51
รายงานวิจัย การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายใน เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาล ในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม โดย รองศาสตราจารย ดร.ดวงฤดี ลาศุขะ รองศาสตราจารย ดร.วารุณี ฟองแกว โครงการนี้ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. 2553

portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

รายงานวิจัย

การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายใน เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาล ในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

โดย

รองศาสตราจารย ดร.ดวงฤดี ลาศุขะ รองศาสตราจารย ดร.วารุณี ฟองแกว

โครงการนี้ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. 2553

Page 2: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

กิตติกรรมประกาศ

รายงานฉบับสมบูรณฉบับนี้ เปนรายงานที่นําเสนอผลการศึกษาเร่ือง “การพัฒนา

สื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษา

พยาบาล ในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม” ประกอบดวยเนื้อหาทั้งหมด 5 บท

การวิจัยคร้ังนี้สําเร็จลงไดดวยความชวยเหลือทั้งดานสติปญญา กําลังกาย และกําลังใจ

จากบุคคลากรทุกฝาย โดยเฉพาะ website ที่นําเสนอผลการวิจัยในครั้งนี้ ไดรับความอนุเคราะห

จากบริษัทเชียงใหมอินเตอรเนต อนุญาตใหใชพื้นที่สําหรับการทดสอบสื่อประสมบนเครือขาย

อินเตอรเนต ตลอดจนถึงชวงการนําไปใช ผูวิจัยขอขอบคุณเปนอยางสูง

ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.รัตนาวดี ชอนตะวัน อดีตรองคณบดีวิจัย คณะ

พยาบาลศาสตร ที่ใหกําลังใจผูวิจัยในการดําเนินการวิจัย และขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ที่จัดสรรทุนในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณ คุณจักรกฤษ สุวรรณบุตร ผูพัฒนาโปรแกรม

รวมทั้งนักศึกษาพยาบาลปที่ 3 ปการศึกษา 2552 ทุกคนที่ไดรวมกัน ทดสอบสื่อประสมและให

ขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแกไขใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น

รศ.ดร. ดวงฤดี ลาศุขะ

รศ.ดร. วารุณี ฟองแกว

กันยายน 2553

Page 3: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

สารบัญ

หนา

กิตติกรรมประกาศ ก

สารบัญ ข

สารบัญตาราง ค

สารบัญรูปภาพ ง

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (Executive summary) จ

บทคัดยอ (Abstract) ช

บทที่ 1 บทนํา : ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6

บทที่ 3 วิธีดําเนนิการวิจัย 22

บทที่ 4 ผลการวิจัย 28

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 40

บรรณานุกรม 42

ประวัติผูวิจัย 44

ภาคผนวก : Gallery 45

Page 4: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

สารบัญตาราง หนา

ตารางที ่ 1 จํานวนสื่อในหัวขอตาง ๆ 31

ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของประชากร ผูทดลองใชส่ือประสม 34

จําแนกตามตาม ระดับความคิดเห็นตอความเปนไปไดในการนําส่ือประสมไปใช

ตารางที่ 3 จํานวนและรอยละของประชากรจําแนกตามสมรรถนะ 35

ในการปฏิบัติการพยาบาลตามเกณฑการฝกปฎิบัติที่รอยละ 50

Page 5: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

สารบัญรปูภาพ

หนา

รูปที่ 1 Website ที่นําเสนอส่ือประสม 30

รูปที่ 2 Senario ผูปวยมะเร็งปอดที่ตองทําหัตการ Bronchoscopy 32

รูปที่ 3 ภาพยนตรประกอบเสียงแสดงการทําหัตการ Bronchoscopy 32

รูปที่ 4 Senario พยาบาลกําลังตรวจปอดผูปวยที่ไดการบําบัดดวย 33

ยาพนละออง

รูปที่ 5 ภาพยนตรประกอบเสียงแสดงการใชแครื่องพนยา 33

Page 6: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (Executive summary)

การพยาบาลทางอายุรกรรม (Medical nursing) เปนการพยาบาลที่เนนใหการดูแล

ผูปวยที่เจ็บปวยดวยโรคซับซอน ผูปวยเหลานี้จะไดรับการทําหัตถการตาง ๆ เพื่อการวนิิจฉัยโรคที่

แมนยํา ซึ่งสามารถชวยใหทีมสุขภาพรักษาพยาบาลไดอยางถูกตอง คณะผูวิจัย ซึ่งทําหนาที่สอน

นักศกึษาพยาบาล มคีวามเห็นวา การปรับปรุงรูปแบบการสอนวิธีการพยาบาลทางอายุรกรรม ซึ่งเปน

หัตถการโดยใชรูปแบบที่แตกตางจากเดิม จะทําใหนกัศึกษาพยาบาลมีสมรรถนะในการปฏิบัติการ

พยาบาลแกผูปวยไดอยางถูกตอง

สื่อประสม (Multimedia) เปนส่ือประเภทหนึ่ง ที่ประกอบดวยขอความ ภาพนิ่ง

ภาพยนตร และเสียง ซึ่งนํามาใชปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ

ประกอบกับในปจจุบัน การนําเสนอส่ือบนเว็ปสอดคลองกับความตองการและวิถกีารเรียนรูดวยตนเอง

ของผูเรียนยุคใหม ดวยเหตุนีค้ณะผูวิจัย จึงไดทําการศกึษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาส่ือประสมสําหรับใชใน

ระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการ

พยาบาลทางอายุรกรรม” และศึกษาความเปนไปไดของสือ่ประสม ผลการศึกษา พบวา สื่อประสมที่

พัฒนาขึน้มีความเปนไปไดในการนําไปใชในการสรางเสริมสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาล

บทเรียนที่ไดจากการวิจัย ไดขอสรุปดังนี้

1. การออกแบบสื่อสําหรับใชในการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ ควร

ตอบสนองความตองการและวิถีการเรียนรูของผูเรียน

2. นักศึกษาพยาบาล เปนผูเรียนทีม่ีสมรรถนะในการเรียนรูที่ตางกัน ดังนั้น

ครูผูสอน ควรสรางสรรคสื่อในรูปแบบตาง ๆ กัน เพื่อใหผูเรียนมีโอกาสเรียนรูดวยตนเอง

Page 7: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการประยุกตสื่อประสมไปใชในการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติตอไป

2. หนวยงาน ควรสนับสนุนงบประมาณ ในการจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับหัตถการ

ทางคลินิกทุกสาขาวิชา และมีการใหบริการแกโรงเรียนพยาบาล คณะพยาบาลศาสตรอื่น ๆ ทั่ว

ประเทศในรูปของสมาชิก ซึ่งหากทําได คาดวาจะชวยกันประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อ

ฐานขอมูลหัตถการจากตางประเทศ ซึ่งมีราคาแพง

Page 8: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

บทคัดยอ

การเรียนรูโดยการใชสื่อประกอบการสอนในรูปแบบตาง ๆ กัน สามารถชวยใหผูเรียนมี

สมรรถนะตามความมุงหวังของหลักสูตร การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงคเพื่อ

พัฒนาสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษา

พยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม โดยใชขั้นตอน 8 ขั้นตอน ประกอบดวย 1) การ

ออกแบบ 2) การวิเคราะหเนื้อหา 3) ศึกษาความเปนไปไดในการพัฒนา 4) กําหนดผลลัพท 5) จัดลําดับ

ขั้นตอนในการทํางาน 6)สรางส่ือประสม 7) ประยุกตใช และ8) ประเมินผล ประชากรไดแก นักศึกษา

พยาบาลปที่ 3 จํานวน 45 คน ระยะเวลาในการวิจัยเทากับ 14 เดือน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม

ความเปนไปไดในการใชส่ือประสม วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพรรณา

ผลการศึกษาพบวา

1. ลักษณะของส่ือประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม นําเสนอบน

website http://webmed.cmnet .co.th ประกอบดวยสาระสําคัญ 2 สวน ไดแก สาระสําคัญทั่วไป และ

เนื้อหารวมทั้งส้ิน 6 โมดูล มีภาพนิ่ง 159 ภาพ และภาพยนตร 57 เรื่อง

2. สื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในมีความเปนไปไดใน

การเสริมสรางสมรรถนะของนกัศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

Page 9: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

Abstract

Using various media can enhance student’s learning competency and helps

achieving the curriculum’s objectives. The development study aimed to develop

multimedia in intranet system to enhance the competency of student nurses during

practicing medical nursing. There are 8 steps in the development of multimedia which

consists of : 1) instructional design 2) content analysis 3) feasibility study of the development

4) determine outcomes 5) organize working flow 6) construction 7) apply to the setting and 8)

evaluation The population were 45 third year student nurses. The study was conducted for 14

months. Data were collected by using the questionnaires of feasibility in using multimedia by

student nurses. Data were analyzed by using descriptive statistic.

Results indicated that :

1. Multimedia in intranet system for enhancing competency of student

nurse during practice medical nursing has been presented at http://webmed.cmnet.co.th

This media consisted of 2 parts ; general content and 6 modules of medical nursing. All

modules contaied of 159 images and 57 movies.

2. Multimedia had feasibility for enhancing of student nurses’ competency

in medical nursing practice.

