23
คู่มือการใช้โปรแกรม RID Draftung2012 สาหรับ งานขุดลอกคาเนิน การโดยรถขุด จัดทาโดย นายนคเดช ทองระย้า ฝ่ายวิศวกรรม โครงการชลประทานบุรีรัมย์ สานักชลประทานที8 สิงหาคม 2556

ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

  • Upload
    others

  • View
    62

  • Download
    11

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

คู่มือการใช้โปรแกรม RID Draftung2012

ส าหรับ

งานขุดลอกค าเนินการโดยรถขุด

จัดท าโดย

นายนคเดช ทองระย้า ฝ่ายวิศวกรรม

โครงการชลประทานบุรีรัมย ์ส านักชลประทานที่ 8

สิงหาคม 2556

Page 2: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

1

ค าน า

นวัตกรรมด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ RID Drafting พัฒนาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ Autolisp บน AutoCAD โดยเป็นที่เข้าใจกันแล้วว่า ลักษณะการสร้างโปรแกรมด้วยรูปแบบอย่างนี้ ถูกเรียกว่า Appilication Add on หรือ เรียกโปรแกรมประยุกต์ขึ้นเพื่อใช้งานภายในโปรแกรมส าเร็จรูป ตัวโปรแกรมนี้จะต้องพึ่งพาโปรแกรม AutoCAD จึงจ าเป็นต้องบอกกล่าวกันก่อนว่า โปรแกรมนี้มีเป้าประสงค์เพื่อช่วยย่นระยะเวลาการท างานด้านส ารวจและออกแบบ งานทางด้านชลประทานเพียงบางส่วนเท่านั้น ได้แก่ งานส ารวจและออกแบบงานขุดลอกด าเนินการโดยรถขุด จากการที่เป็นโปรแกรมประยุกต์ ตัวโปรแกรมจึงมีวิธีขั้นตอนการใช้งานและติดต้ังที่ไม่เหมือนโปรแกรมส าเร็จรูปทั่ว ๆ ไป ซึ่งผู้สนใจในการน าโปรแกรมไปใช้จ าเป็นอย่างยิ่ง ต้องมีคู่มือประกอบการใช้โปรแกรมเล่มนี้ด้วย ถึงจะสามารถน าโปรแกรมไปใช้งานได้อย่างถูกต้องตามประสิทธิภาพและเกิดผลผลิตงานตรงตามวัตถุประสงค์เป็นไปตามเป้าหมายที่ผู้เขียนโปรแกรมวางไว้ให้แล้วนั้นเอง

ข้าพเจ้ามีความตั้งใจที่จะจัดท าคู่มือการใช้โปรแกรมเพื่อเผยแพร่และเป็นผลงานทาง

วิชาการและเพื่อให้เป็นคลังความรู้ของกรมชลประทานต่อไป หวังว่า นวัตกรรมด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ RID Drafting ชิ้นนี้จะสามารถเป็นเคร่ืองมือตัวใหม่ที่สามารถอ านวยประโยชน์ต่อนายช่างและวิศวกรชาวกรมชลประทานได้ไม่มากก็น้อย ประโยชน์อันใดที่เกิดขึ้น จากน านวัตกรรมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ RID Drafting ไปใช้งาน ขอจงหวนคืนกลับสู่องกรค์และสังคมชาวชลประทานต่อไป ท้ายสุดนี้ถ้าท่านผู้ใดได้น าโปรแกรมไปใช้แล้วมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ใด ผู้เขียนโปรแกรมยินน้อมรับ เพื่อจะได้ปรับปรุงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นต่อไป

