297
บทบาทของเกลือ ที่มีต ่อนิเวศวัฒนธรรมและสุขภาวะ ของชุมชนในลุ ่มน้าสงคราม โดย นางสาวบาเพ็ญ ไชยรักษ์ วิทยานิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา ภาควิชามานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2554 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

2554 - Silpakorn University · About 30 years ago, after underground water wells were drilled by salt industry operators, the saline water was found to produce very high quality salt

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • บทบาทของเกลอื ทีม่ีต่อนิเวศวฒันธรรมและสุขภาวะ ของชุมชนในลุ่มน า้สงคราม

    โดย นางสาวบ าเพญ็ ไชยรักษ์

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิามานุษยวทิยา ภาควชิามานุษยวทิยา

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2554

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศิลปากร

  • บทบาทของเกลอื ทีม่ีต่อนิเวศวฒันธรรมและสุขภาวะ ของชุมชนในลุ่มน า้สงคราม

    โดย นางสาวบ าเพญ็ ไชยรักษ์

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิามานุษยวทิยา ภาควชิามานุษยวทิยา

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2554

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลัยศิลปากร

  • THE ROLE OF SALT ON CULTURAL ECOLOGY AND HEALTH IN THE

    COMMUNITIES OF SONGKRAM RIVER BASIN, NORTHEASTERN THAILAND

    By Miss Bampen Chaiyarak

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Arts Program in Anthropology

    Department of Anthropology Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2011 Copyright of Graduate School, Silpakorn University

  • บณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร อนุมติัใหว้ทิยานิพนธ์เร่ือง “ บทบาทของเกลือ ท่ีมีต่อนิเวศวฒันธรรมและสุขภาวะ ของชุมชนในลุ่มน ้าสงคราม ” เสนอโดย นางสาวบ าเพญ็ ไชยรักษ ์เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวชิามานุษยวทิยา

    ……........................................................... (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศันวงศ)์

    คณบดีบณัฑิตวทิยาลยั วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.มณีวรรณ ผวิน่ิม

    คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยช์นญั วงษว์ภิาค) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (อาจารย ์ดร.กฤษฎา บุญชยั ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.มณีวรรณ ผวิน่ิม) ............/......................../..............

  • 51108202: สาขาวชิามานุษยวทิยา ค าส าคญั: เกลือ/ นิเวศวฒันธรรม/นิเวศวทิยาสุขภาวะ/ลุ่มน ้าสงคราม บ าเพญ็ ไชยรักษ ์: บทบาทของเกลือ ท่ีมีต่อนิเวศวฒันธรรมและสุขภาวะ ของชุมชนในลุ่มน ้าสงคราม. อาจารยท่ี์ปรึกษาวทิยานิพนธ์ : ผศ.ดร.มณีวรรณ ผวิน่ิม. 283 หนา้.

    ลุ่มน ้ าสงครามนั้นมีเกลือเป็นองค์ประกอบในโครงสร้างทางธรณีวิทยาซ่ึงเกิดจากกระบวนการธรณีสัณฐานเม่ือหลายล้านปีมาแล้ว ผูค้นได้พฒันาการผลิตเกลือมายาวนาน เดิมทีชุมชนถือว่าแหล่งเกลือเป็นพื้นท่ีศกัด์ิสิทธิ และเกลือเป็นของส่วนรวม การผลิตเกลือท าภายใต้ระเบียบประเพณีท่ีเคร่งครัด โดยการขดูดินเอียดหรือน าน ้ าเค็มในธรรมชาติมาตม้เป็นเกลือ เพื่อใช้ถนอมอาหาร ในวฒันธรรมปลาแดก หรือวฒันธรรมการบริโภคของคนในภูมิภาคลุ่มน ้าโขง เม่ือประมาณ 30 ปีท่ีผา่นมามีการคน้พบแหล่งน ้าเคม็ใตดิ้นจึงเร่ิมสูบข้ึนมาผลิตเกลือโดยการต้มด้วยฟืน และแกลบ ก่อนพฒันาเป็นการน าน ้ าเค็มข้ึนมาตากในนาเกลือ เพื่อส่งให้ภาค อุตสาหกรรมเคมีท่ีใช้เกลือเป็นวตัถุดิบ ส่งผลให้ทรัพยากรในชุมชนแหล่งผลิตเกลือถูกผนวกเป็นปัจจยัการผลิต อีกทั้งการขยายพื้นท่ีอุตสาหกรรมเกลือไดส่้งผลกระทบต่อความสัมพนัธ์ของคนกบันิเวศวฒันธรรม และสุขภาวะ เกิดความเส่ือมโทรมของสภาพแวดลอ้ม ความไม่มัน่คงในชีวิตและทรัพยสิ์นจากปัญหาดินยุบ บา้นเรือนแตกร้าว เหล่าน้ีสะทอ้นให้เห็นสุขภาพของระบบนิเวศท่ีเค็มจดันั้นไดส่้งผลต่อสุขภาพของมนุษย ์ ในพื้นท่ีนิเวศชุมชนแหล่งผลิตเกลือ พลงัของเทคโนโลยีในการน าทรัพยากรเกลือมาใช้โดยเช่ือมโยงกบัแนวทางการพฒันาเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคลุ่มน ้ าโขงและอาเซียน ไดมี้การน าเสนอเทคโนโลยีการท าเหมืองใตดิ้นเพื่อผลิตเกลือและโพแทช หวงัยึดตลาดเกลือขา้มพรมแดน อีกทั้งเม่ือสังคมกา้วสู่ความเป็นอุตสาหกรรมมากข้ึนก็คาดว่าโพรงเหมืองใตดิ้น หลงัปิดเหมืองแลว้สามารถใชเ้ก็บขยะอุตสาหกรรมไดใ้นระยะยาว ปรากฏการณ์เหล่าน้ีสะทอ้นนโยบายจากศูนยก์ลาง และเศรษฐกิจทุนนิยม ท่ีเช่ือว่าเทคโนโลยีคือกลจกัรท่ีจะดึงเอาพลงัแห่งเกลือและแร่โพแทชใตดิ้นมาสร้างเศรษฐกิจ โดยออกแบบให้พื้นท่ีนิเวศชุมชนทอ้งถ่ินเป็นแหล่งรองรับขยะของเสียจากการผลิตภาคอุตสาหกรรม พลงัของเทคโนโลยีเศรษฐกิจเกลือภายใตน้โยบายเศรษฐกิจขา้งเดียว อยา่งท่ีเป็นอยู ่และมีแนวโนม้จะเป็นไปน้ีนบัเป็นพลงัท่ีขาดความเป็นธรรมและไม่เอ้ือให้ชุมชนในลุ่มน ้ าสงครามเป็นพื้นท่ีนิเวศชุมชนท่ีมีสุขภาวะดี

    ภาควชิามานุษยวทิยา บณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร ลายมือช่ือนกัศึกษา........................................ ปีการศึกษา 2554 ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ........................................

  • 51108202: MAJOR: ANTHROPOLOGY KEY WORDS: SALT/CULTURAL ECOLOGY/ECOLOGICAL HEALTH/SONGKRAM RIVER BASIN BAMPEN CHAIYARAK: THE ROLE OF SALT ON CULTURAL ECOLOGY AND HEALTH IN THE COMMUNITIES OF SONGKRAM RIVER BASIN, NORTHEASTERN THAILAND.THESIS ADVISOR: ASSIST PROF. MANEEWAN PHIWNIM, Ph.D. 283 pp.

