8
สาร เคร เครขายการแพทยฉุกเฉิน ขายการแพทยฉุกเฉิน ปท 1 ประจําเดอน ตุลาคม - ธันวาคม .. 2558 ฉบับท 02 02 พลังทองถิ่นไทย พลังทองถิ่นไทย สูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืน สูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืน สํานักประสานการแพทยฉุกเฉนและเครอขายสัมพันธ สถาบันการแพทยฉุกเฉนแหงชาต www.niems.go.th

สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

  • Upload
    -

  • View
    219

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

Page 1: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

สารเครเครอืือขายการแพทยฉกุเฉนิขายการแพทยฉกุเฉนิ

ปที่ 1 ประจําเดือน ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2558 ฉบับที่ 0202

พลังทองถิ่นไทยพลังทองถิ่นไทยสูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืนสูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางย่ังยืน

สํานักประสานการแพทยฉุกเฉินและเครือขายสัมพันธ สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

www.niems.go.th

Page 2: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

คณะที่ปรึกษานายแพทยอนุชา เศรษฐเสถียรนายแพทยไพโรจน บุญศิริคําชัยนายแพทยภูมินทร ศิลาพันธุนายสุรชัย ศิลาวรรณนายพรชัย โควสุรัตนนายนิพนธ บุญญามณี

บรรณาธิการนายพิเชษฐ หนองชาง

ผูชวยบรรณาธิการนางสาวชฎารัตน เกิดเรียน

กองบรรณาธิการนายพงษพิษณุ ศรีธรรมานุสาร

วาท่ีรอยเอกอรรณพ สุขไพบูลย

นางนลินรัตน เรืองจิรยศนายบัณฑิต พีระพันธนางนวนันทน อินทรักษ วาที่รอยตรีการันต ศรีวัฒนบูรพานางพัชรี รณที นางสาวเทียมจันทร ฉัตรชัยกนันทนางสาวชฎารัตน เกิดเรียน

º·ºÃÃ³Ò ¸Ô¡ Ò Ãºº

ติดตอประสานงานemail : [email protected]

ส ารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน ฉบับนี้

เปนฉบบัที ่2 มวีตัถปุระสงคเพือ่สือ่สาร

และแลกเปลี่ยนเรียนรู การพัฒนาระบบ

การแพทยฉกุเฉนิและนวตักรรม และเพ่ือจดุประกายในการขบัเคลือ่น

งานการแพทยฉกุเฉนิของประเทศรวมกบัเครอืขายการแพทยฉกุเฉนิ

ทัง้ภาครฐั ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิน่ สถาบันการศึกษา

และหนวยงานและบุคลากรที่เกี่ยวของในระบบการแพทยฉุกเฉิน

เนื้อหาในฉบับนี้ ประกอบดวย การสรุปประชุมการแพทยฉุกเฉิน

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับชาติ ครั้งที่ 2 “พลังทองถ่ิน

ไทย สูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางย่ังยืน” ในวันที่ 24-26

สิงหาคม 2558 ณ โรงแรมลี การเดน พลาซา อําเภอหาดใหญ

จังหวัดสงขลา ซึ่งมีองคการบริหารสวนจังหวัดสงขลาเปนเจาภาพ

หลักรวมกับสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ อาสาฉุกเฉินชุมชน

(อฉช.): การปองกันและการดูแลการเจ็บปวยฉุกเฉินระดับครัวเรือน

และชมุชน และภาพอนาคตและขอเสนอการพัฒนาการแพทยฉกุเฉนิ

และขอเสนอในการจัดทําแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติฉบับ

ที ่3 ของเครอืขายองคกรปกครองสวนทองถิน่ เครอืขายภาคเอกชน

ทีไ่มแสวงหากาํไร (มลูนธิ/ิสมาคม) ทีม่บีทบาทดานการแพทยฉกุเฉนิ

และเครือขายภาคประชาชน กระผมและกองบรรณาธิการ หวังวา

สารเครือขายฉบับนี้คงเปนประโยชนตอทุกทาน

พลังทองถิ่นไทยสูเส

ทําไมตองทําไมตอง ปฏิรูปปฏิรู ประเทศไทย

พ ลังทองถิ่นไทยสูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืน เปน Theme ของการประชุมการแพทยฉกุเฉินขององคกร

