34

การจัดระเบียบทางสังคม

Embed Size (px)

Citation preview

การจัดระเบียบทางสังคมคือ กระบวนการที่ควบคุมให้สมาชิกมีความสัมพันธ์ตามแบบแผน เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย สงบสุข

สิ่งที่ต้องค านึง

2. อายุ1. เพศ 3.เครือญาติ

5.ทรัพย์สิน4.อาชีพ

สาเหตุที่ต้องจัดระเบียบทางสังคม

1. มนุษย์ต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น การแข่งขัน ขัดแย้ง ประนีประนอม ร่วมมือ ฯลฯ

2. มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุด ท าให้เกิดการละเมิดสิทธิของผู้อื่น

ลักษณะการจดัระเบียบทางสังคม

1. ก าหนดกฎระเบียบเพื่อปฎิบัติร่วมกัน

2.ก าหนดสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ

3. การควบคุมสังคม เพื่อ ให้เกิดระเบียบในสังคม

องค์ประกอบการจดัระเบียบสังคม

สถานภาพ

บรรทัดฐาน

บทบาท

ค่านิยม

ต าแหน่ง หน้าที่ของบุคคลที่สังคมก าหนดให้ ซึ่งเกี่ยวข้องและปฎิบัติกับผู้อื่นโดยส่วนรวม ท าให้บุคคลแตกต่างจากผู้อื่น

1. ติดตัวมาแต่เกิด

สังคมก าหนด เช่น วงศ์ญาติ เชื้อชาติ ถิ่นก าเนิด

ธรรมชาติก าหนด เช่น เพศ ผิวพรรณ รูปร่าง

2. ได้ตามความสามารถ

การศึกษา ต าแหน่ง หน้าที่การงาน

อาชีพ สายงาน รายได้ความสามารถเฉพาะตัว

ตัวก าหนดสถานภาพ

1. อ านาจ หน้าที่ ตามกฏหมาย

2. วงศ์ตระกลู เชื้อชาติ ศาสนา

3. ความมั่นคงทางฐานะ อาชีพ รายได้ ความยอมรับ ศรัทรา

ลักษณะของสถานภาพ

1.บุคคลเดียว มีหลายสถานภาพ 2. เป็นลักษณะเฉพาะท าให้เกิดความแตกต่าง ของบุคคล

3. มีการเปลี่ยนแปลงตามอาชีพ ตามความสมัครใจ

ผลที่เกิดจากสถานภาพ

1.ท าให้เกิดสิทธิ หน้าที่ 2.ท าให้เกิดเกียรตยิศ ที่สมาชิกด ารงอยู่

3.ท าให้เกิดการจัดช่วงชั้นทางสังคม

บทบาท คือการแสดงพฤติกรรมตามการเรียนรู้และการถ่ายทอดระหว่างสมาชิกสถานภาพ ท าให้มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

คือ ระเบียบ กฎเกณฑ์หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สังคมยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกปฏิบัติตามสถานการณ์วิถีประชา

กฏศิลธรรม กฎหมาย

1.วิถีประชาหรือวิถีชาวบ้านเป็นแนวทางปฏิบัติที่ท าจนเป็นนิสัยเคยชิน ไม่มีการบังคับ

ประเภทของวิถีประชา

1. สมัยนิยม หรือแฟชั่น ตามความนิยมของกลุ่ม ขึน้อยู่กับระยะเวลา

3. งานพิธี พิธีกรรมที่แสดงความมีหน้ามีตาทางสงัคม

2. ความคลั่งไคล้ หลงใหลในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

4. มารยาททางสังคม แนวปฏิบัติของคนในสังคม

1.ไม่มีการเก็บรวบรวมบันทึกไว้

ข้อสังเกตของวิถีประชา

3. มีการเปลี่ยนแปลงได้ช้า บางครั้งเป็นไม่ได้ตามเป้าหมายของสงัคม

4. สังคมคาดหวงัว่าสมาชิกส่วนใหญ่จะเชื่อฟังปฏิบัติตาม

2. มีการรกัษาไว้เพราะเกิดจากความคุ้นเคย เคยชิน

2. กฏศิลธรรมหรือจารีตประเพณี คือ แนวทางปฏิบัติที่ว่าด้วยสิ่งที่ควรกระท าและไม่ควรกระท า ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับโทษทางสังคม ว่ากล่าว การนินทา ต าหนิ

