70
มั รั สิ ร์

สมัยรัตนโกสินทร์

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สมัยรัตนโกสินทร์

การปกครองสมัย

ร ัตนโกสินทร ์

Page 2: สมัยรัตนโกสินทร์

ลักษณะการปกครอง

สมัยร ัตนโกสินทร ์

Page 3: สมัยรัตนโกสินทร์

การปกครองในสมยัรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นการ

ปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จนถงึรัชกาลที่ 5 ได้มีการปฏิรูปการปกครองการบริหารที่สำาคัญของชาติไทยโดยมีมลูเหตุสำาคัญที่ก่อ

ให้เกดิการปกครอง มีดังนี้

Page 4: สมัยรัตนโกสินทร์

มลูเหต ุของการปร ับปร ุงการปกครอง

เนื่องจากในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ัว เหตุการณ์บ้าน

เมืองได้ผนัแปรแตกต่างกว่าเดิมเปน็อนัมาก  ทั้งความเจริญของบ้านเมืองก็เปน็เหตุให้ข้าราชการเพิ่มจำานวนมากขึ้นเป็นลำาดับลักษณะการปกครองที่ใช้มาแต่เดิมนั้นยอ่มพน้ความต้องการตามสมยัสมควรที่จะได้รับการปรับปรุงแก้ไขเสยีใหม่โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ัวได้ทรงมีพระราชดำารัสเก่ียวกับเรื่องนี้ว่า

Page 5: สมัยรัตนโกสินทร์

"..การปกครองบา้นเมืองของเราซึ่งเป็นไปในปจัจุบนันี้  ยงัไม่เปน็วิธกีาร

ปกครองที่จะให้การทั้งปวง เป็นไปโดยสะดวกได้แต่เดิมมาแล้วครั้นเมื่อล่วงมาถึงปจัจุบนับา้นเมืองยิง่เจริญขึ้นกว่าแต่ก่อนหลายเท่าการปกครองอย่างเก่านั้นก็ยิง่ไม่

สมกับความต้อง การของบ้านเมืองหนักขึ้น ทุกทีจึงได้มีความประสงคอ์ันยิง่ใหญ่ ที่จะ

แก้ไขธรรมเนียมการปกครองให้สมกับเวลาที่เป็นการเจริญแก่บา้นเมือง......"

Page 6: สมัยรัตนโกสินทร์

ประกอบด้วยในรัชกาลของ พระองคน์ั้นเปน็ระยะเวลา ทีล่ัทธิ

จักรวรรดินิยม กำาลังแผข่ยายมา ทางตะวันออก ไกล ด้วย

นโยบาย   Colonial agrandisement   ประเทศ

มหาอำานาจตะวันตก เช่น อังกฤษและ ฝรั่งเศสได้ประเทศข้างเคียงรอบ ๆ ไทย

เป็นเมืองขึ้น  และทั้งสองประเทศยัง มุ่งแสวงหาผล ประโยชน์จาก

ประเทศไทยดังเช่นที่ฝรั่งเศสได้ถือโอกาสทีไ่ทยยงัไม่มีระบบการปกครองที่ ดี และรักษาอาณาเขตได้อย่างมี

ประสิทธภิาพ

Page 7: สมัยรัตนโกสินทร์

ได้อ้างวิธกีารสำารวจทางวิชาการซึง่เรียกว่า  "Scientific expedition"  เป็นเครื่องมือโดยอาศัยปญัหาเรื่องชายแดน

เปน็เหตุ กล่าวคอื เมื่อฝรั่งเศสได้ดินแดน ญวน แล้วได้ตั้งเจ้าหน้าที่ของตนออกเดิน

สำารวจพลเมืองและเขตแดนว่ามีอาณาเขต แน่นอนเพียงใด และเนื่องจากเขตแดน

ระหว่างประเทศไทยมิได้กำาหนดไว้อยา่ง แน่นนอนรัดกุม จึงเปน็การงา่ยที่พวก

สำารวจเหล่านั้นจะได้ถือโอกาสผนวกดินแดนของไทยเขา้ไปกับฝ่ายตนมากขึ้น

ทุกที ด้วยเหตุดังกล่าวประเทศไทย  จึง จำาเป็น ต้องปรับปรุงการปกครองบ้านเมือง

ให้เรียบร้อยเพื่อปอ้งกันเหตุดังกล่าว

Page 8: สมัยรัตนโกสินทร์

มูลเหตุอีกประการหนึ่งของการปรับปรุง การปกครองก็คอื พระราชประสงค์ ของ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ัว ในอันที่จะยกเลิกขนบธรรมเนียม ประเพณี

ที่เปน็การกดขีกั่นหรือก่อให้เกิดความอ ยตุิธรรม แก่อาณาประชาราษฎร ซึ่งมี

อยูน่ั้นเสีย   ขนบธรรมเนียมดังกล่าว ได้แก่การมทีาสการใช้จารีตนครบาลในการพิจารณาความพระราชประสงค์

ของพระองคใ์นเรื่องนี้ ปรากฏในพระราชปรารภว่าด้วยเรื่องทาสและเกษียณอายุตอนหนึ่งว่า 

Page 9: สมัยรัตนโกสินทร์

“ ขา้พเจ้ามีความปรารถนาว่าการสิ่งไรซึ่งเป็นการเจริญมีคณุแก่ราษฎรควรจะเป็นไปทีละ

เล็กทลีะน้อยตามกาลเวลา การ สิง่ไร ที่เป็นธรรมเนียมบ้าน

เมืองมาแต่โบราณ แต่ไม่เปน็ ยตุิธรรมก็อยากจะเลิกถอนเสีย

"

Page 10: สมัยรัตนโกสินทร์

นอกจากนี้พระราชประสงคข์องพระบาทสท

เด ็จ พระจ ุลจอมเกล ้เจ ้าอย ูห่ ัวในอ ันที่จะทรง

นำาเอาส ิ่งใหม่ ๆ มาใช้ ใน การปกครอง

ประเทศ เช่น ได ้ทรงจ ัดต ั้งคณะที่ปร ึกษา

ราชการแผ่นด ิน(Councilof

state)ประกอบด้วยเหล ่า สมาชกิต ั้งแต ่ 10 - 20

นาย โดยมีพระมหากษัตร ิยเ์ป ็นประธานสภาและได้ทรงจ ัดต ั้งสภาที่

ปรึกษาในพระองค ์(Privy council)