ปกครองสวนทองถิ่นระดับชาติ ครั้งที่ 2 ป 2558 ระหวางวันที่ 24-26 สงิหาคม 2558 ณ โรงแรมลกีารเดนพลาซา อ.หาดใหญ จ.สงขลา ผูดาํเนนิการจัดประชุมคือองคการบริหารสวนจังหวัดสงขลาเปนเจาภาพหลักและสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ โดยมีผูเขารวมงานจากทั่วประเทศ ไดแก ผูบริหาร ผูรับผิดชอบงานของ อปท. และหนวยงานอ่ืน จํานวน 2,000 คน ประธานพธิเีปดโดย ศาสตราจารยกติตคิณุ ดร.วษิณ ุเครอืงาม รองนายกรัฐมนตร ีพรอมกับการแสดงปาถกฐาพิเศษ เรื่อง “ทําไมตองปฏริปูประเทศไทย” เริม่ตนแสดงใหเห็นวาสงัคมไทยอาจจะยังไมรบัรูวาบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิน่ทีม่ใีนดานการแพทยฉกุเฉนิ อาจจะเปนหนาทีข่อง อปท.ทัง้หลาย อาจจะตองทาํความเขาใจกบัประชาชนวาทุกฝายท่ีทําใหประชาชนมีความสุข มีความปลอดภัย เปนหนาที่ของทองถิ่นทั้งนั้น ทองถิ่นไมไดมีหนาที่ทําเรื่องขยะ ถนน ตลาด วันนี้พวกนั้นอยูตวัแลว แตสิง่ทีจ่ะตองทําคอืการพัฒนาคณุภาพชวีติของคน การศกึษา การสาธารณสขุ รวมถงึการแพทยฉกุเฉนิ เมือ่มองถงึคําขวญัทีเ่ปนหวัเรือ่งของงานนี้ พลังทองถิ่นไทยสูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางย่ังยืน นั้น แสดงวาการแพทยฉุกเฉินก็ตองการการปฏิรูปซึ่งเปนเสี้ยวหนึ่งของการปฏิรูปประเทศไทยซึ่งเปนภาพใหญ คําวา ปฏิรูป ภาษาอังกฤษเรียกวา Reform เปนแบบใหม ไมเหมือนกับการเปลี่ยนแปลงทั่วๆ ไป

Page 3: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

ในแตละวันที่เรียกวา Change แตเปนการเปล่ียนแปลงเพ่ือใหเปนแบบใหม การปฏิรูปตองอาศัย คน เวลา และยุทธศาสตรหรือ Roadmap ซึ่งประเทศไทยไดมีการปฏิรูปมาหลายครั้งและครั้งท่ีสําคัญมากและเปนครั้งแรกคือรัชกาลที่ 5 ที่วา เราปฏิรูปเพื่อไมใหเสื่อมลงกวาเดิม ตองผลิตสินคาที่มีตนทุนตํ่า จงเรงปฏิรูปตัวทานกอนคนอื่นจะมาฏิรูปทาน ถาเราไม ฝร่ังก็มาบีบบังคับเรา ถาเราปฏิรูปเองเราเลือกได อปท.ที่ไมคิดจะปฏริปูจะถูกคนอ่ืนปฏิรปูโดยการยุบ อปท. สาํหรับการแพทยฉกุเฉิน การมีพระราชบัญญัติ พ.ศ.2551 ออกมา นั้นคือการปฏิรูปของการแพทยฉุกเฉิน กําลังเสื่อมโทรมเต็มที่ 7 ปผานไป ทําแลว ถาไมไดทําอะไรตอ การแพทยฉุกเฉินจะไมไดรับการยอมรับ ผมถึงดีใจ ชอบใจคําขวัญวา พลังทองถิ่นไทยสูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืน ถาประเทศไทยจะปฏิรูปควรจะทาํอะไรเปนอนัดบัแรก ปฏริปูคณุธรรม ปฏริปูจติใจ ปฏิรปูจติสํานกึ การปฏิรูปองคกรปกครองสวนทองถ่ินตองทํา คิดชาอยูนี่เดี๋ยวมีใครมาเปลีย่นให พยายามกระจายอาํนาจใหทองถิน่ทาํ บางทสีวนกลางไมยอมให บางคร้ังสวนกลางกระจายลงไปแตทองถิน่ไมรบั ตองปฏิรปูระบบราชการใหระบบราชการเล็กลง แลวอะไรที่รัฐไมจําเปนตองทําใหทองถิ่นทํา อะไรที่ทองถิน่ไมจาํเปนตองทาํก็ใหเอกชนเอาไปทาํ ผมรูวาอปท.ทานกอ็ยากปฏริปู ผมรูวาทกุคนอยากทําเพ่ือการแพทยฉกุเฉินใหมนัดเีหมือนสงขลา สมยัหนึง่เมือ่สบิกวาป ผมเปนประธานทาํเรือ่งการโอนสถานขีนสงใหทองถิน่ ถามวาสวนกลางอยากโอนไหม อยากถามวาทองถิ่นอยากไดไหม อยากแลวไงตอ โอนไมไดเพราะตดิทีก่ฎหมาย อปุสรรคในการปฏริปูหนึง่ตดิทีก่ฎหมาย สองตดิทีง่บประมาณ สามตดิท่ีความคดิ เม่ือจะปฏริปูเวลาคดิตองระดมความคดิจากขางนอกมาดวย ตอง Outside in ตองมองจากขางนอกเขามาขางใน เราดูตนเองเราไมรูหรอกวาข้ีริว้ข้ีเหร คนนอกมองถงึจะเหน็ อยาลืม คน เวลาและสุดทายคือยุทธศาสตร และทั้งหมดคือความสําเร็จ

ใ นชวงบายวันแรกไดมีการอภิปราย เรื่อง การปฏิรูปการกระจายอํานาจทองถิ่นกับการแพทยฉุกเฉิน วิทยากรผูรวม