นคเดช ทองระย้า 6 สิงหาคม 2556

Page 3: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

2

ความเป็นมา

ก่อนที่จะมาเป็นโปรแกรม RID Drafting2012 ในวันนี้ แนวคิดเกิดจากเมื่อคร้ังสังกัดอยู่ส านักออกแบบวิศวกรรม พบว่าจะท างานออกแบบด้านชลประทานไม่ว่าจะเป็นอะไรก็ตามเช่น การออกแบบฝาย ออกแบบงานขุดลอก หรืออ่ืนๆ พบว่าจะขาดไม่ได้เลยคือก็คือผลส ารวจที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ คือ ข้อมูลรูปตัดตามยาว และรูปตัดตามขวาง เป็นเร่ืองปกติและทุกครั้งของการท างานด้านออกแบบเสมอไป และขณะนั้นโปรแกรม AutoCAD ได้เข้ามามีบทบาทเปลี่ยนแปลงวิธีการท างานด้านออกแบบด้วยแล้ว วิศวกรหันเหการท างานออกแบบ-เขียนแบบมาอยู่บนหน้าจอคอมพิวเตอร์กันตามสมัยนิยม ผมเองก็เขียนแบบ-ออกแบบด้วย AutoCAD อยู่พักใหญ่ๆ สังเกตเจอว่างานเขียนแบบด้านชลประทานหนีไม่พ้นการเขียนตารางรูปตัดยาวล าห้วย( Profile) เสมอ ผู้ใช้โปรแกรม AutoCAD เมื่อจะออกแบบ-เขียนแบบก่อสร้างแต่ละคร้ัง นั้นจะมีความอยากล าบากก่อนอันดับแรกๆ คือจ าเป็นต้องลอกข้อมูลค่าระดับ-ระยะทาง จากผลส ารวจที่ได้มา ได้แก่ รูปตัดตามแนวยาวของล าห้วย เพื่อไปสร้างตาราง Profile ในแบบก่อสร้างบนโปรแกรม AutoCAD อีกครั้งหน่ึงนั้นเอง การแก้ไขปัญหาที่คิดออกกันตอนนั้น คือการน าผลส ารวจรูปตัดตามยาวล าห้วย ไปแสกนด้วยเคร่ืองแสกนขนาด A4 ซึ่งต้องแสกนตัดแบ่งเป็นท่อนๆ แล้วน าไฟล์แสกน ไปตัดต่อประกอบเป็นภาพบนโปรแกม AutoCAD ต่อไปใช้ค าค าสั่ง pline เพื่อคัดลอกเส้นเส้นค่าระดับและระยะทาง จากนั้นปรับเสกล จนได้เส้นระดับ-ระยะทางในตาราง Profile ที่เหมือนผลส ารวจ จึงจะท าการก าหนดออกแบบ-เขียนแบบในล าดับต่อไป จะเห็นว่ากว่าที่เราจะได้ผลผลิตแบบก่อสร้างออกมาแต่ละคร้ังจะต้องมาเร่ิมขั้นตอนซ้ าซากเหล่านี้เสมอ หากวิศวกรผู้ออกแบบ ต้องท างานด้วยโปรแกรม AutoCAD

จากปัญหาที่เกิดขึ้น ผมจึงค้นหาวิธีที่อยากลดขั้นตอนการท างานให้ง่ายๆ เสียเวลาน้อยลง นั้นจะท าอย่างไร จึงเร่ิมศึกษาค้นคว้า การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Autolisp เร่ิมต้นจากโปรแกรมขนาดเล็กๆ มากมายและจนกลายมาเป็น RID Drafting2012 มีการปรับเปลี่ยน-ปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมตลอดเวลา ตามปัญหาที่พบเจอในการท างาน จนปัจจุบันคิดว่าโปรแกรมสามรถลดต้นทุนผลิตได้แล้ว จึงได้จัดท าคู่มือและเผยแพร่ต่อไป

วัตถุประสงค์ของโปรแกรม ก่อนจะที่เราจะท าอะไรขึ้นสักอัน ตรรกะอย่างแรกที่ต้องคิดก่อนคือ ท าเพื่อวัตถุประสงค์

อะไร เช่นกันนี้การเขียนโปรแกรมนั้นเราต้องวางวัตถุประสงค์ว่าจะให้ท างานอะไรให้กับตัวเรา สุดท้ายจริงแล้ววัตถุประสงค์ นั้นคือความต้องการให้เกิดความสะดวก สบายต่อการท างานของเรานั้นเอง