    Due to the large amounts of rock salt in the Songkram River basin, the local communities have simply relied on the salt as common property, using it for home consumption and local bartering. Salt is essential for cooking as it is the main food preservative used locally, particularly for the traditional processing of fermented fish (called ‘Pla Daek’), which is a notable local source of protein. In the past, the process of salt production was done in the dry season, when families would stock up salt for home use and for bartering with other goods during the rest of the year. Salt is available from ‘Din laed’ or saline soil commonly found in the region. The production is done by boiling the substance or leaving the saline solution to dry in the sun until it becomes crystallized. In some areas, local people gather salty water from natural sources, and retain the salt after boiling the water. Therefore, locally harvested salt is very important to the economic well-being of the community in this region. About 30 years ago, after underground water wells were drilled by salt industry operators, the saline water was found to produce very high quality salt when boiled. As a result, the salt industry has heavily invested in the area, using this watershed to supply the related chemical industries. The high quality and purity of rock salt are advantageous to the salt industry and is therefore in high demand. The salt-mining entrepreneurs have also found ways to reduce production costs by applying low cost solar evaporation to the salt pans. The marketing of salt has also become more profitable by relying on complicated technology to pump more and more saline water from underground to increase the supplies available for the crystallization process. Most of the land relied upon by villages, including their rice paddies, have become infertile due to the increased salinity. People in the community have instead become involved in salt production as an employee, having to rely on loans and other borrowing arrangements to get salt in advance. Today the increased boiling and sun-drying of salt production have caused devastating impacts to the natural resources and environment, including land subsidence and severe soil as well as water contamination. Ecosystems have been contaminated along the creeks and rivers, while the surrounding watershed has also been severely devastated. Degradation of the natural environment is evidenced by the total failure of rice and other crop harvests, as well as by the serious toll it has taken on local fish stocks. The saline soil and water have caused devastation to the livelihood of the community. Alarmingly, the rapid expansion of the salt industry has had destructive effects on the cultural and ecological health of the local communities. Now that the environment has been destroyed by salinity, it can no longer be relied upon for either agricultural production or harvesting wild foods. The native communities have lost their food insecurity, while their life’s assets are also being lost due to land subsidence and the cracking of their housing structures that have result from the continous vibrations from the salt mining machinery.

    Now, the technique used to develop the underground mining to extract salts is also being applied to mine potash (or potassium, the major ore for chemical fertilizer. Potash mining produces large quantities of by-product salt wastes. The plans to intensify the production of salt have gone hand-in-hand with the hidden objectives of potash mining industry. It now appears that in this area, once the mineral extraction has been exhausted, the industry is planning to develop a hazardous and nuclear waste dump.The high interest in developing potash mining, not only for the potash ore, but also the very large quantity of salt, has advanced for the purposes of exporting to the Mekong region countries and ASEAN. These phenomena reflect the top-down capitalist economic political ideology in Thailand and an apparent willingness to follow policies that increase reliance on mining extraction, while risking communities’ ecological health and well-being in order to accommodate waste from the manufacturing industries. These industrial developments and economic policies end up leading to injustice for the majority of the Thai population, and in the instance researched in this study, have caused devastating impacts on the health and livelihoods of the communities in the Songkram River basin.

    Department of Anthropology Graduate School, Silpakorn University

    Student's signature ........................................ Academic Year 2011

    Thesis Advisor's signature ........................................

  • กติติกรรมประกาศ การเสียสมดุลเกลือในร่างกายอาจยงัผลให้คนผูน้ั้นเสียชีวิตได ้ท านองเดียวกบัในธรรมชาติเกลือมีบทบาทธ ารงไวซ่ึ้งสมดุลในโครงสร้างธรณีวิทยาและระบบนิเวศ ในขณะเดียวกนัก็มีส่วนพฒันาสังคม และวฒันธรรม เม่ือเรากา้วสู่ยุคท่ีเศรษฐกิจคือปัจจยัผลกัดนัการน าเกลือข้ึนมาใช้มากข้ึนมากข้ึนดว้ยเทคโนโลยีท่ีกา้วหนา้ข้ึน แลว้จุดสมดุลของการน าเกลือข้ึนมาใช้ควรจะอยูต่รงไหนคือค าถามท่ีเกิดตลอดเวลาท่ีไดเ้รียนรู้เร่ืองเกลือมา ขอขอบคุณทุกคนท่ีท าใหมี้โอกาสไดรู้้จกัแม่น ้ าสงคราม ไดพ้บเห็นความจริงหลายประการเร่ืองความเค็มและเกลือ ขอขอบคุณกลุ่มนิเวศวฒันธรรมศึกษา ท่ีอนุเคราะห์ขอ้มูลเบ้ืองตน้ และจุดชนวนความคิดต่างๆ ข้ึนมา อีกทั้งความรู้เร่ืองเกลือในแง่มุมต่างๆ ท่ีกลุ่มนิเวศวฒันธรรมศึกษารวบรวมไว ้ตลอดจนความรู้ท่ีมีผูศึ้กษาไวก่้อนหนา้น้ี ขอขอบคุณชาวบา้นในชุมชนแหล่งผลิตเกลือต่างๆ ในภาคอีสานโดยเฉพาะชุมชนแหล่งผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม ท่ีอนุเคราะห์ท่ีพกัพิง น ้าใจกวา้ง ท่ีเปิดโอกาสใหผู้ศึ้กษาไดเ้ห็นไดเ้รียนรู้เร่ืองความเคม็ในหลายๆ ดา้น ทั้งรุ่งเรือง ขมข่ืน ทุกขเ์ศร้า และขดัแยง้ ขอขอบพระคุณ คุณตา คุณยาย คุณพอ่ คุณแม่ แพรวา กอไผ ่ผกับุง้ และทุกคนในครอบครัว ท่ีส่งเสริมก าลงัใจให้ไดศึ้กษาอยา่งอิสระ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณตา ผูอ้อกปากเค่ียวเข็ญให้มาศึกษาในคร้ังน้ี และจากไปก่อนจะทนัไดเ้ห็นงานศึกษาน้ีเสร็จ

    ขอขอบคุณศูนยป์ระสานงานการพฒันาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ส านกังานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ส าหรับขอ้เสนอแนะและโอกาสในการเรียนรู้ท่ีดีถึงความหมายของสุขภาวะทั้งทางทฤษฎี และปฏิบติั ดว้ยกรุณาเสมอมา

    วทิยานิพนธ์ฉบบัน้ีไดรั้บทุนสนบัสนุนจากศูนยป์ระสานงานการพฒันาระบบ และกลไกการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ส านกังานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)

    บ าเพญ็ ไชยรักษ ์ พฤษภาคม 2555

  • สารบัญ

    หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย................................................................................................................. ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ............................................................................................................ จ กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................. ฉ สารบญั.................................................................................................................................. ช สารบญัตาราง ........................................................................................................................ ฏ สารบญัภาพ .......................................................................................................................... ฎ

    บทท่ี

    1 บทน า ....................................................................................................................... 1 ความส าคญัของปัญหา................................................................................ 1 วตัถุประสงคข์องการศึกษา ........................................................................ 10 ประโยชน์ท่ีคาดวา่จะไดรั้บ......................................................................... 11 ขั้นตอนและวธีิการศึกษา............................................................................. 11 ขอบเขตการศึกษา........................................................................................ 15 ขอ้จ ากดัของการศึกษา................................................................................ 15 แนวคิดท่ีใชใ้นการศึกษา............................................................................. 16 วรรณกรรมและงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง............................................................. 28 นิยามศพัทท่ี์ใชใ้นการศึกษา........................................................................ 50 2 พฒันาการการผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม................................................................ 51 ลกัษณะธรณีวทิยาเกลือในลุ่มน ้าสงคราม.................................................... 51 พฒันาการการผลิตเกลือในภาคอีสาน......................................................... 53 พฒันาการการผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม.................................................. 60 การผลิตเกลือในยคุโบราณ............................................................ 60 การผลิตเกลือในยคุเร่ิมก่อตั้งชุมชนถาวรในลุ่มน ้าสงครามตอนล่าง 63 การท าเกลือจากน ้าเกลือใตดิ้นเพื่ออุตสาหกรรม............................ 69 แนวโนม้การท าเกลือในยคุเทคโนโลยทีนัสมยั.............................. 74 3 ความเปล่ียนแปลงของชุมชนแหล่งผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม............................... 85