อภิปรายไดแก ศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา สมาชิกสภาปฏิรูปแหงชาติ นายชัยมงคล ไชยรบ นายกสมาคมองคการบริหารสวนจังหวัดแหงประเทศไทย และเปนนายก อบจ.จังหวัดสกลนคร นายชาตรี อยูประเสริฐ เลขาธิการสมาคมองคการบริหารสวนจังหวัดแหงประเทศไทย นายนิพนธ บญุญามณ ีนายกองคการบรหิารสวนจงัหวดัสงขลาและกรรมการการแพทยฉกุเฉิน และผูเขยีนเอง ดร.นพ.ไพโรจน บญุศริคิาํชัย รองเลขาธิการสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ผูดําเนินการอภิปราย สรุปโดยสังเขปไดวา การกระจายอํานาจที่ไดบัญญัติไวในรางรัฐธรรมนูญท่ี สปช. รางขึ้น ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินไดรับการกระจายอํานาจท่ีมีแนวโนมดีขึ้นกวาในอดีตคือไดเขียนเอาไววา ตอไปน้ีหนาที่ของทองถิ่นถูกบัญญัติอยูในรัฐธรรมนูญ

ชัดเจน ไมตองมีกฎหมายอื่นออกระเบียบรองรับอีกแลว ไมตองมีกฎหมายประกอบ เปนกฎหมายรัฐธรรมนูญเลย ผมจะอานใหฟงทานจะไดสบายใจวามกีฎหมายประกาศใช เขาบอกวาองคกรบรหิารสวนทองถิน่ตองมอีาํนาจหนาที่ของตนเองโดยเฉพาะ ขีดเสนใตคําวา อํานาจหนาที่ของตนเองโดยเฉพาะ ซึ่งแปลวาอํานาจหนาที่นี้ไมตองออกกฎหมายอ่ืน ไมตองมีระเบียบอื่นมารองรับอีกแลว เปนหนาที่ของทองถิ่นโดยเฉพาะ โดยอยางนอยตองมีอํานาจหนาที่ ขีดเสนใตคําวาโดยอยางนอย แปลวาทองถ่ินทําไดมากกวานี้ แตนี่คือหนาที่ขั้นตํ่า ถาใครมีความสามารถทําไดมากกวานี้ก็ทําได สิ่งน้ีก็คือมีอํานาจหนาที่ในการพัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในทองถ่ิน เรื่องการแพทยฉุกเฉิน เปนตน เปนหนาที่ของทองถ่ิน 1.รางรัฐธรรมนูญกําหนดใหทองถ่ินมีอํานาจ เปนอํานาจหนาที่ของตนเองโดยเฉพาะ อยางนอย พัฒนาสุขภาพและคุณภาพชีวิต จัดสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ทั้งนี้ตามกฎหมายบัญญัติ ซึ่งสามารถไปบัญญัติตอในกฎหมายลูกได เชน 1.กฎหมายกระจายอํานาจ ใหองคกรอิสระ ใหทองถ่ินเปนเจาภาพใหญเปนคนจัดการ 2.กฎหมายบุคลากร 3.กฎหมายการคลัง ตองมีการแยกฐานภาษี ภาษีเงนิไดบางสวนจัดเก็บไดโดยทองถ่ิน เพือ่เอามาทํารัฐสวัสดิการ 2.รางรัฐธรรมนูญกําหนดขนาดและศักยภาพของทองถิ่นตองมีขีดความสามารถในการจัดบริการ โดยมีองคการบริหารสวนจังหวัด ซึ่งอยูในอีกระดับหน่ึงของพื้นที่มีบทบาทเปนพี่เลี้ยง หรือทําสิ่งที่จะทําไดดวยศักยภาพระดับจังหวัด 3.ใหองคการบริหารสวนจังหวัดใหจังหวัดจัดการตนเอง ในตางประเทศน้ันทองถ่ินมาจากการเลือกต้ัง ผูบริหารจังหวัดควรมาจากการเลือกตั้ง รวมถึงองคกรบริหารทองถ่ินรูปแบบพิเศษ กอนหนาน้ีในรัฐธรรมนูญป 40 และ 50 กําหนดให อปท. เปนหนวยงานหลักในการบริการสาธารณะ มีการถายโอนภารกิจถึงจํานวน 245 ภารกิจแตไมมีกําหนดระยะเวลาเอาไว รวมทั้งเปนการกระจายอํานาจเทียม จากคําถามท่ีวาหากจะใหมีการกระจายแบบสุดซอยและกระจายการคลังดวย จะทําไดหรือไมนั้นมีขอโตแยงท่ีเปนอุปสรรคคือมีการอางวา ประชาชนยังไมมีความรู เพียงพอ และปญหาทุจริตคอรัปชั่นของทองถิ่น สําหรับการแพทยฉุกเฉินหากวาจะมีการปกธงตอการชวยเหลือผูปวยฉุกเฉินวิกฤติจนสําเร็จ ณ จุดเกิดเหตุ ใหไดทั่วถึงสามารถกระทําได แตตองบรูณาการระหวาง อปท.ดวยกนั เพราะองคกรปกครองสวนทองถิน่

นทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉินอยางยั่งยืนโดย ดร.นพ.ไพโรจน บุญศิริคําชัย

รองเลขาธิการสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

ทําไมตอง ปฏิรูปรูป ประเทศไทยประเทศไทย

ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.วิษณุ เครืองามรองนายกรัฐมนตรี

