4
ตัวอยางโครงงานกับคณิตศาสตร คณิตศาสตรกับโครงงาน โครงงาน งบประมาณ ระยะเวลา เปาหมาย/ วัตถุประสงค วิธีปฏิบัติ/ ดําเนินงาน ชื่อ โครงงาน ประเมินผล ประโยชน ผลที่ไดรับ คํานวณคาใชจาย เลขคณิต มาตราชั่ง,ปริมาตร อัตราสวนในการผสม วิเคราะห อัตราสวน สมการ รอยละ มหาลัยชีวิตแมสะเรียง วิเคราะหตนทุนการผลิต ผลตอบแทน เปรียบเทียบ ชื่อผูจัดทํา สิบโท ศุภพล พันธแกน ชื่อโครงงาน ปุยอินทรียคืนชีวิต นําพาเศรษฐกิจพอเพียง วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาขั้นตอนการผลิตปุยอินทรียชีวภาพ 2. เพื่อศึกษาผลการใชปุยอินทรียชีวภาพของเกษตรกร 3. เพื่อศึกษาและวิเคราะหตนทุนการผลิต ผลตอบแทนในการผลิตปุยอินทรียชีวภาพเพื่อจําหนาย ของกลุมเกษตรกร 4. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการลดใชปุยเคมีเพื่อจะชวยลดตนทุนการผลิต และเปนการฟนฟูสภาพดิน วิธีปฏิบัติ /ดําเนินการ ปุยอินทรียชีวภาพ ขั้นตอนการทําน้ําหมักชีวภาพ ปุยหมัก ปุยอินทรีย ปุยชีวภาพ และอีกหลาย ชื่อ มีการใหคําจํากัดความในทางวิชาการทีคอนขางหลากหลาย ในที่นีปุยอินทรียชีวภาพหมายถึง สารธรรมชาติที่ไดจากกระบวนการหมัก การวิเคราะห การเปรียบเทียบ

ตัวอย่างโครงงานกับคณิต_ศุภพล_

  • Upload
    lifemsr

  • View
    973

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตัวอย่างโครงงานกับคณิต_ศุภพล_

ตัวอยางโครงงานกับคณิตศาสตร  

Company name

คณิตศาสตรกับโครงงาน

โครงงาน

งบประมาณ

ระยะเวลา

เปาหมาย/

วัตถุประสงค

วิธีปฏิบัติ/

ดําเนินงาน

ชื่อ

โครงงาน

ประเมินผล

ประโยชน

ผลท่ีไดรับ

คํานวณคาใชจาย

เลขคณิต

มาตราชั่ง,ปริมาตร

อัตราสวนในการผสม

วิเคราะห

อัตราสวน

สมการ

รอยละ

มหาลัยชีวิตแมสะเรียง

วิเคราะหตนทุนการผลิต

ผลตอบแทน

เปรียบเทียบ

ชื่อผูจัดทํา สิบโท ศุภพล พันธแกน ชื่อโครงงาน ปุยอินทรียคืนชีวิต นําพาเศรษฐกิจพอเพยีง

วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาข้ันตอนการผลิตปุยอินทรียชีวภาพ

2. เพื่อศึกษาผลการใชปุยอินทรียชีวภาพของเกษตรกร 3. เพื่อศึกษาและวิเคราะหตนทุนการผลิต ผลตอบแทนในการผลิตปุยอินทรียชีวภาพเพ่ือจําหนาย

ของกลุมเกษตรกร

4. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการลดใชปุยเคมีเพือ่จะชวยลดตนทุนการผลิต และเปนการฟนฟูสภาพดนิ

วิธีปฏิบัต/ิดําเนินการ ปุยอินทรียชีวภาพ ขั้นตอนการทํานํ้าหมักชีวภาพ

ปุยหมัก ปุยอินทรีย ปุยชีวภาพ และอีกหลาย ๆ ช่ือ มีการใหคําจํากัดความในทางวิชาการท่ีคอนขางหลากหลาย ในท่ีนี ้“ปุยอินทรียชีวภาพ” หมายถึง สารธรรมชาติท่ีไดจากกระบวนการหมัก

