3. สรุป ประเมินผลการจัดการเรียนด้วยเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning)

15 – 30 ก.ย. 59 นายสุวิทย์ผูกจิต

Page 59: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๓

5.งบประมาณ จ านวน 35,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ)

ที ่

รายการ

งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

1 คัดเลือกโรงเรียนระดับเขตพ้ืนที่ 1. กรอบเกียรติบัตรบัตร 40 อัน 2. โล่เชิดชูเกียรติ 6 อัน 3. ค่าเบี้ยเลี้ยงคณะกรรมการไปตัดสินการประกวด รร.ที่ด าเนินกิจกรรมการเรียนสอนด้วยเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning) ได้ดีโดยแยกเป็น 2 รูปแบบคือ DLTV และ DLIT ณ โรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกจากเป็นตัวแทนของกลุ่มโรงเรียน กรรมการ 5 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน พนักงานขับรถ 1 คน รวม 7 คน ทั้งหมด 10 วัน(7X240X10) 4. ค่าวัสดุ

7,200 16,800

7,200

3,800

รวม 24,000 11,000 35,000 6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด ร้ อยละ 100 ของประชากรวั ย เ รี ยนได้ รั บการศึกษาอย่างทั่วถึงและ มีคุณภาพ

นิเทศติดตาม /สอบถาม ความพึงพอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจ / รายงาน

7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 นักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็กได้รับโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกับนักเรียนในโรงเรียนขนาดใหญ่และโรงเรียนในเมือง

7.2 โรงเรียนในสังกัด สพป.น่าน เขต 1 มีแนวปฏิบัติในการใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning) และน าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7.3 ลดปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น และครูสอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก ในโรงเรียน จากการใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล (Distance Learning)

-----------------------------

Page 60: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๔

โครงการ แข่งขันตอบปัญหาจากหนังสือสารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อยุทธศาสตร์ที่ 2 เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ทั่วถึง ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับ

โอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ จุดเน้น นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตามศักยภาพเป็น รายบุคคล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษที่ได้รับโอกาสให้สามารถพัฒนาได้ เต็มตามศักยภาพ ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวรรณพร สุทธชัย ระยะเวลาด าเนินการ มิถุนายน – กันยายน 2559 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1.หลักการและเหตุผล หนังสือสารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระในด้านต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการจัดท าทุกฉบับ ให้มีคุณภาพสามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชนไทยที่ดีที่สุด แต่ปัญหาอยู่ที่เยาวชนส่วนใหญ่ไม่ให้ความสนใจที่จะศึกษาหาความรู้เท่าที่ควร จึงท าให้ขาดโอกาสที่จะได้รับความรู้ที่เปี่ยมล้นด้วยคุณค่าอย่างน่าเสียดาย สโมสรไลออนส์สากลและส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ได้มองเห็นความส าคัญของหนังสือสารานุกรมไทยส าหรับเยาวชนเป็นอย่างดี จึงก าหนดให้มีการแข่งขันตอบปัญหาจากหนังสือสารานุกรมไทยขึ้นเป็นประจ าทุกปี ทั้งนี้ เพ่ือเปิดโอกาสและกระตุ้นให้นักเรียนทุกพ้ืนที่มีความตื่นตัวและมีโอกาสได้ศึกษาหาความรู้จากหนังสือสารานุกรมไทย ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของสโมสรไลออนส์สากลและส านักงาน- คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดังนั้น ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงจัดท าโครงการนี้ขึ้น 2.วัตถุประสงค์ 1.เพ่ือคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับจังหวัด ไปแข่งขันในระดับภูมิภาค 2.เพ่ือให้นักเรียนเห็นความส าคัญและฝึกฝนตนเองในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ สารานุกรมไทย จนเป็นนิสัย 3.เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนทุกพ้ืนที่ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กด้อยโอกาส ได้มีโอกาสเข้าร่วม การแข่งขันฯ ในระดับจังหวัดที่จัดขึ้น 3.เป้าหมาย เชิงปริมาณ