Page 11: สมัยรัตนโกสินทร์

ประกอบด้วยจำานวนสมาชิกสุดแต่พระ ประสงคซ์ึ่งต่อมาใน ปีร.ศ.113 ได้ทรง

ยกเลิกสภาที่ปรึกษาและจัดตั้งคณะ รัฐมนตรีสภาขึ้นแทน อันประกอบด้วย

เสนาบดีหรือผู้แทน ทรงโปรดเกล้าฯ แต่ง ตั้งอีกไม่น้อยกว่า 12 คน อนึ่งการเริ่มให้มี

การปกครองท้องถ่ินก็เปน็มลูเหตุสำาคัญ กับผู้ที่ประการหนึ่งทีท่ำาให้มีการปรับปรุงการ

ปกครองในรัชสมัยของพระองค์

Page 12: สมัยรัตนโกสินทร์

เนื่องจากในรัชกาลที่ 4 แห่งกรุง รัตนโกสนิทร์ ได้มีฝรั่งชาติตะวันตกหลาย

ชาติ เข้ามาทำาหนังสือสญัญา พระราช ไมตรีกับประเทศไทยหนังสือสญัญา ที่

ทำาขึ้นนั้นได้ยอมให้ฝรั่งมี สทิธสิภาพนอกอาณาเขต คอืยอมให้ฝรั่ง

ตั้งศาลขึ้น เรียกว่า ศาลกงศุลขึ้นพิจารณา ความของคนในบงัคบัของตน ได้อนั

เปน็การไม่ยอมอยูใ่ต้บังคบับญัชาของกฏหมายไทย

Page 13: สมัยรัตนโกสินทร์

ทั้งนี้เนื่องมาจากว่าฝรั่งถือว่ากฏหมายและวิธพีิจารณาความของประเทศไทยยงัไม่มรีะเบยีบแบบแผนดีพอการที่ฝรั่งต่างประเทศมีศาลกงศุลพิจารณาความของ

คนในบังคับของตนนั้น ให้ประเทศไทย มีความยุง่ยากทางการ

ปกครองเกิดขึ้นเสมอ

Page 14: สมัยรัตนโกสินทร์

จึงทรงมี พระราชประสงค์จะปรับปรุง การศาลยตุิธรรม และกฏหมายของ

ประเทศให้เปน็ระเบยีบเรียบร้อยและเป็นที่ เชื่อถือแก่ต่างประเทศ เพือ่ขจัดความยุง่

ยากอันเกิดจากสทิธิสภาพนอกอาณาเขตจึงได้มีการปรับปรุงด้านตุลาการครั้งใหญ่ในรัชสมัยของพระองค์ด้วยนอกจากนี้มีผู้ รู้ คอื วรเดช จันทรศร ได้สรุปถึงปัญหา

ที่สยามประเทศเผชญิอยู่ในขณะนั้นที่เปน็ เงื่อนไขความจำาเป็นที่ก่อให้เกิดการปฏิรูปอยา่งขนานใหญ่รวมทั้งหมด 7

ประการ ได้แก่

Page 15: สมัยรัตนโกสินทร์

1. ปัญหาความล้าหล ังของระบบการบร ิหารราชการแผ่นด ินที่

มรี ูปแบบของการจ ัดท ี่ท ำาให ้เอกภาพของชาติต ั้งอย ูบ่นรากฐานที่ไม ่ม ัน่คงระบบบร ิหารล ้าสม ัยขาดประส ิทธภิาพมีการทำางานที่ซ ำ้าซ ้อนและส ับสนการควบคุมและการรวมอ ำานาจเขา้ส ู่ศ ูนยก์ลางไม ่สามารถ

ทำาได ้ท ำาให ้ความมั่นคงของประเทศอยูใ่นอ ันตรายและย ังเปดิโอกาสให้จ ักรรด ิ์น ิยมตะว ันตก

สามารถเข ้าแทรกแซงได้โดยงา่ย

Page 16: สมัยรัตนโกสินทร์

2. ระบบบริหารการจัดเก็บภาษี อากรและการคลังของประเทศ มิได้เอื้อ

อำานวยต่อการพัฒนาปรับปรุงบา้นเมอืงและเสริมสร้างพระราชอำานาจให้แก่สถาบนัพระมหากษัตริยเ์นื่องจากขาดหน่วยงานกลางทีจ่ะควบคุมดูแลการจัดเก็บรักษาและใชเ้งนิรายได้แผ่นดินได้

อยา่งมีประสทิธภิาพ พระมหากษัตริย์ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมของเจ้าพนักงานขุนนางผู้ดูแลการจัดเก็บภาษี

รัฐ และเจ้าภาษีนายอากร ให้อยู่ในระเบียบกฏเกณฑ์ได้

Page 17: สมัยรัตนโกสินทร์

3. การควบคมุกำาลังคนในระบบไพร่ก่อให้เกิดปญัหาการใช้ไพร่เป็นฐาน

อำานาจทางการเมือง เพื่อล้มล้างพระราช อำานาจของพระมหากษัตริย์ เกิดความไม่

มั่นคงต่อพระราชบัลลังก์ เกิดการขาดเอกภาพในชาติทำาให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศเกิดความล้าหลังไพร่ไม่สามารถ

สะสมทางเศรษฐกิจทั้งนี้ เพราะผลเนื่องมา จากการเกณฑ์แรงงาน นอกจากนี้การฉ้อ

ราษฎร์บงัหลวงของมูลนาย ยังเปน็การ ทำาลายผลประโยชน์ของพระมหากษัตริย์

และเกิดความเสยีหายต่อสยามโดยรวม

Page 18: สมัยรัตนโกสินทร์

4. ปญัหาการมีทาส ก่อให้เกิดการกดขีแ่ละความไม่เป็นธรรมในสงัคมเปน็เครื่องชี้ความป่าเถ่ือนล้าหลังของบ้านเมืองที่มีอยู่ซึง่เปน็อันตรายต่อความมัน่คงของประเทศต่างชาติอาจใชเ้ป็นขอ้อ้างในการเข้ามาแทรกแซงของลัทธลิ่าอาณานิคมที่จะสร้างความศิวิไลซ์และพัฒนาคุณภาพชวีิตให้กับประชาชนในชาติด้อย

พฒันา ในแงเ่ศรษฐกิจระบบทาสของสยามเปน็ระบบใชแ้รงงานที่เปน็อุปสรรคต่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเป็นอุปสรรคต่อการเป็นการพฒันาคณุภาพกำาลังคนในชาติ