ลักษณะของกฏศิลธรรม(จารีต)

1. จารีต ควบคุมวิถีการด าเนินชีวิตท าให้เกิดความใกล้ชิดในครอบครัว

2. จารีตเป็นข้อห้าม ถ้าท าถือว่าละเมิด

3. มีการให้อภัย ความรู้สึกชั่ว ดี ผิด ถูก

3. กฎหมาย คือแนวปฏิบัติที่บัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษรที่รัฐก าหนดให้บุคคลท าหรือไม่ท าถ้าฝ่าฝืนต้องได้รับโทษตามก าหนดไว้

ข้อสังเกตของกฏหมาย

1.เป็นข้อบัญญัติที่ใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะถูกยกเลิก

2. มีทั้งแบบลายลักษณะอักษร และไม่เปน็ ลายลักษณะอักษร3. กฎหมายลายลักษณะอักษรสามารถแก้ไข เปลี่ยนแปลงได้มากกว่า4. เป็นหลักในการปกครองทีท่ าให้เกิด ความสงบในสังคม

ค่านิยม

คือสิ่งที่คนสนใจ อยากมีอยากเป็น เป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติ ท าแล้วเกิดความสุข ท าด้วยความสมัครใจ เหมาะกับสถานการณ์

ลักษณะของค่านิยม

1. มีลักษณะถาวรได้ถูกสอนมาแต่เด็กในรูปแบบแน่นอน เช่นความซื่อสัตย์ มีน้ าใจ

2. เป็นความเชื่อของคน มีการเปลี่ยนแปลงได้

ประเภทของค่านิยม

1. ค่านิยมของแต่ละบุคคล

3. ค่านิยมของสังคม (สังคมเมืองและสังคมชนบท)

2. ค่านิยมของกลุ่มคน

ความส าคัญของค่านิยม

1. ก าหนดพฤติกรรมของคนในสังคม

2. เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อสังคมน าไปสู่ ความเสื่อม และความเจริญ

3. เป็นบรรทัดฐานในการเลือกประพฤติตน

ความส าคัญของค่านิยม

4. เกื้อกูลต่อการจัดระเบียบของสังคม ความอาวุโส ขยันอดทน

5. เป็นอุปสรรคต่อการจัดระเบียบทางสังคม ไม่ตรงเวลา

ค่านิยมที่ควรปลูกฝัง

ความอดทน อดกลั้น

ความมีระเบียบวินัย

การประหยัด

ความรับผิดชอบ

ค่านิยมที่ควรปลูกฝัง

ความซื่อสัตย์สุจริต

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

ความขยันขันแข็ง

ความสุภาพเรียบร้อย

ยกย่องผู้ท าความดี

ข้อแตกต่างของค่านิยมกับบรรทัดฐาน

ค่านิยม1. เป็นแบบแผนทั่ว ๆไป ไม่ระบุสถานการณ์

2. เป็นเรื่องของจิตใจ ที่ทุกคนอยากจะท า

3. ไม่มีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า เกิดเอง

4. เป็นแบบแผนที่มีจุดหมายและเป็นเรื่องส่วนตัว

ข้อแตกต่างของค่านิยมกับบรรทัดฐาน

บรรทัดฐาน1. ระบุสถานการณ์แน่นอน

2. เป็นเรื่องของขอ้บังคับทางสังคม

3. เป็นสิ่งที่เลือกปฎิบัติได้ล่วงหน้า ต้องท า

4. เป็นแบบแผนที่ต้องปฏิบัติเท่านั้น และเป็นเรื่องของส่วนรวม

ทดสอบกันหน่อย

ดีไหม?

ใส่โครงสร้างทางสังคมให้ครบ

ข้อทดสอบ

2.จงเปรียบเทียบข้อดี และข้อเสียของกลุ่มปฐมภูมิและกลุ่มทุติยภูมิให้ชัดเจน

3. บรรทัดฐาน หมายถึงอะไร จงบอกองค์ประกอบของบรรทัดฐาน ยกตัวอย่างประกอบให้ชัดเจน

ข้อทดสอบ

5. ตัวก าหนดสถานภาพของคนในสังคมขึ้นอยู่กับสิ่งใด

6. ให้เปรียบเทียบข้อแตกต่างของค่านิยมและบรรทัดฐานให้ชัดเจน

7. ค่านิยม ที่ควรปลูกฝังให้กับสังคมไทย ได้แก่ สิ่งใดบ้าง