60
ผลงานชิ้นที่ ๒ บ้านต้นสน อาศรมสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อม สถาบันอาศรมศิลป์ Arcasia Award For Architecture 1994

บ้านต้นสน

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Arcasia Award For Architecture 1994

Citation preview

ผลงานชิ้นที่ ๒

บ้านต้นสน

อาศรมสถาปนิกชุมชนและสิ่งแวดล้อมสถาบันอาศรมศิลป์

Arcasia Award For Architecture 1994

ผลงานชิ้นที่ ๒

โครงการบ้านต้นสน

ชื่อโครงการ บ้านต้นสน

เจ้าของโครงการ ครอบครัว “สงวนน้อย”

ที่ตั้งโครงการ ซอยต้นสน เพลินจิต กรุงเทพมหานคร

ขนาดที่ดิน ๑ ไร่เศษ

ปีที่แล้วเสร็จ พ.ศ.๒๕๓๐

งบประมาณ ๑๒ ล้านบาท

๑. แนวความคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงาน (เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ) บ้านต้นสน กลุ่มบ้าน ๔ หลังซึ่งประกอบด้วยบ้านของครอบครัวนิยม บ้านคุณยาย บ้านพี่สาวภรรยา และบ้านน้องชายภรรยา

ถกูสรา้งขึน้เนือ่งจากครอบครวัสงวนนอ้ย มคีวามตอ้งการบา้นเพือ่อยูอ่าศยัรว่มกนัระหวา่งเครอืญาตใินรปูแบบครอบครวัขยาย (extended

family) ตามวิถีวัฒนธรรมไทย เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้พึ่งพาอาศัยกันทั้งทางร่างกายและจิตใจ ให้ลูกๆได้ใกล้ชิดและสร้างโอกาสใน

การเรียนรู้จากญาติผู้ใหญ่ในครอบครัว

ในการออกแบบโครงการจึงตั้งเป้าหมายเชิงคุณค่า และแนวทางในการบรรลุเป้าหมาย ดังนี้

๑. สง่เสรมิคณุคา่ของการอยูอ่าศยัรว่มกนั (co-housing)ระหวา่งเครอืญาต ิโดยการออกแบบใหม้พีืน้ทีส่ว่นกลางระหวา่ง

กลุ่มบ้าน ได้แก่ สะพานและทางเดินเชื่อมที่ผ่านสวนสำาหรับพักผ่อนและสระว่ายน้ำาสำาหรับการออกกำาลังกาย เอื้อให้เกิดโอกาสในการทำา

กิจกรรมร่วมกันทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ภายในเครือญาติ

๒. สร้างต้นแบบรูปธรรมของการสืบสานงานสถาปัตยกรรมยุครัชกาลที่ ๖ โดยการถอดรหัสจวนผู้ว่าราชการจังหวัดใน

อดตี ทีค่ณุพอ่เคยไปรบัราชการตา่งจงัหวดัและครอบครวัไดไ้ปใชช้วีติอยูร่ว่มกนั เกดิเปน็ความทรงจำาทีอ่บอุน่งดงามในวยัเยาวข์องครอบครวั

มาใชก้บัสถาปตัยกรรมบา้นพกัอาศยัสมยัใหม ่เพือ่สบืทอดคณุคา่ของวถิชีวีติครอบครวัขยายดัง้เดมิของไทยมาใชใ้นวถิชีวีติแบบรว่มสมยัใน

ปัจจุบัน

๓. สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการอยู่อาศัยที่ผ่อนคลายอย่างเป็นธรรมชาติ โดยการสร้างสถาปัตยกรรมที่อ่อนน้อม หมอบ

นิ่งกับสภาพแวดล้อมและการเปิดพื้นที่ว่างตรงกลางระหว่างกลุ่มบ้านให้เป็นพื้นที่สวน ให้พลังธรรมชาติได้ปรากฏตัวเพื่อเป็นพลังในการ

เยียวยาและฟื้นฟูพลังชีวิตให้กับผู้อยู่อาศัย (Landscape dominates Architecture)

๔. นำาลักษณะเฉพาะของระบบนิเวศน์ริมคลองต้นสนมาสร้างความรู้สึกในการเข้าถึง (sense of arrival) ที่น่ารื่นรมย์

ตั้งแต่ลานสำาหรับรถยนต์ (Auto Court) ผ่านสะพานไม้ และประตูที่เปลี่ยนอารมณ์ด้วยการเดินอย่างช้าๆผ่านธรรมชาติ และออกแบบให้มี

การเดินผ่านบ้านแต่ละหลัง เพื่อเปิดโอกาสในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างพี่น้องแบบไม่ตั้งใจและเป็นธรรมชาติ

๒. เทคนิคและขั้นตอนในการสร้างผลงาน โปรดดูเอกสาร แบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงาน ข้อ ๔ การสร้างสรรค์ผลงาน ประกอบ

การศึกษาและถอดรหัสสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมาใช้ในการออกแบบ

ถอดรหัสสถาปัตยกรรมในช่วงประวัติศาสตร์ไทยยุครัชกาลที่ ๖ ทั้งในแง่วิถีชีวิตที่สัมพันธ์กับการใช้พื้นที่ต่างๆ เช่น กิจกรรม

ปฏสิมัพนัธท์างสงัคมในพืน้ทีช่านตา่งๆ รวมถงึองคป์ระกอบทางสถาปตัยกรรม เชน่ รปูทรงหลงัคาและการมชีายคายืน่ยาว การใชว้สัดตุา่งๆ