การวิเคราะห 

การเปรียบเทียบ

Page 2: ตัวอย่างโครงงานกับคณิต_ศุภพล_

บม วัตถุดิบจากธรรมชาติตาง ๆ ท้ังพืช และสัตวจนสลายตัวสมบูรณเปนฮิวมัส วิตามิน ฮอรโมน และสารธรรมชาติตาง ๆ (ดนิปา) ซ่ึงเปนท้ังอาหารของดิน (ส่ิงมีชีวติในดิน) ตัวเรงการทํางาน (catalize) ของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยอยูในดิน และอาศยัอยูปลายรากของพืช (แบคทีเรีย แอคติโนมัยซิส และเช้ือรา ฯลฯ) ท่ีสามารถสรางธาตุอาหารกวา 93 ชนิดใหแกพชื ภายใตหลักการกสิกรรมธรรมชาติท่ีวา “เล้ียงดิน เพื่อให ดนิเล้ียงพชื” (Feed the soil and let the soil feed the plant) การใหความสําคัญของดินดวยการเคารพบูชาดินเสมือน “แม” ภูมิปญญาดั้งเดิมในการดูแลรักษาดิน ท่ีเรียกวา “พระแมธรณ”ี สังคมไทยไดพัฒนาการผลิตอาหารใหแกดิน หรือปจจุบันเรียกวา ปุย ไวหลายรูปแบบ ดวยเทคโนโลยีท่ีลึกซ้ึงแนบแนนกับธรรมชาติ ประโยชนของปุยอินทรียชีวภาพ

1. เปนอาหารของส่ิงมีชีวิตในดิน เชน แบคทีเรีย เช้ือรา และแอคติโนมัยซิส 2. ใหธาตุอาหาร และกระตุนใหจุลินทรียสรางอาหารกวา 93 ชนิดแกพืช 3. ชวยปรับปรุงคุณสมบัติ และโครงสรางดินใหดีข้ึน 4. ชวยดดูซับ หรือดูดยดึธาตุอาหารไวใหแกพืช 5. ชวยปรับคาความเปนกรด-ดาง (pH) ของดินใหอยูในระดับท่ีเหมาะแกการเจริญเติบโตของพืช 6. ชวยกําจัด และตอตานเช้ือจุลินทรียท่ีกอโรคตาง ๆ 7. ทําใหพชืสามารถสรางพิษไดเอง สามารถตานทานโรค และแมลงไดด ี

สูตรปุยอินทรียชีวภาพชนิดตางๆ

ไดจากประสบการณของเกษตรกร และนักวิชาการเครือขายตาง ๆ ท่ีพัฒนามาจนไดปุยอินทรียชีวภาพท่ีมีคุณภาพ ใหคุณคาทางธาตุอาหารโดยตรงแกพืช และกระตุนใหจุลินทรียในดนิสรางอาหารกวา 93 ชนิดท่ีพืชตองการ ทดแทนการใชปุยเคม ีซ่ึงมีธาตุอาหารเพียง 3 ชนิด (N P K) และไดคุณภาพของผลผลิตท่ีสูงกวา ไดรสชาติท่ีดกีวา และตนทุนท่ีตํ่ากวาการใชปุยเคม ีโดยในปจจุบันพบวามีสูตรการผลิตปุยอินทรียชีวภาพมากกวา 100 สูตร ซ่ึงมีการพัฒนาการผลิตมาชานานแตใชในวงจํากัดไมแพรหลายเหมือนกับปุยเคมี

ปุยหมักอินทรียชีวภาพชนิดนํ้า

เปนสารละลายสีน้ําตาลขนท่ีไดจากากรยอยสลายของพืช หรือเซลลสัตว โดยผานกระบวนการหมักของจุลินทรียท่ีตองการออกซิเจน และไมตองการออกซิเจน ดวยการเติมน้าํตาลทรายแดง หรือกากน้ําตาลใหเปนแหลงพลังงานของจุลินทรียท่ีทําหนาท่ียอยสลาย ซ่ึงมี จุลินทรียในกลุมแบคทีเรีย อาทิเชน Bacillus sp., Lactobacillus sp., Streptococcus sp. กลุมเช้ือรา อาทิเชนAspergillus niger, Pennicillium sp., Rhizopus และกลุมยีสต อาทิเชน Canida sp. ฉะนั้นใหน้ําสกัดอินทรียชีวภาพท่ีผานกระบวนการยอยสลายอยางสมบูรณแลว จึงประกอบดวยจุลินทรียหลากหลายาชนิด และสารประกอบจากเซลลพืช เซลลสัตว ไดแก คารโบไฮ

การวัด

Page 3: ตัวอย่างโครงงานกับคณิต_ศุภพล_

เดตร โปรตีน กรดอะมิโน ธาตุอาหาร เอ็นไซม และฮอรโมนพืช ในปริมาณท่ีแตกตางกัน ข้ึนอยูกับวัตถุดิบท่ีนํามาใชดังเชนสูตรตัวอยางตางๆ ดังตอไปนี ้