โปรแกมนี้มีวัตถุประสงค์หลักๆ เพื่อช่วยงานด้านชลประทานในส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. เพื่อช่วยงานด้านเขียนแบบผลส ารวจรูปตัดตามยาวล าห้วย และรูปตัดตามขวาง 2. เพื่อช่วยงานด้านการออกแบบ-เขียนแบบงานขุดลอกล าห้วยโดยรถขุด

Page 4: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

3

3. เพื่อคิดค านวณปริมาณงานดินตัด-ดินถม จากแบบก าหนดระดับการขุดลอก เพื่อประกอบการคิดประมาณการงานขุดลอกโดยรถขุด เพื่อเสนอขอจัดสรรงบประมาณต่อไป

การติดตั้งโปรแกรม เน่ืองจากโปรแกรม RID Drafting2012 พัฒนาด้วยภาษา Autolisp ที่อยู่ภายใต้โปรแกรม

AutoCAD ดังนั้นโปรแกรมโปรแกรม RID Drafting2012 จะเรียกเป็น Plug in ซึ่งการรันโปรแกรมต้องอาศัยโปรแกรม AutoCAD นั้นเอง การจัดท าชุดติดต้ังขึ้นมา (Setup.exe) ได้พบปัญหาตามมาหลายประการ สาเหตุจากการใช้งานโปรแกรม AutoCAD แต่ละคนมีเวอร์ชั่นที่แตกต่างกัน จึงขอแนะน าวิธีการติดต้ังโปรแกรม ที่สามารถจะน าไปติดต้ังบนโปรแกรม AutoCAD ได้ทุกเวอร์ชั่น (ผู้เขียนปกติยังท างาน AutoCAD ที่เวอร์ชั่น 2002) แต่ในคู่มือนี้ขอยกตัวอย่างการติดต้ังที่โปรแกรมที่ AutoCAD เวอร์ชั่น 2007 ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

1.) Copy Floder RID Drafting2012 มาบนจัดเก็บไว้ที่ ไดร์ C: ตามรูป

2.) เปิดโปรแกรม AutoCAD 2007 ไปที่แถบ MenuBar=>Tool=>Option

Page 5: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

4

3.) เมื่อปรากฏ Dialog Box=> Option นี้ ให้คลิกตามล าดับที่แสดงตามรูปล่าง

4.) การเลือกครั้งที่ 1ให้เลือกต าแหน่ง Folder ตามรูปด้านล่าง

5.)การเลือกคร้ังที่ 2 ท าเช่นเดิมคลิกที่ Add และ Browse.. เพื่อเลือกต าแหน่ง Folder คร้ังที่ 2 ตามรูปล่าง

Page 6: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

5

6.)การเลือกคร้ังที่ 3 ท าเช่นเดิมคลิกที่ Add และ Browse เพื่อเลือกต าแหน่ง Folder คร้ังที่ 3ตามรูปล่าง

7.) การเลือกคร้ังที่ 4 ท าเช่นเดิมคลิกที่ Add และ Browse .. เพื่อเลือกต าแหน่ง Floder คร้ังที่ 4 ตามรูปล่าง

8.) เมื่อท าตามขั้นตอนที่ 1- 7 แล้วควรตรวจสอบความถูกต้อง ดูค าอธิบายตามรูปแสดง

Page 7: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

6

9.) ล าดับขั้นตอนต่อไป คือ การเรียกแถบ Menu ของโปรแกรม RID Drafting2012 ให้ขึ้นมาปรากฎตามรูปด้านล่าง

การเรียกแถบ Menu มีขั้นตอนดังตอนไปนี้ 9.1) พิมพ์ค าสั่ง Menuload ที่ Command:

9.2.) เมื่อปรากฏ Dialog Box=>Load/Unload Customizations ให้คลิกไป Browse เพื่อไปเลือกไฟล์ เมนู

9.3) ไปค้นหาไฟล์เมนูโปรแกรม RID Drafting2012 ตามล าดับรูปด้านล่าง

Page 8: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

7

9.4) เมื่อจบขั้นตอนข้อ 9.3 แล้วจะกลับมาที่ Dialog box =>Load/Unload Customizations

9.4) แถบเคร่ืองมือแสดงปรากฏขึ้นตามรูป เป็นการจบขั้นตอนการติดต้ังโปรแกรม RID Drafting

