12

Click here to load reader

งานวิจัยที่ดี

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสารการสอนวิชาการวิจัยทางนาฏกรรม ปีการศึกษา ๒๕๕๘ อาจารย์ธรรมจักร พรหมพ้วย

Citation preview

Page 1: งานวิจัยที่ดี

LOGO

R. and Edler Paul 2008

Intellectual Standards: The Words That Name Them and the Criteria That Define Them

Page 2: งานวิจัยที่ดี

1. Clarity

ความชัดเจน คือความเขาใจได ปราศจากความ

สับสนหรือคลุมเครือ ความชัดเจนเปรียบเหมือน

ชองทางสูมาตรฐานอันอื่น เพราะหากวาขอความทีจ่ะ

พิจารณาขาดความชัดเจน เราก็ไมอาจพิจารณาตอไป

ไดวามีความถูกตองสอดคลอง การคิดนั้นควรจะตองมี

ความชัดเจน มีเนื้อหารายละเอียด เห็นภาพ มีตัวอยาง

Page 3: งานวิจัยที่ดี

1. Clarity หมั่นถามตัวเองวา

สามารถใหรายละเอียดในเรื่องน้ันไดหรือไม หรือมีความจําเปนที่จะตอง

อธิบายรายละเอียดหรือไม

สามารถแสดงจุดน้ันในอีกทางหน่ึงไดอีกหรือไม หรือแสดงออกถึงเรื่อง

น้ันใหแตกตางไดหรือไม

สามารถใหภาพเรื่องน้ันไดหรือไม หรือควรจะใหภาพหรือไม

ยกตัวอยางไดหรือไม หรือควรใหยกตัวอยางหรือไม

อธิบายดวยคําพูดของตนเองวาคิดอยางไรกับที่คนอ่ืนเพ่ิงพูดไป มีความ

เขาใจชัดเจนในความหมายหรือไม

Page 4: งานวิจัยที่ดี

2. Accuracy

ความถูกตอง หมายถึง การปราศจากขอผิดพลาดหรือไม

ถูกตอง หรือปราศจากการบิดเบือน

ขอความนั้นอาจมีความชัดเจนในตัวขอความแตอาจถูกตอง

ก็ได การคิดไมมากก็นอยมักมีความถูกตองเสมอ ถือวาเปน

ประโยชนท่ีเราจะเขาถึงขอมูลท่ีมีอยูจริง

เราจะตรวจสอบไดอยางไร วาเปนจริงหรือไม

เราจะพิสูจนขอเท็จไดอยางไร

เราจะวางใจในความถูกตองของขอมูลจากแหงที่มานั้นได

เพียงใด

Page 5: งานวิจัยที่ดี

3. Precision

ความแมนยํา หมายถึง ความเหมาะพอดีตอระดับ

รายละเอียดและความเฉพาะ

ขอความสามารถแสดงไดอยางชัดเจนและถูกตองแตอาจไม

มีความแมนยํา เชน สมศักด์ิเปนคนสูง (แตไมรูวาสูงเทาไร

อยางไร) การคิดสามารถทําใหมีความแมนยําได ท้ังนี้ตอง

ระบุลงไปในรายละเอียด

คุณสามารถใหรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนั้นมากข้ึนไดหรือไม

คุณจะกลาวใหเฉพาะเจาะจงลงไปไดหรือไม

คุณจะโตแยงขอกลาวหาไดหรือไม วาเรื่องนั้นมีจุดของใจที่ใด

Page 6: งานวิจัยที่ดี

4. Relevance

ความสอดคลอง หมาย ถึงความเชื่อมโยงกับประเด็นที่พิจารณา

มีความเชื่อมโยงในตรรกะ มีความสําคัญตอประเด็นที่พิจารณา

ขอความที่แสดงอาจมีความชัดเจน ถูกตองและแมยํา แตอาจไมสอดคลอง

กับประเด็นที่พิจารณาหรือที่ถาม

Ex. นักเรียนอาจคิดวาไดใชความพยายามอยางมากในชั้นเรียน และคิดวาความ

พยายามจะสงผลใหไดคะแนนในชั้นเรียนท่ีดี แตอาจออกมาไมดี เพราะความ

พยายามท่ีทําไป อาจไมสอดคลองกับสิ่งท่ีกําหนดการวัดผลในเชิงคุณภาพ

สิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ ตองสันนิษฐานไวกอนวาเราอาจยังไมไดประเมินสิ่งที่