  • บทท่ี หนา้ นาเกลือบา้นโนนดอกไมแ้ดง....................................................................... 86 ประวติัความเป็นมาของชุมชนบา้นโนนดอกไมแ้ดง..................... 86 นิเวศชุมชนบา้นดอกไมแ้ดง.......................................................... 94 นิเวศชุมชนก่อนการพฒันาอุตสาหกรรมเกลือ................. 96 นิเวศชุมชนหลงัการพฒันาอุตสาหกรรมเกลือ.................. 99 ระบบการคมนาคม......................................................................... 100 อาชีพและการท ามาหากินของชาวโนนดอกไมแ้ดง....................... 101 ความสัมพนัธ์ทางสังคมและชาติพนัธ์ุ........................................... 102 ภาวะเศรษฐกิจชุมชน..................................................................... 107 ความสัมพนัธ์ภายในชุมชน............................................................ 108 ครอบครัวและการขดัเกลาทางสังคม………….............................. 110 ความเช่ือและศาสนา...................................................................... 112 ความเช่ือใน “เอาะนาย” หรือ “ผปีู่ ยา่”.............................. 112 ความเช่ือในพุทธศาสนา................................................... 115 ผกีบัการท านาเกลือ.......................................................... 116 ความเจบ็ป่วยและการรักษาพยาบาล.............................................. 117 การประกอบกิจการเกลือท่ีบา้นโนนดอกไมแ้ดง........................... 118 ประวติัความเป็นมา.......................................................... 118 กรรมวธีิการผลิตเกลือ...................................................... 119 สถานการณ์นาเกลือในชุมชนบา้นโนนดอกไมแ้ดง.......... 124 บ่อหวัแฮด บ่อเกลือโบราณ......................................................................... 135 ประวติัการตั้งถ่ินฐานของชุมชน.................................................... 135 ต านานการคน้พบบ่อเกลือหวัแฮด.................................................. 136 สถานการณ์การผลิตเกลือท่ีบ่อหวัแฮดในปัจจุบนั.......................... 143 กรรมวธีิการผลิตเกลือท่ีบ่อหวัแฮด................................................ 144 การผลิตเกลือแบบตม้เดว้ยแกลบบา้นกุดเรือค า.......................................... 147 ประวติัการตั้งถ่ินฐานของชาวบา้นกุดเรือค า.................................. 147 ความเป็นมาของการประกอบกิจการตม้เกลือบา้นกุดค า................ 148

  • บทท่ี หนา้ ขั้นตอนการตม้ดว้ยเช้ือเพลิงแกลบ................................................ 150 โครงการเหมืองแร่โพแทชสกลนคร............................................................ 153 4 ผลกระทบจากการผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม.......................................................... 156 วกิฤตการณ์ผลกระทบจากนาเกลือท่ีบา้นโนนดอกไมแ้ดง.......................... 157 ผลกระทบจากการผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม............................................ 165 ผลกระทบต่อนิเวศวทิยา................................................................ 165 การแพร่กระจายของดินเคม็............................................. 165 การแพร่กระจายความเคม็สู่แหล่งน ้าธรรมชาติ................. 168 การยบุตวัของแผน่ดิน....................................................... 171 ผลกระทบดา้นสังคมและวฒันธรรม.............................................. 177 ผลกระทบทางเศรษฐกิจ................................................................. 182 ผลกระทบดา้นสุขภาวะ.................................................................. 185 บทเรียนวกิฤตความเคม็จากลุ่มน ้าเสียว.......................................... 188 5 บทวเิคราะห์: ชุมชนในนิเวศแหล่งผลิตเกลือ............................................................ 196 นิเวศชุมชนแหล่งเกลือมิติทางความสัมพนัธ์และการเปล่ียนแปลง.............. 196 นิเวศสุขภาวะในชุมชนแหล่งผลิตเกลือ....................................................... 200 ปัจจยัก าหนดความเปล่ียนแปลงการผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม................. 201 ปัจจยัดา้นนิเวศวทิยา...................................................................... 201 ปัจจยัดา้นเทคโนโลยี..................................................................... 202 ปัจจยัดา้นเศรษฐกิจ........................................................................ 202 ปัจจยัดา้นการเมือง......................................................................... 203 ปัจจยัดา้นสังคม.............................................................................. 203 ปัจจยัดา้นวฒันธรรม....................................................................... 204 บทบาทของเกลือต่อชุมชนลุ่มน ้าสงคราม................................................... 208 บทบาทของเกลือกบันิเวศ.............................................................. 208 บทบาทเกลือกบัวฒันธรรม............................................................ 210 บทบาทเกลือกบัสุขภาพ................................................................. 218 เกลือกบัอนาคตของชุมชนลุ่มน ้าสงคราม.................................................... 220

  • บทท่ี หนา้ 6 บทสรุปและอภิปรายผล............................................................................................ 226 บทสรุป........................................................................................................ 226 บทเรียนจากชุมชนแหล่งผลิตเกลือในลุ่มน ้าสงคราม.................................. 240 ขอ้เสนอแนะต่อปัญหา และอนาคตของชุมชนแหล่งผลิตเกลือ.................. 244 บ่อหวัแฮด: มรดกวฒันธรรมมีชีวติ............................................... 244 ดินยบุ: ภยัพิบติัระเบิดเวลานาเกลือบา้นโนนดอกไมแ้ดง............... 245 เกลือบา้นกุดเรือค า กบัเศรษฐกิจชุมชน......................................... 245 เหมืองแร่โพแทชสกลนครกบัความรู้ท่ียงัขาดหาย......................... 245 ขอ้เสนอแนะส าหรับการศึกษาคร้ังต่อไป.................................................... 246 รายการอา้งอิง......................................................................................................................... 247 ภาคผนวก............................................................................................................................... 263 ภาคผนวก ก แหล่งโบราณคดีเกลือในลุ่มน ้าสงคราม.............................................. 264 ภาคผนวก ข ตวัอยา่งกลอนล าต่อสู้กบัอุตสาหกรรมเกลือในลุ่มน ้าเสียว................. 267 ภาคผนวก ค ตารางผลการเจาะส ารวจแร่โพแทชใน อ าเภอวานรนิวาส ................. 275 ภาคผนวก ง ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ม เร่ืองใหย้ืน่ อาชญาบตัรพื้นท่ีท่ีก าหนดใหเ้ป็นเขตส าหรับด าเนินการส ารวจ การทดลองการวจิยัเก่ียวกบัแร่เป็นกรณีพิเศษ................................ 280 ประวติัผูว้ิจยั........................................................................................................................... 283

  • สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้

    1 ลกัษณะประเด็นการศึกษาและลกัษณะของขอ้มูลท่ีตอ้งการ........................................ 12 2 แผนการด าเนินการศึกษาระยะเวลา 1 ปี....................................................................... 16 3 ลกัษณะการใชป้ระโยชน์ท่ีดินในบา้นโนนดอกไมแ้ดง............................................... 95 4 ปฏิทินการท างานเกษตรกรรมและงานทัว่ไปในชุมชนบา้นโนนดอกไมแ้ดง.............. 103 5 ตารางรายไดร้วมและเฉล่ียต่อครัวเรือนต่อคนต่อปีในบา้นโนนดอกไมแ้ดง............... 109 6 ตารางภาระหน้ีสินของประชาชนในหมู่บา้นโนนดอกไมแ้ดง.................................... 109 7 ปฏิทินการท างานนาเกลือในหมู่บา้นโนนดอกไมแ้ดง................................................ 120 8 รายช่ือผูผ้ลิตเกลือในเขตพื้นท่ีบา้นโนนดอกไมแ้ดง................................................... 128 9 รายช่ือสมาชิกกลุ่มผูผ้ลิตเกลือสินเธาวบ์่อหวัแฮดและก าลงัการผลิต.......................... 147 11 ตารางแสดงราคาเกลือ ณ แหล่งผลิต........................................................................... 184 12 ผลการเจาะส ารวจแร่โพแทชหลุม K-48 วดัโนนวเิวกศรีเมือง จงัหวดัสกลนคร.......... 276 13 ผลการเจาะส ารวจแร่โพแทชหลุม K-55 วดัอมัพวา บา้นกุดจิก จงัหวดัสกลนคร........ 278

  • สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา้ 1 แผนภาพแสดงอตัราการผลิตและใชเ้กลือในประเทศไทย.......................................... 83 2 แผนท่ีสังเขปพื้นท่ีลุ่มน ้าสงคราม............................................................................... 86 3 แผนท่ีลกัษณะภูมิประเทศและท่ีตั้งบา้นโนนดอกไมแ้ดง.......................................... 89 4 แผนท่ีสังเขปแสดงระบบนิเวศชุมชนบา้นโนนดอกไมแ้ดง....................................... 97 5 ลกัษณะนิเวศแบบ “โคก - ทาม”................................................................................. 98 6 ลกัษณะของ “นาบะ” บริเวณอ าเภอบา้นม่วง จงัหวดัสกลนคร................................... 98 7 ลกัษณะของป่าทามริมหว้ยซาง อ าเภอบา้นม่วง จงัหวดัสกลนคร............................... 99 8 การปนเป้ือนน ้าเคม็ท่ีหว้ยบ่อแดง บริเวณท่ีไหลผา่นนาเกลือบา้นโนนดอกไมแ้ดง.... 99 9 ขา้วไร่ท่ีเพิ่งหวา่นบริเวณป่าโคกบา้นโนนดอกไมแ้ดง............................................... 100 10 นาโคกและป่าโคกหวัไร่ปลายนาบา้นโนนดอกไม.้................................................... 100 11 แผนผงัแสดงท่ีตั้งบา้นเรือนภายในชุมชนบา้นโนนดอกไมแ้ดง................................. 101 12 คนงานกวาดเกลือในนาเกลือ..................................................................................... 131 13 คนงานตกัเกลือใส่เข่ง................................................................................................ 131 14 คนงานหาบเข่งเกลือ.................................................................................................. 132 15 คนงานเก็บเกลือในนาเกลือ....................................................................................... 132 16 คนงานขนเกลือเขา้ฉาง.............................................................................................. 132 17 คนงานเก็บและขนเกลือในนาเกลือ........................................................................... 132 18 เคร่ืองจกัรท างานในลานกลองเกลือ.......................................................................... 132 19 เคร่ืองจกัรโกยเกลือข้ึนรถบรรทุก.............................................................................. 132 20 การเตรียมเคร่ืองไหวปู้่ ค าแดง ท่ีเกลือบ่อหวัแฮด....................................................... 136 21 เคร่ืองไหวปู้่ ค าแดง ท่ีเกลือบ่อหวัแฮด....................................................................... 136 22 บ่อหวัแฮด บ่อเกลือกลางบ าน ้าสงคราม.................................................................... 138 23 บ่อสูบน ้าบาดาลเคม็ บริเวณบ่อหวัแฮด..................................................................... 138 24 โรงตม้เกลือบ่อหวัแฮด............................................................................................... 139 25 การตกัเกลือตม้ในกะทะตม้เกลือท่ีบ่อหวัแฮด............................................................ 139 26 แผนผงัแสดงท่ีตั้งโรงตม้เกลือบริเวณบ่อหวัแฮด อ าเภอเซกา จงัหวดับึงกาฬ............ 146 27 สภาพภายนอกบริเวณโรงตม้เกลือดว้ยแกลบ บา้นกุดเรือค า...................................... 150

  • ภาพท่ี หนา้ 28 สภาพภายในโรงตม้เกลือดว้ยแกลบ บา้นกุดเรือค า.................................................... 150

    29 เตาเช้ือเพลิงแกลบส าหรับตม้เกลือ โรงตม้เกลือบา้นกุดเรือค า................................... 152 30 ช่องใส่แกลบส าหรับตม้เกลือ...................................................................................... 152 31 คนงานก าลงัตกัเกลือข้ึนจากกระทะตม้......................................................................... 152 32 เกลือท่ีพร้อมจะบรรจุถุงจ าหน่าย................................................................................ 152 33 คนงานบรรจุเกลือใส่ถุง.............................................................................................. 152 34 เกลือบรรจุถุงพร้อมจ าหน่าย....................................................................................... 152 35 นิเวศนาเกลือรอบบา้นโนนดอกไมแ้ดง...................................................................... 174 36 ตอตน้ยางเหียน บริเวณบะดอกไมแ้ดง ท่ีกลายเป็นนาเกลือในปัจจุบนั...................... 174 37 สภาพการปนเป้ือนเกลือในห้วยบ่อแดง บริเวณไหลผา่นนาเกลือ............................. 174 38 หลุมยบุขนาดใหญ่ ใกลห้มู่บา้นโนนดอกไมแ้ดง...................................................... 175 39 หลุมยบุขนาดใหญ่ในบริเวณนาเกลือทุ่งดอกไมแ้ดง................................................ 175 40 หลุมยบุกวา้งกวา่ 20 เมตร ลึกกวา่ 15 เมตร บริเวณนาเกลือทุ่งดอกไมแ้ดงหลุมยบุลึก กวา่20 x 15 เมตร บริเวณนาเกลือทุ่งดอกไมแ้ดง ...................................................... 175 41 หลุมยบุขนาดใหญ่บริเวณนาเกลือทุ่งดอกไมแ้ดง..................................................... 175 42 แผนภาพแสดงความสัมพนัธ์ของนิเวศ วฒันธรรม และสุขภาวะ.............................. 226

  • 1

    บทที ่1 บทน า

    1.ความส าคัญของปัญหา

    ภาคอีสาน หรือภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นดินแดนในทวีป ห่างไกลจากทะเล มีลกัษณะเป็นพื้นท่ีราบสูงกวา้งใหญ่ท่ีสุดในภูมิภาคลุ่มแม่น ้าโขง

    ภาคอีสานตั้งอยูต่อนกลางของคาบสมุทรอินโดจีนในส่วนท่ีเป็นภาคพื้นทวีป(Mainland Peninsula) บริเวณตอนกลางของภาคมีลกัษณะเป็นแอ่งแบบกระทะหงาย (Syncline) 2 แอ่งใหญ่ คือ แอ่งโคราช (Khorat Basin) และแอ่งสกลนคร (Sakhon Nakhon Basin) โดยท่ีเทือกเขาภูพาน (Phuphan Rang) จะทอดยาวค่อนไปในแนวตะวนัออกเฉียงใต ้- ตะวนัตกเฉียงเหนือ เป็นแนวรูปโคง้พระจนัทร์เส้ียวตั้งแต่จงัหวดัอุบลราชธานีไปทางเหนือของจงัหวดักาฬสินธ์ุ ห่างไปทางใตข้องสกลนครและนครพนม (อภิศกัด์ิ โสมอินทร์, 2525: 1)

    พื้นท่ีราบสูงภาคอีสานมิได้ราบเรียบเสมอกนัเป็นหน้ากลอง แต่มีลกัษณะภูมิประเทศสูงๆ ต ่าๆ แบบโคกสลบัแอ่งน ้ า หรือพื้นท่ีราบลอนลาด (Rolling Plain) พื้นท่ีเนินกลมบา้ง รีบา้ง สลบักบัแอ่งน ้ า คือหนอง บึง ลกัษณะเหล่าน้ีเกิดจากการละลายของเกลือหินใตผ้ิวดินจากการกระท าของน ้ าใตดิ้น ท าให้พื้นท่ียุบตวัลงเป็นแอ่ง และบางแห่งเกิดการอดัตวัของเกลือดนัพื้นดินให้สูงข้ึน และมีภูมิประเทศแบบท่ีราบลุ่มน ้ า (Alluvial Plain) ปรากฏอยูบ่ริเวณท่ีราบลุ่มแม่น ้ าในแอ่งโคราช คือ ท่ีราบลุ่มน ้ าชี และท่ีราบลุ่มน ้ ามูน ส่วนแอ่งสกลนคร คือท่ีราบลุ่มน ้ าสงคราม และทั้งหมดน้ีจะไหลลงสู่แม่น ้าโขง ทางทิศตะวนัออกของภาค (ธาดา สุทธิธรรม, 2544: 31- 32 )