นักเรียนในสังกัด สพป.น่าน เขต 1 , เขต 2 และสังกัดอ่ืน ๆ ในระดับช่วงชั้นที่ 2 (ชั้น ป.4-6)และช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-3) เข้าร่วมแข่งขันในระดับจังหวัด เชิงคุณภาพ

1) นักเรียนในสังกัด สพป.น่าน เขต 1 , เขต 2 และสังกัดอ่ืน ๆ ได้รับความรู้จาก หนังสือสารานุกรมไทยฯ อย่างหลากหลายและสามารถเลือกศึกษาค้นคว้าได้ตามความต้องการและความสนใจ

2) นักเรียนสามารถน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้จริง

Page 61: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๕

4.กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน ผู้รับผิดชอบ 1. ประชาสัมพันธ์/ส่งกติกาการแข่งขันให้ทุก

โรงเรียน มิ.ย.-ก.ค.59 นางวรรณพร สุทธชัย

2. ก าหนดวัน เวลา และสถานที่การแข่งขัน ส.ค.59 3. ประชุมวางแผน/แต่ งตั้ งคณะกรรมการ

ด าเนินการจัดกิจกรรม ส.ค.59

4. จัดแข่งขันในระดับจังหวัด ส.ค.-ก.ย.59 5. สรุป/รายงานผลการด าเนินงานให้หน่วยงาน

ที่เก่ียวข้อง ก.ย.59

6. ส่งทีมที่ชนะเลิศเข้าร่วมแข่งขันในระดับภูมิภาค

ก.ย.59

5.งบประมาณจ านวน 5,000 บาท (ห้าพันบาทถ้วน) ถัวจ่ายทุกรายการ

ที ่

รายการ งบประมาณ รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

1. ค่าบ ารุงสถานที่พร้อมด าเนินการ - 2,000 - 2,000.- 2. ค่าวัสดุ - - 1,500 1,500.- 3. ค่าจัดท าเกียรติบัตร - 1,500 - 1,500.- รวมเป็นเงินทั้งสิ้น - 3,500 1,500 5,000-

6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล -ระดับความส าเร็จของการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์ และด้านภาษา ระดับ 5

-การทดสอบ -แบบทดสอบ

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1นักเรียนได้รับความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และน าไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 7.2เด็กด้อยโอกาสได้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้อย่างทั่วถึง 7.3นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงขึ้น

-------------------------

Page 62: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๖

โครงการ ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า แผนงาน ขยายโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สนองต่อยุทธศาสตร์ที่ 2 เพ่ิมโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ทั่วถึง ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับ

โอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ กลยุทธ์/มาตรการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียนจัดการศึกษาวิชาชีพ ทั้งจัดเองและสร้างความ ร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน เพ่ือเป็นการส่งเสริมการมีงานท าของผู้เรียน โดยเฉพาะ

โรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้สร้างความร่วมมือกับสถาน ประกอบการเพ่ือเป็นช่องทางในการเลือกประกอบอาชีพของผู้เรียน

จุดเน้น นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตามศักยภาพเป็น รายบุคคล ตัวช้ีวัดความส าเร็จ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนได้รับการพัฒนา

ความรู้ ทักษะที่เหมาะสมกับการประกอบอาชีพสุจริตในอนาคต ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นายวันชัย ภูผาคุณ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