Page 9: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

8

การใชง้านโปรแกรม 1. วิธีการใช้ค าสั่งโปรแกรมเพื่อเขียนแบบผลส ารวจ - ก่อนอ่ืนเตรียมข้อมูลผลส ารวจค่าระดับ-ระยะทางด้วยโปรแกรม Excel 2003 (ขออธิบายไว้ท้ายเล่มคู่มือนี)้ โปรแกรมจะ ช่วยจัดการงานเขียนแบบ ตารางรูปตัดตามยาว (Profile) และ ตารางรูปตัดตามขวาง (Coss Section) ผลผลิตท่ีได้จากโปรแกรม คือ แบบ แสดงผลส ารวจภูมิประเทศ ขนาด A0 จ านวนแผ่นมีปริมาณมากหรือน้อยตามปริมาณข้อมูลค่าระดับ-ระยะทาง ทีส ารวจมา ขั้นตอนการใช้ค าสั่งดังนี้

1.1. เมื่อปรากฏ Dialog Box=>RID:Plot Profile-Coss Section ให้คลิกไป Open เพื่อไปเลือกไฟล์ เมนู

Page 10: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

9

1.2) เมื่อเลือกไฟล์ข้อมูลผลส ารวจ Dialog Box=>RID:Plot Profile-Coss Section จะปรากฏผลดังรูปแสดงด้านล่าง

1.3) เมื่อคลิก ok จะปรากฏ Dialog Box ดังรูปแสดงด้านล่าง

ให้คลิกที่ Ok จากนั้น ใช้คลิกเลือกจุดบน กราฟฟิกสกรีนของ AutoCAD ต าแหน่งที่ต้องเราการวาดแบบผลส ารวจ

Page 11: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

10

1.4) ผลที่ได้จากค าสั่งโปรแกรมคร้ังนี้ คือการวาดแบบขนาด A0 ที่แสดง Profile และ Cross Section ปรากฏดังรูปแสดงด้านล่าง

Page 12: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

11

2. วิธีการใช้ค าสั่งโปรแกรมเพื่อท างานเขียนแบบขุดลอก - ก่อนอ่ืนเตรียมข้อมูลการออกแบบด้วยโปรแกรม Excel 2003 (ขออธิบายไว้ท้ายเล่มคู่มือนี้) ถึงจะมาเรียกค าสั่งใช้งานเพื่อเขียนแบบแสดงการขุดลอก โปรแกรมจะ ช่วยจัดการงานเขียนแบบตามข้อมูลการขุดลอกที่ก าหนดไว้ในไฟล์ Excel ผลผลิตท่ีได้จากโปรแกรม คือ แบบ แบบแสดงการขุดลอก ขนาด A1 มีรูปแบบ ตามมาตรฐานการเขียนแบบกรมชลประทาน จ านวนแผ่นมีปริมาณมากหรือน้อยตามปริมาณข้อมูลออกแบบ ขั้นตอนการใช้ค าสั่งดังนี้

2.1)เมื่อเลือกไฟล์ข้อมูล Dialog Box=>RID:Plot Profile-Coss Section เลือกปรับค่าต่างๆดังรูปอธิบาย

Page 13: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

12

2.2) เมื่อคลิก ok จะปรากฏ Dialog Box ดังรูปแสดงด้านล่าง

ให้คลิกที่ Ok จากนั้น ใช้คลิกเลือกจุดบน กราฟฟิกสกรีนของ AutoCAD ต าแหน่งที่ต้องเราการวาดแบบก่อสร้างงานขุดลอก 2.3) ผลที่ได้จากค าสั่งโปรแกรมคร้ังนี้ คือการวาดแบบแสดงการขุดลอก ขนาด A1 ตามมาตรฐานการเขียนแบบกรมชลประทาน ดังรูป

