13

Click here to load reader

การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

Embed Size (px)

DESCRIPTION

การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

Citation preview

Page 1: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

บทที่ 2 การจัดทําโครงการโดยใชกระบวนการวิจัย

รศ.ดร. บุญเรียง ขจรศิลป การจัดทําโครงการโดยใชกระบวนการวิจยั ผูวิจยัหรือผูจัดทําโครงการควรทําความเขาเกี่ยวกับขั้นตอนของการวิจยัใหชัดเจนเสยีกอน ในทีน่ี้ผูเขียนจะกลาวถึงขั้นตอนของการวิจยัเชิงสํารวจ การวจิยัเชิงทดลอง และการวิจยัและพัฒนา

ขั้นตอนการวิจัยเชิงสํารวจ และการวจิัยเชิงทดลอง

ขั้นตอนของการวิจยัในรายละเอียดจะแตกตางกันตามประเภทของการวิจยัแตละชนดิ แตขั้นตอนใหญ ๆ ของการวิจัยเชิงสํารวจและการวิจยัเชิงทดลอง มีลักษณะรวมกันดังนี้

กําหนดเนื้อหาที่สนใจ จะศึกษาอยางกวาง ๆ

ตรวจเอกสาร กําหนดคําถามวิจัย ประสบการณตรง

เขียนโครงการวิจัย

สรางเครื่องมือรวบรวมขอมลู

รวบรวมขอมลู

วิเคราะหขอมูล

แปลความหมายผลการวิเคราะหขอมูล

เขียนรายงานการวิจัย

เผยแพรผลการวิจัย

แผนภาพที่ 1 ขั้นตอนการวิจัยเชิงสํารวจ และการวิจัยเชิงทดลอง

Page 2: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

7

ขั้นตอนที่ 1 กําหนดเนื้อหาที่สนใจจะศึกษาอยางกวาง ๆ ขั้นตอนนี้ผูวิจัยควรจะถามตนเองวามีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องอะไรบาง เชน ตามสภาพปจจุบันปริมาณผลผลิตของขาวโพดในจังหวัดลพบุรีคอนขางต่ํา ผูวิจัยจึงนําปญหาดังกลาวมาวิเคราะหเบื้องตนวา มีสาเหตุอะไรบางที่ทําให ผลผลิตของขาวโพดต่ํา ซ่ึงจากการคิดวิเคราะหเบื้องตน ผูวิจัยสรุปวา การที่ผลผลิตของขาวโพดต่ํา อาจจะเนื่องมาจาก คุณภาพของดิน ชนิดของพันธุขาวโพด หรือชนิดของปุย จากสาเหตุตาง ๆดังกลาว ผูวิจัยมีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องการเพิ่มผลผลิตของขาวโพดดวยการใชปุย ความสนใจของผูวิจัยในขณะนี้ยังเปนเรื่องที่กวางมาก ยังไมสามารถนํามาทํางานวิจัยได ผูวิจัยตองดําเนินการ ขั้นตอไปที่จะกําหนดประเด็นคําถามวิจัยใหชัดเจน

ขั้นตอนที่ 2 กําหนดคําถามวิจัย ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ผูวิจัยจะตองกําหนดประเด็นคําถามวิจัยใหชัดเจนวา การทําวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยตองการที่จะตอบคําถามอะไร เพราะอะไรจึงตองการที่จะตอบคําถามดังกลาว ถาไดคําตอบแลวจะไดประโยชนอะไร การที่จะไดมาซึ่งคําถามวิจัย ผูวิจัยควรตรวจสอบเอกสารทั้งในเชิงทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ตัวอยางเชนจากการตรวจเอกสาร ทั้งในเชิงทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยพบวามีปุย 2 ชนิดที่สามารถนํามาใชในการเพิ่มผลผลิตของขาวโพด ได คือ ปุย ก และ ปุย ข โดยมีแนวโนมวาปุย ก ทําใหผลผลิตเพิ่มมากขึ้นเปนอันดับหนึ่ง รองลงมาคือปุย ข แตจากขอมูลที่ตรวจสอบมานั้น พบวาผลการวิจัยที่ใชปุย ก และ ปุย ข นั้นศึกษากันคนละสถานที่ คนละชวงเวลา และคนละสภาพแวดลอม แตยังไมมีขอสรุปที่ชัดเจนวาปุย ก จะเพิ่มผลผลิตของขาวโพดไดดีกวาปุย ข ถานํามาใชในสถานที่เดียวกัน ชวงเวลาเดียวกัน และสภาพแวดลอมเหมือนกัน ดังนั้นผูวิจัยจึงเกิดคําถามวา ถาควบคุมตัวแปรตาง ๆ ใหเหมือนกันแลว ปุย ก จะใหผลผลิตของขาวโพดดีกวาปุย ข หรือไม ซ่ึงผลจากการวิจัยดังกลาวจะทําใหผูวิจัยตัดสินใจเลือกใชปุยไดอยางเหมาะสมซึ่งจะเปนการชวยเพิ่มผลผลิตของขาวโพดไดดียิ่งขึ้น