1. สูตรหญาผสมขี้ไก

สวนประกอบ 1. หญาสด 50 กิโลกรัม 2. ขี้ไก 5 กิโลกรัม (ควรเลือกไกท่ีไมกินยาปฏิชีวนะ เพราะจะทําใหมีกล่ินเหม็นเนา และเปนอันตรายตอจุลินทรียในดนิ และท่ีปลายรากพืช)

วิธีทํา 1. นําหญาสด 10 กิโลกรัม ใสลงในถังหมักพลาสติกขนาด 200 ลิตร ย่ําใหแนน (จะสูงประมาณ 20 ซม.) 2. โรยข้ีไกหมาด ๆ 1 กิโลกรัม ทับลงบนหญา 3. ทําซํ้าเชนเดิมอีก 4 ช้ัน 4. ปดฝาเก็บไวในท่ีรม 5. บมไวประมาณ 45 วัน ข้ึนไป จะไดปุยน้ําเขมขน คุณภาพด ี

วิธีใช 1. ผสมน้ํา 1:200-500 รดราดดิน 2. ผสมน้ํา 1:300-1,000 ฉีดพนลําตนและใบ

2. สูตรเศษอาหาร

สวนประกอบ 1. เศษอาหารในครัวเรือนทุกชนิดรวมท้ังน้ําแกง น้ําพริก เปลือกผลไม เปลือกหอย เปลือกกุง กางปลา หัวปลา น้ํายาลางจาน เปนตน จํานวน 3 กิโลกรัม 2. น้ําตาลแดง หรือกากน้ําตาล 1 กิโลกรัม 3. น้ําสะอาด 1-10 ลิตร (แลวแตเศษอาหารมีน้ํามากหรือไม) 4. หัวเชื้อจุลินทรียเขมขน 1 ลิตร

วิธีทํา 1. นําเศษอาหาร 3 กก. ใสลงในถังพลาสติก 2. ผสมนํ้ากับน้ําตาลใหเขากัน เปนเนื้อเดยีวกัน 3. เติมหัวเช้ือจุลินทรียเขมขนในน้ํา และน้าํตาล 4. เททับลงในถังท่ีใสเศษอาหารใหท่ัว ๆ

การช่ัง

ปริมาตร

ระยะเวลา

อัตราสวน

การช่ัง/ตวง

Page 4: ตัวอย่างโครงงานกับคณิต_ศุภพล_

5. ปดฝาใหสนิท (ไมใหแสงและอากาศเขาได) 6. บมท้ิงไวประมาณ 90 วัน จะไดปุยน้ําคุณภาพดี กล่ินหอม รสเปร้ียว (pH ประมาณ 3 )

วิธีใช 1. ผสมน้ํา 1:100-400 รดราดโคน 2. ผสมน้ํา 1: 200-1,000 ฉีดพนลําตน และใบ

ระยะเวลา ประมาณ 1-3 เดือน งบประมาณ

1. หญาสด 50 กิโลกรัม 250 บาท 2. ขี้ไก 5 กิโลกรัม 100 บาท 3. ถังพลาสติก 200 ลิตร 100 บาท 4. ถังพลาสติกขนาน 20 ลิตร 50 บาท 5. น้ําตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม 25 บาท 6. หัวเชื้อ 20 บาท รวมเปนเงิน 545 บาท

ประโยชนท่ีไดรับ

1. กลุมเกษตรกรหนัมาสนใจในการผลิตปุยอินทรียชีวภาพข้ึนใชเอง

2. เปนการลดตนทุนในการปลูกยางพาราของเกษตรกร โดยเกษตรกรรูและเขาใจสภาพดนิของตนเอง มีการปรับปรุงบํารุงดิน การผลิตปุยอินทรียจากวัสดเุศษเหลือในทองถ่ิน

3. ลดการใชปุยเคมีในการเพาะปลูก เพื่อจะชวยลดตนทุนการผลิต และเปนการฟนฟูสภาพดิน

การประเมินผล ทฤษฎีและเน้ือหาทางคณิตศาสตร อัตราสวนและรอยละ(Ratio and Percentage)

1.อัตราสวน (Ratio) คือ การเปรียบเทียบของส่ิงหนึ่งตอของอีกส่ิงหนึ่งท่ีมีหนวยอยาง เดยีวกัน เชน a : b อานวา a ตอ b หรือ a/b

อัตราสวน

เลขคณิต

คํานวณคาใชจาย

สมการ

วิเคราะห

เปรียบเทียบ