Page 14: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

13

3. วิธีการใช้ค าสั่งโปรแกรมเพื่อค านวณปริมาณงานดินขุดลอก - ก่อนอ่ืนเตรียมข้อมูลการออกแบบด้วยโปรแกรม Excel 2003 (ขออธิบายไว้ท้ายเล่มคู่มือนี้) ถึงจะมาเรียกค าสั่งใช้ค านวณปริมาณงานดินขุดลอก ผลผลิตท่ีได้จากโปรแกรม คือ แบบรายการค านวณปริมาณงานดินขุดลอก ขนาด A4 จ านวนแผ่นมีปริมาณมากหรือน้อยตามปริมาณข้อมูลออกแบบ ขั้นตอนการใช้ค าสั่งดังนี้

3.1 เมื่อคลิกค าสั่งจะปรากฏ Dialog Box ดังรูป ให้คลิกไป Open เพื่อไปเลือกไฟล์ข้อมูลที่ต้องการค านวณปริมาณงานดินขุดลอก

Page 15: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

14

3.2) เมื่อเลือกไฟล์ข้อมูลที่ต้องการค านวณปริมาณงานดินขุดลอก ควรเลือกปรับค่าต่างๆ เพื่อการแสดงกราฟที่สวยงาม และ เพื่อให้รูปหน้าตัดตามขวางไม่ตกขอบกระดาษ หรือล้นออกไป จากขอบเขตของกราฟที่ก าหนดไว้ให้ สามารถปรับเปลี่ยน สเกลทางตั้ง-สเกลทางราบ ของรูปหน้าตัดตามขวาง (Cross Section )ดังรูปอธิบาย

ส่วนที่ ก าหนดให้ปิดหรือเปิดใช้งานได้

1 ถ้าคลิกที่ช่อง เมื่อต้องการค านวณปริมาณดินถมด้วย 2 ถ้าคลิกที่ช่อง เพื่อให้เขียนรายการค านวณบน Excel ด้วย 3 ถ้าคลิกที่ช่อง จะท าการการตัดเส้นด้วยค าสั่ง Trim ท าการตัดได้แม่นย าขึ้น ส่วนทีก่ าหนด ขยับเส้นชี้บอกค่าระดับไปทางซ้ายหรือทางขวา

การแสดงเส้นชี้บอกค่าระดับ ได้แก่ระดับการขุดลอก ระดับชานคลอง ระดับคันดิน สามารถขยับเพื่อความสวยงามได้

Page 16: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

15

3.3) เมื่อคลิก ok จะปรากฏ Dialog Box ดังรูปแสดงด้านล่าง

ให้คลิกที่ Ok จากนั้น ใช้คลิกเลือกจุดบน กราฟฟิกสกรีนของ AutoCAD ต าแหน่งที่ต้องเราการวาด 3.4) ผลที่ได้จากค าสั่งโปรแกรม คือกราฟแสดงรายการค านวณพร้อมตารางสรุปผลการค านวณปริมาณงานดินขุด ขนาด A4 ดังรูป

Page 17: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

16

4. วิธีการใช้ค าสั่งอื่นของโปรแกรม เป็นค าสั่งสนับสนุนการท างานเพื่อให้ความสะดวกต่อเน่ืองดังนี้ ค าสั่ง Ereaseall

คลิกที่รูป ICON (ตามที่วงกลมไว้) ค าสั่งลบทุกสิ่งที่อยู่บน Drawing เพราะการค านวณปริมาณงาน

ดินขุด-จะต้องมีการใช้ค าสั่งซ้ าๆ จนได้ค่าปริมาณงานดินที่เหมาะสมที่สุด โดยออกแบบหน้าตัดการขุดลอกให้ได้ค่าปริมาณงานติดตัด-ดินถมมีค่าไกลเคียงกันที่สุด เมื่อเป็นที่พอใจแล้ว ค าสั่งนี้จะช่วยลบทั้งหมด แล้วใช้ค าสั้ง Plotab ซ้ าอีกครั้งเพื่อรอการพิมพ์ต่อไป ค าสั่ง Chsty (เป็นค าสั่งต่อเนื่องหลังจากจบค าสั่ง Plotab)

คลิกที่รูป ICON (ตามที่วงกลมไว้) เป็นค าสั่งส าหรับปรับเปลี่ยนรูปแบบของ Font ให้สวยงาม