ขั้นตอนที่ 3 เขียนโครงการวิจัย ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่สําคัญของการวิจัย เนื่องจากเปนขั้นตอนที่ผูวิจัยจะตองวางแผนการวิจัยตั้งแตตนจนจบ เร่ิมตั้งแตช่ือเร่ือง วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ วิธีดําเนินการวิจัย ซ่ึงประกอบดวยการสุมตัวอยาง (ถามี) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล แผนการดําเนินงาน และงบประมาณที่ใช ถาผูวิจัยสามารถเขียนโครงการวิจัยไดอยางชัดเจน เปนการยืนยันไดวาผูวิจัยสามารถทําการวิจัยช้ินนี้ไดสําเร็จ

ขั้นตอนที่ 4 สรางเครื่องมือรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลอาจจะเปนแบบสังเกต แบบบันทึก แบบสอบถาม หรืออุปกรณอ่ืน ๆ ซ่ึงผูวิจัยตองเลือกใชใหเหมาะสม และเครื่องมือที่สรางขึ้นมานั้นควรจะผานการตรวจสอบคุณภาพ

Page 3: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

8

ขั้นตอนที่ 5 รวบรวมขอมูล ขั้นตอนของการรวบรวมขอมูล ผูวิจัยตองทราบวางานวิจัยเร่ืองนี้จะรวบรวมขอมูลจากประชากรเปาหมาย หรือจากกลุมตัวอยาง ถารวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง จะตองสุมตัวอยางใหเปนตัวแทนที่ดีของประชากรเปาหมาย ผูวิจัยตองเลือกวิ ธีการสุมตัวอยางให เหมาะสมกับสภาพของประชากรเปาหมาย และวัตถุประสงคของการวิจัย วิธีการรวบรวมขอมูลสามารถทําไดหลายวิธีขึ้นอยูกับงานวิจัยแตละเรื่อง เชน การทดลอง การทดสอบ การสงแบบสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ เปนตน ผูวิจัยตองเลือกวิธีการรวบรวมขอมูลใหเหมาะสมกับสภาพการณของงานวิจัยแตละเร่ือง

ขั้นตอนที่ 6 การวิเคราะหขอมูล หลังจากรวบรวมขอมูลไดมาแลวผูวิจัยตองนําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบความสมบูรณ และความเชื่อถือไดของขอมูล กอนที่จะนําไปวิเคราะหขอมูล วิธีการวิเคราะหขอมูล อาจจะวิเคราะหในเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ ผูวิจัยตองเลือกวิธีการวิเคราะหขอมูลใหเหมาะสมกับชนิดของขอมูล และวัตถุประสงคของงานวิจัย

ขั้นตอนที่ 7 ตีความผลการวิเคราะหขอมูล หลังจากวิเคราะหขอมูลเสร็จแลว ผูวิจัยตองนําผลที่ไดจากการวิเคราะหมาตีความ เพื่อหาขอสรุปในการตอบคําถามวิจัย

ขั้นตอนที่ 8 เขียนรายงานการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดทําหลักฐานการดําเนินการวิจัย ซ่ึงผูวิจัยจะตองเรียบเรียงตั้งแตช่ือเร่ือง วัตถุประสงค ขอบเขตการวิจัย สมมุติฐานการวิจัย (ถามี) นิยามศัพท การดําเนินการวิจัย ผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ขอเสนอแนะ เอกสารอางอิง และภาคผนวก (ถามี) ซ่ึงการเขียนรายงานการวิจัยมีทั้งการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ และการเขียนลงในวารสารวิชาการ

ขั้นตอนที่ 9 เผยแพรผลการวิจัย การเผยแพรผลการวิจัยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกันระหวางผูที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน นอกจากนั้นสําหรับผูวิจัยที่จะนําผลการวิจัยไปขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ เงื่อนไขที่สําคัญคือตองเปนผลการวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในเอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการ หรือในวารสารทางวิชาการที่ไดรับการยอมรับในแวดวงวิชาการ และมีวาระการตีพิมพเปนประจํา

ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา

ขั้นตอนของการวิจัยและพัฒนาแตกตางจากขั้นตอนการวิจัยเชิงสํารวจและการวิจัยเชิงทดลองในบางประเด็น ซ่ึงขั้นตอนของการวิจัยและพัฒนาปรากฏดังแผนภาพที่ 2