Page 19: สมัยรัตนโกสินทร์

5. ระบบทหารของสยามประเทศเปน็ระบบที่ไม ่สามารถป้องก ันผล

ประโยชน์ และเก ียรต ิของชาติไว ้ได ้เปน็ระบบทีย่ ึดถ ือแรงงานของไพร่เป ็นหล ักในการป้องก ันพรราชอาณาจักรทำาให้การควบคุมประชาชนในประเทศถูก

แบง่ออกเป ็นกล ุ่มๆ ท ำาให้สถานภาพของพระมหากษัตร ิยแ์ละเอกภาพของ

ชาติต ั้งอย ู่บนฐานที่ไมม่ ั่นคงทำาให้กองทัพขาดเอกภาพขาดระเบยีบว ิน ัยอย ูใ่นสภาพที่ไม ่พร ้อมรบไม่อ ำานวยให้เก ิดการฝึกห ัดท ี่ด ีและการเร ียกระดมเข ้าประจ ำากองทพัล ่าช ้าท ำาให้ไมท่ราบจำานวนไพร่พลที่แน ่นอน

Page 20: สมัยรัตนโกสินทร์

6. ปัญหาข้อบกพร่องของระบบกฏหมายและการศาลที่ล้าสมยัแตกต่างจากอารยะประเทศไม่เป็นหลักประกันความยตุิธรรมให้กับคนในชาติและชาวต่างชาติบทลงโทษ

รุนแรงทารุณการพจิารณา ล่าช้าคดีคั่งคา้งไม่สามารถรองรับความเจริญทางการค้า

พาณิชยแ์ละสภาพสงัคม ได้มีหน่วยงานในการพจิารณาคดีมากเกินไป เกิดความล่าชา้สงักัดของศาลแยกไปอยูห่ลายกรมเกิดความล่าช้าและไม่ยตุิธรรมระบบการรับ

สนิบนฝังรากลึกมาแต่ ในอดีตปัญหาข้อ บกพร่องต่างๆ ทั้งหมดนี้เปน็เหตุให้สยาม

ถูกกดดันทำาให้เกิดความยากลำาบากในการปกครอง

และเปน็อุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ

Page 21: สมัยรัตนโกสินทร์

7. ปญัหาด้านการศ ึกษาสยามประเทศก่อนปฏิร ูปย ังไม ่มรีะบบการศึกษาสมัยใหม่ไมม่ ีหน ่วยงานที่จะร ับผดิชอบในการจ ัดการศ ึกษา

โดยตรงการศ ึกษาจ ำาก ัดอย ู่เฉพาะราชวงศ ์ข ุนนางชั้นสงูเก ิดความไม่

ยตุ ิธรรม ทำาให้โอกาสการพฒันาคณุภาพชีว ิตของคนสว่นใหญ่ลาง

เล ือน ประเทศขาดคนทีม่ ีค ุณภาพเป ็นอ ุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศขาดพลังท ี่จะชว่ยร ักษาบ้านเมอืงให้อย ูร่อดปลอดภัยอ ีกท ั้งยงัท ำาให้ต ่างชาติดถู ูกสยามประเทศว ่าม ี

ความปา่เถ ื่อน ล ้าหล ัง

Page 22: สมัยรัตนโกสินทร์

การปร ับปร ุงการบร ิหารราชการสว่นกลาง

การปรับปรุงการบริหารราชการในส่วนกลางได้จัดแบ่งหน่วยงานออก

เปน็กระทรวงต่าง ๆ ตามลักษณะ เฉพาะ เพื่อให้การบริหารงานดำาเนิน

ไปอยา่งมีประสทิธภิาพโดยปรับปรุงการจัดระเบียบบริหารราชการสว่น

กลางซึ่งมีมาแต่เดิมนับตั้งแต่การปฏิรูป การปกครองในสมัยกรุงศรีอยธุยา คือ

มหาดไทย กลาโหม เมือง วัง คลัง นาอันได้ใช้เป็นระเบียบปกครอง

ประเทศไทยตลอดมาจนถึงรัชกาลที่ 5

Page 23: สมัยรัตนโกสินทร์

เหตุแห่งการปฏิรูปการ ปกครอง และระเบียบ

ราชการส่วนกลางใน รัชการนี้ ก็เนื่องจาก

องคก์ารแห่งการ บริการส่วนกลาง ซึ่ง

แบง่ออกเป็น 6 สว่นไม่เพียงพอที่จะปฏิบตัิราชการให้ได้ผลดีและ

ความเจริญของประเทศและจำานวนพลเมืองเพิ่มขึน้

ข้าราชการเพิ่มขึ้น แต่องคก์ารแห่งราชการ บริหารสว่นกลางยงัคงมีอยู่เช่นเดิมไมเ่พยีงพอต่อความต้องการ

Page 24: สมัยรัตนโกสินทร์

ด้วยเหตุดังกล่าว จึงได้ทรงตั้งกระทรวงเพิ่มขึน้โดยได้ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศตั้ง

กระทรวงแบบใหม่ และผู้ดำารงตำาแหน่งเสนาบดีกระทรวงต่างๆขึ้นโดยได้จัดสรรให้อำานาจหน้าที่และ

ความรับผิดชอบของแต่ละ กระทรวงให้เป็นสัดส่วน ดังนี้ คือ

Page 25: สมัยรัตนโกสินทร์

1) กระทรวงมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือและเมืองลาวประเทศราช (ในช่วงแรก)แต่ต่อมาได้มีการโอนการบงัคับบัญชาหัวเมืองทั้งหมดที่มีให้อยูใ่นความดูแลของกระทรวงมหาดไทย