Page 10: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

1

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การพยาบาลทางอายุรกรรม (Medical nursing) เปนการพยาบาลท่ีเนนการดูแลผูปวยที่

เจ็บปวยดวยปญหาเฉียบพลันและเรื้อรัง ผูปวยเหลานี้จําเปนตองไดรับการรักษาดวยยาหรือหัตถการ

เฉพาะทางอยางถูกตอง เพื่อใหเกิดผลลัพทที่พึงประสงค ในการจัดการเรียนการสอนการพยาบาล

ทางอายุรกรรมใหแกนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรี จะครอบคลุมทั้งการสอนทฤษฎีและ

ภาคปฏิบัติซึ่งในภาคปฏิบัตินั้น นักศึกษาพยาบาลจะไดฝกปฏิบัติการดูแลผูปวยที่เขารับการรักษาใน

หอผูปวยอายุรกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ซ่ึงผูปวยเหลานี้มักปวยดวยโรคตาง ๆ ที่ตอง

รักษาดวยยา เชน โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคถุงลมโปงพอง โรคมะเร็ง และอื่น ๆ ขณะที่รักษาตัว

ในโรงพยาบาล แพทยจะทําหัตถการตาง ๆ ไดแก การเจาะปอด (Thoracosenthesis) การเจาะทอง

(abdominal paracentesis) การเจาะหลัง (Lumbar puncture) รวมทั้งการตรวจพิเศษตาง ๆ ไดแก การ

สวนหัวใจ การสองกลองเพื่อดูความผิดปกติในหลอดลมและระบบทางเดินอาหาร และอื่น ๆ อีก

หลายอยาง ผลการตรวจหัตถการจะชวยใหแพทยสามารถวินจิฉัยโรคไดถูกตอง อยางไรก็ตาม ผูปวย

ที่ไดรับการทําหัตถการดังกลาวอาจเกิดภาวะแทรกซอนหลังทําได ผูปวยหลายคนมีความวิตกกังวล

เกี่ยวกับขั้นตอนของการทําหัตถการ ซึ่งอาจนําไปสูการไมใหความรวมมือในการรักษา จึงมีความ

จําเปนที่จะตองมีการเตรียมความพรอมใหแกนักศึกษาพยาบาลกอนขึ้นฝกปฏิบัติในแผนกอายุรกรรม

เพื่อใหการดูแลผูปวยเหลานี้เปนไปตามมาตรฐานการดูแลที่ถูกตองและเหมาะสมตอไป

การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการพยาบาลผูปวยที่ไดรับการทําหัตถการทางอายุรกรรม

สําหรับนักศึกษาพยาบาลนั้น มีความมุงหวังที่จะใหนักศึกษามีสมรรถนะในการดูแลผูปวยเหลานี้ได

อยางถูกตอง โดยในชวง 3-4 ปที่ผานมา ผูสอนไดเตรียมความพรอมในหลายรูปแบบ อาทิเชน การ

จัดใหมีการบรรยายประกอบภาพ และการสาธิต และสาธิตยอนกลับในหองปฏิบัติการพยาบาล

ตอจากนั้น นักศึกษาจึงจะไปฝกปฏิบัติบนหอผูปวยในแผนกอายุกรรมของโรงพยาบาล นอกจากนั้น

Page 11: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

2

ผูสอนยังไดมีการเตรียมเอกสารในรูปของตําราเกี่ยวกับการดูแลผูปวย เพื่อใหนักศึกษาไดศึกษา

คนควาเพิ่มเติมภายหลัง แตจากประสบการณการสอนและการสังเกตของผูวิจัย พบวานักศึกษา

พยาบาลหลายคนขาดโอกาสในการเรียนรูไดไมเต็มที่ ท้ังนี้เพราะเกิดจากปจจัยหลายอยาง เชน ไมมี

หัตถการจริงใหนักศึกษาพยาบาลไดสังเกตและฝกการชวยเหลือ ขณะที่ขึ้นฝกปฏิบัติบนหอผูปวย

และเมื่อตองการศึกษาคนควาดวยตนเอง ก็ยังขาดสื่อ หรืออุปกรณที่ชวยใหนักศึกษาสามารถเปดดูได

ทุกเวลา ทุกสถานที่ได สถานการณดังกลาว ทําใหนักศึกษามีโอกาสขาดประสบการณสําคัญขณะ

ปฏิบัติ ซ่ึงจะเปนผลตอสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลเมื่อสิ้นสุดการฝกบนหอผูปวย และนําไปสู

การดูแลผูปวยที่ไมถูกตอง ดังนั้น การปรับเปลี่ยนส่ือการสอนที่เหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบัน

นอกเหนือไปจากตําราการพยาบาลอายุรกรรม ซึ่งมีเพียงแตขอความและภาพนิ่ง นาจะเปนทางเลือก

ใหมที่ทําใหนักศึกษาเกิดการเรียนรูดวยตนเองนอกเหนือจากการเรียนการสอนแบบเดิม ดังการ

ทบทวนวรรณกรรมอยางเปนระบบของแคนทและคูเปอร (Cant, R.P. & Cooper, S.J., 2010) โดย

สังเคราะหจากงานวิจัยเชิงทดลอง 12 เรื่อง ไดขอสรุปวา การใชสถานการณจําลอง ไมวาจะเปน

สถานการณจําลองที่แสดงเองหรือนําเสนอในวิดิทัศน สามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดมาก

เชนเดียวกับการศึกษาเชิงทดลองของแมค (Maag M., 2004) ที่มหาวิทยาลัย 2 แหง ในเมือง

แคลิฟอรเนียเหนือ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยกลุมทดลองใชสื่อแบบสื่อประสมในการเรียนรูเนื้อหา

คณิตศาสตร สวนกลุมควบคุมใชส่ือแบบเดิม ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ผลการศึกษาพบวา กลุมทดลอง

มีความรูและสมรรถนะแหงตนเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีความพึงพอใจ จะเห็นไดวาหากมีการพัฒนาสื่อ

รูปแบบใหม สําหรับนักศึกษาพยาบาล นาจะมีผลตอการเรียนรูของนักศึกษา

สื่อประสม (Multimedia) เปนรูปแบบหนึ่งของการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใน

การจัดการเรียนการสอน สื่อประสม หมายถึง การใชสื่อหลายแบบผสมกัน ซึ่งมีทั้งที่เปนขอความ

ตัวหนังสือ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงพูด เสียงดนตรี และวีดิทัศน (ศูนยกลางความรูแหงชาติ,

2008) เปาหมายของการใชส่ือประสม ก็เพื่อตองการฝงประสบการณลงในประสาทสัมผัสของผูเรียน

เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหเกิดขึ้นกับผูเรียน สื่อประสมชวยใหผูเรียนมีประสบการณและสามารถ

เขาใจเรื่องราวตาง ๆ จากการไดยินเสียง มองเห็นภาพ มีปฏิกิริยาโตตอบ และเรียนรูจากภาพ

เคลื่อนไหวของวีดิทัศนซึ่งเปนประสบการณที่เหมือนจริง ชวยใหมองเห็นภาพบรรยากาศและเขาใจ

เนื้อหาไดเปนอยางดี ส่ือประสมชวยทําใหประสบการณดังกลาวเปนจริงไดโดยจําลองภาพมาฉายให

ผูเรียนชมไดโดยไมตองอยูในสถานการณนั้น ๆ ก็ได (Heinich et al., 2002) ดวยเหตุนี้ในปจจุบันสื่อ

ประสมจึงเปนที่ยอมรับในทุกวงการ และมีการนําไปใชดานการเรียนการสอน ซึ่งการนําเสนอมีทั้ง

เสนอบนเครือขายคอมพิวเตอร และทําในรูปของ CD-Rom เปนตน ในดานการจัดการเรียนการ

สอนทางอายุรกรรมนั้น ไดมีการพัฒนาส่ือประสมไวบาง เชน สื่อประสมเรื่องการดูแลผูปวยขณะใส

Page 12: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

3

เครื่องชวยหายใจสําหรับนักศึกษาพยาบาล ปที่ 4 (จิราภรณ อุดมเดช, 2549) แตส่ือประสมดังกลาวอยู

ในรูปของ CD-Rom นอกจากนั้น จุฬารักษ กวีวิวิธชัย และคณะ (2550) ไดพัฒนาสื่อประสมที่

บูรณาการความรูดานกายวิภาค สรีรวิทยา เพื่อสงเสริมทักษะการเรียนรูของนักศึกษาพยาบาลในการ

ตรวจรางกาย เพื่อใหนักศึกษาพยาบาลมีการวางแผนการดูแลผูปวยไดอยางมีประสิทธิภาพ ผล

การศึกษา พบวาไดสื่อประสมที่มีปฏิสัมพันธกับผูเรียนเพื่อสงเสริมการเรียนรูของนักศึกษาพยาบาล

ในทักษะการตรวจรางกาย แตสื่อชนิดนี้ก็ยังอยูในรูปแบบของ CD-Rom เชนกัน ดังนั้นจึงมีความ

จําเปนที่จะพัฒนาสื่อประสมในรูปแบบอื่นนอกเหนือจาก CD-Rom โดยเฉพาะในเครือขาย

อินเตอรเนต ซึ่งถือวาเปนระบบที่เสถียรท่ีสุดในปจจุบันและสามารถตอบสนองผูเรียนไดทุกเวลา ทุก