Page 4: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

9

แผนภาพที่ 2 ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา

วิเคราะหสภาพปญหา และ/หรือ ประเมินความตองการของผูใช

กําหนดผลิตภณัฑที่ตองการพัฒนา และวางแผนการดําเนินงาน

พัฒนาผลิตภณัฑ

นําไปใช และประเมิน

ทดลองใช เพือ่ประเมิน

ศึกษาเอกสารและงานวิจยัทีเ่กี่ยวของ

ปรับปรุง

ยังตองปรับปรุง มีคุณภาพ

เขียนรายงานการวิจัย

เผยแพรผลการวิจัย

Page 5: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

10

ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะหสภาพปญหาและ/หรือประเมินความตองการของผูใช ขั้นตอนนี้ เปนขั้นตอนที่ผูวิจัยวิเคราะหสภาพปญหาที่ เกิดขึ้น เพื่อหาแนวทางแกไข ปรับปรุง โดยการสรางหรือพัฒนาผลิตภัณฑ หรือเทคโนโลยีใหม ๆ เพื่อนํามาใชในการแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น และมีการประเมินความตองการของผูใชหรือเจาของปญหา ตัวอยางเชน ปญหาที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอนวิชากายวิภาคศาสตร ผูสอนตองสั่งซื้อรูปหุนจําลองที่ทําจากเรซิ่น หรือไฟเบอรกลาส เพื่อนํามาใชเปนสื่อการสอน ซ่ึงอุปกรณดังกลาวมีราคาสูงมาก และเปนอุปกรณที่มีความจําเปนตอการเรียน การสอนวิชากายวิภาคศาสตร ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะสรางสื่อทดแทนที่มีคุณภาพ และประหยัดคาใชจาย

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ขั้นตอนนี้ผูวิจัยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อหาแนวทางที่จะพัฒนาผลิตภัณฑที่ตองการ ซ่ึงจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของทําใหผูวิจัยไดแนวทางวาสารธรรมชาติจากยางพารานาจะสามารถนํามาใชผลิตหุนจําลอง เพื่อทดแทนหุนจําลองที่ทําจากเรซิ่น ซ่ึงเปนวัสดุสังเคราะหได

ขั้นตอนที่ 3 กําหนดผลิตภัณฑท่ีตองการพัฒนา ขั้นตอนนี้ผูวิจัยจะกําหนดผลิตภัณฑเปาหมายที่ตองการสรางหรือพัฒนา และวางแผนการดําเนินงานซึ่งจากตัวอยางขางตน ผูวิจัยกําหนดเปาหมายวาจะผลิตหุนจําลองเพื่อใชเปนสื่อการสอนในวิชากายวิภาคศาสตรโดยใชสารธรรมชาติจากยางพารา เพื่อเปนการลดคาใชจายการนําสินคาเขาจากตางประเทศ ซ่ึงเปนการชวยประหยัดงบประมาณของชาติ และนอกจากนั้นยังเปนการเพิ่มมูลคาและนําสิ่งที่มีอยูในประเทศ มาใช และผูวิจัยไดกําหนดแผนการดําเนินงาน

ขั้นตอนที่ 4 พัฒนาผลิตภัณฑ ขั้นตอนนี้ผูวิจัยดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑตามแผนงานที่กําหนดไว ซ่ึงจากกรณีตัวอยางขางตน ผูวิจัยไดพัฒนาหุนจําลองโดยสรางหุนจําลองตนแบบที่ศึกษาจากอวัยวะจริง รูปจากตําราโดยใชดินน้ํามันเปนตนแบบ เลียนแบบของจริง จากนั้นนํามาสรางแมพิมพดวยปูนปลาสเตอรเพื่อใหงายตอการตกแตงรายละเอียด ตอมาหลอช้ินงานโดยการใชน้ํายางดิบผานกระบวนการเทคนิคการตีฟองน้ําใหเนื้อยางมีคุณสมบัติตามตองการ แลวมาเทในแมพิมพ ทิ้งไวประมาณ 30 นาที เพื่อใหยางคงรูป แลวนําไปอบไอน้ําประมาณ 2 ช่ัวโมง จากนั้นถอดจากแมพิมพ แลวนําเขาสูตูอบแหงที่ อุณหภูมิตามชนิดของหุนจําลอง จนแหงสนิท ตกแตงแลวนํามาระบายสีที่มีคุณสมบัติพิเศษ ใหเหมือนของจริงมากที่สุด แลวทิ้งไวประมาณ 1-2 วัน เพื่อใหสีแหงสนิท แลวนํามาใชเปนสื่อการสอน (เดลินิวส, 3/2/2547)

Page 6: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

11

ขั้นตอนที่ 5 ทดลองใชเพื่อประเมิน ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่นําผลิตภัณฑที่พัฒนาขึ้นมาไปทดลองใช เพื่อประเมินความเหมาะสม หรือจุดออนที่จะตองปรับปรุงตอไป

ขั้นตอนที่ 6 ปรับปรุงผลิตภัณฑ ขั้นตอนนี้ผูวิจัยนําขอมูลจากขั้นที่ 5 มาปรับปรุงผลิตภัณฑใหเหมาะสมมากยิ่งขึ้น

ขั้นท่ี 7 นํามาใชและประเมิน ขั้นตอนนี้ผูวิจัยนํามาใชและประเมินประเด็นที่ควรไดรับการปรับปรุง (ถามี) ซ่ึงถายังมีประเด็นที่ตองไดรับการปรับปรุงผูวิจัยจะยอนกลับไปขั้นที่ 6 ใหม กรณีตัวอยางขางตนผูวิจัยไดนํามาทดลองใชเปนสื่อการสอน ผูวิจัยรวบรวมขอมูลโดยการสังเกตลักษณะหุนจําลองที่สรางขึ้น และสอบถามความคิดเห็นของนิสิตเกี่ยวกับจุดเดนและจุดดอยของหุนจําลอง แลวนํามาประมวลผลโดยการวิเคราะหเนื้อหา แลวนําผลที่ไดไปใชเปนขอมูลในการปรับปรุงใหม ดําเนินการดังนี้ไปจนกระทั่งไดหุนจําลองจากยางพาราที่ใชเปนสื่อประกอบการสอนที่สมบูรณแบบ