Page 26: สมัยรัตนโกสินทร์

2) กระทรวงกลาโหม บังคบับญัชาหัวเมือง ปักษ์ใต้ ฝา่ยตะวันตกตะวันออกและเมือง

มลายปูระเทศราชเมือ่มกีารโอนการบงัคบับญัชาหัวเมอืงไปให้กระทรวงมหาดไทย

แล้วกระทรวง กลาโหมจึงบังคับบญัชาฝา่ยทหารเพียงอยา่งเดียวทั่วพระราชอาณาเขต

Page 27: สมัยรัตนโกสินทร์

3) กระทรวงการต ่างประเทศ (กรมท่า) มีหน้าทีด้่านการ ต่างประเทศ

4) กระทรวงว ัง ว่าการในพระราชวัง5) กระทรวงเม ือง (นครบาล) การโปลิศ

และการบญัชีคน คอื กรมพระสุรัสวดีและรักษาคนโทษ

Page 28: สมัยรัตนโกสินทร์

6) กระทรวงเกษตราธ ิการ ว่าการ เพาะปลูกและการค้า ปา่ไม้ เหมืองแร่

7) กระทรวงพระคลัง ดูแลเรื่องเงิน รายได้ รายจ่ายของ แผ่นดิน

8) กระทรวงย ุต ิธรรม จัดการเรื่องศาล ซึ่งเคยกระจายอยูต่ามกรมต่าง ๆ นำามาไว้

ที่แห่งเดียวกันทั้งแพ่ง อาญา นครบาลอุทธรณ์ทั้งแผ่นดิน

Page 29: สมัยรัตนโกสินทร์

9) กระทรวงย ุทธนาธ ิการ ตรวจตราจัดการในกรมทหารบก

ทหารเรือ10) กระทรวงธรรมการ จัดการ

เก่ียวกับการศึกษา การรักษา พยาบาล และอุปถัมภ์คณะสงฆ์

Page 30: สมัยรัตนโกสินทร์

11) กระทรวงโยธาธ ิการ มีหน้าที่ก่อสร้างทำา

ถนน ขุดคลอง การช่าง การ ไปรษณียโ์ทรเลข

การรถไฟ12) กระทรวงม ุรธาธ ิการ มีหน้าที่รักษาพระ

ราชลัญจกร รักษาพระราชกำาหนดกฏหมายและหนังสอืราชการทั้งปวง

Page 31: สมัยรัตนโกสินทร์

เมื่อได้ประกาศปรับปรุงกระทรวงใหม่เสร็จเรียบร้อยจึงได้ประกาศตั้งเสนาบดีและให้เลิกอัครเสนาบดีทั้ง 2

ตำาแหน่ง คอื สมุหนายกและสมุห กลาโหม กับตำาแหน่งจตุสดมภ์ให้

เสนาบดีทุกตำาแหน่งเสมอกันและรวมกัน เป็นที่ประชุมเสนาบดีสภา หรือเรียกว่า

ลูกขุน ณ ศาลา

Page 32: สมัยรัตนโกสินทร์

ต่อจากนั้นได้ยุบรวมกระทรวงและปรับปรุงใหม่เมื่อ

สิน้รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่

หัว กระทรวงต่าง ๆ ยงัคงมี เหลืออยู่ 10 กระทรวง

Page 33: สมัยรัตนโกสินทร์

10 กระทรวง นันคอื1. กระทรวงมหาดไทย2. กระทรวงกลาโหม3. กระทรวงนครบาล 4. กระทรวงการต่าง ประเทศ5. กระทรวงพระคลัง มหาสมบตัิ6. กระทรวงวัง7. กระทรวงเกษตราธิการ8. กระทรวงยุติธรรม9. กระทรวงโยธาธิการ 10. กระทรวงธรรมการ

Page 34: สมัยรัตนโกสินทร์

ในด้านการทะนุบำารุงบ้านเมือง พระองค์ได้ทรงจัดการบา้นเมืองให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น

เป็นอันมาก อาทิเช่น1. การทหาร ทรงพระราชดำาริเห็น

ว่าการเป็นทหารเป็นของจำาเป็นอยา่งยิง่สำาหรับประเทศชาติเพราะทหารเปน็กำาลัง

สำาคญัในการป้องกันประเทศ จึงได้โปรดให้จัดการทหารตามแบบแผนและฝึกหัดตาม

ยทุธวินัยชาวยโุรป ได้สง่พระราชโอรสออกไปศึกษาวิชาทหารในทวีปยโุรปเพื่อนำาเอา

ความรู้มาใชใ้นบา้นเมืองเรา และจัดการ ทหารบก ทหารเรือขึ้น

Page 35: สมัยรัตนโกสินทร์

2. การตำารวจนครบาล ได้จัดตั้งตำารวจภูธรตามหัวเมืองต่างๆเพื่อตรวจตราปราบปรามโจรผูร้้ายได้ทั่วถึง

Page 36: สมัยรัตนโกสินทร์

3. การคลัง ในการเก็บภาษีอากรได้จัดการวางแบบแผนใหม่เพือ่ป้องกัน

ความรั่วไหลได้เงนิไม่เต็มตามจำานวนที่ควรจะได้โดยปล่อยให้เป็นไปตามอำานาจของบคุคลจึงวางระเบยีบการเก็บ

ภาษีอากรใหม่โดยรัฐบาล เปน็ผู้จัดการเก็บเองโดยตรงแต่นั้นมารายได้ของแผน่ดินก็เพิ่มพูนทวีจำานวนยิง่ขึ้นได้โปรดให้กระทรวงการคลัง

พิมพ์ธนบัตรใช้เพื่อสะดวกแก่การส่งไปมาถึงกันและ

ปลอดภัยขึ้นมากในด้านการบำารุงความสุขของ พลเมอืง

Page 37: สมัยรัตนโกสินทร์

ได้ทรงตั้งคณะกรรมการขึน้คณะหนึ่งเพื่อดูแลจัดการตั้ง

โรงพยาบาลขึน้หลายแห่ง เช่น โรง พยาบาลศิริราช โรงพยาบาลบางรัก

นอกจากนี้ได้สง่แพทยอ์อกเทีย่ว ปลูกฝีปอ้งกันไข้ทรพิษ และบำาบัด

อหิวาตกโรค พ.ศ. 2455 เริ่มสร้าง การประปาขึ้น แต่มาเปดิใช้ใน

รัชกาลที่ 6 (พ.ศ.2475) พ.ศ.2447 โปรดให้ตั้งหอสมุดวชิรญาณขึ้นที่

จังหวัดพระนคร ขึ้นตรงต่อราช บณัฑิตยสภา โดยรวมหอพระ

มณเฑียรธรรมและหอพระพุทธสังคหะเขา้กับหอสมุดวชิรญาณ

Page 38: สมัยรัตนโกสินทร์

4. การคมนาคม ได้ปร ับปร ุง โดยใน พ .ศ . 2434 ทรงจ ัด

สร ้างทางรถไฟ เพื่อให ้ความสะดวกแก่ประชาชนในการไป

คา้ขายและการคมนาคมติดต ่อ โดยเสด็จไปเปดิทางรถไฟ

สายกร ุงเทพฯ -นครราชสมีาและไดท้รงเปดิทางคร ั้งแรก

ในพ .ศ .2439 ระหว ่างกร ุงเทพฯกับอยธุยาทางสายนี้ได ้เปดิใช้ในพ .ศ .2456 และพ .ศ .2424 ได้โปรดจัดการไปรษณียเ์ปน็คร ั้งแรกและโปรดให้ต ั้งเปน็ก