สถานที่ ประกอบกับจากการศึกษาดูงานดานการจัดการเรียนการสอนของผูวิจัย ณ มหาวิยาลัยนัน

ยาง ประเทศสิงคโปร เมื่อ ป พ.ศ. 2550 พบวา โรงเรียนพยาบาลแหงนี้ ไดพัฒนาสื่อประสมเกี่ยวกับ

หัตถการตาง ๆ ดานการพยาบาลและนําเสนอผานเครือขายภายใน ( Intranet) เพื่อใหนักศึกษาได

เรียนรูดวยตนเองไดทุกเวลาและทุกสถานที่ในมหาวิทยาลัย ปจจุบันไดมีการปรับปรุงรูปแบบและ

สาระสําคัญเพื่อใหเกิดความอยากเรียนรู และจากการสัมภาษณผูเรียนซึ่งใหความเห็นตรงกันวา

สามารถชวยในการเตรียมความพรอม และสามารถทบทวนความรูไดในภายหลัง

ดวยความสําคัญทีก่ลาวมาขางตน คณะผูวิจัย ซึ่งปฏิบัติงานดานการเรียนสอนในกลุมการ

พยาบาลอายุรศาสตร คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เห็นความสําคัญและความจําเปน

ในการพัฒนาสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งถือเปนนวัตกรรมทางเรียนรูอยางหนึ่ง เพื่อนําเสนอเนื้อหา

รูปภาพ ภาพยนตร และเสียงบรรยายประกอบเรื่องวิธีการพยาบาลทางอายุรกรรมในระบบเครือขาย

อินเตอรเนต ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนสามารถพัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง อันจะนําไปสูการเสริมสราง

สมรรถนะของการฝกปฏิบัติตามที่เปาหมายของหลักสูตรตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนาสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบตัิการพยาบาลทางอายุรกรรม

2. เพื่อศึกษาความเปนไปไดของส่ือประสมในการเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษา

พยาบาลในการฝกปฏิบัตกิารพยาบาลอายุรกรรม

Page 13: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

4

คําถามของการวิจัย

1. สื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสราง

สมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรมเปนอยางไร

2. ส่ือประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพวิเตอรภายในมีความเปนไปไดในการ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบตัิการพยาบาลทางอายุรกรรมหรือไม

ขอบเขตการวิจัย

การวจิัยนี้เปนการศกึษาเชิงพัฒนา (developmental study) เพื่อพัฒนา สื่อประสมสําหรับ

ใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนกัศึกษาพยาบาลในการฝก

ปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม ระหวางเดือน มิถุนายน 2552 ถึง กรกฎาคม 2553

นิยามศัพท

สื่อประสมสําหรับใชในระบบเครอืขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของ

นักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏบิัติการพยาบาลทางอายุรกรรม หมายถึง สื่อที่ประกอบดวยขอความ

ตัวหนังสือ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงพูด เสียงดนตรี และวีดิทัศน ที่มีเนื้อหาเฉพาะเรื่อง “วิธีการ

พยาบาลทางอายุรกรรม” ประกอบดวย 6 โมดูล ไดแก 1) การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการตรวจพิเศษ

2) การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการเจาะตาง ๆ 3) การพยาบาลผูปวยที่วัดความดันเลือดสวนกลาง 4)

การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการบําบัดดวยวิธีพนละออง 5) การเจาะเลือดทางหลอดเลือดดํา และ 6)

การใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา เนื้อหาแตละโมดูลออกแบบโดยอิงกรอบของกระบวนการ

พยาบาล (Nursing process) ไดแก ตัวอยาง กรณีศกึษา การประเมิน การวางแผนการพยาบาล การ

ปฏิบัติ และการประเมินผล เนื้อหาท้ังหมดนําเสนอในระบบเครือขายอินเตอรเนตภายใน

ความเปนไปไดของสื่อประสมในการเสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการ

ฝกปฏบิัติการพยาบาลทางอายุรกรรม หมายถึง เหตกุารณที่เกิดขึ้นจากการใชส่ือประสม ในที่นีค้ือ

สมรรถนะในการปฏิบัตกิารพยาบาลทางอายุรกรรมของนกัศึกษาพยาบาล ประเมินโดยใชแบบ

ประเมินความเปนไปไดของการใชสื่อประสม และแบบประเมินสมรรถนะของนกัศกึษาพยาบาลใน

การปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรมท่ีผูวิจัยประยกุตจากแบบประเมินสมรรถนะทางคลินกิของ

นักศกึษาพยาบาล กลุมการพยาบาลอายุรศาสตร

Page 14: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

5

นักศึกษาพยาบาล หมายถึงนักศึกษาพยาบาลปที่ 3 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาฝก

ปฏิบัติการพยาบาลผูใหญและผูสูงอายุ 1 และ 2 จํานวน 45 คน

Page 15: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

6

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวจิัยเรื่อง “การพัฒนาส่ือประสมสําหรับใชในระบบเครอืขายคอมพิวเตอรภายใน

เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม” ในครั้ง

นี้ คณะผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวจิัยที่เกี่ยวของดังนี ้

1. การพัฒนาส่ือประสม

1.1 ความหมายของส่ือประสม

1.2 ความสําคัญของส่ือประสมกับการจัดการเรียนการสอนทางพยาบาล

1.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสื่อประสม

1.4 หลักการออกแบบส่ือประสม

1.5 ขั้นตอนการพัฒนาสื่อประสม

2. สมรรถนะในการปฏิบัตกิารพยาบาลทางอายุรกรรม

2.1 ความหมาย

2.2 สมรรถนะของนักศกึษาพยาบาล

2.3 ขอบเขตสมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

Page 16: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

7

การพัฒนาสื่อประสม

ความหมาย

ราชบัณฑิตยสถาน (2542) ไดบัญญัติศัพทคําวา “multimedia” เปนศัพทบัญญัติ

เทคโนโลยีสารสนเทศไววา หมายถึง ส่ือประสม และสื่อหลายแบบ

ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ (2546) ใหความหมายของสื่อประสม (Multimedia) หมายถึง

การนําองคประกอบของสื่อชนิดตาง ๆ มาสมผสาน เขาดวยกัน ประกอบดวย ขอความ (Text)

ภาพนิ่ง (Image) ภาพเคลื่อนไหวหรือแอนิเมชั่น (Animation) เสียง (Sound) และวีดิทัศน (Video)

โดยผานกระบวนการทางคอมพิวเตอรเพื่อสื่อความหมายกับผูใชอยางมีปฏิสัมพันธ (Interactive

Multimedia) และไดบรรลุผลตามวัตถุประสงคการใชงาน

สวน กิดานันท มลิทอง (2548) ไดอธิบายวา สื่อประสม หมายถึง การนําสื่อหลาย ๆ

ประเภทมาใชรวมกันทั้ง วัสดุ อุปกรณและวิธีการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดใน

การจัดการเรียนรู โดยการใชสื่อแตละอยางนั้น จะใชตามลําดับขั้นตอนของเนื้อหา

ดังนั้น คําวา “สื่อประสม” (Multimedia) จึงมีความหมายในแงของวิธีการ และรูปแบบ

โดยวิธีการ มีจุดเนนที่มีการใชสื่อหลายแบบมาผสมกับการบรรยาย สวนรูปแบบนั้นจะเนนที่เปนสื่อ

ประสมที่ใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการนําเสนอสารสนเทศหรือการผลิตสารสนเทศในรูปแบบ

ของขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน ภาพกราฟก ภาพแอนิเมชั่น และเสียงโดยที่ผูใชมี

การโตตอบกับสื่อโดยตรง ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ จะยึดตามความหมายตามรูแบบ โดยที่เรื่องใดเรื่อง

หนึ่งจะมีองคประกอบหลายอยางรวมกัน

ความสําคัญของสื่อประสมกับการจัดการเรียนการสอนทางพยาบาล

เปนที่ทราบกันดีวา ทุกวงการการศึกษาไดใหความสําคัญของการใชสื่อรูปแบบตาง ๆ

มาใชในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนทางพยาบาลศาสตรก็เชนกัน

Page 17: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

8

ไดมีการนําสื่อประสมมาประยุกตใชอยางกวางขวาง จากการทบทวนงานวิจัยตาง ๆ พบวา สื่อ

ประสมบนเครือขายอินเตอรเนต มีความสําคัญดังนี้

1. ชวยใหผูสอนจัดระบบขอมูล (organization) ใหแกผูเรียน เนื่องจากในการเรียนการ

สอนโดยใชส่ือแบบนี้ ผูสอนไมสามารถจัดเนื้อหาท่ีเตรียมมาท้ังหมดใหแกผูเรียนได การทําส่ือแบบนี้

ผูสอนจําเปนตองจัดเนื้อหาที่มีความสลับซับซอนและแยกเนื้อหาที่มากเกินไป มาจัดเปนระบบขอมูล

ใหมที่ส้ัน กระทัดรัด เพื่อชวยใหผูเรียนเขาใจ จําไดนาน และสามารถใหผูเรียนเชื่อมโยงขอมูลที่เรียน