ขั้นตอนที่ 8 เขียนรายงานการวิจัย ขั้นตอนนี้เหมือนกับขั้นตอนที่ 8 ของการวิจัยเชิงสํารวจและการวิจัยเชิงทดลองที่กลาวมาแลวขางตน

ขั้นตอนที่ 9 เผยแพรผลการวิจัย ข้ันตอนนี้เหมือนกับขั้นตอนที่ 9 ของการวิจัยเชิงสํารวจและการวิจัยเชิงทดลองที่กลาวมาแลวขางตน

การเขียนโครงการวิจัย การเขียนโครงการวิจัยเปนขั้นตอนที่สําคัญขั้นหนึ่งในการวิจัย เนื่องจากการเขียน

โครงการวิจัยคือการวางแผนการวิจัยตั้งแตตนจนจบวา ผูวิจัยมีวัตถุประสงคที่จะทําอะไร มีขอบเขตแคไหน จะศึกษาตัวแปรอะไรบาง จะใชเครื่องมืออะไรในการวัดคาของตัวแปรเหลานั้น จะใชวิธีการอยางไรในการรวบรวมขอมูล รวมทั้งจะวิเคราะหขอมูลอยางไรเพื่อตอบคําถามหรือวัตถุประสงคของการวิจัย การดําเนินการวิจัยแตละขั้นตอนจะทําเมื่อไร และจะตองใชงบประมาณในการดําเนินการมากนอยเพียงใด ดังนั้นโครงการวิจัยคือแผนการวิจัยที่ผูวิจัยใชเปนตัวกํากับทิศทางและขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย และชวยใหผูวิจัยสามารถติดตามและประเมินผลการดําเนินงานในแตละขั้นตอนไดอยางถูกตองอีกดวย

การเขียนขอเสนอการจัดทําโครงการโดยอาศัยกระบวนการวิจัย ควรประกอบดวยหัวขอตอไปนี้

Page 7: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

12

1. ชื่อโครงการ การเขียนชื่อโครงการควรครอบคลุมวัตถุประสงคของการจัดทําโครงการ ใชคําที่มีความหมายชัดเจน เขียนใหกะทัดรัด ไมเยิ่นเยอ คําบางคําที่ใสลงไปแลวไมไดชวยขยายความหมายหรือวัตถุประสงคของการทําโครงการ ไมจําเปนตองใส เชนคําวา การศึกษา การวิจัย การทดลอง เปนตน โดยสรุปชื่อโครงการควรจะตอบคําถามไดวา ทําอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไหร (บางกรณี) ตัวอยางที่ 1 “ผลการใชใบมันสําปะหลังในปริมาณที่แตกตางกัน เพื่อกําจัดปลาชอนในการเตรียม

บอเลี้ยงปลา” ตัวอยางที่ 2

“การสรางหุนจําลองยางพาราสื่อประหยัดเพื่อการศึกษาไทย”

2. คณะผูจัดทําโครงการ ระบุรายช่ือ นามสกุล ของคณะผูจัดทําโครงการ

3. ความเปนมาของโครงการ ระบุที่มาของโครงการ ช้ีใหเห็นถึงสภาพที่เปนอยู ปญหาที่เกิดขึ้น เหตุผลสําคัญที่ทําใหตองทําวิจัยเร่ืองนี้ ใชวิธีการอะไรในการแกปญหา หรือนํามาใชในการพัฒนา ทําไมจึงเลือกวิธีการนั้น ผลการวิจัยที่ไดกอใหเกิดประโยชนอะไร ใครคือผูไดรับผลประโยชนเหลานั้น

ตัวอยางที่ 1 การเลี้ยงสัตวน้ําจืดในประเทศไทย เพื่อการบริโภคและจําหนายมีมาชานาน

ควบคูกับการจับ สัตวน้ําจากธรรมชาติ แตในปจจุบันสัตวน้ําที่จับจากแหลงน้ําธรรมชาติไดลดปริมาณลงอยางรวดเร็ว เนื่องจากความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอมแหลงน้ํา และทรัพยากรสัตวน้ําถูกจับมาใชประโยชนมากจนไมสามารถคงปริมาณและเกิดทดแทนไดทัน การฟนฟูใหทรัพยากรสัตวน้ํามีมากเพียงพอกับความตองการดังในอดีตทําไดยากและใชเวลานาน ดังนั้นการเพิ่มทรัพยากรสัตวน้ําจากการเพาะเลี้ยงในบอหรือในสถานที่ที่สามารถควบคุมได จึงเปนแนวทางในการทดแทนและเพิ่มปริมาณสัตวน้ําใหเพียงพอกับความตองการบริโภคของประชาชน