    ลุ่มน ้ าสงคราม ตั้งอยูใ่นแอ่งเหนือ หรือ แอ่งสกลนคร ในเขตจงัหวดัสกลนคร จงัหวดัอุดรธานี จงัหวดับึงกาฬ (เดิมอยูใ่นเขตจงัหวดัหนองคาย) และจงัหวดันครพนม ซ่ึงเป็นพื้นท่ีรับน ้ าจากเทือกเขาภูพานและโคกเนินโดยรอบแลว้ไหลสู่แม่น ้ าโขงท่ีอ าเภอท่าอุเทน จงัหวดันครพนม นอกจากน้ียงัมีหนองหานทะเลสาบน ้ าจืดธรรมชาติขนาดใหญ่เป็นพื้นท่ีรับน ้ าจากเทือกเขาภูพานไหลสู่ล าน ้ าก ่าออกสู่แม่น ้ าโขง ทั้งน้ีเทือกเขาภูพานยงัเป็นตน้ก าเนิดธารน ้ าหลายสายท่ีไหลลงสู่ท่ีราบลุ่มแอ่งสกลนคร ซ่ึงลาดเอียงไปสู่ท่ีราบลุ่มริมฝ่ังแม่น ้าโขง

    สายธารท่ีเป็นตน้น ้าสงครามอยูต่ามแนวเทือกเขาภูพาน และโคกเนินต่างๆ ตามไหล่เขานบัจากภูผาหกั ภูผาเพลิน ภูผาเหล็ก ซ่ึงอยู่ในเขตรอยต่อระหวา่งอ าเภอส่องดาว จงัหวดัสกลนคร

  • 2

    และอ าเภอวงัสามหมอ จงัหวดัอุดรธานี ภูผาท่ีกล่าวมานั้นเป็นแหล่งตน้ธารหลายสายท่ีจะไหลรวมเป็น ‚ล าห้วยสงคราม‛ ล าห้วยท่ีไม่กวา้งนักก่อนจะไหลลงสู่ ‚แม่น ้ าสงคราม‛ สายน ้ าหลักท่ีประกอบดว้ยล าน ้ าสาขาอีกหลายสาย จากภูเขา โคก เนินต่างๆ ท่ีลดหลัน่ลงมาแลว้ไหลผา่นอ าเภอไชยวาน อ าเภอหนองหาน อ าเภอบา้นดุง ในเขตจงัหวดัอุดรธานี อ าเภอบา้นม่วง อ าเภอค าตากลา้ อ าเภออากาศอ านวย จงัหวดัสกลนคร อ าเภอโซ่พิสัย อ าเภอพรเจริญ อ าเภอเซกา จงัหวดับึงกาฬ อ าเภอนาทม อ าเภอศรีสงคราม แล้วไหลไปบรรจบกับแม่น ้ าโขง ท่ีอ าเภอท่าอุเทน จังหวดันครพนม ความยาวล าน ้าประมาณ 420 กิโลเมตร เม่ือหลายล้านปีมาแล้วภาคอีสานเคยเป็นทะเลหรือมีน ้ าทะเลรุกเข้ามาก่อน ต่อมาแผน่ดินอีสานยกตวัข้ึนและน ้าทะเลถดถอยไป จึงกลายเป็นทะเลสาบน ้ าเค็มขนาดใหญ่ เม่ือน ้ าทะเลเร่ิมแห้งมีการตกตะกอนของเกลือและแร่ธาตุต่างๆ ซ่ึงจมลงตกผลึกและแห้งอยู่ก้นทะเลสาบ ประกอบกบัมีการยกตวัของเทือกเขาภูพานท าให้ภาคอีสานกลายเป็นพื้นท่ีท่ีมีลกัษณะธรณีวิทยาเป็นท่ีราบสูงอนัประกอบดว้ยแอ่งเกลือขนาดใหญ่ 2 แอ่ง คือ แอ่งสกลนคร และแอ่งโคราช กินพื้นท่ีเกือบร้อยละ 70 ของพื้นท่ีทั้งภาค จนเวลาผ่านไปเน่ินนาน เกลือจึงถูกปิดทบัดว้ยการสะสมของตะกอนดินและหินจากพื้นทวีป กลายเป็นเกลือหินปริมาณมหาศาลฝังตวัอยูใ่ตพ้ื้นดินทัว่ภาคอีสาน มีปริมาณส ารองกว่า 18 ลา้นลา้นตนั ซ่ึงอยูใ่นระดบัต้ืนและลึกแตกต่างกนัในแต่ละพื้นท่ี มีความหนาของชั้นเกลือเฉล่ียนบัร้อยเมตร (ปกรณ์ สุวานิช, 2546: 14 - 21) สอดคลอ้งกบัความเห็นของ Sattayarak (1985) ท่ีอธิบายวา่บางส่วนของท่ีราบสูงโคราชกลายเป็นทะเล เรียกวา่ ทะเลอีสาน ซ่ึงมีลกัษณะเป็นทะเลต้ืนตั้งอยูด่า้นตะวนัตกของจุลทวีปอินโดจีน น ้ าทะเลรุกเขา้สู่แผน่ดินจนปกคลุมบริเวณเกือบทั้งหมดของท่ีราบสูงโคราช ต่อมาน ้าทะเลจึงเร่ิมถดถอยออกไป ปกรณ์ สุวนิช(2546: 14 - 21) อธิบายวา่แอ่งทั้ง 2 เป็นแอ่งเดียวกนัมาก่อนจะมีน ้ าทะเลไหลเข้ามาในแอ่งต้ืนๆ ท่ีรองรับไว ้ และน ้ าทะเลบางส่วนไหลกลับไม่ได้ ประกอบกับสภาพภูมิอากาศแหง้แลง้ ฝนตกนอ้ยมาก น ้าทะเลแหง้งวดจนเกิดการตกตะกอนของเกลือและแร่โพแทช

    แร่โพแทชท่ีพบมี 2 ชนิดใหญ่ ๆ ไดแ้ก่ แร่คาร์นลัไลต ์(Carnallite) ซ่ึงเป็นแร่โพแทชท่ีมีคุณภาพต ่าเน่ืองจากเป็นแร่

    ท่ีมีส่วนผสมของแมกนีเซียมอยูด่้วยโดยมีส่วนประกอบทางเคมีเป็น KClMgCl6H2O เป็นแร่โพแทชเปอร์เซ็นต์ต ่า คือ มีปริมาณ โพแทสเซียม (K) เพียงร้อยละ 14.07 หรือโพแทสเซียมออกไซด์ (K2O) สูงเพียงร้อยละ 16.95 หรือคิดเป็นโพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) ร้อยละ 26.83 อีกชนิดหน่ึง ไดแ้ก่ แร่ซิลไวต ์(Sylvite) มีส่วนประกอบทางเคมีเป็น KCl เป็นแร่โพแทชท่ีมีความส าคญัมากท่ีสุดหรือดีท่ีสุดในโลก เพราะมีปริมาณของโพแทสเซียม (K) สูงสุดถึงร้อยละ 52.44 หรือโพแทสเซียมออกไซด์ (K2O) สูงถึงร้อยละ 63.17 หรือโพแทสเซียมคลอไรด ์(KCl) ร้อยละ 100 ซ่ึงสูงท่ีสุดในโลกในบรรดาแร่โพแทชดว้ยกนั (ปกรณ์ สุวนิช, 2546: 15-16)

