13
บทที7 เรื่อง สื่อและแหล่งการเรียนรู

บทที่7 ใหม่1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่7 ใหม่1

บทที่ 7

เรื่อง สื่อและแหล่งการเรยีนรู้

Page 2: บทที่7 ใหม่1

สื่อการเรยีนรูแ้ละแหล่งการเรยีนรู้

สื่อการเรียนรู้ หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือว่าที่มนุษย์สร้างขึ้นและทุกๆสิง่ที่อยู่รอบตัวเรา อีกทั้งยังรวมไปถึง สือ่สิง่พิมพ์ วิธีการสอนแบบต่างๆ กิจกรรมหรือกระบงนการในการจัดการเรียนรู้ในการเรียนเรื่องนัน้ๆ แหลง่การเรียนรู้ หมายถึง แหลง่ข้อมูลข่าวสาร อาทิเช่น ห้องสมุด โทรทัศน์ วิทยุ สือ่อิเลก็ทรอนิกต่างๆ และประสบณ์การส่งเสริมการใฝ่เรียนใฝ่รู้ของตัวผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนนัน้ได้มีส่วนร่วมในการศึกษาค้นค้าวด้วยตนเอง อย่างกว้างขวางและไม่มีที่สิน้สดุ

Page 3: บทที่7 ใหม่1

สื่อการสอน

สื่อการสอน หมายถึง เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารความรู้ที่ผู้สอนต้องการจะจัดนำาไปเป็นสิง่ที่เพิ่มประสทิธิภาพในการสอนและยังสามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆเพื่อจะช่วยในการประกอบการเรียนการสอนได้อีกทางหนึง่ด้วย เป็นอย่างดี สื่อการสนอนัน้ได้มีนกั

วิชาการได้ให้ความหมายไว้หลายท่าน แต่ในที่นีผ้มจะของยก-ความหมายของ บราวน ์และคนอื่นๆ กลา่วว่า สื่อการสอน หมายถึง จำาพวกอุปกรณ์ทั้งหลายที่สามารถเสนอความรู้ให้แก่ผู้เรียนจนเกิดผลการเรียนที่ดี ทั้งนีร้วมถึงกิจกรรมต่างๆ ไม่ใช่เฉพาะที่เป็นวัสดุและเครื่องมือเท่านั้น เชน่ การศึกษานอกสถานที่ การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการสมัภาษณ์ เป็นต้น

Page 4: บทที่7 ใหม่1

ประเภทของสื่อการสอน

ซึ่งเราก็ได้ทราบกันแล้วว่า สือ่การสอนมีความหมายว่าอย่างไร และมีวิธีการอย่างไรในการใช้งานสือ่ต่างๆ และยังมีการพัฒนาขึ้นมาในรูปแบบที่ใหม่ๆอยู่เสมอๆ และซึ่งปัจจุบันเองก็มีบทบาทเป็นอย่างมากมายเลยทีเดียวที่สง่ผลถึงสื่อการสอนที่มีการพัฒนาและเพิ่มประสทิธิภาพในการทำางานได้อย่างดีเยี่ยมอยู่เรื่อยๆมา และมีนกัวิชาการท่านหนึง่ได้กลา่วไว้ว่า ประเภทของสือ่การสอนนั้นยังสามารถแบ่งออกเป็น ๑๑ ประเภทด้วยกัน โดย Dale (๑๙๖๙:๑๐๗-๑๒๘)

โดยท่านเองพิจารณามาจากประสบณ์การที่ได้รับจากสื่อการสอน โดยยึดความเป็นรูปธรรมและนามธรรม ซึ่ง ๑๑ ประเภทจะมีดังนี ้

Page 5: บทที่7 ใหม่1

๑๑ ประเภทของส่ือการสอน

๑. ประสบการณ์ตรงที่มีความหมาย (Direct and Purposeful Experiences) ๒. ประสบการณ์จำาลอง (Contrived Experiences) ๓. ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experiences) ๔. การสาธิต (Demonstrations) ๕. การศึกษานอกสถานที่ (Study Trips) ๖. นทิรรศการ (Exhibitions) ๗. โทรทัศน์การศึกษา (Education Television) ๘. ภาพยนตร์ (Motion Picture) ๙. ภาพนิ่ง (Recordings. Radio. And Still Picture) ๑๐. ทัศนสญัลกัณ์ (Visual Symbols) ๑๑. วจนสัญลกัณ์ (Verbal Symbols)