จากสภาพปญหาและแนวทางในการเพิ่มปริมาณทรัพยากรสัตวน้ําดังกลาวขางตน สงผลใหเกิดการขยายตัวของการเลี้ยงสัตวน้ํามากขึ้นจนเกิดเปนอาชีพที่มั่นคงกับผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ําและปจจุบันไดมีการนําเทคโนโลยีใหมเขามาจัดการทําใหผลผลิตตอหนายหรือตอพ้ืนที่สูงขึ้นตามลําดับ อาทิเชน การพัฒนาอาหารสัตวน้ํา การพัฒนาทางสายพันธ พัฒนาวิธีการเพาะขยายพันธุ แตอยางไร ก็ตามขั้นตอนหนึ่งที่จะทําใหการเลี้ยงและการอนุบาลลูกสัตวน้ําใหไดผลผลิตสูงเต็มกําลังการผลิตของบอคุมกับการลงทุน คือ การกําจัดศัตรูสัตวน้ําประเภทปลากินเนื้อ โดยเฉพาะปลาชอนในขั้นตอนการ

Page 8: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

13เตรียมบอ ปลาชอนเปนปลากินเนื้อที่ กําจัดออกจากบอโดยการจับดวยมือหรือใชเครื่องมือไมใหหลงเหลืออยูในบอเลยนั้นคอนขางยาก เนื่องจากปลาชอนเปนปลาที่มีอวัยวะพิเศษชวยในการหายใจ (diverticulum) ซึ่งทําใหสามารถซอนตัวในโคลนกนบอไดเปนเวลานาน โดยเฉพาะปลาชอนขนาดเล็กหรือลูกปลาชอนโอกาสที่จะถูกจับออกนั้นเปนไปไดยาก ปจจุบันเกษตรกรผูเลี้ยงปลาจะกําจัดปลาชอนในขณะเตรียมบอโดยใชโลต๊ิน (หางไหลแดง) ซึ่งโลต๊ินสดใชในอัตรา 1 – 1.5 กิโลกรัมตอน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร โลต๊ินแหงใชในอัตรา 0.1 กิโลกรัมตอน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร หรือใชกากชาในอัตรา 68 กรัมตอน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร ซึ่งทั้งโลต๊ินและกากชาใชไดผลดี แตหาซื้อไดยาก มีจําหนายในบางทองที่เทานั้น เกษตรกรบางรายจึงหันไปใชโซเดียมไซยาไนด ซึ่งเปนสารเคมีเปนอันตรายตอผูใชอยางยิ่ง และมีสารตกคางในสิ่งแวดลอม

มันสําปะหลังเปนพันธุไมในวงเดียวกันกับ ยางพารา พบงายในภาคเหนือตอนลางโดยเฉพาะจังหวัดกําแพงเพชรเกษตรกรนิยมปลูกกันมา อาจเปนเพราะวาสภาพอากาศเหมาะสมกับการปลูกมาก และเมื่อถึงเวลาการเก็บผลผลิตเกษตรกรนิยมนําใบและตนทิ้งหรืออาจจะนํามาขยายพันธุตอ ใบมันสําปะหลังมีกรดไฮโดรไซยานิค ซึ่งมีคุณสมบัติยับยั้งการรับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง และพิษที่เกิดจากกรดไฮโดรไซยานิค จะสลายคอนขางเร็ว ภายในเวลา 1-2 วัน โดยจะสลายตัวไดเร็วขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น (อุทัยรัตน, 2038) แตเนื่องจากยังไมมีขอมูลที่แนชัดวา ควรใชใบมันสําปะหลังมากนอยเพียงใดจึงจะไดความเขมขนของกรดไฮโดรไซยานิคที่จะสงผลตอการตายของปลาชอน ดังนั้นผูวิจัยจึงตองการศึกษาผลการใชใบมันสําปะหลังในปริมาณที่แตกตางกัน เพื่อกําจัดปลาชอนในการเตรียมบอเลี้ยงปลา

ตัวอยางที่2 สื่อการสอนเปนตัวกลางที่สําคัญที่สุดในกระบวนการเรียนการสอน เนื่องจากสื่อการเรียน การสอนมีหนาที่เปนตัวนําความตองการของอาจารย ครู ไปสูตัวนักเรียน อยางถูกตองรวดเร็ว เปนผลใหผูเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามจุดมุงหมายการสอนไดอยางถูกตองเหมาะสม สื่อการสอนในรูปหุนจําลองเปนสื่อวัสดุสามมิติประเภทหนึ่งซึ่งนิยมใชในการเรียนการสอนทางดานวิทยาศาสตร โดยเฉพาะทางวิทยาศาสตรการแพทย วิทยาศาสตรการเกษตร และชีววิทยา ทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูเขาใจไดงาย ครูสามารถ