  • 3

    มีชั้นหินปกปิดตอนบนกนัการถูกละลาย แอ่งอีสานจึงกลายเป็นท่ีเก็บกกัแร่ระเหยน ้ าท่ีส าคญั 2 ชนิดคือ แร่เกลือหินและโพแทช มาตั้งแต่เม่ือเกือบ 100 ลา้นปีมาแลว้ ชั้นเกลือหินและโพแทชท่ีทบัถมอยู่ใตดิ้นอีสานน้ีพบใน ‚หมวดหินมหาสารคาม‛ ซ่ึงถูกปกปิดดว้ยชั้นหินทราย หินทรายแป้ง และหินดินดาน ของ ‚หมวดหินภูทอก‛ ท่ีช่วยป้องกนัการถูกละลายดว้ยน ้ าบนผิวดิน ส่วนหินท่ีรองรับโพแทช-เกลือหินอยู่ขา้งล่างจะเป็นหินทรายและหินกรวดมนของ ‚หมวดหินโคกกรวด‛ เกลือหิน คือ เกลือโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ท่ีมนุษยบ์ริโภคทัว่ไป ส่วนแร่โพแทช คือ แร่โพแทสเซียม(K) การส ารวจโพแทชและเกลือหินของกรมทรัพยากรธรณีตั้งแต่ปี 2516 ท่ีเจาะทัว่อีสานทั้งแอ่งเหนือและแอ่งใต ้ประมาณ 200 หลุม และพบเกลือหินเป็นหลกัทัว่ทั้งแอ่ง พบแร่โพแทชชนิดคาร์นลัไลตร์องลงไป กระจายเกือบทั้งแอ่ง (ยกเวน้บริเวณโดมเกลือ) พบแร่โพแทชชนิดซิลไวต์บริเวณท่ีเป็นไหล่โดมเกลือ เม่ือส้ินสุดโครงการส ารวจประมาณปี 2526 รวมระยะเวลาส ารวจ 10 ปี ซ่ึงมีผลการส ารวจสรุปวา่บนท่ีราบสูงโคราชทั้งแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีเกลือหิน 1-3 ชั้น ไดแ้ก่ เกลือชั้นบน เกลือชั้นกลาง เกลือชั้นล่าง มีชั้นดินเหนียวคัน่ระหวา่งชั้นเกลือ พบชั้นแร่โพแทชเกิดข้ึนเหนือเกลือหินชั้นล่างเท่านั้น แร่โพแทชท่ีส าคญั ไดแ้ก่ แร่คาร์นลัไลต ์และแร่ซิลไวต ์ส่วนแร่แมกนีเซียมท่ีส าคญัคือแทคคีไฮไดรต ์โครงสร้างของหมวดหินมหาสารคามมีทั้งท่ีเป็นชั้นและโดมเกลือ ในแอ่งมกัมีเกลือหิน 2-3 ชั้น ในขณะท่ีโดมเกลือมีเกลือหินชั้นเดียว บนโดมเกลือมกัไม่มีแร่โพแทช(ปกรณ์ สุวนิช, 2552: 61-86) โดยสรุปวา่ในหมวดหินมหาสารคาม ในภาคอีสานมีปริมาณส ารองของแร่เกลือหินอยา่งนอ้ยท่ีสุด 18 ลา้นลา้นตนั รองลงมาไดแ้ก่แร่คาร์นลัไลต์มีปริมาณส ารอง 4 แสนลา้นตนั แร่แทคคิไฮไดรต์มีปริมาณส ารอง 2 แสนลา้นตนั แร่ซิลไวต์มีปริมาณส ารอง 7 พนัลา้นตนั(ปกรณ์ สุวนิช, 2552: 96 -107) จากปัจจยัทางธรณีวทิยาอีสานท่ีประกอบดว้ยเกลือ และแร่โพแทชเป็นจ านวนมากอยา่งท่ีกล่าวมาน้ีเป็นส่ิงท่ีมีอิทธิพลและส่งผลต่อลกัษณะทางนิเวศวิทยา สังคม และวฒันธรรมของผูค้นในภูมิภาคน้ีอยา่งส าคญัมาตั้งแต่สมยัโบราณสืบเน่ืองมาจนปัจจุบนั กล่าวคือพื้นท่ีภาคอีสานมีการพฒันาการท าเกลืออยา่งต่อเน่ืองมาตั้งแต่ยุคก่อนประวติัศาสตร์ ก่อนท่ีจะเปล่ียนแปลงมาสู่การผลิตเพื่อการค้าและอุตสาหกรรมยุคใหม่หลังเร่ิมพฒันาอุตสากรรมในสังคม และตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ.2513 หลงัภาวะน ้าท่วมหนกัในภาคกลางท าใหร้าคาเกลือสูงข้ึนเกือบสิบเท่า การท าเกลือเพื่ออุตสาหกรรมโดยใชว้ิธีขุดเจาะน ้ าเกลือใตดิ้นและสูบข้ึนมาตม้และตากเป็นคร้ังแรกในภาคอีสานท่ีบริเวณรอบอ่างเก็บน ้ าหนองบ่อ อ าเภอบรบือ จงัหวดัมหาสารคาม ซ่ึงเป็นพื้นท่ีตน้น ้าเสียว สายน ้าสาขาของแม่น ้ามูน

  • 4

    ไดมี้การตั้งโรงงานเกลือพิมาย ของบริษทั อาซาฮีโซดาไฟ จ ากดั ท่ีจงัหวดันครราชสีมาเม่ือปี พ.ศ.2515 ซ่ึงในปัจจุบนัไดเ้ปล่ียนแปลงมาใชก้รรมวิธีการสูบอดัน ้ าจืดลงไปละลายชั้นเกลือหินใตดิ้น (Solution Mining) และน าเขา้กระบวนการท าให้น ้ าเกลือบริสุทธ์ิ (Purified Unit) จากนั้นผ่านน ้ าเกลือเขา้เคร่ืองตกผลึกเกลือ (Vacuum Evaporator) อบแห้งเป็นเม็ดเกลือพร้อมเติมสารป้องกนัการจบัตวัเป็นกอ้น (เลิศศกัด์ิ ค าคงศกัด์ิ และเบญจรัชต ์เมืองไทย, 2549 : 10-13) ต่อมาราวปี 2520 ไดเ้กิดวิกฤตดินเค็มน ้ าเค็มในลุ่มน ้ าเสียว จนประชาชนออกมาคดัคา้นการท าเกลืออย่างกวา้งขวางและต่อเน่ืองเกือบยีสิ่บปี ก่อนท่ี คณะรัฐมนตรีจะมีมติห้ามการประกอบกิจการเกลือท่ีลุ่มน ้าเสียว หากแต่เป็นผลใหเ้กิดการกระจายตวัของอุตสาหกรรมเกลือไปยงัพื้นท่ีอ่ืน ๆในภาคอีสาน ประกอบกบัเง่ือนไขในการขยายตวัของอุตสาหกรรมของประเทศท่ีใชเ้กลือเป็นวตัถุดิบคือ มีอตัราเฉล่ียประมาณ 1.7 ลา้นตนั/ปี คนไทยประมาณ 63 ลา้นคนในปัจจุบนั บริโภคเกลือประมาณ 27 กิโลกรัมต่อคนต่อปีหรือประมาณ 1.5 – 2 ลา้นตนัต่อปีโดยแบ่งเป็นการบริโภคในครัวเรือนและอุตสาหกรรมอาหาร (รวมถึงอุตสาหกรรมอาหารสัตว์) ประมาณ 7.5 กิโลกรัมต่อคนต่อปี หรือประมาณร้อยละ 28 อีก 19.5 กิโลกรัมต่อคนต่อปี เป็นการบริโภคผ่านกระบวนการอุตสาหกรรม(ประมาณร้อยละ 65) คืออุตสาหกรรมผลิตคอร์อลัคาไลน์ (Chlor-Alkaline) และอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ เช่น ห้องเย็น ฟอกยอ้ม โซดาไฟ ฟอกหนัง ฯลฯ และใช้ในด้านอ่ืนๆ อีกประมาณร้อยละ 7 - 10 ส่วนในสังคมอเมริกนัใชเ้กลือสูงถึง 214 กิโลกรัมต่อคนต่อปี จะเห็นไดว้า่ยิ่งสังคมบริโภคมาก ความตอ้งการใชเ้กลือยิ่งมาก เพราะเกลือหินใตดิ้นในภาคอีสานเป็นเกลือท่ีมีโซเดียมสูงกวา่เกลือทะเล มีความบริสุทธ์ิร้อยละ 90 ข้ึนไป จึงมีความตอ้งการใชใ้นอุตสาหกรรมมากยิง่ข้ึนเร่ือย ๆ (เลิศศกัด์ิ ค าคงศกัด์ิ และเบญจรัชต ์เมืองไทย, 2549: 14 – 15) การผลิตเกลือพื้นท่ีจงัหวดัอุดรธานี จงัหวดัสกลนคร จงัหวดัหนองคาย (ปัจจุบนัคืออยู่ในเขตจงัหวดับึงกาฬ) และจงัหวดันครพนม พบวา่ 3 จงัหวดัในลุ่มน ้ าสงคราม มี 23 หมู่บา้น 10 ต าบลท่ีมีการสูบน ้าเกลือใตดิ้นข้ึนมาผลิตเป็นเกลือสินเธาวแ์ละส่งจ าหน่ายทัว่ประเทศ โดยมีวิธีการผลิตเกลือทั้งแบบตม้ และตาก หรือท านาเกลือ โดยมีทั้งไดรั้บอนุญาตในการประกอบกิจการจากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบบัลงวนัท่ี 9