2. นายสุรชาติ ภูผาผุย ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ ระยะเวลาด าเนินการ 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559 -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษาข้ันพื้นฐาน ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้จัดท าแผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระยะเร่งด่วน โดยก าหนดให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต้องวางแผนอาชีพในอนาคต แล้วเลือกเรียนวิชาเสริม/เพ่ิมเติม เป็นวิชาชีพเพ่ือเสริมทักษะอาชีพ ซึ่งเป็นการรวมเอาแนวคิดการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท าและการเตรียมคนเข้าสู่โลกของงาน โดยให้นักเรียนได้รับการฝึกทักษะที่สอดคล้องกับตลาดงานหรืออาชีพอนาคต และให้การศึกษาแก่นักเรียนในวิธีและรูปแบบที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งนับว่าเป็นการจัดการศึกษารูปแบบใหม่ที่ต้องการเตรียมนักเรียนให้พร้อมส าหรับชีวิตในวัยท างาน ด้วยทักษะที่จ าเป็นส าหรับ การประกอบอาชีพ ทั้งปัจจุบันและอนาคต และพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการได้รับ การจ้างงาน หรือประกอบอาชีพอิสระด้วยตนเอง ให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรมและสังคมสมัยใหม่ ซึ่งคนยุคใหม่สามารถประกอบอาชีพได้มากกว่าหนึ่งอาชีพ และจะพ่ึงพาเทคโนโลยีเพ่ือใช้ในการท างานมากขึ้น ซึ่งส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ยังไม่มีรูปแบบวิธีการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สนองต่อแผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม เพ่ือการจัดท าข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนารูปแบบ/วิธีการสร้างความร่วมมือในการจัดการศึกษาเสริมทักษะอาชีพระหว่างสถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กร กับโรงเรียน ที่สนองต่อความต้องการทางอาชีพของตลาดแรงงานในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต รวมทั้งจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ส าหรับการประกอบอาชีพ ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จึงจัดให้มีโครงการส่งเสริม การจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท าขึ้น เพ่ือเป็นกลไกส าคัญในการขับเคลื่อนและสนองนโยบายดังกล่าวข้างต้น ให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับการพัฒนาคนเพ่ืออนาคตของประเทศชาติ ตามเจตนารมณ์ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานต่อไป

Page 63: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๗

2. วัตถุประสงค ์ 2.1 เพ่ือศึกษารูปแบบ/วิธีการสร้างความร่วมมือในการจัดการศึกษาเสริมทักษะอาชีพ ระหว่าง สถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กร กับโรงเรียน 2.2 เพ่ือจัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 จ านวน 196 โรงเรียน เชิงคุณภาพ ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 มีแผนการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท าที่มีรูปแบบ/วิธีการสร้างความร่วมมือในการจัดการศึกษาเสริมทักษะอาชีพระหว่างสถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กร กับโรงเรียน ที่สอดคล้องตามความต้องการทางอาชีพของตลาดงานทั้งในปัจจุบันและอนาคต

4. กิจกรรมและการด าเนินงาน

ที ่ กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินงาน

ผู้รับผิดชอบ

1 ประชุมคณะกรรมการด าเนินงานเพ่ือเตรียมความพร้อมในการจัดเสวนาเส้นทางการจัดการศึกษา เพ่ือการมีงานท า

ธันวาคม 2558 1. นายวันชัย ภูผาคุณ 2. นายสุรชาติ ภูผาผุย

2 จัดเสวนาระดมความคิดเห็น เส้นทางการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท าร่วมกับเครือข่ายการพัฒนางานอาชีพและการมีงานท าของจังหวัดน่านเข้าร่วมสนทนา โดยใช้เทคนิคการสนทนากลุ่ม

มกราคม 2559

1. นายวันชัย ภูผาคุณ 2. นายสุรชาติ ภูผาผุย

3 จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า กุมภาพันธ์ 2559

1. นายวันชัย ภูผาคุณ 2. นายสุรชาติ ภูผาผุย

4 นิเทศ ก ากับ ติดตามและประเมินผลการด าเนินงาน จัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า