เพื่อนำามาประยุกต์ใช้กับสถาปัตยกรรมที่พักอาศัยสมัยใหม่

การออกแบบสถาปัตยกรรมที่เป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติและประหยัดพลังงานแบบ Passive Approach

ออกแบบให้กลุ่มบ้านทั้ง ๔ หลัง ล้อมรอบพื้นที่ธรรมชาติเปิดโล่งเพื่อการพักผ่อนและทำากิจกรรมร่วมกันของครอบครัว เพื่อ

นำาพลังธรรมชาติมาส่งเสริมวิถีชีวิตร่วมกัน และใช้ประโยชน์จากธรรมชาติเพื่อสร้างสภาวะน่าสบายให้กับอาคาร

๓. การเผยแพร่และการนำางานออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน โปรดดูเอกสาร แบบเสนอข้อมูลประวัติและผลงาน ข้อ ๖ การเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะ ประกอบ

• ได้รับการเผยแพร่เนื่องในโอกาสได้รับรางวัล ARCASIA Award for Architecture 1994

• ได้รับการเผยแพร่จากหนังสือ THE NEW THAI HOUSE

• ได้รับการเผยแพร่ในหนังสือ JAPAN ARCHITECTURE (JA) ในโอกาสได้รับคัดเลือกเป็นกรณีตัวอย่างในการบรรยายหัวข้อ

“การพัฒนาที่อยู่อาศัยในประเทศไทย” ณ ประเทศญี่ปุ่น

• ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่จากวารสารด้านสถาปัตยกรรมและการตกแต่งบ้านภายในประเทศหลายฉบับ

๔. การถ่ายทอดผลงานให้ผู้อื่น • การสื่อสารระบบคิดของเป้าหมายเชิงคุณค่า และแนวทางในการบรรลุเป้าหมายดังกล่าวให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้ง

เจ้าของโครงการ คณะทำางานออกแบบ เพื่อให้กระบวนการทำางานมีความเป็นเอกภาพและสามารถบรรลุเป้าหมายที่มุ่งหวัง

ไว้อย่างสมบูรณ์

• เปน็สถานทีร่องรบัการศกึษาดงูานของนสิตินกัศกึษาดา้นสถาปตัยกรรมจากหลากหลายสถาบนั เชน่ จฬุาลงกรณม์หาวทิยาลยั

มหาวิทยาลัยศิลปากร เฉลี่ย ๖ ครั้งต่อปี ตลอดระยะเวลา ๑๐ ปีหลังจากดำาเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ

๕. ความโดดเด่น ความมีเอกลักษณ์เฉพาะตนของผลงาน • เป็นต้นแบบของการประยุกต์ภูมิปัญญาสถาปัตยกรรมประวัติศาสตร์สมัยรัชกาลที่ ๖ มาใช้กับสถาปัตยกรรมบ้านพักอาศัย

สมัยใหม่สำาหรับครอบครัวขยาย

๖. ความมุ่งหวัง คุณค่า ประโยชน์ และความสำาคัญของผลงาน • ส่งเสริมคุณค่าของการอยู่อาศัยร่วมกัน (co-housing)ระหว่างเครือญาติในวิถีชีวิตปัจจุบัน

• สร้างรูปธรรมการประยุกต์ภูมิปัญญาของสถาปัตยกรรมประวัติศาสตร์สมัยรัชกาลที่ ๖ มาใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม

ร่วมสมัย

• ส่งเสริมคุณค่าของวิถีชีวิตการอยู่ร่วมกับธรรมชาติกลางเมืองใหญ่

• ต้องการให้เป็นแบบอย่างที่สร้างแรงบันดาลใจแก่สถาปนิกรุ่นเยาว์ในการสร้างสรรค์ผลงานสถาปัตยกรรมร่วมสมัย

(Contemporary Architecture) ที่สืบสานจากรากของสังคมไทย ทั้งในมิติของกายภาพ สิ่งแวดล้อม และจิตวิญญาณ เพื่อ

พัฒนาองค์ความรู้ของบรรพบุรุษ และเป็นการส่งเสริมความหลากหลายทางวัฒนธรรม ให้เกิดความเข้มแข็งของประเทศและ

โลก ทำาใหเ้กดิความเขา้ใจและภมูใิจในความเปน็ชาต ิและสามารถพฒันางานสถาปตัยกรรมในอดตีทีม่เีอกลกัษณเ์ปน็ทีย่อมรบั

ของชาวโลก ไปสู่งานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยในระดับโลกได้

68

8 7

8

9

10 5 10N

A

A

3. ห้องนอน

5. ห้องครัว

1. ห้องพักแม่บ้าน2. ห้องเก็บของ

7. ห้องทำงานและห้องสมุด

8. ชานบ้าน

10. ที่จอดรถ4. พื้นที่ซักผ้า

6. ห้องรับประทานอาหาร

9. สระว่ายน้ำ

11 3

10

10

11

4

14

211

4

5 74 1

5

6

13

5

61

47

13. ห้องนอนแขก

11. ศาล12. สนามหญ้า

ผังพื้นชั้นล่าง

10 5 10ผังพื้นชั้นบน

N

A

A

10 5 10รูปตัด A

16

1415

15

16

15. ห้องนอนเล็ก14. ห้องนอนใหญ่

16. ห้องอาบน้ำ