เตรียมบอ ปลาชอนเปนปลากินเนื้อที่กําจัดออกจากบอโดยการจับดวยมือหรือใชเครื่องมือไมใหหลงเหลืออยูในบอเลยนั้นคอนขางยาก เนื่องจากปลาชอนเปนปลาที่มีอวัยวะพิเศษชวยในการหายใจ (diverticulum) ซึ่งทําใหสามารถซอนตัวในโคลนกนบอไดเปนเวลานาน โดยเฉพาะปลาชอนขนาดเล็กหรือลูกปลาชอนโอกาสที่จะถูกจับออกนั้นเปนไปไดยาก ปจจุบันเกษตรกรผูเลี้ยงปลาจะกําจัดปลาชอนในขณะเตรียมบอโดยใชโลต๊ิน (หางไหลแดง) ซึ่งโลต๊ินสดใชในอัตรา 1 – 1.5 กิโลกรัมตอน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร โลต๊ินแหงใชในอัตรา 0.1 กิโลกรัมตอน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร หรือใชกากชาในอัตรา 68 กรัมตอน้ํา 1 ลูกบาศกเมตร ซึ่งทั้งโลต๊ินและกากชาใชไดผลดี แตหาซื้อไดยาก มีจําหนายในบางทองที่เทานั้น เกษตรกรบางรายจึงหันไปใชโซเดียมไซยาไนด ซึ่งเปนสารเคมีเปนอันตรายตอผูใชอยางยิ่ง และมีสารตกคางในสิ่งแวดลอม

มันสําปะหลังเปนพันธุไมในวงเดียวกันกับ ยางพารา พบงายในภาคเหนือตอนลาง โดยเฉพาะจังหวัดกําแพงเพชรเกษตรกรนิยมปลูกกันมากอาจเปนเพราะวาสภาพอากาศเหมาะสมกับการปลูกมาก และเมื่อถึงเวลาการเก็บผลผลิตเกษตรกรนิยมนําใบและตนทิ้งหรืออาจจะนํามาขยายพันธุตอ ใบมันสําปะหลังมีกรดไฮโดรไซยานิค ซึ่งมีคุณสมบัติยับยั้งการรับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง และพิษที่เกิดจากกรดไฮโดรไซยานิค จะสลายคอนขางเร็ว ภายในเวลา 1-2 วัน โดยจะสลายตัวไดเร็วขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น (อุทัยรัตน, 2538) แตเนื่องจากยังไมมีขอมูลที่แนชัดวา ควรใชใบมันสําปะหลังมากนอยเพียงใดจึงจะไดความเขมขนของกรดไฮโดรไซยานิคที่จะสงผลตอการตายของปลาชอน ดังนั้นผูวิจัยจึงตองการศึกษาผลการใชใบมันสําปะหลังในปริมาณที่แตกตางกัน เพื่อกําจัดปลาชอนในการเตรียมบอเลี้ยงปลา

Page 9: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

14นํามาใชในกิจกรรมการเรียนรูรูปแบบตางๆ ไดอยางเหมาะสม และครูสามารถสอนไดตรงตามจุดมุงหมายการเรียนการสอน สื่อการสอนในรูปหุนจําลอง สวนใหญผลิตจากสารสังเคราะหพวกเรซิ่น และหรือไฟเบอรกลาส ซึ่งตองนําเขาจากตางประเทศ ปหนึ่งๆ รัฐตองใชจายงบประมาณ 100 ลานบาท เพื่อนําเขาสื่อการเรียนการสอนรูปหุนจําลองที่ทําจากเรซิ่น หรือไฟเบอรกลาส เนื่องจากราคาที่จําหนายในทองตลาดคอนขางสูงจึงมีใชกันอยางจํากัดในสถานศึกษา

นับตั้งแตป พ.ศ. 2534 ประเทศไทยสามารถผลิตยางพาราไปขายตางประเทศเปนอันดับ 1 ของโลก แตเกษตรกรสวนยางไทยยังคงประสบปญหาราคายางที่ตกต่ําเปนประจําทุกปจากตัวเลขการผลิตพบวาประเทศไทยสามารถผลิตยางพาราไดในปริมาณ 2.2 ลานตัน/ป สงออกในรูปยางขน ยางแผน ปริมาณ 2 ลานตัน ไดมูลคาเทากับ 56,000 ลานบาท ที่เหลือ 0.2 ลานตันเรานํามาแปรรูป เชน ยางรถยนต ถุงยาง ถุงมือ ยางรัดของ ไดมูลคาเทากับ 48,000 ลานบาท การแปรรูปจึงนํามาซึ่งมูลคาเพิ่มใหกับยางพาราเปนอยางมาก ดังนั้นการนําสารธรรมชาติยางพารามาใชผลิตเปนหุนจําลองทดแทนวัสดุสารสังเคราะห จึงกอใหเกิดประโยชนคุณคาทางวิชาการอยางยิ่ง พรอมทั้งเปนการสนับสนุนนโยบายรัฐที่สําคัญ 3 ประการ คือ ดานนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เนื่องจากสื่อหุนจําลองยางพาราจะเปนสื่อการสอนดานวิทยาศาสตรการแพทย เกษตรศาสตรและชีววิทยาที่ประหยัดและเหมาะสมกับนักเรียนไทยอยางแทจริง เพราะเปนสื่อที่ผลิตจากสารธรรมชาติคือ ยางพารา มีความนุมนิ่มเสมือนของจริงนาเรียนนาใช ดานสรางมูลคาเพิ่มใหกับยางพาราไทย และดานการเปนสินคาสงออกไดเปนอยางดี เนื่องจากคุณสมบัติเดนของสื่อการสอนที่ทําจากยางพารา มีราคาถูกกวามาก น้ําหนักเบา ตกไมแตก สามารถเคลื่อนยายไดสะดวก มีความเหมาะสม นํามาใชเปนสื่อการสอนไดเปนอยางด ี

