3
คำสั่งกรมสรรพำกร ที่ ป. 3/2527 เรื่อง กำรหักค่ำสึกหรอและค่ำเสื่อมรำคำของทรัพย์สิน --------------------------------------------- เพื่อให้เจ้าพนักงานสรรพากรถือเป็นแนวทางปฎิบัติ สาหรับการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ของทรัพย์สินตามพระราชกฤษฎีกาออกตาม ความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคาของทรัพย์สิน (ฉบับที145) พ.ศ. 2527 กรมสรรพากรจึงมีคาสั่ง ดังต่อไปนี ข้อ 1 การหักค่าสึกหรอและค่า เสื่อมราคาของทรัพย์สิน ตามพระราชกฤษฎีกาฯ(ฉบับที145) พ.ศ. 2527 ให้ใช้บังคับสาหรับทรัพย์สินของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ได้มาในรอบระยะเวลาบัญชีซึ ่ง เริ่มในหรือหลังวันที1 มกราคม พ.ศ.2527 เป็นต้นไป การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินที่มีอยู่แล้วในรอบระยะเวลา บัญชีที่สิ้นสุด ลงก่อนวันที31 ธันวาคม พ.ศ.2527 ให้ยังคงหักค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินนั ้นตามพระราช กฤษฎีกาฯ (ฉบับที22) พ.ศ. 2509 ต่อไป ข้อ 2 การหักค่าสึกหรอและค่า เสื่อมราคาของทรัพย์สิน ให้หักได้ไม่เกินอัตราร้อยละของมูลค่า ต้นทุนตามประเภทของทรัพย์สินที่ได้ บัญญัติไว้ในมาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที145) พ.ศ.2527 แต่ถ้าตามวิธีการทางบัญชี ซึ ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส ่วนนิติบุคคลใช้อยู่หักต ่ากว่าอัตราดังกล่าวก็ให้ หักเพียง เท่าอัตราตามวิธีการทางบัญชี ซึ ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส ่วนนิติบุคคลใช้อยู่นั ้น จะเปลี่ยนแปลงได้ต่อเมื่อได้รับ อนุมัติให้เปลี่ยนแปลงได้ ให้ถือปฏิบัติตั ้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่ได้รับอนุมัตินั ้น ข้อ 3 การหักค่าสึกหรอและค่า เสื่อมราคาของทรัพย์สิน ให้คานวณหักตามระยะเวลาที่ได้ ทรัพย์สินนั ้นมาในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีเป็น รายวัน เช่น บริษัท ก. จากัด มีรอบระยะเวลาบัญชีเริ่มตั ้งแต่ วันที1 มกราคม ถึงวันที31 ธันวาคม ได้ซื ้อรถยนต์บรรทุกไว ้ใช้งานของบริษัทฯ 1 คัน ราคา 500,000 บาท ในวันที1 ธันวาคม 2527 ถ้าบริษัทฯ หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินโดยใช้วิธีแบบเส้นตรง (Straight Line Method) จะต้องเฉลี่ยหักตามส ่วนของระยะเวลาที่ได้ทรัพย์สินนั ้นมาเป็นรายวัน ดังนี 31 x 500,000 x 20 = 8,493.15 บาท 365 100

การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน

ค ำส่ังกรมสรรพำกร ที ่ป. 3/2527

เร่ือง กำรหักค่ำสึกหรอและค่ำเส่ือมรำคำของทรัพย์สิน

--------------------------------------------- เพื่อใหเ้จา้พนกังานสรรพากรถือเป็นแนวทางปฎิบติั ส าหรับการหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยสิ์นตามพระราชกฤษฎีกาออกตาม ความในประมวลรัษฎากรวา่ดว้ยการหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยสิ์น (ฉบบัท่ี 145) พ.ศ. 2527 กรมสรรพากรจึงมีค าสั่ง ดงัต่อไปน้ี ข้อ 1 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์น ตามพระราชกฤษฎีกาฯ(ฉบบัท่ี 145) พ.ศ.2527 ใหใ้ชบ้งัคบัส าหรับทรัพยสิ์นของบริษทัหรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคล ท่ีไดม้าในรอบระยะเวลาบญัชีซ่ึงเร่ิมในหรือหลงัวนัท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2527 เป็นตน้ไป การหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยสิ์นท่ีมีอยูแ่ลว้ในรอบระยะเวลา บญัชีท่ีส้ินสุดลงก่อนวนัท่ี 31 ธนัวาคม พ.ศ.2527 ใหย้งัคงหกัค่าสึกหรอ และค่าเส่ือมราคาของทรัพยสิ์นนั้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบบัท่ี 22) พ.ศ. 2509 ต่อไป ข้อ 2 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์น ใหห้กัไดไ้ม่เกินอตัราร้อยละของมูลค่าตน้ทุนตามประเภทของทรัพยสิ์นท่ีได ้บญัญติัไวใ้นมาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบบัท่ี 145) พ.ศ.2527 แต่ถา้ตามวธีิการทางบญัชี ซ่ึงบริษทัหรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคลใชอ้ยูห่กัต ่ากวา่อตัราดงักล่าวก็ให ้หกัเพียงเท่าอตัราตามวธีิการทางบญัชี ซ่ึงบริษทัหรือหา้งหุน้ส่วนนิติบุคคลใชอ้ยูน่ั้น จะเปล่ียนแปลงไดต่้อเม่ือไดรั้บอนุมติัให้เปล่ียนแปลงได ้ใหถื้อปฏิบติัตั้งแต่รอบระยะเวลาบญัชีท่ีไดรั้บอนุมติันั้น ข้อ 3 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์น ใหค้ านวณหกัตามระยะเวลาท่ีได้ทรัพยสิ์นนั้นมาในแต่ละรอบระยะเวลาบญัชีเป็น รายวนั เช่น บริษทั ก. จ ากดั มีรอบระยะเวลาบญัชีเร่ิมตั้งแต่วนัท่ี 1 มกราคม ถึงวนัท่ี 31 ธนัวาคม ไดซ้ื้อรถยนตบ์รรทุกไวใ้ชง้านของบริษทัฯ 1 คนั ราคา 500,000 บาท ในวนัท่ี 1 ธนัวาคม 2527 ถา้บริษทัฯ หกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยสิ์นโดยใชว้ธีิแบบเส้นตรง (Straight Line Method) จะตอ้งเฉล่ียหกัตามส่วนของระยะเวลาท่ีไดท้รัพยสิ์นนั้นมาเป็นรายวนั ดงัน้ี 31 x 500,000 x 20 = 8,493.15 บาท 365 100