รมขึ้นใน พ .ศ .2426 ต่อมาได้ขยายการไปรษณีย ์โทรเลข

ออกไปตามหัวเม ืองต ่างๆ ทั้งน ี้เพ ื่อให ้ความสะดวกแก่

ประชาชนในการส ่งข ่าวคราวถึงก ัน

Page 39: สมัยรัตนโกสินทร์

5. การศึกษา ได้สง่เสร ิมการศ ึกษาอยา่งกว ้างขวางและแพร่หลายที่สดุเร ิ่มด ้วยการต ั้งโรงเร ียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชว ังสอนหนังสอืให้แก ่พระบรมวงศานุวงศ ์และบ ุตรหลาน

ข้าราชการแล ้วจ ัดขยายไปถึงราษฎร ์โดยจ ัดต ั้งโรงเร ียนที่ว ัดมหรรพาราม

เปน็คร ั้งแรก พ .ศ . 2435 ได้จ ัดต ั้งกระทรวงธรรมการขึ้นและจ ัดการศ ึกษา

ของประเทศ ตั้งโรงเร ียนฝึกหัดคร ูเป ิดการสอนและเพ ิ่มสถานศึกษาแก่

ประชาชนให้กว ้างขวาง พยายามจัดสง่ นักเร ียนไปเร ียนต่างประเทศ เพือ่น ำา

ความร ู้และว ิทยาการอนัท ันสมัยมาเผยแพร่เพ ือ่สร ้างชาติให ้ท ันสมยั

Page 40: สมัยรัตนโกสินทร์

การปร ับปร ุงการบร ิหารราชการส ่วนภูม ิภาค ด้วยเหตุที่มีการรวมการ

บงัคับบัญชาหัวเมืองซึ่งเคยแยก กันอยูใ่น 3 กรม คอื มหาดไทย กลาโหม และกรมท่าให้มารวม

กันอยูใ่นกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเดียว การปฏิรูปหน่วย

ราชการบริหารสว่นภูมิภาคจึงมี สภาพและฐานะเป็นตัวแทน

(field) หรือหน่วยงานประจำา ท้องที่ของกระทรวงมหาดไทย

หรือรัฐบาลกลาง

Page 41: สมัยรัตนโกสินทร์

โดยสว่นรวมทั้งน ี้ได ้ม ีการเปล ี่ยนแป ลงล ักษระการปกครองแบบเมอืงหลวง

เม ืองชั้นใน เมอืงชั้นนอก เม ืองพระยา มหานครและเม ืองประเทศราชเด ิม

เพ ือ่ให ้ล ักษณะการปกครองเปล ี่ยนแปลงแบบราชอาณาจักรโดยการจ ัดระเบยีบการปกครองให้ม ีล ักษณะลดหลั่นตามระดบัสายการบงัคบับญัชาหน่วยเหนือลงไปจนถึง

หน่วยงานชัน้รอง ตามล ำาด ับด ังน ี้

Page 42: สมัยรัตนโกสินทร์

1. การจ ัดร ูปการปกครองมณฑล

เทศาภิบาล โดยการ รวมหัวเมืองต่าง ๆ เปน็

มณฑลตามสภาพภูมิประเทศและความ

สะดวกแก่การปกครอง มีสมุหเทศาภิบาลซึ่ง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวฯ ทรงเลือกสรรจาก ผูท้รง คณุวุฒิที่มีความ

สามรถสงูและเป็นที่วางพระราชหฤทัยแต่งตั้งให้ไปบริหารราชการต่างพระเนตรพระกรรณ

Page 43: สมัยรัตนโกสินทร์

2. การจ ัดร ูปการปกครองเม ือง มีการปกครองใช้ข้อบังคบัลักษณะการปกครองท้องที่ซึง่มีบทบญัญัติเก่ียวกับการจัดหน่วยบริหารที่ชือ่ว่า "เมือง" ใหม่โดยให้รวมท้องที่หลายอำาเภอเปน็หัวเมืองหนึ่งและกำาหนดให้มี

พนักงานปกครองเมืองแต่ละเมือง ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้บงัคับบญัชาเมือง และมี

คณะกรรมการเมือง 2 คณะ คอื กรมการในทำาเนียบและกรมการนอกทำาเนียบเป็นผู้ชว่ยเหลือและให้คำาแนะนำาพระมหากษัตริยท์รงเลือกสรรและโยกย้ายผู้ว่าราชการเมือง

Page 44: สมัยรัตนโกสินทร์

3. การจ ัดการปกครองอ ำาเภอ อำาเภอเปน็หน่วยบริหารราชการระดับถัดจากเมืองเปน็หน่วยปฏิบตัิราชการหน่วยสดุท้ายของรัฐทีจ่ะเป็นผู้บริการ

ราชการในทอ้งที่ และให้บริการแก่ประชาชนตามนโยบายของรัฐบาล

กลาง เปน็หน่วยการปกครองที่จัดตั้งขึ้นโดยการรวมท้องที่หลายตำาบลเข้า

ด้วยกัน มีกรมการอำาเภอซึ่งประกอบ ด้วยนายอำาเภอปลัดอำาเภอ และสมุห

บญัชีอำาเภอร่วมกันรับผิดชอบใน ราชการของอำาเภอ โดยนายอำาเภอ

เป็นหัวหน้า ทัง้นี้ การแต่งตั้งโยกยา้ยนายอำาเภอ  เป็นอำานาจของข้าหลวง

เทศาภิบาลสำาหรับตำาแหน่งลำาดับรอง  ๆ ลงไปซึ่งได้แก่ ปลัดอำาเภอ สมุห์

บัญชอีำาเภอ และเสมียนพนักงาน

Page 45: สมัยรัตนโกสินทร์

ผูว้่าราชการเมืองมีอำานาจแต่งตั้งโยกยา้ยหากท้องที่อำาเภอใดกว้างขวางยากแก่การที่กรมการอำาเภอจะไปตรวจตราให้ทั่วถึงได้และทอ้งที่นั้นยงัมผีู้คนไม่

มากพอที่จะยกฐานะเปน็อำาเภอหรือกรณีที่ท้องที่ของอำาเภอมีชมุชนที่อยูห่่างไกลที่ว่าการอำาเภอก็ให้

แบง่ท้องที่ออกเป็น ก่ิงอำาเภอ เพือ่ให้มีพนักงานปกครองดูแลได้แต่ก่ิงอำาเภอยงัคงเปน็ส่วนหนึ่งของอำาเภอและอยูใ่น