ท่ีมา อภินันท สุประเสริฐ, 2547

4. วัตถุประสงคของโครงการ การเขียนวัตถุประสงคของโครงการ คือการระบุใหทราบวาโครงการนี้จะทําอะไร ควรเขียนใหชัดเจน เฉพาะเจาะจง วัตถุประสงคจะตองสอดคลองกับความเปนมาของโครงการและชื่อเร่ือง ถามีหลายขอ วัตถุประสงคหลักควรขึ้นเปนขอแรกในกรณีที่มีหลายขอ

ตัวอยางที่ 1 โครงการนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลการใชใบมันสําปะหลังในปริมาณที่แตกตาง

กันเพื่อกําจัดปลาชอนในการเตรียมบอเลี้ยงปลา ตัวอยางที่ 2 โครงการนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางหุนจําลองยางพารา

Page 10: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

15

5. ขอบเขตของโครงการ การเขียนขอบเขตของโครงการ ควรจะระบุใหเห็นวา

จะศึกษาเกี่ยวกับอะไร กับใคร ที่ไหน นั่นคือควรจะระบุถึงขอบเขตของประชากรเปาหมาย เนื้อหาสาระที่จะศึกษา ตัวแปรที่จะศึกษา

ตัวอยางที่ 1 โครงการครั้งนี้ดําเนินการทดลองที่แผนกประมง คณะวิชาสัตวศาสตร วิทยาลัย

เกษตรและเทคโนโลยีกําแพงเพชร อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร โดยทําการทดลองกับบอซีเมนต

ตัวอยางที่ 2 สื่อการสอนที่จะสรางขึ้นในครั้งนี้คือหุนจําลองที่ทําจากยางพารา เพื่อนําไปใชเปนสื่อการสอนดานวิทยาศาสตรการแพทย เกษตรศาสตรและชีววิทยา

6. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ การเขียนประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ควรระบุใหเห็นถึงผลที่ตามมาวา เมื่อไดผลการวิจัยแลวจะนําไปใชประโยชนอะไร

ตัวอยางที่ 1 ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนํามาใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาทางเลือกในการกําจัดศัตรูปลา ในชวงของการจัดเตรียมบอปลา

ตัวอยางที่ 2 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการจัดทําโครงการในครั้งนี้คือ ไดสื่อการสอนในลักษณะหุนจําลองที่ทําจากยางพารา ซึ่งมีราคาถูกกวาหุนจําลองที่ทําจากสารสังเคราะหเรซิ่น ทําใหประหยัดเงินงบประมาณในการจัดหาสื่อการสอน น้ําหนักเบา ตกไมแตก สามารถเคลื่อนยายไดสะดวก มีความเหมาะสม นํามาใชเปนสื่อการสอนไดเปนอยางดี นอกจากนั้นยังเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหแกยางพาราไทย และสามารถนําไปจัดทําเปนสินคาสงออกตอไปได

7. นิยามศัพท การเขียนนิยามศัพท คือการใหความหมายของตัวแปรหลักที่ทําการศึกษา หรือใหความหมายของเปาหมายที่ตองการพัฒนา

Page 11: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

16

ตัวอยางที่1 ระยะเวลาที่ปลาชอนตายหมดบอ หมายถึงจํานวนนาทีที่เริ่มนับจากปลาชอนที่ตาย ตัวที่หนึ่งจนถึง ตัวสุดทายที่ตาย

ตัวอยางที่ 2 หุนจําลองยางพารา หมายถึงสื่อการสอนที่ทําเลียนแบบจากของจริงโดยทําจากยางพารา

8. วิธีดําเนินการโครงการ

การเขียนวิธีดําเนินการโครงการ คือการระบุใหทราบถึงรายละเอียดที่จะปฏิบัติในแตละขั้นตอน ซ่ึงจะตองเขียนใหชัดเจนเปนรูปธรรม ซ่ึงผูวิจัยหรือผูที่มาอานโครงการนี้แลว รูวาผูวิจัยจะดําเนินการอยางไร ประเด็นที่ควรระบุในวิธีดําเนินการโครงการไดแก

8.1 รูปแบบของการวิจัย ประเด็นนี้ผูวิจัยควรระบุใหทราบวาจะใชวิธีการวิจัยแบบใด รูปแบบชนิดไหนในการดําเนินการ (รายละเอียดของการออกแบบการวิจัยจะกลาวถึงในตอนที่ 3)