Page 2: การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน

ข้อ 4 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์น ตามตวัอยา่งในขอ้ 3 ถา้ในรอบระยะเวลาบญัชีถดัไป บริษทัไดรั้บอนุญาตให้เปล่ียนวนัสุดทา้ยของรอบระยะเวลาบญัชีจากวนัท่ี 31 ธนัวาคม เป็นวนัท่ี 31 มีนาคม เป็นเหตุให้รอบระยะเวลาบญัชีถดัไปไม่เตม็ 12 เดือน คือมีระยะเวลาตั้งแต่วนัท่ี 1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม หรือ 90 วนั การหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของรถยนตบ์รรทุกในรอบระยะเวลาบญัชีน้ีจะ ตอ้งเฉล่ียหกัตามส่วนของรอบระยะเวลาบญัชีนั้น ดงัน้ี 90 x 500,000 x 20 = 24,657.53 บาท 365 100 การหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาตามวรรคหน่ึง ใหใ้ชใ้นกรณีบริษทัหรือหา้งหุน้ส่วนนิติบุคคล หรือรอบระยะเวลาบญัชีแรก หรือรอบระยะเวลาบญัชีสุดทา้ยนอ้ยกวา่ 12 เดือนดว้ย ข้อ 5 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์น ประเภทรถยนตโ์ดยสารท่ีมีท่ีนัง่ไม่เกิน 10 คนหรือรถยนตน์ัง่ ใหห้กัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาในอตัราไม่เกินร้อยละ 20 ของมูลค่าตน้ทุนเฉพาะส่วนท่ีไม่เกิน 500,000 บาท ส าหรับมูลค่าตน้ทุนส่วนท่ีเกิน 500,000 บาท จะน ามาหกัไม่ได ้ ข้อ 6 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์น ในกรณีมีการตีราคาทรัพยสิ์นเพิ่มข้ึนตามมาตรา 65 ทว ิ(3) แห่งประมวลรัษฎากร โดยราคาท่ีตีเพิ่มข้ึนนั้น ไดน้ ามารวมค านวณก าไรสุทธิ และบริษทัหรือหา้งหุน้ส่วนนิติบุคคลนั้นไม่ไดรั้บยกเวน้ภาษีเงินไดต้าม กฎหมายใด ๆ ใหห้กัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาจากราคาส่วนท่ีตีเพิ่มข้ึนของทรัพยสิ์นนั้น ตามวธีิการทางบญัชีและอตัราท่ีบริษทัหรือหา้งหุน้ส่วนนิติบุคคลใชอ้ยูน่ั้น นบัแต่รอบระยะเวลาบญัชีท่ีตีราคาเพิ่มข้ึน ในกรณีทรัพยสิ์นท่ีมีการตรีราคาเพิ่มข้ึนตามวรรคหน่ึง ไดแ้ก่ทรัพยสิ์นประเภทรถยนต์โดยสารท่ีมีท่ีนัง่ไม่เกิน 10 คน หรือรถยนตน์ัง่ ใหห้กัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาท่ีตีเพิ่มข้ึนเฉพาะส่วนท่ีรวมกบัมูลค่าตน้ ทุนเดิมแลว้ไม่เกิน 500,000 บาท ส าหรับส่วนท่ีเกิน 500,000 บาท จะน ามาหกัไม่ได ้ ข้อ 7 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์นท่ีไดม้าโดยการเช่าซ้ือหรือซ้ือขายเงินผอ่น ใหถื้อมูลค่าตน้ทุนของทรัพยสิ์นนั้นตามราคาท่ีพึงตอ้งช าระทั้งหมดตามสัญญา เช่าซ้ือหรือสัญญาซ้ือขายเงินผอ่น และใหห้กัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยสิ์นตามมูลค่าตน้ทุนดงักล่าว แต่ค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาในแต่ละรอบระยะเวลาบญัชีเม่ือรวมกบัค่าสึกหรอ และค่าเส่ือมราคาท่ีหกัไปในรอบระยะเวลาบญัชีก่อน ๆ (ถา้มี) แลว้จะตอ้งไม่เกินค่าเช่าซ้ือ หรือราคาท่ีตอ้งผอ่นช าระในรอบระยะเวลาบญัชีก่อน ๆ จนถึงรอบระยะเวลาบญัชีนั้น

Page 3: การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน

ในกรณีท่ีไดช้ าระเงินค่าเช่าซ้ือหรือราคาตามสัญญาครบถว้นแลว้ โดยทรัพยสิ์นดงักล่าวยงัคงมีมูลค่าตน้ทุนหลงัจากหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือม ราคาตามวธีิการดงักล่าวขา้งตน้เหลืออยูก่็ใหห้กัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคา จากมูลค่าตน้ทุนท่ีเหลืออยูน่ั้นไดต่้อไป ข้อ 8 การหกัค่าสึกหรอและค่า เส่ือมราคาของทรัพยสิ์นแต่ละประเภท จะหกัจนหมดมูลค่าตน้ทุนของทรัพยสิ์นนั้นไม่ได ้โดยใหค้งเหลือมูลค่าของทรัพยสิ์นนั้นเป็นจ านวนเงินอยา่งนอ้ย 1 บาท เวน้แต่ทรัพยสิ์นประเภทรถยนตโ์ดยสารท่ีมีท่ีนัง่ไม่เกิน 10 คน หรือรถยนตน์ัง่ ท่ีมีมูลค่าตน้ทุนเกิน 500,000 บาท แต่ตอ้งหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคมจากมูลค่าตน้ทุนเฉพาะส่วนท่ีไม่เกิน 500,000 บาท ใหค้งเหลือมูลค่าตน้ทุนของทรัพยสิ์น เท่ากบัมูลค่าตน้ทุนส่วนท่ีเกิน 500,000 บาท ส าหรับการหกัค่าสึกหรอและค่าเส่ือมราคาของทรัพยสิ์นตามขอ้ 1 วรรคสอง ใหน้ าความในวรรคหน่ึงมาใชบ้งัคบัโดยอนุโลม ข้อ 9 ค าสั่งน้ีใหใ้ชบ้งัคบัใน การค านวณภาษีเงินไดข้องบริษทัหรือหา้งหุ้นส่วนนิติบุคคล ซ่ึงรอบระยะเวลาบญัชีเร่ิมในหรือหลงัวนัท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2527 เป็นตน้ไป

สั่ง ณ วนัท่ี 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2527

วทิย์ ตันตยกุล อธิบดีกรมสรรพากร