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน 3

Page 4: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

จะอยูเดี่ยวๆ ไมได สําหรับประเด็นที่วามีอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินบริหารจัดการการแพทยฉกุเฉินไดหรอืไม เชน ประเด็นการท่ี อปท.มอีาํนาจหรือไม จะเปนการผิดระเบียบหรือไม คําตอบคือมีกฎหมายรองรับอยูแลว คือ 1.รัฐธรรมนูญ 2.กฎหมายจัดตั้ง 3.กฎหมายแผนและขั้นตอนกระจายอํานาจ ม.16, ม.17 4.กฎหมายพิเศษ เชน พ.ร.บ. การแพทยฉุกเฉิน ทําใหเกิดความม่ันใจวาทองถิ่นมีอํานาจในการพัฒนาโครงสรางพืน้ฐาน และบรกิารสาธารณะ พฒันาคณุภาพชวีติ เชนงานบริการการแพทยฉกุเฉนิ เปนหนึง่ในภารกจิ

วั นรุงขึ้นและวันที่ 3 มีหัวขอการอภิปรายดังนี้คือ เรื่อง การปฏิรูประบบการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครอง

สวนทองถ่ิน การบริหารจัดการ ศูนยรับแจงเหตุและจายงานการแพทยฉกุเฉนิจงัหวัด ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศปฏิบตักิาร โครงสรางกรอบอัตรากาํลงั และระเบียบการเบิกจาย การเสวนาการสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่นบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉิน การเสวนาการบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน บทเรียนและการเปล่ียนแปลงเพ่ือการเขาถึงบริการของประชาชน บรรยายพิศษ เรื่อง การตรวจสอบกับภารกิจงานการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น บรรยาย เรื่อง ทิศทางการพัฒนาระบบการแพทยฉุกเฉินในองคกรปกครองสวนทองถิ่น สัมมนาโตะกลมหัวขอ “ระบบบริการดานการแพทยฉุกเฉินในกลุมประเทศอาเซ่ียน” นอกจากน้ียังมีการศึกษาดูงานระบบการแพทยฉกุเฉิน ณ องคการบริหารสวนจังหวัดสงขลา มกีารมอบโลรางวัลการแพทยฉกุเฉนิขององคกรปกครองสวนทองถิน่ดเีดนระดบัชาติ มกีารจัดนิทรรศการผลการดําเนินงานการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถ่ินภาคเอกชนจัดแสดงในเรื่องของรถและอุปกรณที่เกี่ยวของกับการแพทยฉุกเฉิน ในงานน้ีไดมีการรับฟงขอเสนอการจัดทําแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับท่ี 3 และพิธีปดโดย นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติเปนประธาน และไดมอบธงเพื่อเปนเจาภาพจัดงานในปหนาใหกับองคการบริหารสวนจังหวัดมหาสารคามตอไป

นายแพทยอนุชา เศรษฐเสถียร นายแพทยอนุชา เศรษฐเสถียร เลขาธิการสถาบันเลขาธิการสถาบัน

การแพทยฉุกเฉินแหงชาติการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

นายนิพนธ บุญญามณี นายนิพนธ บุญญามณี นายก อบจ.สงขลา และนายก อบจ.สงขลา และ

กรรมการการแพทยฉุกเฉินกรรมการการแพทยฉุกเฉิน

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน4

Page 5: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

จ ากการประชุมของคณะทํางานพัฒนาระบบการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถ่ินไดเสนอความ

คดิเห็นตอการพัฒนาระบบการแพทยฉกุเฉิน และเครือขายองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่มารวมประชุมการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถิ่นระดับชาติ ครั้งที่ 2 “พลังทองถ่ินไทยสูเสนทางปฏิรูปการแพทยฉุกเฉนิอยางย่ังยนื” เม่ือวันท่ี 24-26 สงิหาคม 2558 โรงแรมลี การเดน พลาซาอําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ไดเสนอทิศทางและกําหนดประเด็นการพฒันาการแพทยฉกุเฉนิ และขอเสนอในการจัดทําแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับที่ 3 ดังนี้

ภาพอนาคตระบบการแพทยฉุกเฉินประเทศไทย1. การมีสวนรวมของชุมชนตอระบบการแพทยฉุกเฉินในการ

ปองกนั ตระหนกั เขาถงึองคความรูสาธารณะ เขาถงึการแจงเหตุและรบัการชวยเหลือฉุกเฉิน โดยประสานบทบาทระหวางอาสาฉุกเฉินชุมชน (อฉช.) องคกรเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่น

2. บูรณาการรวมกันขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในระดับจังหวัด โดยทําความตกลง องคการบริหารสวนจังหวัดตั้งศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ จัดหารถพยาบาล องคการบริหารสวนตําบล เทศบาล จัดหาบุคลากร

3. การทาํงานรวมกันของหนวยงานหลกัในระดับจงัหวดั องคกรปกครองสวนทองถิ่นบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉินกอนถึงโรงพยาบาล (Pre-hospital) โรงพยาบาลดูแลดานการแพทย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกํากับมาตรฐาน ตรวจสอบ และรับเรื่องรองเรียน