    เกลือท่ีบริโภคภายในประเทศประกอบดว้ยเกลือสมุทรประมาณ 0.2 - 0.3 ลา้นตนัต่อปี เกลือสินเธาวจ์ากผูผ้ลิตรายยอ่ยในภาคอีสานประมาณ 0.4 - 0.5 ล้านตนัต่อปี และเกลือจากการท าเหมืองละลายแร่เกลือหินของบริษทั เกลือพิมาย จ ากดั ประมาณ 1 ลา้นตนั ต่อปี(เลิศศกัด์ิ ค าคงศกัด์ิ และเบญจรัชต ์เมืองไทย, 2549: 14 )

  • 5

    ตุลาคม 2534 และมีผูป้ระกอบกิจการไม่ได้ขออนุญาตตามกฎหมาย ดงัน้ี (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2548). อา้งถึงใน ส านกังานส่ิงแวดลอ้มภาคท่ี 9, 2549). 1. พื้นท่ีจงัหวดัอุดรธานี มีการประกอบการเกลือสินเธาว์ท่ีกวา้งใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย ในอ าเภอบา้นดุง มีทั้งการท าเกลือแบบตม้และเกลือตาก ในปี 2546 ผลิตเกลือทั้งส้ิน 194,500 ตนั ต่อมาในปี 2548 ผลิต 155,308 ตนั มีผูป้ระกอบการทั้งส้ิน 181 ราย 2. พื้นท่ีจงัหวดัสกลนคร มีการประกอบกิจการเกลือสินเธาวท์ั้งเกลือตม้และเกลือตากในเขตอ าเภอบา้นม่วง และอ าเภอวานรนิวาส มีผูป้ระกอบการตม้เกลือ 38 ราย ผูป้ระกอบการนาเกลือ 18 ราย และเป็นผูป้ระกอบการทั้งการตากและตม้ 2 ราย เงินลงทุน 75,222,000 บาท คนงานรวม 481 คน มีก าลงัการผลิต 60,075 ตนั / ปี นอกจากน้ียงัมีการประกอบกิจการป่นเกลือสินเธาว์ผสมไอโอดีนจ านวน 3 ราย เงินลงทุน 1,850,000 บาท ก าลงัการผลิตเกลือไอโอดีน 1,121 ตนั / ปี และประกอบกิจการเกลือเมด็ 3 ราย ก าลงัการผลิต 2,600 ตนั / ปี การท าเกลือแบบตาก หรือนาเกลือบริเวณบา้นหนองน ้ าใส-บา้นโนนดอกไมแ้ดง และบา้นบ่อแดง ต าบลหนองน ้ าใส อ าเภอสีสวย จงัหวดัสกลนคร ท าเกลือโดยวิธีการตากและต้ม ประกอบดว้ย 2 พื้นท่ียอ่ย รวมพื้นท่ีประมาณกวา่ 3,000 ไร่ อยูร่ะหวา่งบา้นหนองน ้ าใสและบา้นโนนดอกไมแ้ดง เป็นพื้นท่ีผลิตเกลือท่ีใหญ่ท่ีสุดในจงัหวดัสกลนคร แหล่งผลิตเกลือตั้งอยูใ่นพื้นท่ีแหล่งน ้ าธรรมชาติท่ีส าคญั ไดแ้ก่ ล าห้วยบ่อแดง ไหลผา่นพื้นท่ีนาเกลือ บา้นโนนอกไมแ้ดง บา้น หนองน ้าใส และอ่ืน ๆ ก่อนจะไหลลงสู่ล าหว้ยซางท่ีบา้นน ้าจัน่ก่อนไหลลงสู่แม่น ้าสงคราม มีความยาวประมาณ 17 กิโลเมตร ในบริเวณน้ีพบการกระจายของพื้นท่ีท าเกลือในล าหว้ยบ่อแดง ปัญหาส าคญัอีกอยา่งหน่ึงในชุมชนแหล่งผลิตเกลือคือการเกิดหลุมยุบบริเวณบา้นโนนสะแบงซ่ึงมีการขยายตวัเพิ่มข้ึนเร่ือยทั้งจ านวนหลุมหยบุ และขนาดของหลุมยุบบริเวณใกลห้มู่บา้น มีหลุมยุบในบริเวณพื้นท่ีนาเกลือ ไม่นอ้ยกวา่ 10 หลุม และพบวา่มีปัญหาคนัท านบดินบริเวณบา้นโนนสะแบงมีสภาพช ารุดท าให้น ้ าเค็มจากพื้นท่ีนาเกลือซึมแพร่กระจายลงสู่ห้วยบ่อแดง มีปัญหาความขดัแยง้และเกิดการร้องเรียนกรณีผูป้ระกอบการเกลือสินเธาวป์ล่อยน ้ าเสียลงสู่ห้วยบ่อแดง และพบว่ามีการลักลอบท าเกลือนอกฤดูการผลิตซ่ึงปกติจะอนุญาตให้ประกอบการได้ในช่วงตุลาคม-มีนาคม อีกทั้งมีผูป้ระกอบการท่ีไม่ไดรั้บอนุญาตเป็นจ านวนมาก ไม่ไกลจากแหล่งเกลือบา้นหนองน ้ าใส-บา้นโนนดอกไมแ้ดง มีพื้นท่ีท าเกลือแบบตั้งโรงตม้เกลือ บริเวณต าบลกุดเรือค า อ าเภอวานรนิวาส ประกอบดว้ย 2 พื้นท่ียอ่ยประมาณ 840 ไร่

    ช่ือหมู่บา้น ต าบล อ าเภอน้ีเป็นช่ือสมมุติแทนชุมชนแหล่งผลิตเกลือแห่งหน่ึงในจงัหวดัสกลนคร