กำากับดูแลของกรมการอำาเภอ

Page 46: สมัยรัตนโกสินทร์

4. การจ ัดร ูปการปกครองต ำาบลหมู่บา้น อำาเภอแต่ละอำาเภอมีการแบง่ซอยพื้นที่ออกเปน็หลายตำาบลและตำาบลก็ยงัซอยพื้นที่ออก

เปน็หมู่บ้าน ซึ่งเปน็หน่วยการปกครองสดุท้ายที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สดุการปกครองระดับนี้มุ่งหมายที่จะให้ราษฎรใน

พื้นที่ เลือกสรรบุคคลขึ้นทำาหน้าที่เปน็ธุระในการรักษาความสงบเรียบร้อยโดยเปน็ทั้ง

ตัวแทนประชาชนในพื้นที่ปฏิบตัิงาน เปน็สือ่ เชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับประชาชน คือเปน็

ผู้ประสานงานช่วยเหลืออำาเภอ และเป็นตัวแทนของรัฐสอดสอ่งดูแลทุกขส์ุขของ

ราษฎร์ ตลอดจนช่วยเก็บภาษีอากรบางอยา่งให้รัฐ

Page 47: สมัยรัตนโกสินทร์

การปร ับปร ุงการบร ิหารราชการสว่นท้องถ ิ่น การปฏิรูปการจัดระเบียบการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มต้นจากการปฏิรูปการปกครองในส่วนกลางก่อนจากนั้นจึงปรับปรุงการ

ปกครองสว่นภูมิภาคภายใต้ระบบเทศาภิบาลโดยเริ่มดำาเนินการจัดตั้งมณฑล

เทศาภิบาลตามแบบแผนใหม่  3   มณฑลแรก   ( มณฑล

พิษณุโลกปราจีนบรุี มณฑล นครราชสีมา)

Page 48: สมัยรัตนโกสินทร์

ในปี พ.ศ.2437 และได้ใชเ้วลารวม 13 ปี จึงจัดระบบ การปกครองแบบเทศาภิบาล

ได้ทั่วประเทศในปี พ.ศ.2450 ในระหว่างที่ดำาเนินการปรับปรุงการปกครองส่วนภูมภิาคดังกล่าวพระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกล้า ฯ  ทรงริเริ่มแนวคิดเก่ียวกับการมีสว่นร่วมในการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถ่ินจากต่างประเทศมาดำาเนินการโดยริเริ่มทดลองให้มีการจัดการสุขาภิบาลกรุงเทพฯและการ

สขุาภิบาลหัวเมือง รายละเอียดดังนี้

Page 49: สมัยรัตนโกสินทร์

1.)การจ ัดการสขุาภ ิบาลกร ุงเทพฯพระบาทสมเด ็จพระจ ุลจอมเกล ้าเจ ้าอย ู่ห ัวได ้ทรงเร ิ่มให ้จ ัดการบ ำาร ุงทอ้งถ ิ่น

แบบสขุาภ ิบาล  ขึ้นในกร ุงเทพ อันเปน็อ ิทธ ิพลสบืเน ื่องมาจากการที่พระบาทสมเด ็จพระเจ ้าอย ูห่ ัว  ทรงมีโอกาสไปดู

กิจการต ่าง ๆในยโุรป และเน ื่องจากเจ ้าพระยาอภัยราชา(โรล ังยคัมนิส ์) ติเต ียนว ่ากร ุงเทพฯสกปรกที่ร ักษา

ราชการทั่วไปของประเทศในขณะนั้นได ้กราบทูลก ับพระบาทสมเดจ็พระ

จ ุลจอมเกล ้าเจ ้าอย ูห่ ัว    ว ่าชาวต ่างประเทศมักต ิเต ียนว ่ากร ุงเทพฯสกปรกไมม่ ีถนนหนทางสมควรแก่ฐานะเป ็น

เม ืองหลวงพระองค ์   จึงโปรดเกล ้าให้ จัดส ุขาภ ิบาลกร ุงเทพฯ ขึ้น

Page 50: สมัยรัตนโกสินทร์

โดยมีพระราชกำาหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ  ร.ศ.116  ออกใช้บงัคับการจัด  การดำาเนินงานเปน็หน้าที่ของกรมสขุาภิบาล  การบริหารกิจการในท้องทีข่องสขุาภิบาลพระรากำาหนดได้กำาหนดให้มกีาร

ประชุมปรึกษากันเปน็คราว ๆ

Page 51: สมัยรัตนโกสินทร์

หน้าที่ของสุขาภิบาลกรุงเทพฯ มีดังนี้1. หน้าที่ในการทำาลายขยะมูลฝอย2. หน้าที่ในการจัดให้มีสว้มสำาหรับมหาชนทั่วไป3. หน้าที่ในการควบคมุอาคาร สิง่ปลูกสร้าง4. หน้าที่ในการยา้ยสิง่โสโครกและสิง่ก่อความรำาคาญแก่ประชาชน

Page 52: สมัยรัตนโกสินทร์

2.) การจัดการสขุาภิบาลหัวเมืองเนื่องจากการจัดการสุขาภิบาลขึ้นที่

ตำาบลทา่ฉลอม จังหวัดสมทุรสาครได้รับความสำาเร็จเป็นอยา่งดี

เป็นประโชน์ต่อท้องถ่ินเปน็อันมากทั้งยงัได้รับความนิยมจากประชาชน

ด้วยจึงทรงมพีระราชดำาริเห็นสมควรที่จะขยายกิจการสขุาภิบาล

ให้แพร่หลายไปยงัท้องถ่ินต่าง ๆ  แต่ทรงเห็นว่าท้องที่ที่จะจัดให้มี

สขุาภิบาลตามหัวเมืองต่างๆ ยอ่มแตกต่างกันไม่เหมาะที่จะใช้ระเบยีบสขุาภิบาลแบบเดียวกัน  โปรดเกล้า

ให้จัดสุขาภิบาล จึงได้ตามหัวเมือง

Page 53: สมัยรัตนโกสินทร์

ร.ศ.127 ขึ้นพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคบัทั่วราชอาณาจักรเมื่อสมควรจะจัดการสุขาภิบาลขึ้นในท้องที่ใดก็จะได้ประกาศ

จัดการสุขาภิบาลท้องที่นั้น และใช้พระราช บัญญัติจัดการสขุาภิบาลตามทีห่ัวเมือง

ร.ศ.127 บงัคบัต่อมากระทรวงมหาดไทยได้รับหน้าที่ในด้านการอนามัยและการศึกษาขั้นต้นของราษฎร จึงได้คดิแยกเปน็ "กรมการตำาบล" แต่เพื่อให้ข้าหลวง เทศาภิบาลทดลองนำาไปจัดปรากฏว่าผลดีเฉพาะในการศึกษาของราษฎรจึงได้แก้ไขประราชบญัญัติดังกล่าวได้แบง่สขุาภิบาลออกเปน็ 2 ชนิดคือ