เกี่ยวของทั้งประเด็น แนวคิดและสารสนเทศ อยางครบถวนพอ

ไมชักแมนํ้าทั้งหา ไมออกอาวออกทะเล

Page 7: งานวิจัยที่ดี

4. Relevance ไมเห็นวาที่พูดน้ันเกี่ยวของกับเน้ือหา หัวเรื่อง สมมติฐานหรือ

วัตถุประสงค ขอใหช้ีแจงวามีความสัมพันธกันอยางไร ในแงมุมใด

สามารถอธิบายความเกี่ยวของเช่ือมโยงระหวางคําถามของคุณและ

คําถามที่ถูกถามได

ขอเท็จจริงเกี่ยวกับประเด็นน้ันๆ เปนอยางไร

คําถามของคุณเช่ือมโยงกับประเด็นที่เรากําลังดําเนินการอยางไร

Page 8: งานวิจัยที่ดี

5. Depth

ความลึก ประกอบไปดวยความซับซอนและความสัมพันธ

เชื่อมโยง บงชี้ถึงการคิดแจงตลอดผานตัวแปรจํานวนมากใน

สถานการณ บริบท ความคิดและคําถาม

ขอความอาจมีความชัดเจน ถูกตอง แมนยําและสอดคลอง

แตก็อาจขาดความลึก (กลายเปนแครายงานไป)

การคิดนั้นอาจมีท้ังผิวเผินและแบบลึก เราตองระลึกและ

สันนิษฐานท่ีวาเราอาจจะยังพิจารณาสิ่งท่ีเกี่ยวของท้ังหมด

ในเชิงความซอนของมันท่ีมีอยู

Page 9: งานวิจัยที่ดี

5. Depth

พึงระลึกเมื่อทําวิจัย

คําถามแบบงายๆ ธรรมดา หรือวาซับซอน

คําตอบเปนแบบงายๆ หรือวายาก

อะไรทําใหเกิดความซับซอนในคําถามนี้

เราจะพิจารณาความซับซอนในคําถามไดอยางไร

Page 10: งานวิจัยที่ดี

6. Breadth ความกวาง หมายถึง การพิจารณาอยางหลากหลายมุมมอง (perspective)

การมีมุมมองอยางครอบคลุม อยางเปดกวาง และมีมุมมองอยางเปดใจ

กวาง (open your mind)

แนวการใหเหตุผลอาจมีความชัดเจน ถูกตอง แมนยํา สอดคลองและมี

ความลึก แตก็อาจขาดความกวาง

Ex. ขอโตแยงระหวางสายอนุรักษนิยมและเสรีนิยม เชน ในวงการนาฏกรรม

การคิดอาจโดยใจที่เปดกวางหรือคับแคบเปนทัศคติ (Attitude) และความ

กวางของการคิดตองการนักคิดที่ใชเหตุผลอยางหย่ังลึกมากกวามุมมอง

เดียว หรือกรอบอางอิงที่อาจแคบเกินไป

เราสามารถสันนิษฐานไดวาเราอาจยังไมไดประเมินสิ่งที่เกี่ยวของอยาง

เต็มที่

Page 11: งานวิจัยที่ดี

6. Breadth มุมมองอะไรทีเ่กี่ยวกับประเด็นน้ี

มุมมองที่เกี่ยวของอันไหนที่เราละเลยไป

เราละเลยที่จะพิจารณามุมมองตรงกันขาม (binary system) เพียง

เพราะวาเราไมตองการเปลี่ยนมุมมองของเรา

เรามองมุมมองตรงกันขามกับความเช่ือของเราดวยความเช่ือที่ดี หรือ

เพียงแตหาขอผิดพลาดหรือขอตําหนิเพียงเทาน้ัน (ชอบจับผิด)

หากเรามองคําถามจากมุมมองอ่ืนๆ เชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง

ฯลฯ แลวความรับผิดชอบทางจริยธรรมของเราคืออะไร

เราพิจารณาประเดนน้ันดวยมุมมองใด Ex. เสรีนิยม ประชานิยม

อนุรักษนิยม สังคมนิยม ฯลฯ

Page 12: งานวิจัยที่ดี

7. Logic

ตรรกะ หมายถึง สวนที่ทําใหดูมีเหตุผล ไมขัดแยงกัน การรักษาซ่ึง

หลักการซ่ึงมีดุลยพินิจและมีเหตุผล

เมื่อเรา “คิด” หมายถึงวาเรากําลังชวยเรยีงความคิดตางๆ เขา

ดวยกันสูความเปนระเบียบมากข้ึน และเมื่อผสมผสานความคิดที่

สนับสนุนซ่ึงกันและกันอยางมีเหตุผล ความคิดนั้นถือวามี

“ตรรกะ”

แตหากวาผสมกันแลวไมสนับสนุนซ่ึงกันและกัน หรือขัดแยงกัน

ก็ถือวา “ขาดตรรกะ”

การคิดนั้นมีตรรกะไดมากหรือนอย อาจคงเสนคงวาหรือบูรณา

การกัน อาจมีเหตุผลรวมกันหรืออาจขัดแยงกันในทางตรงขาม