4. การชวยเหลือผูปวยฉุกเฉินวิกฤติกอนนําสงโรงพยาบาลดวยระบบการชวยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ รูปแบบ Stay and Play เชื่อมตอกับระบบทางดวนฉุกเฉินในโรงพยาบาล (Fast Track)

5. การรับแจงเหตุฉุกเฉินรวมเลขหมายเดียว (ดับเพลิงกูภัย การแพทยฉุกเฉิน ตํารวจ) ดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย

6. ระบบการจัดการฉุกเฉินในสถานการณภัยพิบัติโดยการมีสวนรวมของทุกภาคีเครือขายในระดับพื้นท่ี ที่เหมาะสม

ขอเสนอการพัฒนาการแพทยฉุกเฉิน และแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับท่ี 3

1. ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน สรางการมีสวนรวมของประชาชนในการดูแลการเจ็บปวยฉุกเฉินในระดับครัวเรือนและชุมชน โดยใหมีอาสาฉุกเฉินชุมชน (อฉช.) ทุกครัวเรือน สอดคลองกับหลักการสาธารณสุขมูลฐานโดยการมีสวนรวมของชุมชน ในการปองกัน ตระหนัก เขาถงึองคความรูสาธารณะ เขาถงึการแจงเหตุและรับความชวยเหลือฉกุเฉิน

2. ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนผูดําเนินการและบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉินกอนถึงโรงพยาบาล (Pre-hospital) โดยจัดใหมีชดุปฏบิตักิารครอบคลมุพืน้ที ่ใหเปนรปูแบบการบรหิารจดัการโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมกันขององคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล และกําหนดหลักเกณฑ โดยที่องคการบริหารสวนจงัหวดัเปนหนวยงานหลกัในการบรหิารจดัการและประสานหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ มีการบริหารจัดการ มีชุดปฏิบัติการของตนเองโดยเนนชดุปฏิบตักิารระดบั ALS และระบบชวยเหลอืผูปวยฉกุเฉนิวกิฤต ิณ จดุเกดิเหตุ(Stay and Play) และดําเนินการใหมีชุดปฏิบัติการในองคการบริหารสวนตําบล เทศบาล หรือหนวยงานอื่น

3. ใหองคการบริหารสวนจังหวัดเปนผูดําเนินการและบริหารจัดการศูนยรับแจงเหตุและสั่งการจังหวัด ตามมาตรฐานบุคคลากรในศูนยรับแจงเหตุและส่ังการที่ กพฉ.กําหนด รวมทั้งใหกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายสนับสนุนและใหการชวยเหลือ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย

4. ใหสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติรวมกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กําหนดโครงสรางและกรอบอัตรากําลังบุคลากรดานการแพทยฉกุเฉนิ (นกัปฏิบตักิารฉุกเฉนิการแพทย : Paramedic, เจาพนกังานฉกุเฉนิการแพทย: EMT-I, พนกังานฉกุเฉนิการแพทย: EMT-B, อาสาสมคัรฉุกเฉินการแพทย: FR)ในองคกรปกครองสวนทองถิ่น

5. ใหสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติรวมกับกรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กาํหนดหรือปรับปรุงขอบงัคบัหรือระเบียบการเบิกจายที่เกี่ยวของกับการแพทยฉุกเฉินขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีความชัดเจน

6. ใหกระทรวงสาธารณสุข กําหนดใหโรงพยาบาลดําเนินการดานการแพทยฉุกเฉินในโรงพยาบาล และทําใหมีระบบทางดวนฉุกเฉิน (FAST TRACK) เช่ือมตอกับระบบการแพทยฉุกเฉินกอนถึงโรงพยาบาล ที่บริหารจัดการโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น

7. ใหกระทรวงสาธารณสุข กําหนดใหสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดดําเนินการการกํากับมาตรฐาน ตรวจสอบและรับเร่ืองรองเรียนในระดับจังหวัด ตามมาตรฐานท่ีกรรมการการแพทยฉุกเฉินกําหนด

8. ใหสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ สงเสริมการเรียนรูจากการปฏิบตัจิรงิโดยการตอยอดและการสรางความรูใหมขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน โดยจัดทํารูปแบบการบริหารจัดการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเชนเดียวกับจังหวัดอุบลราชธานี และขยายผลการดําเนินการในจังหวัดตางๆ

9. ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตั้งศูนยรับแจงเหตุฉุกเฉินรวมเลขหมายเดียว (ดับเพลิงกูภัย การแพทยฉุกเฉิน ตํารวจ) ดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย

10. ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมกับหนวยงานและภาคีเครือขายในการจัดการภัยพิบัติ

เครือขายองคกรปกครองสวนทองถิ่น: ภาพอนาคตและขอเสนอพัฒนาระบบการแพทยฉุกเฉิน และแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับที่ 3

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน 5

Page 6: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

ก ารประชมุภาคเีครอืขายองคกรภาคเอกชน (มลูนิธ/ิสมาคม) ที่ไมแสวงหาผลกําไรที่ดําเนินงานการแพทยฉุกเฉินจาก

ทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 3-4 สิงหาคม 2558 ณ จังหวัดกาญจนบุรี ที่ประชุมไดมกีารนําเสนอและหาแนวทางการพัฒนาระบบการแพทยฉกุเฉินไทย โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือการชวยชีวิตประชาชนท่ีไดรับผลกระทบจากเหตุฉุกเฉิน ในการน้ีที่ประชุมไดมีขอสรุปภาพอนาคตและทิศทางขององคกรภาคเอกชนท่ีไมแสวงหากําไร รวมท้ังขอเสนอแนะเชิงยทุธศาสตรเพือ่บรรจุไวในแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับท่ี 3 ดังนี้

ภาพอนาคตและทิศทางขององคกรภาคเอกชนที่ไมแสวงหากําไร

1. ชูจิตอาสาไทยสูระดับโลก2. สรางความเขมแขง็และเปนเอกภาพของเครอืขายองคกรภาค

เอกชนที่ไมแสวงหากําไรในการทํางานเพื่อสังคม3. เพ่ิมขีดความสามารถบุคลากรและหนวยงานของเครือขาย

องคกรภาคเอกชนที่ไมแสวงหากําไร ใหมีคุณภาพและมาตรฐาน4. ยกระดับบทบาทภาวะผูนาํของบุคลากรของเครือขายองคกร

ภาคเอกชนที่ไมแสวงหากําไร 5. บรูณาการภาคเีครอืขายไรรอยตอ เพือ่ประโยชนตอการปฏิบตัิ

การการแพทยฉุกเฉิน

ขอเสนอเชิงยุทธศาสตรการพัฒนาการแพทยฉุกเฉิน1. ชวงระยะเวลา 4 ป (2560-2564) ขอให สพฉ. สนับสนุนใน

ทศิทางท่ีองคกรภาคเอกชนท่ีไมแสวงหากําไรคิดรวมกนัวาควรจะพัฒนาไปดานใด โดยไดกําหนดภาพอนาคตรวมกัน 5 ขอ ในการปฏิบัติการในระบบการแพทยฉุกเฉินรวมถึงสาธารณภัยทั้งในประเทศและตางประเทศ

2. ขอใหมีการจัดตั้งคณะทํางานรวมกันของสถาบันการแพทยฉกุเฉนิแหงชาตกิบัองคกรภาคเอกชนทีไ่มแสวงหากาํไร 34 องคกร ตามทีไ่ดมผีลสรปุจากการประชมุรวมกนั ณ จงัหวัดกาญจนบรุ ีเปนการปรบัเปลีย่นจากการจับมือ 11 องคกรและ 22 องคกรเดิม เปนการปรับเพื่อสอดคลองกับการเปนตัวแทนใหครอบคลุมองคกรภาคเอกชนท่ีไมแสวงหากําไรทั่วประเทศ

3. ทําความตกลงของภาคีเครือขายองคกรภาคเอกชนท่ีไมแสวงหากําไรทั้งหมดตองการให สพฉ. เปนผูนําในเรื่องของการออกปฏิบัติการฉุกเฉิน ไมใชแคผูนําทางวิชาการ เพราะตาม พรบ.การแพทยฉุกเฉินกาํหนดบทบาทหนาทีข่อง สพฉ. ใหเปนศนูยกลางผูประสานหนวยงานภาครฐัและเอกชนในการปฏบิตักิารฉกุเฉินทัง้ในและนอกประเทศ บทบาทในการพัฒนาระบบการแพทยฉุกเฉินและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บทบาทในการกํากับมาตรฐาน สอบสวน รวมถึงการจายคาชดเชยการปฏิบัติการ

4. ขอใหมกีารประชมุเชงิวชิาการองคกรภาคเอกชนทีไ่มแสวงหากําไรทั่วประเทศระดับชาติปละหนึ่งครั้ง

5. เสนอให สพฉ. ดําเนินการใหใชคล่ืนความถี่วิทยุที่ไดรับการจัดสรรจาก กสทช. ขอใหใชไดเลยนับแตบัดนี้เปนตนไป

6. ขอให สพฉ. สนับสนุนคาใชจายในการมารวมประชุมขององคกรภาคเอกชนที่ไมแสวงหากําไร และหาวิธีการจัดการงบประมาณเพ่ือสนับสนุนองคกร เนื่องจากองคกรภาคเอกชนเปนองคกรปฏิบัติงานท่ีไมแสวงหาผลกําไร

7. เนื่องจากองคกรภาคเอกชนไมแสวงหาผลกําไร ลักษณะผูปฏิบตักิารทาํงานดวยจติอาสา เสียสละ ทาํงานสวนรวมในการมาชวยเหลอืผูประสบเหตแุละผูประสบภยัไมสมควรทีจ่ะมาเสยีคาใชจายในการฝกอบรม นําเสนอใหภาครัฐหาวิธีการสนับสนุน การฝกอบรมโดยไมเสียคาใชจาย

8. เสนอการกาํหนดมาตรฐานขัน้ตํา่ของรถปฏบิตักิารและอปุกรณโดยองคกรภาคเอกชนท่ีไมแสวงหากําไร เปนผูกําหนดเอง แตคุณภาพของรถปฏิบตักิารรวมถงึเครือ่งอุปกรณตางๆ ในระดบัทีส่งูขึน้ ใหขึน้อยูกบัความตองการและศักยภาพของแตละองคกรที่จะเพิ่มขึ้นเปนเชิงคุณภาพ