สุขาภิบาลเมืองและสขุา ภิบาลตำาบล

Page 54: สมัยรัตนโกสินทร์

สขุาภิบาลแต่ละชนิดมีหน้าที่1. รักษาความสะอาดในท้องที่2. การป้องกันและรักษาความเจ็บไข้ในท้องที่3. การบำารุงและรักษาทางไปมาในท้องที่4. การศึกษาขึ้นต้นของราษฎร

Page 55: สมัยรัตนโกสินทร์

พระราชบญัญัติทั้งสองฉบบัได้ใชอยูจ่นกระทั่งหมดสมัยที่สมเด็จกรมพระยาดำารง

ราชานุภาพทรงดำารงตำาแหน่งของ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย รัชสมัยของ

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว    พระองคไ์ม่มีนโยบายสง่เสริมการกระจายอำานาจการปกครองของประเทศ

และสุขาภิบาลเริ่มประสบปญัหาต่างๆ จึงทำาให้การทำางานของสุขาภิบาลหยดุ

ชะงักและเฉื่อยลงตามลำาดับ จวบจนถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน

ปพี.ศ.2475  

Page 56: สมัยรัตนโกสินทร์

คณะราษฎรมุ่งหวังที่จะสถาปนาระบอบการปกครองแบบประชาธปิไตยขึ้นในประเทศไทย จึงตราพระราชบญัญัติการ

จัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 เพื่อส่งเสริมให้มีการปกครองท้องถ่ินรูปแบบ

เทศบาลอยา่ง กว้างขวาง

Page 57: สมัยรัตนโกสินทร์

การปกครองระบอบประชาธปิไตย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ัวรัชการที่7 แห่งราชวงศ์จักรีทรงมีพระราชประสงคท์ี่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นหลักในการปกครองประเทศให้แก่

ประชาชนชาวไทย หลังจากเสด็จประพาสสหรัฐอเมริกาแล้ว ได้ทรงมีพระราชดำาริ

หารือที่ปรึกษาเก่ียวกับการที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญให้แก่ปวงชนชาว

ไทย และที่ปรึกษาได้เสนอความเห็นว่าการปกครองในระบอบประชาธปิไตยนั้นควรจัดให้มีการศึกษาเพือ่สง่เสริมความเข้าใจเรื่อง

ดังกล่าวแก่ประชาชน โดยเฉพาะการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร  

Page 58: สมัยรัตนโกสินทร์

มิฉะนั้นผลที่ได้จากการพระราชทานรัฐธรรมนูญก็จะไม่เปน็ไปตามพระราช

ปณิธานทีต่ั้งไว้แต่เดิมการปฏิวัติเมือ่วันที่24 มถุินายน2475ทำาให้การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธริาชสิน้สุดลงในระยะ2-3 วันแรก  คณะผู้รักษาการพระนครฝ่ายทหารซึ่งประกอบด้วยพนั

เอกพระยาพหลพลพยหุเสนา พนัเอก พระยาทรงสรุเดช และพนัเอกพระยาฤ

ทธอิาคเนย์ เปน็ผู้บริหารประเทศเมือ่วันที่27 มิถุนายน 2475  ได้มีการประกาศ

ใชร้ัฐธรรมนูญชั่วคราว

Page 59: สมัยรัตนโกสินทร์

รัฐธรรมนูญชั่วคราวเรียกว่า  "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว" สาระสำาคญัของธรรมนูญการปกครองฉบบันี้ได้แก่การที่กำาหนดว่าอำานาจสูงสดุใน

การปกครองประเทศ หรืออำานาจอธปิไตยเปน็ของราษฎรทั้งหลายไม่ใช่เป็นของพระมหากษัตริยแ์ต่พระองค์เดียว   การใช้อำานาจสงูสดุก็ให้มีบคุคลคณะบุคคลเปน็ผู้ใช้อำานาจแทน

ราษฎร ดังนี้  คอื1. พระมหากษัตริย์2. สภาผู้แทนราษฎร3. คณะกรรมการราษฎร4. ศาล

Page 60: สมัยรัตนโกสินทร์

อำานาจนิติบญัญัติร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรอำานาจบริการร่วมกับคณะกรรมการราษฎร

และทรงใช้อำานาจตุลาการทางศาล ระบอบการปกครองตามแบบกฏหมายฉบบันี้คล้าย

กับระบบปกครองโดยรัฐสภา ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรมีอำานาจแต่งตั้งคณะกรรมการ

ราษฎรที่จะจะควบคุมการบริหารซึ่งคณะ กรรมการราษฎรเปน็ผู้ใช้ และมีอำานาจที่จะ

ถอนกรรมการราษฎรออกจากตำาแหน่งได้ ตามรัฐธรรมนูญนี้สถาบนัทางการเมือง คอื

พระมหากษัตริย์ สภาผู้แทนราษฎร และคณะกรรมการราษฎร

Page 61: สมัยรัตนโกสินทร์

สภาพทางเศรษฐกิจและสงัคมสมัยร ัตนโกสนิทร ์

สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในสมัยแรกตั้งกรุงรัตนโกสนิทร์ยงั

คงอยูใ่นรูปแบบของเศรษฐกิจพอยงัชีพกล่าวคอืยงัไม่มีการแบง่งานกันทำาแต่ละ

ครอบครัวต้องผลิตของที่จำาเป็นทุกอยา่งขึ้นมาใชเ้อง   ที่ดินก็ยงัว่างเปล่าอยูม่าก   ใน

ขณะที่แรง งานเพื่อ ประกอบการผลิตยังมีอยูน่้อย เพราะสภาพสงัคมขณะนั้นแรงงาน

คนสว่นใหญ่ต้องอุทิศให้กับ การเขา้เวรรับราชการและรับใช้มลูนายเวลาที่เหลือเพียงส่วนน้อยจึงเป็นเรื่องของการทำามาหาเลี้ยง

ชีพและครอบครัว ผลผลิตที่ได้ส่วนหนึ่งจึงเป็นไปตามความต้องการของครัวเรือนและอีกส่วนหนึ่งสง่เปน็สว่ยให้กับทางราชการ

Page 62: สมัยรัตนโกสินทร์

การคา้ภายในประเทศจึงมีน้อยเพราะว่าทรัพยากรมีจำากัด   และความต้องการของแต่ละท้องถ่ินไม่แตกต่างกันการคมนาคมไม่สะดวกจวบจนถึงสมัย