มาตั้งแตตนกับขอมูลในบทเรียนหลัง ๆ ได ทําใหการเรียนงายขึ้น ดังเชนผลการสรางบทเรียน

อิเล็กทรอนิกสบนเครือขาย วิชาการประเมินภาวะสุขภาพ สําหรับนักศึกษาปริญญาตรี คณะพยาบาล

ศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ซึ่งผูพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกสบนเครือขายไดผานขั้นตอนการ

วิเคราะหงาน (task analysis) ในการวิเคราะหเนื้อหาในบทเรียน วิเคราะหผูเรียนและสิ่งแวดลอม ทํา

ใหบทเรียนอิเล็กทรอนิกสบนเครือขายมีความเหมาะสมกับบริบทที่จะนําไปใช เมื่อนําไปประเมิน

ประสิทธิภาพ พบวามีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑที่กําหนดไว (พิมพวลัญช นันทัยทวีกุล, 2551)

2. ชวยใหผูเรียนมีความใสใจ (attention) เนื่องจากในการออกแบบเนื้อหาของสื่อ

ประสม ตองมีการคัดเลือกสาระสําคัญที่จําเปนใหผูเรียนมีความสนใจ การที่ผูเรียนสนใจจะทําให

เนื้อหานี้ถูกเก็บรวบรวมไวในความจําระยะสั้น (recent memory) ดังเชนผลการศึกษาของการ

ฝกอบรมผานเว็บ เรื่องกระบวนการตัดสินใจตอความสามารถในการแกปญหาทางการพยาบาลวชิาชีพ

โรงพยาบาลอานันทมหิดล พบวาการฝกอบรมผานเว็บทําใหกลุมตัวอยางเกิดความสนใจ ตื่นเตน

อยากที่จะเรียนรู ติดตามเนื้อหาและกิจกรรมในการฝกอบรม ทําใหเกิดกระบวนการใสใจ และเก็บจํา

สิ่งที่ไดเรียนรู (จินตนา พุมเพ็ชร, 2545) ซึ่งหากมีการทองจําบอย ๆ หรือทําซ้ํา ๆ กัน จะทําใหผูเรียน

จําได และนําไปสูความจําระยะยาวตอไป ดังการศึกษาเชิงทดลองเรื่องการใชสื่อประสมบนเว็บใน

การสงเสริมความจําในผูปวยภาวะสมองเสื่อมระยะแรก ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ผลพบวาในกลุม

ทดลองจํานวน 59 คน ที่เขาถึงเนื้อหาซ้ํา ๆ สามารถใชงานเว็บและจดจําเนื้อหาไดงายกวาสื่อที่มีอยู

เดิม (Mahoney, Tarlow, Jones & Sandaire, 2002)

สรุปไดวา สื่อประสมบนระบบเครือขายหรือบนเว็บ มีความสําคัญกับการจัดการเรียนการ

สอนทางการพยาบาล

Page 18: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

9

ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสือ่ประสม

เนื่องจากในการพัฒนาสื่อประสมบนระบบเครือขาย มีเปาหมายสําคัญที่จะใหผูเรียน

เกิดผลสัมฤทธในการเรียนรู ดังนั้น ในที่นี้จะกลาวถึงทฤษฎีที่เกี่ยวของ ไดแก ทฤษฎีการเรียนรู

โดยมัลติมิเดีย (The Cognitive Theory of Multimedia Learning) ของ เมเยอร (Mayer ,2001) ซึ่งพัฒนา

มาจากทฤษฏี Dual Coding ของ Pavio (1990)

ทฤษฎีการเรียนรูโดยมัลติมีเดีย อธิบายวา ระบบที่เกี่ยวของกับกระบวนการการเรียนรูของ

มนุษยมีอยู 3 ระบบ ไดแก

1. ระบบรับความจําโดยประสาทรับความรูสึก (sensory memory) โดยทั่วไปมนุษย

ติดตอกับสิ่งเราไดดวยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 คือ ตาสําหรับดู หูสําหรับฟง จมูกสําหรับดมกลิ่น ลิ้น

สําหรับรับรส และผิวหนังสําหรับรับความรูสึก เมื่อประสาทสัมผัสทั้ง 5 รับขอมูลเชนในรูปของ

เสียงหรือภาพ มันจะถูกบันทึกอยูใน sensory register ซึ่งเปนความจําระบบแรก มีหนาที่เก็บขอมูล

ตางๆในระยะเวลาส้ัน ๆ ประมาณ 1-3 วินาที เพื่อใหมนุษยตัดสินใจวา จะใหความสนใจตอหรือไม

ขอมูลตาง ๆ ที่ถูกสงผานเครื่องรับสัมผัสจะมีจํานวนมากเกินกวาที่ระบบตางๆของมนุษยจะรับไวได

ดังนั้นในกระบวนการบันทึกสัมผัสจะไมรับขอมูลไวทั้งหมด แตจะเลือกรับขอมูลหรือสิ่งเราที่ตนรูจัก

หรือมีความสนใจเทานั้น

2. ระบบความจําในชวงที่ทํางานอยูหรือชวงสั้น (working memory) เม่ือภาพและเสียงที่

มนุษยตัดสินใจเลือกรับผานเขา บางสวนจะถูกบันทึกไวใน working memory แลวจะมีการจัดแจง

ภาพและเสียงยอย ๆ เหลานี้ใหเปนกลุมเปนกอน ทําใหเกิดความรูในรูปของภาพและเสียง และเก็บไว

เปนความจําระยะสั้น ซึ่งจะอยูในระยะเวลาที่จํากัด ซึ่งความจําระยะสั้นเปนการจําชั่วคราว และมี

ความจํากัดโดยมีขีดจํากัดสูงสุดของการจําขอมูลเดียว

3. ระบบความจําในระยะยาว (long-term memory) ในขั้นตอนนี้ มวลความรูที่เหลือมา

จากความจําระยะสั้นอาจจะเขาไปรวมกับความรูเดิมในสวนของความจําในระยะยาว หรือไปรวมกับ

กลุมความรูอื่น (ถามี) ดังนั้น การนําเสนอผานทั้งทางจักษุประสาทในรูปของตัวหนังสือ (text) กับ

ภาพ (image) และทางโสตประสาทในรูปของเสียง (sound) จะชวยใหเกิดการเรียนรูคําศัพทไดดีกวา

การนําเสนอเพียงวิธีเดียว

Page 19: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

10

อยางไรก็ตาม การใชขอความประกอบภาพยังตองระวังในเรื่องของการใชงานของสมอง

ที่มากเกินไป หากมีการใชพรอมๆ กันจะทําใหเกิดการ Overload ได วิธีการแกไขคือควรเพิ่ม

ชองทางเสียงเพื่อแบงเบาภาระของสมองในดาน Visual Processing และสิ่งที่ควรระวังที่สุดคือการใส

องคประกอบของภาพ ตัวอักษรและเสียงเขามาพรอม ๆ กันทําใหเกิดผลเสียอยางมากตอการรับรู

นอกจากนั้น ยังตองระวังไมใหเกิดการซ้ําของชองทางการรับสารแลว ผูสอนยังตองระวัง ภาพ เสียง

ตัวอักษร ที่ไมเกี่ยวเนื่องกันกับเนื้อหาดวย จากการวิจัยพบวา ถาหากใสองคประกอบดังกลาวที่ไม

เกี่ยวของกับเนื้อหาที่จะสอน จะทําใหประสิทธิผลการเรียนรูลดลง (Mayer, 2001)

หลักการออกแบบสื่อประสม

สุกรี รอดโพธ์ิทอง (2531) กลาวถึง หลักการออกแบบส่ือประสมเพื่อการเรียนการ

สอน ซึ่งดัดแปลงมาจากกระบวนการเรียนการสอน 9 ขั้นของ กาเย บริกสและแวกเนอร (Gagne,

Briggs and Wagner, 1992) ดังนี้

1. การเราความสนใจใหพรอมที่จะเรียน (Gain Attention) กอนที่จะเริ่มเรียนมีความ

จําเปนอยางยิ่งที่ผูเรียนควรจะไดรับแรงกระตุนและจูงใจใหอยากที่จะเรียน ทําไดโดยการใชภาพ สี

เสียงประกอบ ในการสรางไตเติล(Title) ใช กราฟกขนาดใหญ งายไมซับซอน มีการเคลื่อนไหวที่สั้น

และงาย ใชสีและเสียง เขาชวยใหสอดคลองกับกราฟก ภาพควรคางอยูที่จอภาพจนกวาผูเรียนจะ

เปลี่ยนภาพ ในกราฟกควรบอกชื่อเรื่องที่จะเรียน แสดงผลบนจอไดเร็วและควรเหมาะกับวัยของ

ผูเรียนดวย

2. วัตถุประสงคของการเรียน (Specify Objective ) การบอกวัตถุประสงค ของการ

เรียนในสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษานั้น เพื่อใหผูเรียนรูลวงหนาถึงประเด็น สําคัญของเนื้อหา และเคา

โครงเนื้อหาอยางกวางๆ เพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพ การบอกวัตถุประสงคนั้นทําไดหลายแบบ

อาจบอกเปนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมหรือวัตถุประสงคทั่วไป ซึ่งจะตองคํานึงดวยวาควรใชถอยคํา