เครือขายองคกรภาคเอกชน: ภาพอนาคตและขอเสนอพัฒนาระบบการแพทยฉุกเฉิน และแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับที่ 3

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน6

Page 7: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

ภาพอนาคตระบบการแพทยฉุกเฉินไทยที่ประชาชนตองการ1. ประชาชนสามารถปองกัน ตระหนักรู เตรียมพรอม มีองคความรูสาธารณะ สามารถปฐมพยาบาลเบ้ืองตน สามารถเขาถึงการแจงเหตุเพื่อ

รับการชวยเหลือฉุกเฉินได2. ผูปวยฉุกเฉินไดรับการชวยเหลือฉุกเฉินดวยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน มีจริยธรรม และไมเสียคาใชจาย เพื่อลดการเสีย

ชีวิตหรือทุพลภาพ จนพนภาวะฉุกเฉินไดอยางทั่วถึงและทันเวลา3. ผูปวยฉุกเฉินวิกฤติไดรับการชวยเหลอืจนพนภาวะวิกฤติ ณ จุดเกิดเหตุ ดวยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับสูงดวยระบบการแพทยฉุกเฉินที่มี

ประสิทธิภาพและทันเวลา

ขอเสนอเพ่ือใหไดรับการคุมครองสิทธิของประชาชน1. สิทธิการเขาถึงบริการทางการแพทยฉุกเฉินอยางมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน จริยธรรม ทั่วถึง รวดเร็วทันเวลา2. สิทธิการเขาถึงองคความรูสาธารณะของระบบการแพทยฉุกเฉิน3. สิทธิในการเขาถึงความสามารถของชุมชนในการปองกันภาวะฉุกเฉิน ตระหนักรูถึงภาวะฉุกเฉิน เตรียมความพรอมรองรับภาวะฉุกเฉิน

สามารถชวยเหลือปฐมพยาบาลเบ้ืองตน สามารถเขาถึงการแจงเหตุฉุกเฉินเพ่ือรับการชวยเหลือฉุกเฉินไดดวยระบบการแจงเหตุฉุกเฉินท่ีรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

4. สิทธิในการรับบริการการแพทยฉุกเฉินโดยไมเสียคาใชจายจนกวาจะพนภาวะฉุกเฉิน5. สิทธิไดรับการฟนฟูในสถานพยาบาลและสิทธิในการเขาถึงความสามารถในการฟนฟูผูปวยหลังพนภาวะฉุกเฉิน6. สิทธิไดรับการบริการระบบการแพทยฉุกเฉินสําหรับภาวะฉุกเฉินเฉพาะที่มีประสิทธิภาพและทันทวงที เชน ภาวะฉุกเฉินทางหัวใจ และ

หลอดเลือดสมอง ตกเลือดทางสูติกรรม ภาวะฉุกเฉินวิกฤติทารกแรกเกิด ภาวะติดเช้ืออยางรุนแรงหรือฉุกเฉินทางอายุรกรรม เชน เบาหวานรุนแรง 7. สิทธิไดรับการบริการระบบการแพทยฉุกเฉินสําหรับประชาชนกลุมเปราะบาง เชน คนพิการ คนสูงอายุ เจ็บปวยเรื้อรัง ประชาชนในพ้ืนที่

พิเศษที่เขาถึงไดยาก เชน เกาะ ภูเขา อุทยาน หรือพื้นท่ีอันตรายเชนสารเคมี พื้นที่ไมสงบหรือกอการราย

เครือขายประชาชน: ภาพอนาคตและขอเสนอพัฒนาระบบการแพทยฉุกเฉิน และแผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ฉบับที่ 3

สารเครือขายการแพทยฉุกเฉิน 7

Page 8: สารเครือข่ายการแพทย์ฉุกเฉินปี58 ฉบับที่ 2

สถาบันการแพทยฉุกเฉนิแหงชาต ิ(สพฉ.)สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาต ิ(สพฉ.)

88/40 หมูที่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 84 พรรษา สาธารณสุขซอย 6 ถนนติวานนท ตําบลตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทรศัพท 0 2872 1669 โทรสาร 0 2872 1602-5 www.niems.go.th

ปจจุบันการเจ็บปวยฉุกเฉิน ที่เกิดขึ้นในครัวเรือน มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งจากอุบัติเหตุ และจากเจ็บปวยฉุกเฉินดวยโรคอันตรายหรือโรคเร้ือรัง เชน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมอง โรคเบาหวาน เปนตน ที่จําเปนตองไดรับการชวยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ ดวยระบบการแพทยฉุกเฉินที่มีมาตรฐานไปสถานพยาบาลอยางปลอดภัย จากความสาํคญัดงักลาว แสดงใหเหน็วาแตละชมุชน จาํเปนตองมผีูทีม่คีวามรูความสามารถในการปองกันและดูแลการเจ็บปวยฉุกเฉินไดในทุกครัวเรือนและชุมชน เปนการสรางการมีสวนรวมของประชาชนในการดูแลการเจ็บปวยฉุกเฉินในระดับครัวเรือนและชุมชน ซึ่งสอดคลองกับหลักการสาธารณสุขมูลฐานโดยการมีสวนรวมของชุมชน ในการปองกัน ตระหนัก เขาถึงองคความรูสาธารณะ เขาถึงการแจงเหตุและรับความชวยเหลือฉุกเฉิน