พร้อมที่จะพิมพ์ หลังจากที่จบค าสั่ง Plotab เพื่อค านวณปริมาณงานดินแล้วจะเห็นว่าตัวอักษรไม่สวย ต้องปรับเปลี่ยนด้วยค าสั่งต่อเน่ืองนี้เสมอ ค าสั่ง Plotall (เป็นค าสั่งต่อเนื่องหลังจากจบค าสั่ง Plotab และChsty)

คลิกที่รูป ICON (ตามที่วงกลมไว้) เป็นค าสั่งพิมพ์รายการค านวณบนกรอบขนาดกระดาษ A4 ออก

ทางเคร่ืองพิมพ์ ถ้าจ านวนแผ่นรายการค านวณมีเยอะมาก สั่งพิมพ์ที่ละคร้ังคงไม่ไหวเสียเวลา เป็นค าสั่งเพื่อสั่งพิมพ์ครั้งเดียวทั้งหมด การใช้งานค าสั่งต้องท าตามขั้นตอนดังนี้ก่อน

1. ให้ท าการตั้งค่าการพิมพ์และพิมพ์ออกทางเคร่ืองพิมพ์ก่อน 1 แผ่น เพื่อให้โปรแกรม Autocad จดจ ารูปแบบการพิมพ์ไว้ก่อนเสมอ

2. เรียกใช้ค าสั่งโดย คลิกที่รูป ICON (ตามที่วงกลมไว้) เมื่อคลิกแล้วจะ Plot ออกไปทุกแผ่นทันที 3. ถ้าบ้างคร้ังการสั่งออกทางเคร่ืองพิมพ์มีปัญหาติดเร่ืองกระดาษติดขัด หรือพิมพ์เสียไปบางแผ่น

ปัญหาอย่างนี้ไม่ต้องไปยกเลิกการพิมพ์ ให้พิมพ์แผ่นต่อไปได้เลย

Page 18: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

17

ค าสั่ง Plotsome (เป็นค าสั่งต่อเนื่องหลังจากจบค าสั่ง Plotab และChsty และ Plotall)

คลิกที่รูป ICON (ตามที่วงกลมไว้) ค าสั่งพิมพ์รายการค านวณบนกรอบขนาดกระดาษ A4 ออกทาง

เคร่ืองพิมพ์ที่ละแผ่น อย่างที่กล่าวข้างต้น ถ้าบ้างครั้งการสั่งออกทางเคร่ืองพิมพ์มีปัญหาติดเร่ืองกระดาษ หรือพิมพ์เสียไปบางแผ่น ค าสั่งนี้จะช่วยสั่งพิมพ์ออกที่ละแผ่นที่ได้พิมพ์เสียหายไป การใช้งานค าสั่งต้องท าตามขั้นตอนดังนี้ก่อน

1. ให้ท าการตั้งค่าการพิมพ์และพิมพ์ออกทางเคร่ืองพิมพ์ก่อน 1 แผ่น เพื่อให้โปรแกรม Autocad จดจ ารูปแบบการพิมพ์ไว้ก่อนเสมอ ถ้าท าแล้วก็ไม่ต้องท าอีกก็ได้

2. เรียกใช้ค าสั่งโดย คลิกที่รูป ICON (ตามที่วงกลมไว้) จากนั้นก็ Pick เลือกที่กรอบกระดาษขนาด A4 ของแผ่นที่เสียไปจนครบจ านวนแผ่นที่ต้องการ จากนั้นให้คลิกขวา

Page 19: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

18

การเตรียมข้อมูลผลส ารวจบน Excel การเตรียมข้อมูลผลส ารวจ ค่าระดับและระยะทางของแต่ละ section ตามล าดับ กม. ลงในโปรแกรม