งาย หลีกเล่ียงคํา ที่ยังไมเปนที่รูจักและเขาใจโดยทั่วไป ไมควรกําหนดวัตถุประสงคหลายขอเกินไป

ถาเปน บทเรียนใหญมีวัตถุประสงคกวาง ๆ ควรตอดวยเมนู (Menu) แลวจึงมีวัตถุประสงคยอย ปรากฏ

บนจอ ทีละขอ โดยใชกราฟกงาย ๆ และการเคลื่อนไหวเขาชวย

Page 20: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

11

3. ทบทวนความรูเดิม (Active Prior Knowledge) กอนที่จะใหความรูใหม แกผูเรียน ซ่ึง

ในสวนของเนื้อหาและแนวความคิดนั้นๆ ผูเรียนอาจไมมีพื้นฐานมากอน มีความจําเปนอยางยิ่งที่

ผูออกแบบโปรแกรมควรจะตองหาวิธีการประเมินความรูเดิม ในสวนที่จําเปนกอนที่จะรับความรูใหม

นอกจากจะเปนการเตรียมผูเรียน ใหพรอม ที่จะรับความรูใหมแลวสําหรับผูที่มีพื้นฐานแลวก็จะเปน

การทบทวน แตก็ไมจําเปน ตองมีการทดสอบเสมอไป ขั้นนี้ควรเปดโอกาสใหผูเรียนออกจากเนื้อหา

หรือแบบทดสอบไดตลอดเวลา

4. ใหเนื้อหาและความรูใหม (Present New Information) ควรใช ภาพประกอบกับ

เนื้อหาที่กะทัดรัด งายและไดใจความ ภาพที่ดีไมควรมีรายละเอียด มากเกินไป ใชเวลานานไป ไม

เกี่ยวกับเนื้อหา เขาใจยาก หรือการออกแบบไมเหมาะสม การออกแบบโปรแกรมในสวนของเนื้อหา

ควรคํานึงดวยวาควรใชภาพประกอบเฉพาะ สวนเนื้อหาท่ีสําคัญ อาจใชกราฟกในลักษณะตาง ๆ เชน

แผนภูมิ แผนภาพ ภาพ เปรียบเทียบชวย เนื้อหาที่ยากและสลับซับซอนควรใชตัวชี้แนะ (Cue) เชน

การขีดเสนใต การตีกรอบ การเปลี่ยนสีพื้น ฯลฯ แตไมควรใชกราฟกที่ยาก ควรจัดรูปแบบใหนาอาน

ยกตัวอยางที่เขาใจงาย ควรเสนอกราฟกเทาที่จําเปนและไมควรใชสีเกิน 3 สีในจอสี ใชคําที่คุนเคย

การโตตอบควรมีหลาย ๆ แบบ

5. แสดงความสัมพันธของเนื้อหา (Guide Response) ในขั้นนี้เปนการเปด โอกาสให

ผูเรียนรวมคิด รวมกิจกรรม ซ่ึงยอมทําใหผูเรียนจดจําเนื้อหาไดดี และสัมพันธกับประสบการณเดิม

ของผูเรียน ควรแสดงใหเห็นวาสวนยอยมีความสัมพันธ กับสวนใหญ และสิ่งใหมมีความสัมพันธกับ

ความรูเดิมของผูเรียน บางครั้งควรให ตัวอยางที่แตกตางออกไปบาง ถาเนื้อหายากควรใหตัวอยางที่

เปนรูปธรรม และควรกระตุนใหผูเรียนคิดถึงประสบการณเดิม

6. กระตุนการตอบสนอง (Elicit Responses) ในขั้นนี้เปนการเปดโอกาส ใหผูเรียน

รวมคิด รวมกิจกรรมซ่ึงยอมทําใหผูเรียนจําเนื้อหาไดดี ควรใหผูเรียนตอบสนองวิธีใดวิธีหนึ่งเปนครั้ง

คราว ไมควรใหตอบยาว ควรเราความคิด อาจใช กราฟกหรือเกมชวยในการตอบสนอง หลีกเลี่ยงการ

ตอบสนองซํ้า ๆ และไมควรมีคําถามหลายคําถามในขอเดียวกัน การตอบสนองของผูเรียน คําถาม และ

ผลปอนกลับ ควรอยูในกรอบ (Frame ) เดียวกัน

7. ใหขอมูลปอนกลับ (Provide feedback) บทเรียนจะกระตุนความสนใจของผูเรียน

ไดมาก ถาบทเรียนนั้นทาทายผูเรียน โดยบอกจุดมุงหมายที่ชัดเจนและใหผล ปอนกลับเพื่อบอกให

Page 21: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

12

ผูเรียนรูวาผูเรียนอยูตรงไหน หางจากเปาหมายเทาใด และควร คํานึงดวยวาผลปอนกลับควรใหทันที

หลังจากผูเรียนตอบสนอง บอกใหผูเรียนทราบวา ตอบถูกหรือผิด การแสดงคําถาม- คําตอบ และผล

ปอนกลับควรอยูในกรอบเดียวกัน ควรใชภาพงายๆ ที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเขาชวย หลีกเลี่ยง การใช

ภาพที่ตื่นตา เพื่อ หลีกเลี่ยงผลทางภาพจะทําใหผูเรียนสนใจมากกวาเนื้อหา ไมควรใชกราฟกที่ไม

เกี่ยวของ กับเนื้อหา ใชการใหคะแนนหรือภาพเพื่อบอกความใกลไกล จากจุดหมาย และควรเปลี่ยน

รูปแบบของผลปอนกลับบางเพื่อเราความสนใจ

8. ทดสอบ (Assess Performance) เพื่อเปนการประเมินผลการเรียนและใหผูเรียน

สามารถจําได ควรคํานึงดวยวาแบบทดสอบควรตรงกับจุดประสงคของบทเรียน ขอทดสอบ ตอบ

และขอมูลปอนกลับควรอยูในกรอบเดียวกัน และตอเนื่องอยางรวดเร็วไมควรใหผูเรียนพิมพคําตอบ

ยาวเกินไป ควรให ผลปอนกลับครั้งเดียวในหนึ่งคําถามและควรบอกผูเรียนถึงวิธีที่จะตอบใหชัดเจน

บอกผูเรียนวามี ตัวเลือกอื่นดวยหรือไมท่ีจะชวยในการทําแบบทดสอบ และตองคํานึงถึงความแมนยํา

และความเช่ือถือไดของแบบทดสอบ อยาตัดสินใจวาตอบผิดถาคําตอบไมชัดเจน ควรใชภาพประกอบ

ในการตั้งคําถาม ไมควรตัดสินวาคําตอบผิด ถาพิมพผิด วรรคผิด ใชตัวอักษรผิด

9. การนําความรูไปใช (Enhancing Retention and Transfer) ควรให ผูเรียนทราบวา

ความรูใหมมีสวนสัมพันธกับความรูเดิมอยางไร เพื่อทบทวนแนวคิดสําคัญ เสนอแนะสถานการณ ที่

ความรูใหมอาจทําประโยชนไดและบอกผูเรียน ถึงแหลงขอมูลที่เปนประโยชนตอเนื่อง

ขั้นตอนในการออกแบบสื่อประสม

การออกแบบสื่อประสมบนเว็บที่มีประสิทธิภาพถือวาเปนทั้งศิลปะและวิทยาศาสตร

และเปนทั้งความคิดสรางสรรค พิทักษ ศีลรัตนา (2531) เสนอการขั้นตอนการพัฒนาบทเรียนที่เปน

สื่อประสม โดยมี 8 ขั้นตอนใหญ ๆ ไดแก

1. ขั้นการออกแบบ (Instructional Design) เปนการกําหนดคุณลักษณะและรูปแบบ

การทํางานของโปรแกรม ผูออกแบบตองมีความรอบรูในเนื้อหา หลักจิตวิทยา วิธีการสอน การวัดผล

และประเมินผล ซ่ึงตองมีการรวมกันพัฒนา

Page 22: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

13

2. วิเคราะหเนื้อหา โดยมีขอพิจารณาดังนี้

2.1 เลือกเนื้อหาท่ีมีการฝกทักษะทําซํ้าบอย ๆ ตองมีภาพ ประกอบ

2.2 เลือกเนื้อหา ท่ีคาดวาสามารถชวยประหยัดเวลาในการสอนไดมากกวาวิธีเดิม

2.3 เนื้อหาบางอยางที่สามารถจําลองใหอยูในรูปของการสาธิตได

3. ศึกษาความเปนไปได ในการสรางสื่อประสม โดยมีขอพิจารณาดังนี้

3.1 มีบุคลากรที่มีความรูพอจะพัฒนาโปรแกรมไดตามความ ตองการหรือไม

3.2 ใชระยะเวลาในการพัฒนามากเกินกวาการสอนแบบ ธรรมดาหรือพัฒนาดวยสื่อ

การสอนแบบอ่ืนไดหรือไม

3.3 ตองการอุปกรณพิเศษที่ตอเพิ่มเติมจากคอมพิวเตอรหรือไม

4. กําหนดผลลัพท เปนการกําหนดสิ่งที่ คาดหวังจากผูเรียน โดยเปรียบเทียบกอนและ

หลังการใชโปรแกรม ซ่ึงครอบคลุมเรื่อง

4.1 ผลสัมฤทธ เชนความรูของผูเรียน รวมถึงทักษะกอนและหลังการใชโปรแกรม

4.2 ความพึงพอใจของผูเรียนหลังเรียน

5. การลําดับขั้นตอนการทํางาน คือนําเนื้อหาที่ไดจาก การวิเคราะหและสิ่งที่คาดหวัง

จากผูเรียนมาเรียงลําดับ แลววางแนวการเสนอในรูปของ Storyboard และ Flow Chart โดยเนนใน