บทบาทของอาสาฉุกเฉินชุมชน (อฉช.)1. มีสวนรวมในการดูแลบุคคลในครอบครัวและชุมชน เมื่อ

เจ็บปวยฉุกเฉิน 2. ปฐมพยาบาล หรือชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR)3. แจงเหตุเพื่อขอความชวยเหลือกรณีมีผูเจ็บปวยฉุกเฉินหรือ

อุบัติเหตุ ผานสายดวนฉุกเฉิน 1669 4. เฝาระวังและเตรียมความพรอมผูเปราะบางในครัวเรือน

ใครบางที่สามารถเขารวมเปนอาสาฉุกเฉินชุมชนใครก็สามารถเขารวมเปน

อาสาฉุกเฉินชุมชน แมแตเด็กๆ อายุ 7 ขวบขึ้นไป รวมถึงประชาชนท่ัวไปที่มีจิตอาสา โดยไดรับอบรม “อาสาฉุกเฉินชุมชน” ตามเกณฑตามท่ี สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ กําหนด

การดําเนินงานพัฒนาอาสาฉุกเฉินชุมชน ตัง้เปาหมายไว ในป 2558 จาํนวน 200,000 คน โดยความรวมมือ

ของสาํนกังานสาธารณสขุจงัหวดัและภาคเีครอืขายทัว่ประเทศ ดาํเนนิการได 150,000 คน ซึง่ภายใน 5 ป จาํนวนอาสาฉุกเฉนิชมุชน ควรมีการพัฒนาใหเกิดขึ้นไดไมตํ่ากวา 2,000,000 คน ในแตละครัวเรือนจะตองมีผูที่มีความรูความเขาใจดานการแพทยฉกุเฉนิ เชน จะแจงเหตอุยางไร จะประเมินเบื้องตนอยางไร และการชวยฟนคืนชีพอยางงายๆ ในครัวเรือนละ 1 คน เพือ่ใหมกีารบรกิารดานการแพทยฉกุเฉนิท่ีมคีณุภาพ และมคีวามครอบคลุมในทกุพ้ืนที ่การใหมอีาสาฉกุเฉินชุมชน (อฉช.) จาํเปนตองไดรบัความรวมมอืจากทกุฝายทีเ่กีย่วของ โดยเฉพาะสาํนกังานสาธารณสขุจงัหวดั โรงพยาบาล องคกรภาคเอกชนท่ีไมแสวงหาผลกําไรท่ีมีบทบาทดานการแพทยฉุกเฉิน

(มูลนิธิ/สมาคม) องคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของ โดยการจดัอบรมประชาชนทัว่ไป นกัเรยีน นกัศกึษา ทหารเกณฑ ผูปฏบิตังิานในโรงงาน ผูนาํชมุชน หรอืกลุมเปาหมายอืน่ๆ เพือ่ใหเปนการชวยเหลอืชวีติเพื่อนมนุษยเจ็บปวยฉุกเฉินใหไดรับการรักษาโดยเร็ว

ตั้งแตป 2558 ทางสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติไดจัดทําเอกสารความรูอาสาฉกุเฉนิชมุชน (อฉช.) พรอมกบับตัรประจาํตวัผูผานการอบรม ซึ่งจะมีหมายเลขกํากับไวทุกใบ หนวยงานที่จะจัดอบรม เชน สสจ./รพ./มลูนธิ/ิอปท. และหนวยงาน/องคกรตางๆ สามารถขอรบัเอกสารความรูพรอมบัตร อฉช.ไดที่สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.niems.go.th)

ขั้นตอนการขอรับการฝกอบรมเปนอาสาฉุกเฉินชุมชน หากมีความสนใจใหรวมกลุมกนั แลวขอใหหนวยปฏบิตักิารการแพทยฉกุเฉิน ซ่ึงจะมผีูปฏบิตักิารการแพทยฉกุเฉนิ เปนผูฝกอบรมให โดยตองใหความรูเพือ่ใหเปนอาสาฉกุเฉนิชุมชนอยางนอย 3 เรือ่ง คอื แจงเหตเุพือ่ขอความชวยเหลอืผานหมายเลข 1669 การปฐมพยาบาลเบื้องตน และการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน และหนวยงานหรือองคกรตางๆ นอกเหนือจากโรงพยาบาล เชน มูลนิธิ สมาคม ชมรม องคกรปกครองสวนทองถิ่น ก็สามารถท่ีจะใหความรูแกประชาชนทั่วไปได ถาหากสามารถถายทอดความรูทั้ง 3 เรื่องน้ีไดเชนกัน (อยางนอยตองเปน อาสาสมัครฉุกเฉินเบื้องตน ขึ้นไป หรือ First responder : FR )

อาสาฉุกเฉินชุมชน (อฉช.): การปองกนัและการดูแลการเจ็บปวยฉุกเฉนิระดบัครวัเรอืนและชุมชน