Excel มีขั้นตอนดังน้ี เตรียมข้อมูลแบบที่ 1

หมายเหตุ 2. ชื่อหน้าตัดที่ก าหนดตัวด้วยตัว X- เพื่อเป็นชื่อของรูปตัดตามขวางโดย X ต้องใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ 3. Collum A เป็นค่าระยะทางเป็นเมตร และ Collum B เป็นระดับ เป็นคู่ล าดับกันไป 4. การก าหนดระยะ 0 ไว้ที่ระดับก้นล าห้วยหรือตลิ่งซ้ายก็ได้เช่นกัน 5. ทุกๆ หน้าตัดต้อง ก ากับข้อความ ซ้าย,ก้น,ขวา ใน Collum C ทุกคร้ัง ห้ามลืมเด็ดขาด 6.ช่วงข้อมูลแต่ละ section ฝั่งซ้ายหรือฝั่งขวาไม่จ าเป็นต้องมีจ านวนเท่ากัน สั้นหรือยาวตามข้อมูลได้

Page 20: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

19

7. ให้ save เก็บเป็นชนิด Txet (Tab delimited) ดังรูปล่าง

การเตรียมข้อมูลแบบที่ 2 ถ้าผลส ารวจมีการเก็บระดับเพิ่มเติมในระยะทางทุก ๆ 20 เมตร ก็สามารถท าได้ดังรูปล่าง

หมายเหตุ 1.ค าว่า กม.0+100 และกม.ใดๆ ต่อไป ห้ามพิมพ์เว้นวรรคโดยเด็ดขาด 2. ชื่อหน้าตัดที่ก าหนดตัวด้วยตัว X- เพื่อเป็นชื่อของรูปตัดตามขวางโดย X ต้องใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ 3. Collum A เป็นค่าระยะทางเป็นเมตร และ Collum B เป็นระดับ เป็นคู่ล าดับกันไป

Page 21: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

20

4. การก าหนดระยะ 0 ไว้ที่ระดับก้นล าห้วยหรือตลิ่งซ้ายก็ได้เช่นกัน 5. ทุกๆ หน้าตัดต้อง ก ากับข้อความ ซ้าย,ก้น,ขวา ใน Collum C ทุกคร้ัง ห้ามลืมเด็ดขาด 6.ช่วงข้อมูลแต่ละ section ฝั่งซ้ายหรือฝั่งขวาไม่จ าเป็นต้องมีจ านวนเท่ากัน สั้นหรือยาวตามข้อมูลได้ 7. ให้ save เก็บเป็นชนิด Txet(Tab delimited) ดังรูปล่าง

Page 22: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

21

การเตรียมข้อมูลออกแบบหน้าตัดการขุดลอกบน Excel การเตรียมข้อมูลออกแบบหน้าตัดการขุดลอก ในโปรแกรม Excel มีขั้นตอนดังน้ี

ค าอธิบาย ช่วงที่ 1 เร่ิมต้นขุดจากกม.0+000 ระดับขุดลอกเร่ิมต้นที่ระดับ +196.3 จนถึงกม.0+460 ระดับขุดลอกสิ้นสุดททีระดับ +196.0 ได้ลาด Slop 1:1533.333 ส่วนหน้าตัดการขุดลอกให้ดูในตาราง ช่วงที่ 2 เร่ิมต้นขุดจากกม.0+480 ระดับขุดลอกเร่ิมต้นที่ระดับ +196.0 จนถึงกม.0+945 ระดับขุดลอกสิ้นสุดททีระดับ +195.8 ได้ลาด Slop 1:2325 ส่วนหน้าตัดการขุดลอกให้ดูในตาราง

Page 23: ส าหรับ งานขุดลอกค าเนิน การโดย ...kmcenter.rid.go.th/kmc08/km_56/kma2013/RID Drafting.pdf · 2013-08-21 · ไฟล์แสกน

22

ช่วงที่ 3 เร่ิมต้นขุดจากกม.0+955 ระดับขุดลอกเร่ิมต้นที่ระดับ +195.2 จนถึงกม.1+285 ระดับขุดลอกสิ้นสุดททีระดับ +195.0 ได้ลาด Slop 1:1650 ส่วนหน้าตัดการขุดลอกให้ดูในตาราง ท าต่อไปที่ละช่วงจนครบถึงช่วงสุดท้าย ส าหรับ collum O ที่เขียนว่า Mark นั้นถ้าเปลี่ยนจาก ok เป็น stop จะเป็นการปิดให้มีการค านวณปริมาณงานดิน ให้ save เก็บเป็นชนิด Txet (Tab delimited) ดังรูปล่าง