Page 6: บทที่7 ใหม่1

หลักการใช้ส่ือการสอน

การใชส้ื่อการสอน นับว่ามีความสำาคัญต่อการเรียนการสอนอย่างยิ่ง แต่หากว่าเมื่อมีการใชส้ื่อการสอนที่ไม่ถูกต้อง ก็จะมีค่าหรือเกิดผลน้อยและกลายเป็นแถบจะไม่ได้ใช้เลยด้วยซำ้า เมื่อมีการใช้สือ่ก็ควรที่จะใช้อย่างคุ้นค่าและใช้ให้เกิดประโยชน์สงูสดุเพื่อประกอบการเรียนการสอนอย่างมีประสทิธิภาพและเกิดการรียนรู้แก่ผู้เรียนให้ได้มากที่สดุ มีหลักในการใชอ้ยู่ 4 ประการหลกัๆ ๑.หลกัการเลอืก (Selection) ๒.หลกัการเตรียม (Preparation) ๓.หลกัการนำาเสนอ (Presentation) ๔.หลกัการประเมินผล (Evaluation)

Page 7: บทที่7 ใหม่1

การออกแบบส่ือ

ในการเลอืกใช้สือ่การสอนแต่ละครั้ง ครูผู้สอนจะต้องเลอืกแต่ละชนดิของสื่อการสอน วึ่งมีดงันี ้๑.ความเหมาะสม กับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ของการสอนหรือไม่ ๒.ความถูกต้อง สือ่ที่จะนำาไปใช้ควรตรวจสอบให้ถีถ่วนว่าถูกต้องจริงหรือไม่ ๓.ความเข้าใจ สือ่ที่จะนำามานั้นควรได้ให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดอย่างสมำ่าเสมออยู่ตลอด ๔.ประสบารณ์ที่ได้รับ สิง่ที่นำามานั้นจะต้องเป็นตัวเพิ่มประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนไดเ้ป็นอย่างดีด้วย ๕.เหมาะสมกับวัย เนื้อหาที่ใสใ่นสือ่ต้องไม่ยากเกินไป...ไม่ง่ายเกินไปด้วย ต้องตามความสามารถของตัวผู้เรียนและต้องตามความต้องการของผู้เรียนด้วย

Page 8: บทที่7 ใหม่1

๖. เที่ยงตรงในเนือ้หา สือ่ที่นำามานั้นนจะต้องตรงตามเนื้อหาที่จะสอนและมีความตรงไปตรงมาด้วย ไม่อิงถึงสิ่งที่ทำาให้เกิดความมึนงงขึ้น ๗. ใช้การได้ดี สื่อที่สร้างขึ้นนั้นควรใช้งานได้อย่างเต็มประสทิธิภาพและคุ้นกับกานสร้างสือ่นี้ ๘. คุ้มค่ากับราคา ผลที่ได้ก็สมควรที่จะค้มกับการสร้างสือ่สิง่นี้ และค็มเวลา ราคาที่ใช้ไปทั้งหมด ๙. ตรงตามความต้องการ สื่อนั้นช่วยให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรมได้ตามที่ ผู้สอนต้องการได้ด้วยหรือไม่ ๑๐. สือ่ที่สร้างขึ้นนั้นจะช่วยในการที่ผู้เรียนจะมาสนใจได้มากน้อยแค่ไหน

Page 9: บทที่7 ใหม่1

ประโยชน์ของส่ือ

• เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้จากวัตถุที่เป็นรูปธรรม และยังเป็นตัวกระดุ้นให้ผู้เรียนได้สร้างความคิดใหม่ๆออกมาด้วย ด้วยตนเอง • กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเรื่องที่จะเรียนกันมากขึ้น • ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายและจดจำาได้ดีอีกด้วย • เป็นประสบการณืที่สง่เสริมให้ผู้เรียนได้มีการทำากิจกรรมด้วยตนเองได้ • นำาประสบการณ์นอกห้องเรียนมาศึกษาในห้องเรียนได้ • เป็นการสร้างแนวคิดใหม่ๆให้กับผู้เรียนอีกด้วยและการนำาไปใช้ในอนาคตต่อไป