เรื่องตอไปนี้

5.1. ภาษาที่ใชเหมาะสมกับผูเรียนหรือไม

5.2 ขนาดขอความใน 1 จอภาพ

5.3 ขนาดของตัวอักษรที่เหมาะสมกับวัยของผูเรียน

5.4. คําติ คําชม แรงเสริมตาง ๆ ในการเรียน

5.5 หลักจิตวิทยา การเรียนรู การชี้แนะ

5.6 แบบฝกหัด การประเมินผลความสนใจ

6. ขั้นการสราง (Instruction Construction) หมายถึง การสราง การทดสอบ และ

ปรับปรุงแกไข โปรแกรมดังนี้

Page 23: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

14

6.1. การสรางโปรแกรม เปนการทําเนื้อหาที่อยูในรูปของ สตอรี่บอรดใหเปน

ชุดคําสั่งที่คอมพิวเตอรเขาใจ โดยใชภาษาใดภาษาหนึ่งหรือ โปรแกรมสําหรับการสรางบทเรียน

โดยเฉพาะ (Authoring System) โดยตองมีการตรวจแกขอผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมและหาขอ

บกพรองที่ผูออกแบบคาดไมถึง เพื่อนําขอมูลเหลานั้นกลับมาปรับปรุง ตนฉบับ และแกไขโปรแกรม

ตอไป

6.2. ปรับปรุงแกไข หลังจากทราบขอบกพรอง จากการ นําโปรแกรมไปทดสอบการ

ทํางานแลวทําการปรับปรุงแกไข การปรับปรุง จะตองเปลี่ยนแปลงที่ตนฉบับของ Storyboard กอน

แลวจึงคอย ปรับปรุงแกไข เมื่อแกไขเรียบรอยแลวนําไปทดสอบการทํางานใหม จนกวาจะได

โปรแกรมที่เรียบรอย แลวนําไปทดสอบการทํางานใหม

6.3 ขั้นการประยุกตใช (Instruction Implementation) การประยุกตใชในการเรียน

การสอนและการประเมินผล เปนขั้นตอนที่จะตัดสินใจวา โปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนที่

พัฒนาขึ้นเปนอยางไร สมควรที่จะใชงานในการเรียนการสอนหรือไม

7. ประยุกตใชในหองเรียน การนําโปรแกรมไปใชในการเรียน การสอนจะตองทําตาม

ขอกําหนดสําหรับใชโปรแกรม เชน โปรแกรมที่ออกแบบสําหรับ สาธิตการทดลอง ควรใหนักเรียน

ไดใชโปรแกรมกอนเขาหองทดลองจริง

8. ประเมินผล เปนขั้นตอนสุดทายสําหรับการพัฒนาโปรแกรม เปนการสรุปวา

โปรแกรมที่สรางขึ้นเปนอยางไร สมควรที่จะนําไปใชในการเรียนการสอนหรือไม การประเมินผล

แบงออกเปน 2 สวนคือ

8.1. ประเมินวาหลังจากนักเรียนใชโปรแกรมนี้แลว บรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว

หรือไม การประเมินสวนนี้กระทําโดยผู เรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนเพื่อวัด

ความกาวหนาของผูเรียน วัดความเขาใจในเนื้อหา

8.2. ประเมินในสวนโปรแกรมและการทํางานวาการใช โปรแกรมกับเนื้อหาวิชา

เหมาะสมหรือไมทัศนคติของผูเรียนตอการใชโปรแกรมเปนอยางไร วิธีการใชโปรแกรมยากงาย

อยางไร วิธีการเสนอบทเรียน ความถูกตองของ เนื้อหาและการติดตอกับผูเรียนเปนอยางไร การ

ประเมินผลสวนนี้จะใชแบบสอบถาม (Questionaire)

Page 24: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

15

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดประยุกตหลักการในการออกแบบและแบงขั้นตอนใน

การออกแบบสื่อประสมสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสราง

สมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม ไดแก ในขั้นออกแบบ

สื่อประสม ผูวิจัยไดอิงกรอบทฤษฎีการเรียนรูโดยมัลติมิเดีย ของเมเยอร สวนขั้นตอนการวิเคราะห

เนื้อหา ผูวิจัยไดนําเนื้อหาวิธีการพยาบาลทางอายุรกรรมมาสกัดและแบงเปนกลุมยอย ๆ พรอมทั้ง

จัดทําสตอรี่บอรด และนําไปสรางโปรแกรม แลวมีการประยุกตใช เพื่อดูวามีความเปนไปไดในการ

นําไปใช

สมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

ความหมาย

มีผูใหความหมายของสมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาล ไวหลายแบบ อาทิเชน

สมรรถนะในการปฏิบัตกิารพยาบาล หมายถึง การกระทําการพยาบาลโดยใชความรู

ทักษะ และทัศนคติทีด่ีแกผูใชบริการกลุมเปาหมายโดยใชกระบวนการพยาบาล ( Nursing process)

(Gonczi et al., 1990)

สวนสภาการพยาบาล ไดกําหนดสมรรถนะหลักของผูประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ

ผดุงครรภ ชั้นหนึ่ง ไว 14 สมรรถนะ ซ่ึงในสมรรถนะทั้งหมดนั้น มีสมรรถนะที่เกี่ยวของกับการ

ปฏิบัติการพยาบาลทางคลินกิ โดยพยาบาลวิชาชีพ ควรมีความสามารถดังนี้

1. ประเมินภาวะสขุภาพและความตองการผูใชบริการอยางเปนองครวม

2. วินิจฉัยการพยาบาล

3. วางแผนการพยาบาล

4. ปฏิบัติการพยาบาล

5. ติดตามการประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาล และ

6. จัดการสิ่งแวดลอมใหมีความปลอดภัย

Page 25: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

16

สมรรถนะของนกัศกึษาพยาบาล

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดกําหนดสมรรถนะของนกัศึกษาทกุชั้นป

โดยสมรรถนะของนกัศกึษาพยาบาลปที่ 3 มีสวนประกอบดังนี้

1. สงเสริมสุขภาพบุคคล ครอบครัว กลุมคน และชุมชน เพื่อใหเกิดการเรียนรู สามารถ

ดูแลสุขภาพตนเองไดในภาวะปกติ และภาวะเจ็บปวยและลดภาวะเส่ียงของการเกิดโรคและเกิดความ

เจ็บปวย โดย

1.1. ใหความรูดานสุขภาพแกบุคคล ครอบครัว กลุมคน และชุมชน

1.2. สนับสนุนและชวยเหลือบุคคล ครอบครัว และกลุมตาง ๆ ในการจัดกิจกรรม

สงเสริมสุขภาพ

1.3. ใหขอมูลและจัดการชวยเหลือใหผูใชบริการไดรับสิทธิดานสุขภาพ

1.4. จัดการสิ่งแวดลอมเพื่อความปลอดภัยและสงเสริมสุขภาพ

2. ปฎิบัติการพยาบาลแกผูใชบริการทุกกลุมที่มีปญหาสุขภาพเรื้อรังและไมซับซอน

อยางมีจริยธรรม ตามมาตรฐานและกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ และกฎหมายอื่นที่

เกี่ยวของ

3. ปองกันโรคและเสริมภูมิคุมกันโรค เพื่อลดความเจ็บปวยจากโรคที่สามารถปองกันได

3.1 เก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของชุมชน และการระบาดของโรค

3.2 เสริมสรางความสามารถในการดูแลตนเองของชุมชนเพื่อปองกันโรค

3.3 เฝาระวัง คนหา และสืบสวนโรคที่เกิดในชุมชน

3.4 ใหวัคซีนสรางเสริมภูมิคุมกันโรคแกประชาชน

4. ปฏิบัติการผดุงครรภอยางมีจริยธรรมตามมาตรฐานและกฎหมายวิชาชีพการพยาบาล

และการผดุงครรภ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

4.1 ประเมินปญหาและความตองการของผูใชบริการ

4.2 วินิจฉัยการพยาบาลในหญิงตั้งครรภ

4.3 วางแผนการพยาบาลในหญิงตั้งครรภ

Page 26: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

17

4.4 บริบาลครรภโดยการรับฝากครรภ คัดกรองและสงตอในรายผิดปกติ และ

ประยุกตหลักการดูแลใหสอดคลองกับสภาพและวัฒนธรรมของหญิงตั้งครรภ

4.5 สงเสริมสัมพันธภาพระหวางบิดา มารดา และทารก ตลอดการตั้งครรภ

4.6 ใหความรูและใหการปรึกษาครอบครัวในการวางแผนครอบครัว และการเตรียม

ตัวเปนบิดา มารดา และการดูแลตนเองของมารดาในทุกระยะของการตั้งครรภ

5. ฟนฟูสภาพบุคคล กลุมคน และชุมชนทั้งดานรางกาย จิตสังคม เพื่อใหสามารถดําเนิน

ชีวิตไดอยางเต็มศักยภาพ

5.1 ปองกันภาวะแทรกซอนที่เกิดจากความเจ็บปวย

5.2 เลือกใชวิธีการฟนฟูสภาพ

5.3 แนะนําการใชกายอุปกรณ และอวัยวะเทียม

5.4 ใหความรู สนับสนุน ชวยเหลือ และแนะนําแหลงประโยชนในการฟนฟูสภาพ

อยางตอเนื่องแกผูใชบริการ ญาติและผูเกี่ยวของ

5.5 ประสานกับแหลงประโยชนเพื่อฟนฟูสุขภาพชุมชน

6. ปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภตามจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยคํานึงถึงสิทธิ

มนุษยชน

6.1 ดูแลผูปวยและผูใชบริการ ใหไดรับสิทธิพื้นฐานตามที่สภาวิชาชีพกําหนดไวใน

“สิทธิผูปวย”

6.2 ปฏิบัติตนตามจริยธรรมแหงวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ ตามที่สภา

การพยาบาลกําหนด

6.3 ปฏิบัติการพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชีพ ในขอบเขตวิชาชีพการพยาบาลและ

การผดุงครรภ ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ

6.4 ประกอบวิชาชีพโดยตระหนักถึง กฎหมาย กฎ ระเบียบ และขอบังคับตาง ๆ ที่

เกี่ยวของกับการประกอบวิชาชีพ

6.5 ปฏิบัติการพยาบาลโดยความเสมอภาคตอทุกกลุม เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม

เศรษฐานะ และภาวะสุขภาพ

Page 27: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

18

7. สอนและใหการปรึกษาบุคคล ครอบครัว กลุมคน และชุมชนเพ่ือการมีภาวะสุขภาพดี

7.1 สงเสริม สนับสนุน และสอนผูใชบริการใหเกิดการเรียนรู และสามารถดูแล

สุขภาพตนเอง

7.2 ใหการปรึกษาแกบุคคล ครอบครัว กลุมคน และชุมชนที่มีปญหาทางกาย จิต

สังคมที่ไมซับซอน

7.3 แนะนําและสงตอผูใชบริการที่มีปญหาสุขภาพที่ซับซอน

8. ติดตอส่ือสารกับบุคคล ครอบครัว กลุมคน และชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ

8.1 ติดตอส่ือสาร และสรางสัมพันธภาพกับคนทุกเพศ ทุกวัย ทั้งในระดับบุคคล

ครอบครัว กลุมคน ชุมชน และหนวยงานที่เกี่ยวของ

8.2 บันทึกและเขียนรายงานไดอยางถูกตอง

8.3 นําเสนอความคิด ผลงานตอสาธารณชน

8.4 ใชภาษาอังกฤษเพื่อการติดตอส่ือสารในงานที่รับผิดชอบ

8.5 ส่ือสารโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

9. ใชเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการพยาบาล

9.1 สืบคนขอมูลดานสุขภาพและความรูที่เกี่ยวของ

9.2 เลือกใชฐานขอมูลดานสุขภาพ

9.3 บันทึกขอมูลสุขภาพ และการปฏิบัติการพยาบาลโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

9.4 ใชเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการเรียนรูในชีวิตประจําวันและการปฏิบัติการ

พยาบาล

10. พัฒนาตนเองอยางตอเนื่องเพื่อสรางคุณคาในตนเองและสมรรถนะในการปฏิบัติการ

พยาบาล

10.1 มีความคิดสรางสรรค และคิดอยางมีวิจารณญาณ

10.2 มีความตระหนักในตนเอง และมีความเห็นใจผูอื่น

10.3 จัดการกับอารมณ และความเครียดของตนเอง

10.4 ศึกษาคนควาหาความรูอยางตอเนื่อง

10.5 ศึกษาหาความชํานาญในการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง

Page 28: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

19

10.6 มีความตระหนักในการปกปองรักษาสิทธิดานสุขภาพแกผูรับบริการ

10.7 ปกปองและรักษาสิทธิดานสุขภาพแกผูรับบริการ

11. แสดงภาวะผูนําและการบริหารจัดการตนเอง และงานที่รับผิดชอบไดอยางเหมาะสม

11.1 มีวิสัยทัศน สามารถวางแผนแกปญหา และตัดสินใจ

11.2 รับผิดชอบงานในหนาที่

11.3 วางแผนและจัดการทรัพยากรและเวลา

11.4 เจรจาตอรองเพื่อรักษาประโยชนของผูใชบริการ และงานที่รับผิดชอบ

11.5 ประสานงานกับผูรวมงาน และหนวยงานที่เกี่ยวของ

11.6 พัฒนาคุณภาพของงานอยางตอเนื่อง

11.7 จัดการใหผูใชบริการไดรับการบริการ

12. พัฒนาวิชาชีพใหมีความเจริญกาวหนา และมีศักดิ์ศรี

12.1 มีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ

12.2 ตระหนักในความสําคัญของการเปนสมาชิกองคกรวิชาชีพ

12.3 รูรักสามัคคีในเพื่อนรวมวิชาชีพ

จะเห็นไดวาสมรรถนะในการพยาบาลของนักศึกษาปที่ 3 จะมุงเนนที่การสรางเสริม

สุขภาพ การปองกันโรค และการฟนฟูสภาพของผูรับบริการและครอบครัว สวนการปฏิบัติการ

พยาบาลรายบุคคลจะใช

ขอบเขตสมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

จากการทบทวนวรรณกรรม พบวา ยังไมมีการระบุสมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาล

ทางอายุรกรรม แตจากการพิจารณาแบบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติทางอายุรกรรม ที่คณาจารย

กลุมการพยาบาลอายุรศาสตร ไดรวมกับปรับปรุงจากตนฉบับของแบบประเมินสมรรถนะกลางของ

คณะพยาบาลศาสตร จะเห็นไดวา สมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลปที่ 3 ทางคลินิก ประกอบดวย

การปฏิบัติการพยาบาลโดยใชกระบวนการพยาบาล เกณฑการประเมินสมรรถนะทางคลินิกดังกลาว

ประกอบดวย 13 ทักษะ ดังนี้

Page 29: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

20

1. นําเสนอแผนการพยาบาลที่วางไวไดถูกตอง

2. ทําการพยาบาลไดถูกตองตามหลักการและเหมาะสมตามสภาพผูปวย

2.1 ประเมินอาการเปล่ียนแปลงของผูปวยไดถูกตอง

2.2 ใหการชวยเหลือตามอาการที่เปล่ียนแปลงได

2.3 ปองกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับผูปวยได

2.4 จัดผูปวยใหอยูในทาที่สุขสบายและเหมาะสม

2.5 จัดสิ่งแวดลอมใหสะอาดและเหมาะสมกับสภาพผูปวย

3. นําเสนอแผนการพยาบาลที่วางไวไดถูกตอง

4. ใหการพยาบาลตามแผนการพยาบาลได

5. ประเมินผลการพยาบาลไดถูกตอง

6. ปรับปรุงแผนการพยาบาลไดอยางเหมาะสม

7. สอนและใหคําแนะนําแกผูปวยและญาติได

8. บันทึกรายงานทางการพยาบาลไดถูกตอง

9. รายงานปญหาและกิจกรรมการพยาบาลใหแก หัวหนาทีมเพ่ือใหผูปวยไดรับการ

รักษาพยาบาลอยางตอเนื่อง

10. ทํางานสําเร็จดวยความสามารถของตนเอง

11. ตัดสินใจแกปญหาเฉพาะหนาไดอยางเหมาะสม

12. ทําการพยาบาลไดคลองแคลวและถูกตอง

13. ใชเครื่องมือในการรักษาพยาบาลไดถูกตอง

จะเห็นไดวา กระบวนการพยาบาล เปนขั้นตอนที่สําคัญในการปฏิบัติการพยาบาล

สามารถนํามาประยุกตใชเปนแนวทางในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนได ดังเชน การศึกษาของ

พจนา ปยะปกรณชัย นฤมล จันทรสุข และประชัน จันทรสุข ( 2547) ที่ศึกษาผลการจัดการสอนบน

เว็บ เรื่อง กระบวนการพยาบาลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพรอมในการเรียนรูดวยตนเอง

ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท จํานวน 46 คน โดยใชวิธีการวิจัยกึ่ง

ทดลอง แบบ 2 กลุมวัดกอนและหลังทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพรอม

Page 30: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

21

ในการเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษาพยาบาลกอนและหลังไดรับการจัดการสอนบนเว็บ เรื่อง

กระบวนการพยาบาล ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาพยาบาลกลุมทดลองที่เรียนโดยใชการจัดการสอน

บนเว็บมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพรอมในการเรียนรูดวยตนเองหลังการเรียน

สูงกวากอนการเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักศึกษาพยาบาลกลุมทดลองที่เรียน

โดยใชการจัดการสอนบนเว็บมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพรอมในการเรียนรู

ดวยตนเองสูงกวากลุมควบคุมที่ไมไดเรียนโดยใชการจัดการสอนบนเว็บ

ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยจะประยุกตแนวคดิในการประเมินสมรรถนะทางคลินิกที่