มีนาคม 2559 และ

สิงหาคม 2559

1. นายวันชัย ภูผาคุณ 2. นายสุรชาติ ภูผาผุย

5 สรุปและรายงานผลการด าเนินงานจัดการศึกษา เพ่ือการมีงานท า

กันยายน 2559 1. นายวันชัย ภูผาคุณ 2. นายสุรชาติ ภูผาผุย

Page 64: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๘

5. งบประมาณ จ านวน 40,000 บาท (ถัวจ่ายทุกรายการ)

ที ่ รายการ งบประมาณ

รวม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ

1 ประชุมคณะกรรมการด าเนินงานเ พ่ือเตรียม ความพร้อมในการจัด เสวนาเส้นทางการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า - ค่ า จ้ า ง เ หม าอาหา รกลา งวั น อ าห าร ว่ า ง และเครื่องดื่ม (20 คน x180 บาท x1 วัน)

3,600

3,600

2 จัดเสวนาระดมความคิดเห็น “เส้นทางการจัดการ ศึกษาเพ่ือการมีงานท าร่วมกับเครือข่ายการพัฒนางานอาชีพและการมีงานท าของจังหวัดน่าน” เข้าร่วมสนทนาโดยใช้เทคนิคการสนทนากลุ่ม - ค่าจ้างเหมาอาหารกลางวัน อาหารว่าง และเครื่องดื่ม (50 คน x180 บาท x 1 วัน) - ค่าจัดท าเอกสารประกอบการประชุม

9,000

800

9,800

3 จัดท าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า - ค่าจ้างเหมาอาหารกลางวัน อาหารว่าง และเครื่องดื่ม(20 คน x180 บาท x 1 วัน) - ค่าจัดท าเอกสารแผนพัฒนา 250 เล่ม ๆ ละ 72 บาท

3,600

18,000

21,600

4 นิเทศ ก ากับ ติดตามและประเมินผลการด าเนินงานจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า - บูรณาการการใช้จ่ายงบประมาณกับโครงการ นิเทศ 100% โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

-

5 สรุปและรายงานผลการด าเนินงานจัดการศึกษา เพ่ือการมีงานท า - ค่าจัดจ้างท าเอกสารรายงาน 50 เล่ม ๆ ละ 100 บาท

5,000

5,000

รวมทั้งสิ้น - 16,200 23,800 40,000

Page 65: & โครงการ การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้นักเรียนในเขตพื้นที่ ...ednan1.go.th/plannan/plan59/y1-2.pdf ·

๗๙

6. การประเมินผล

ตัวบ่งชี้สภาพความส าเร็จ วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้วัด 1. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต 1 ส่งเสริมพัฒนารูปแบบ/วิธีการสร้างความร่วมมือในการจัดการศึกษาเสริมทักษะอาชีพระหว่างสถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กร กับโรงเรียน

1. สัมภาษณ์/สอบถามผู้เกี่ยวข้อง 2. เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศ

1. แบบสอบถาม 2. แบบบันทึกข้อมูล

2. แผนการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท า มีความสอดคล้องกับความต้องการและแนวโน้มทางอาชีพของตลาดงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาแผนฯ ฉบับร่าง

แบบบันทึกผลการพิจารณาปรับปรุงแก้ไขแผนฯ ฉบับร่าง

3. กระบวนการขับเคลื่อนตามแผนการจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานท าของโรงเรียน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรม

นิเทศ ติดตามผลการด าเนินงานของโรงเรียน

เครื่องมือนิเทศติดตาม และประเมินผล

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 ได้ข้อมูลความต้องการตลาดงานของจังหวัด เพ่ือน ามาใช้วางแผนและบริหารจัดการศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน 7.2 ทุกโรงเรียนในสังกัดจัดหลักสูตรสถานศึกษาที่ส่งเสริมทักษะทางอาชีพให้แก่นักเรียนได้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน 7.3 ทุกโรงเรียนในสังกัดจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่อการประกอบอาชีพในอนาคต 7.4 ทุกโรงเรียนในสังกัดบริหารจัดการหลักสูตรได้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและสัมพันธ์กับ แหล่งเรียนรู้

----------------------------