  • 6

    ส่วนใหญ่ท าเกลือโดยวธีิการตม้ตั้งอยูบ่ริเวณสองขา้งทาง ทางหลวงหมายเลข 2092 ดา้นหลงัติดนาขา้ว มีล าห้วยซางไหลผ่านบริเวณบา้นกุดเรือค า บา้นดอกนอ บา้นจ าปาดง บา้นโคกก่อง บา้นนาดอกไม ้บา้นโพธ์ิศิลา บา้นลือบอง บา้นดงยางจนถึงฝายน ้ าลน้ห้วยซางบา้นโนนสะอาด อ าเภอบา้นม่วง ก่อนบรรจบห้วยบ่อแดง ท่ีบ้านน ้ าจั่นแล้วไหลสู่แม่น ้ าสงคราม มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร มีเตาตม้เกลือ ประมาณ 100 เตา ใชแ้กลบเป็นเช้ือเพลิง มีบ่อสูบน ้ าเกลือทั้งหมด 12 บ่อ ความลึกอยู่ในช่วง 80-100 เมตร นอกจากน้ีก็พบว่ามีท าเกลือตากเล็กน้อยท่ีบา้นจ าปาดง ตั้งอยู่บริเวณสองขา้งทางหลวงสาย 2229 มีล าห้วยซางไหลผา่น สภาพพื้นท่ีเป็นพื้นท่ีลุ่ม ท าทั้งเกลือตากและเกลือตม้รวมทั้งบริเวณพื้นท่ีบา้นดอกนอ ต าบลอินทร์แปลง อ าเภอวานรนิวาส ซ่ึงพบปัญหาการจดัการข้ีเถา้แกลบจากการตม้เกลือ ท่ีกองทิ้งไว ้พื้นท่ีอยูติ่ดกบัพื้นท่ีเกษตรกรรมท าให้ความเค็มแพร่กระจายออกสู่พื้นท่ีเกษตรกรรม บ่อสูบน ้าเกลือบางส่วนอยูห่่างจากถนนสายหลกันอ้ยกวา่ 300 เมตร ซ่ึงไม่ตรงตามหลกัเกณฑใ์นเง่ือนไขใบอนุญาตและผูป้ระกอบการบางรายมีการตม้เกลือนอกฤดูการผลิตและลกัลอบปล่อยน ้าเสียจากลานเกลือลงสู่หว้ยซาง นอกจากน้ียงัพบ การท าเกลือท่ีบริเวณบา้นค าออ้-ดอนแดง ต าบลดงเหนือ อ าเภอบา้นม่วง จงัหวดัมีพื้นท่ีประมาณ 504 ไร่ ท าเกลือตาก เป็นพื้นท่ีลุ่ม บริเวณโดยรอบพื้นท่ีเป็นป่าบุ่ง ป่าทาม ตามแนวแม่น ้ าสงคราม ในฤดูฝนพื้นท่ีบริเวณน้ีจะถูกน ้ าท่วมซ่ึงพบว่าเป็นพื้นท่ีท่ีมีความขดัแยง้มายาวนานนับตั้งแต่เร่ิมมีการท านาเกลือและล่าสุดในเดือนมกราคม 2554 ได้มีการเคล่ือนไหวให ้ยกเลิกและไม่ต่ออายุใบอนุญาตท าเกลือในบริเวณดงักล่าวโดยมีการชุมนุมประทว้งอยา่งต่อเน่ืองท่ีศาลากลางจงัหวดัสกลนคร เพื่อต่อรองใหย้กเลิกการท าเกลืออยา่งถาวร 3.พื้นท่ีจงัหวดับึงกาฬ มีพื้นท่ีผลิตเกลือสินเธาว ์จ านวน 3 พื้นท่ีใหญ่ๆ คือบริเวณบา้นเซิมทุ่ง ต าบลเซิม อ าเภอโพนพิสัย จงัหวดับึงกาฬ มีพื้นท่ีประมาณ 67 ไร่ เป็นพื้นท่ีโล่ง มีห้วยพอกและห้วยยางไหลผ่าน มีการท าเกลือโดยวิธีตม้ ในปี 2549 พบว่า มีเตาตม้เกลืออยู่ 2 จุดใหญ่ๆ ประมาณ 40 เตา บริเวณบา้นค าแวง ต าบลค าแกว้ อ าเภอโซ่พิสัย มีพื้นท่ีประมาณ 51 ไร่ เป็นพื้นท่ีลุ่มห่างจากแม่น ้าสงครามประมาณ 2 กิโลเมตร มีล าน ้ าสาธารณะท่ีอยูใ่กลเ้คียงไดแ้ก่ ล าห้วยเสน่ห์ไหลผ่านพื้นท่ีนาเกลือและไหลลงสู่แม่น ้ าสงคราม เดิมท าเกลือตากปัจจุบนัพื้นท่ีแห่งน้ีไม่ไดรั้บอนุญาตให้ประกอบกิจการจากอุตสาหกรรมจงัหวดัตั้งแต่ปี 2547 เพราะมีผลกระทบต่อปลาในล าน ้าและพื้นท่ีเกษตร บริเวณบา้นท่าสะอาด ต าบลท่าสะอาด อ าเภอเซกา ซ่ึงเป็นบ่อเกลือโบราณท่ีเก่ียวเน่ืองกบัประวติัศาสตร์การขยายตวัของชุมชนในลุ่มน ้ าสงคราม ปัจจุบนักระทรวงอุตสาหกรรมเห็นว่าเป็นการประกอบกิจการเกลือสินเธาวน์อกเขตพื้นท่ีท่ีอนุญาตให้ตั้งโรงงานท าเกลือสินเธาวแ์ละโรง

  • 7

    สูบหรือน าน ้ าเกลือข้ึนมาจากใตดิ้นตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม มีเตาตม้เกลือ จ านวน 13 เตา โดยใช้ฟืนเป็นเช้ือเพลิงตม้เกลือ น ้ าท่ีน ามาตม้เกลือผูป้ระกอบการจะขุดเจาะท าบ่อบาดาล ในบริเวณกน้แม่น ้ าสงครามจ านวน 2 บ่อ ความลึกบ่อละประมาณ 40 เมตร ทั้งน้ีไม่ไดข้ออนุญาตจากอุตสาหกรรมจงัหวดั แต่มีการจ่ายค่าธรรมเนียมรายปีใหก้บัองคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ิน สภาวะในปัจจุบันพบว่าในแต่ละพื้นท่ีแหล่งผลิตเกลือในลุ่มน ้ าสงครามมีความเปล่ียนแปลงสภาพนิเวศวิทยา และวฒันธรรมของชุมชนในพื้นท่ีท าเกลืออย่างมากและต่อเน่ืองมาเป็นเวลานาน ประกอบกบัปัญหาผลกระทบ และความขดัแยง้หลายประเด็นไดแ้ก่ 1. ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ ไดแ้ก่ปัญหาดินทรุดตวั โดยเฉพาะพื้นท่ีบา้นหนองน ้าใส-บา้นโนนดอกไมแ้ดง พบปัญหาการยบุตวัของแผน่ดินมีความรุนแรงมากข้ึนในปี 2547 เป็นเหตุใหร้าษฎรท่ีมีบา้นเรือนตั้งอยูใ่กลก้บับริเวณท่ีมีแผน่ดินทรุดตวัเกิดความหวาดกลวัอนัตราย

    2. ผลกระทบส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ ไดแ้ก่น ้ าเค็มจากนาเกลือซึมหรือไหลทะลกัลงสู่แหล่งน ้าธรรมชาติจนเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของแหล่งประมงน ้ าจืด ท าให้สัตวน์ ้ าและความหลากหลายทางชีวภาพในแหล่งน ้ าธรรมชาติลดลง เน่ืองจากการกระจายน ้ าเค็มลงสู่แหล่งน ้ า ซ่ึงลว้นเป็นล าน ้าสาขาของแม่น ้าสงครามทั้งส้ิน ซ่ึงส่งผลท าใหพ้ื้นท่ีเกษตรกรรมทา้ยน ้าเกิดดินเคม็

    3.ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต ไดแ้ก่ การเกิดความขดัแยง้ในชุมชน ระหวา่งเกษตรกรรมและผูผ้ลิตเกลือสินเธาว ์ปัญหาผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดจากการผลิตเกลือท าให้เกิดการต่อตา้นจากชุมชนท่ีอยูใ