Page 10: บทที่7 ใหม่1

องค์ประกอบของการออกแบบ

๑. จุด (Dots) ๒. เสน้ (Line) ๓. รูปร่าง รูปทรง (Shape-Form) ๔. ปริมาตร (Volume) ๕. ลกัษณะพื้นผิว (Texture) ๖. บริเวณว่าง (Space) ๗. ส ี(Color) ๘. นำ้าหนกัสือ่ (Value)

Page 11: บทที่7 ใหม่1

การเลอืกสือ่และการดัดแปลงสือ่

• การเลือกสือ่ให้เกิดความเหมาะสมนัน้ต้องพิจารณาอยู่ ๓ ข้อหลัก ได้แก่๑.การเลอืกสือ่ที่มีอยู่แลว้ โดยสว่นใหญ่แลว้ในสถานศึกษาต่างๆนัน้จะมีสิง่ที่อำานวยความสะดวกอยู่แลว้รวมทั้งสือ่ต่างๆๆที่เข้กับรายวิชานั้นๆได้ ก็จะสามารถนำามาเป็นสือ่การสอนก็ได้ ๒. ดัดแปลงสือ่ที่มีอยู่แลว้ ให้ใชไ้ด้ดีและเหมาะสมกับการเรียนการสอนอีกระดับหนึง่ เพื่อเพิ่มประสทิธิภาพในการเรียนรู้แก้ผลเรียนอีกด้วย ๓. การออกแบบผลติสื่อใหม่ ถ้าหากว่าสื่อนั้นๆมีอยู่แล้วและตรงกับสิ่งที่ต้องการเรียนการสอนด้วย ก็สามารถนำามาใช้ได้เลย แต่หากว่าไม่มีเลย การออกแบบนั้นจะเป็นเรื่อที่คุณครูผู้สอนจะต้องทำาเป็นและเพื่อให้ผู้เรียนเองนัน้เข้าใจได้ง่ายขึ้นโดยสือ่ที่ทำานี้

Page 12: บทที่7 ใหม่1

การออกแบบผลิตส่ือใหม่

๑.จุดมุ่งหมาย ต้องพิจารณาดูว่าผู้เรียนจะได้อะไรจากสือ่สิง่ใหม่ ๒.ผู้เรียนเอง ควรพิจารณาตัวเองว่า เคยได้รับการหรือมีทักษะพื้นฐานมาก่อนหรือไม ๓.ค่าใชจ่้าย มีงบประมาณที่เพียงพอหรือไม่ ๔.ความเชยีวชาญด้านเทคนิค หากเราไม่เก่งพอเราจะสามารถหาผู้ที่มีความรู้มีทักษะทางด้านนีม้าจากที่ไหน ๕.มีเครื่องมือและอุปกรณ์พอต่อการผลิตสือ่งสิง่ใหม่ๆได้หรือไม่ ๖.สิง่อำานวยความสะดวก มีอยู่แลว้หรือว่าจะจัดหาอย่างไร ๗.เวลา มีเวลาพอสำาหรับการออกแบบผลิตสือ่ใหม่หรือไม่

Page 13: บทที่7 ใหม่1

สรุปท้ายบทที่ 7

บทนีเ้กี่ยวกับเรื่องของ สือ่และแหลง่การเรียนรู้ ซึ่งจำาเป็นต่อการเรียนการสอนอย่างมากในปัจจุบันนี้ เพราะมีอิทธิพลมาจากเทคโนโลยีที่ก้วางลำา้นำาสมัยมากมาย จึงต้องมีการนำาเอาเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สงูสดุและสร้างเป็นสื่อการเรียนรู้ขึ้นมาเพื่อให้ตัวผู้เรียนเองนัน้ ได้ใช้ความคิดความสามารถของตนเองเพื่อความอยู้รอดและความรู้ที่ได้รับจากทางสือ่ก้ดีหรือทางการศึกษาด้วยตนเองก็ดี