8.2 การสุมตัวอยาง (ถามี) ประเด็นนี้ผูวิจัยจะตองระบุรายละเอียดของวิธีการสุมตัวอยาง ถาผูวิจัยวางแผนวาจะรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง ผูวิจัยตองเขียนใหชัดเจนวาในแตละขั้นตอนของการสุมตัวอยาง ผูวิจัยทําอยางไรในรายละเอียด แตถาผูวิจัยวางแผนวาจะรวบรวมขอมูลจากทุกหนวยของประชากรเปาหมาย หัวขอนี้ไมตองมี

8.3 เครื่องมือที่ใชในการดําเนินโครงการ ประเด็นนี้ผูวิจัยสามารถแยกเขียนเปน 2 ประเด็นยอย คือ เครื่องมือที่ใชในการแกปญหา หรือใชในการพัฒนา หรืออุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการทํางาน กับเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล เชน แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสอบถาม หรือแบบวัดเจตคติ เปนตน (รายละเอียดของการสรางเครื่องมือ จะกลาวถึงในตอนที่ 4)

8.4 การรวบรวมขอมูล ประเด็นนี้ผูวิจัยวิจัยสามารถแยกเขียนเปน 2 ประเด็นยอย คือ ประเด็นของขั้นตอนของวิธีการสรางผลิตภัณฑ หรือวิธีการทดลอง ซ่ึงผูวิจัยจะตองระบุใหชัดเจนในรายละเอียดวาจะดําเนินการอยางไร กับประเด็นของการรวบรวมขอมูล ใชการสงแบบสอบถาม การสังเกต การบันทึกขอมูล การทดสอบ หรือการสนทนากลุม เปนตน ซ่ึงผูวิจัยจะตองระบุใหชัดเจนในรายละเอียดวาจะดําเนินการอยางไร

Page 12: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

17

8.5 การวิเคราะหขอมูล ประเด็นนี้ผูวิจัยตองระบุใหชัดเจนวาวัตถุประสงคแตละขอ จะวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการอยางไร จะใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา และ/หรือการวิเคราะหเชิงปริมาณ ซ่ึงถาเปนการวิเคราะหเชิงปริมาณจะใชสถิติอะไรในการวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบวัตถุประสงคแตละขอ (รายละเอียดของการวิเคราะหขอมูลจะกลาวถึงรายละเอียดในตอนที่ 5)

9. แผนการดําเนินการตลอดโครงการ การเขียนแผนการดําเนินการ ผูวิจัยควรระบุขั้นตอนและระยะเวลาดําเนินการ โดยจัดทําเปนตารางแสดงระยะเวลาในการดําเนินการตลอดโครงการ

ตัวอยาง

กิจกรรม 1 2 3 4 5 6 7 8 9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ

2. จัดทําและเสนอโครงการ

3. สรางเครื่องมือรวบรวมขอมูล

4. พัฒนาผลิตภัณฑ

5. นําผลิตภัณฑไปทดลองใช

6. แกไขปรับปรุงผลิตภัณฑ

7. นําผลิตภัณฑไปใช

8. รวบรวมขอมูล

9. วิเคราะหขอมูล

10. เขียนรายงาน

10. งบประมาณ สรุปงบประมาณการดําเนินโครงการ โดยแยกประเภทเปนหมวดตาง ๆ เชน หมวดคาจางชั่วคราว หมวดคาใชสอย หมวดคาตอบแทน เปนตน การคิดเงินงบประมาณควรคิดตามกิจกรรมที่จะตองดําเนินงาน จะทําใหการกําหนดงบประมาณใกลเคียงกับที่ควรจะเปน (หัวของบประมาณจะมีหรือไมมีก็ได ขึ้นอยูกับสถานศึกษาถามีงบประมาณสนันสนุน)

11. เอกสารอางอิง เอกสารทุกเลมที่อางถึง ตองปรากฏอยูในเอกสารอางอิง โดยเขียนตามรูปแบบที่สถาบันกําหนด โดยทั่วไปเอกสารภาษาไทย จะเรียงลําดับตามตัวอักษรของชื่อตน และเอกสารภาษาอังกฤษเรียงลําดับตามชื่อทายของผูเขียน

สัปดาหท่ี

Page 13: การจัดทำโครงการโดยใช้กระบวนการวิจัย

18

เอกสารอางอิง

บุญเรียง ขจรศิลป. วิธีวิจัยทางการศึกษา. (พิมพคร้ังที่ 4 ) . กรุงเทพฯ : หจก. พี.เอ็น. การพิมพ, 2543.

อภินันท สุขประเสริฐ. หุนจําลองยางพารา สื่อประหยัดเพื่อการศึกษาไทย. [accessed on

May 1, 2006]. Available: from: http://www.rdi.ku.ac.th/bk/04/04.html.

Johnson, Burke and Christensen, Larry. Educational Research Quantitative, Qualitative, and Mixed Approaches (2nd ed.). Boston: Pearson Education,

Inc. 2004.