รัชกาลที่ 3  การคา้ภายในประเทศจึงเริ่มขยายตัวเพราะชาวจีนเข้ามามี

บทบาททางการคา้โดยทำาหน้าที่เปน็พอ่ค้าคนกลาง  นำาสง่สินคา้เข้า- ออก ตาม

ท้อง ถ่ินต่าง ๆในส่วนที่ เปน็รายรับ - รายจ่ายของ

แผ่นดินนั้น   กล่าวได้ว่ารายรับไม่สมดุลกับราย

จ่าย 

Page 63: สมัยรัตนโกสินทร์

รายจ่ายสว่นใหญ่ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นไปเพือ่การสร้างและบรูณะบา้นเมือง  รายจ่ายในการป้องกันประเทศการบำารุงศาสนานอกจากนี้ก็ยงัมรีายจ่ายเบีย้หวัดข้าราชการและค่าใชจ้่ายภายในราชสำานักรายจ่ายตามประเภทที่กล่าวมาข้างต้นนั้นนับว่ามีจำานวนสูง    เพราะบา้นเมืองเพิ่งอยูใ่นระยะก่อร่างสร้างตัวซำ้ายงัมศีึกสงครามอยูเ่กือบตลอดเวลารายจ่ายที่เพิ่มมากขึ้นนั้นเมื่อเทียบกับรายได้ของแผ่นดินซึง่ยงัคงมทีี่มาเหมือนสมัยกรุงศรีอยุธยา

และกรุงธนบรุี จึงเปน็สิง่ที่ผู้ปกครองต้อง แสวงหายรายได้ให้ เพิ่มมากขึ้น

Page 64: สมัยรัตนโกสินทร์

รายได้ของรัฐบาลในสมัยต้นรัตนโกสนิทร์จำาแนกได้ดังนี้ 1. สว่ย  คือ  เงนิหรือสิ่งของที่ไพร่เอา

มาเสียภาษีแทนแรงงานถ้า ไม่ต้องการ ชำาระ เป็นเงิน  ก็อาจจะทดแทนด้วย

ผลิตผลที่มีอยู่ในท้องที่ ๆ  ไพร่ผู้นั้น อาศัยอยูเ่ชน่ ดีบุกดิน ประสิว 

นอกจากนี้ส่วยยงัเรียกเก็บจากหัวเมือง ต่าง ๆ และบรรดาประเทศราช

Page 65: สมัยรัตนโกสินทร์

2. ฤชา  คอื  การเสยีค ่าธรรมเน ียมที่ประชาชนจ่ายเปน็คา่

ตอบแทนการบร ิการ ของร ัฐบาล ร ัฐบาลจะกำาหนดเร ียกเก ็บเป ็น

    อยา่ง ๆ ไป เช ่น คา่ธรรมเน ียมโรงศาลค่าธรรมเน ียม

การออกโฉนด หรือค ่าธรรมเน ียม กรรมสทิธ ิ์ เปน็ต ้น

Page 66: สมัยรัตนโกสินทร์

3.    อากร คือ เงนิที่พ่อคา้เสียให้แก่รัฐบาลในการขอผูกขาด

สมัปทาน เช่น การจับปลา การเก็บ ของป่าต้มกลั่นสรุา และตั้งบ่อนการ

พนัน เป็นต้น ส่วนอีกประเภทหนึ่ง  คอื การเรียกเก็บผลประโยชน์ที่

ราษฎรทำาได้จากการประกอบการ ต่างๆเช่น ทำานาทำาไร่ การ เก็บ

อากร ค่านา ในสมัยรัชกาลที่ 2 กำาหนดให้ราษฎรเลือกสง่ได้ 2รูป

แบบ คอื  ส่งเปน็ผลติผลหรือตัวเงนิ เช่น ถ้าสง่เป็นเงนิให้สง่ไร่ละหนึ่ง สลึง อากรประเภทอื่นยงัมอีีก  เช่น

อากรสวน อากรตลาด เป็นต้น

Page 67: สมัยรัตนโกสินทร์

4. ภาษีอากรและจังกอบภาษีอากรหมายถึงการเก็บภาษีจากสนิคา้เข้า

และสนิค้าออก ภาษีเข้ามีอัตราการเก็บที่ไม่แน่นอนประเทศใดที่มี

สมัพนัธไมตรีดีต่อไทยก็จะเก็บ ภาษีน้อยกว่าเรือของประเทศที่ไปมาคา้ขายเปน็ครั้งคราวหาก  แต่ในสมัยรัชกาลที่  2 อัตราที่กำาหนดให้เก็บคือร้อยละ8โดยตลอดสว่นชาวจีนนั้นให้คดิอัตราร้อยละ  4 สว่นภาษีสินคา้ออกเก็บในอัตราทีแ่ตก

ต่างไปตามชนิดของสินคา้

Page 68: สมัยรัตนโกสินทร์

จังกอบ คือค่าผ่านด่านซึ่งเรียกเก็บจากสนิค้าและขนาดของพาหนะที่บรรทุกด่านที่เก็บจังกอบเรียกว่าขนอนหรือด่านภาษีการเก็บจังกอบมี 2 ประเภทคือประเภทแรกเปน็การเก็บค่าผา่นด่านขนอนทัง้ทางบกและทางนำ้า    เรียกเก็บจากสนิคา้คา้ของราษฏรโดยชักสนิค้านั้นเปน็สว่นลดอีกประเภทหนึ่งคือ  เก็บตามอัตราขนาด

ของยานพาหนะที่ขนสินคา้ผ่านด่าน โดย จะวัดตามความกว้างของปากเรือ เรียก

ว่า"ค่าปากเรือ"

Page 69: สมัยรัตนโกสินทร์

รัตนโกสนิทร์นี้แม้เศรษฐกิจหลักของสงัคมจะเปน็ไปแบบเดิมคือ  การ

เกษตรกรรม โดยอาศัยธรรมชาติ   แต่ทางราชการก็พยายามสนับสนุนช่วยเหลือในการชลประทานการคา้กับต่างประเทศก็ดำาเนินเปน็ลำ่าเป็นสนัขึ้นกว่า

ในสมัยก่อนเพราะไทยมีสินคา้ออกคอื ผลิตผลทางการ เกษตร     ซึ่งเปน็ที่

ต้องการของประเทศทางตะวันตก

Page 70: สมัยรัตนโกสินทร์

BYE BYE

!! O.O………. O_o !!