พัฒนาโดยกลุมการพยาบาลอายุรศาสตร มาใชในการสรางแบบประเมินสมรรถนะทางคลินิกของ

นักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรมหลังทดลองใชสื่อประสมที่สรางขึ้น

กรอบแนวคิด

การพัฒนาส่ือประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสราง

สมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม พัฒนาโดยอิงกรอบ

แนวคิดการเรียนรูของเมเยอร (Mayer) ซึ่งประกอบดวยการกระตุนระบบประสาทสัมผัสดวย

ตัวหนังสือ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง แลวนําไปเก็บเปนความจําระยะสั้น เมื่อทําซ้ํา ๆ จะนําไปสู

ความจําระยะยาว ทําใหผูเรียนเกิดการจดจําไดงาย สวนการสรางสื่อประสมซึ่งเปนบทเรียนเรื่อง

วิธีการพยาบาลทางอายุรกรรม จํานวน 6 โมดูล ผูวิจัยใชขั้นตอน ไดแก 1) การออกแบบโปรแกรม

2) การวิเคราะหเนื้อหา 3) การศึกษาความเปนไปไดในการพัฒนาโปรแกรมสําหรับนําเสนอ 4)

กําหนดผลลัพท 5) การจัดทําสตอรี่บอรด 6) การสรางและปรับปรุงสื่อประสม 7) การประยุกตใช

และ 8) การประเมินผล ทั้งนี้ผูวิจัยจะประเมินความเปนไปได จากการประเมินสมรรถนะในการ

ปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรมเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแตละกลุมซึ่งใชเวลาปฏิบัติทั้งสิ้น 7

สัปดาห

Page 31: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

22

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวจิัยครั้งนี้เปนการศกึษาเชิงพัฒนา (Developmental research) เพื่อพัฒนา

สื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพวิเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษา

พยาบาลในการฝกปฏิบัตกิารพยาบาลทางอายุรกรรม และศึกษาความเปนไปไดของสื่อประสมในการ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบตัิการพยาบาลอายุรกรรม

ลักษณะประชากร

ประชากรที่ใชในการวจิัยครั้งนี้ เปนนักศึกษาพยาบาลปที่ 3 ที่ขึ้นฝกปฏิบัติบนหอ

ผูปวยอายุรกรรม จํานวน 3 กลุม ๆ ละ 15 คน รวม 45 คน

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย

แบบสอบถามความเปนไปไดของผูทดลองใชสื่อประสม แบงเปน 3 สวน คือ

1.1 ขอมูลสวนบุคคล ประกอบดวย อายุ เพศ

1.2 ความเปนไปไดของผูทดลองใชสื่อประสม มีลักษณะเปนคําถามปลายปด

ประกอบดวยประกอบดวยคําถามเรื่อง ความสะดวกในการใชสื่อประสม ความชัดเจนของภาพ

ภาพยนตรสั้น และเสียง ของส่ือประสม ส่ือประสมชวยใหเขาใจเนื้อหาไดมากยิ่งขึ้น สื่อประสมชวย

พัฒนาทักษะในการเรียนรูดวยตนเอง โดยสอบถามถึงความเปนไปไดใน 3 ระดับ คือ มาก ปานกลาง และ

นอย

Page 32: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

23

1.3 แบบประเมินสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทาง

อายุรกรรม โดยผูวิจัยประยุกตจากเกณฑการประเมินสมรรถนะทางคลินิกของกลุมการพยาบาล

อายุรศาสตร มีลักษณะเปนคําถามปลายปดจํานวน 13 ขอ โดยประเมินจากเกณฑ 5 ระดับ ดังนี้

5 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดถกูตอง สม่ําเสมอ ปลอดภัย เหมาะสมกับ

สถานการณโดยไมตองการคําแนะนําหรือตองการเพียงเล็กนอย

4 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดถกูตอง สม่ําเสมอ ปลอดภัย เหมาะสมกับ

สถานการณ สมํ่าเสมอและครบถวนเปนสวนใหญ ตองการ

คําแนะนําเปนบางครั้ง

3 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดถกูตอง สม่ําเสมอ ปลอดภัย สม่ําเสมอและ

ครบถวนปานกลาง ตองการคําแนะนําบอยครั้ง เพ่ือให

เหมาะสมกับสถานการณ

2 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมไดถกูตอง ปลอดภัย สม่ําเสมอและครบถวน

เปนสวนนอย ตองการคําแนะนําและการดูแลอยางใกลชิด

1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมไมถูกตอง ไมปลอดภัย ไมครบถวน ไมมี

ความสม่ําเสมอ ตองการคําแนะนําและการดูแลอยางใกลชิดทุก

ครั้ง

เกณฑการใหคะแนน โดยใชหลักอิงเกณฑการฝกปฎิบตัิของคณะพยาบาลศาสตร

โดยคะแนนการปฏิบัติผานที่รอยละ 50

Page 33: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

24

การควบคุมคุณภาพเครื่องมือในการศึกษา

การตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (content validity)

ผูศึกษานําสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสราง

สมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม ไปตรวจสอบถูกตองของ

เนื้อหา โดยผูทรงคุณวุฒิ 3 ทาน ประกอบดวย พยาบาลที่เชี่ยวชาญดานอายุรกรรม 1 ทาน และอาจารย

พยาบาลจากคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2 ทาน สวนความสอดคลองของการนําเสนอ

เนื้อหาบนระบบเครือขาย ผูวิจัยนําไปใหผูเชี่ยวชาญดานสื่อ 1 ทานตรวจสอบ เมื่อไดความเห็นทั้ง

หมดแลว ผูวิจัยนํามาปรับแกตามขอแนะนําของผูทรงคุณวุฒิ

การพิทักษสิทธิ์กลุมตัวอยาง

ผูวิจัยดําเนินการพิทักษสิทธ์ิของประชากร เขาพบและแนะนําตัวกับผูเขารวมวิจัย พรอม

ทั้งขอความรวมมือในการดําเนินการทดสอบส่ือประสม และชี้แจงวัตถุประสงคของการวิจัย วิธีการ

ดําเนินการศึกษา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ และการ นําผลการวิจัยมาประยุกตใช จากนั้นแจงให

ประชากรทราบวา มีสิทธิที่จะตอบตกลงหรือปฏิเสธในระหวางที่เขารวมทําการวิจัย และมีสิทธิที่จะ

ยกเลิกการศึกษาในครั้งนี้โดยไมตองมีเหตุผลหรือคําอธิบายใด ๆ ซึ่งจะไมมีผลตอผูเขารวมวิจัย และ

ผลสรุปของการวิจัย ผูวิจัยจะเสนอในภาพรวม เพื่อประโยชนทางการศึกษาเทานั้น

ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูล มีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้

1. หลังจากไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยชียงใหม ผูวิจัยพบนักศึกษาพยาบาลแตละกลุมเพื่อ

ชี้แจงวัตถุประสงค วิธีการดําเนินการศึกษา ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา และขอความรวมมือใน

การศึกษาเก็บรวบรวมขอมูล

Page 34: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

25

2. ดําเนินการพัฒนาสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาล ในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรมแนวปฏิบัติ

ทางคลินิก ใชเวลาดําเนินการทั้งสิ้น 14 เดือน ในแตละขั้นตอนมีรายละเอียด ดังนี้

2.1 ขั้นการออกแบบ (Instructional Design) ผูวิจัยออกแบบการนําเสนอส่ือประสม

บนเครือขายอินเตอรเนตโดยอิงกรอบทฤษฎีการเรียนรูโดยมัลติมีเดีย

2.2 วิเคราะหเนื้อหา ผูวิจัยวิเคราะหเนื้อหา วิธีการพยาบาลทางอายุรกรรม โดยสกัด

เนื้อหาออกเปน 6 โมดูล ใชเวลา 1 เดือน ประกอบดวย

2.2.1 Module 1 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการตรวจพิเศษ

2.2.2 Module 2 : การพยาบาลผูปวยทีไดรับการเจาะตางๆ

2.2.3 Module 3 : การพยาบาลผูปวยที่วัดความดันเลือดสวนกลาง

2.2.4 Module 4 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการบําบัดดวยวธิพีนละออง

2.2.5 Module 5 : การเจาะเลือดทางหลอดเลือดดาํ

2.2.6 Module 6 : การใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา

3. ศึกษาความเปนไปได ในการสรางสื่อประสม โดยกําหนดดังนี้

3.1 ใชโปรแกรมเมอรที่เคยพัฒนาเว็บไซตโดยการใชโปรแกรม php และมี

ความสามารถในการทํากราฟก ภาพเคล่ือนไหว

3.2 กําหนดระยะเวลาในการพัฒนาโปรแกรม และสื่อประสม โดยใชเวลาดังนี้

3.2.1 พัฒนาโปรแกรม ใชเวลา ประมาณ 2 เดือน

3.2.2 พัฒนาสื่อตาง ๆ ประกอบดวย ขอความ ภาพ นิ่ง ภาพยนตร ใชเวลา

ประมาณ 6 เดือน

3.3 ติดตอขอเชาพื้นที่สําหรับการสํารองขอมูลและการทดสอบโปรแกรม

4. กําหนดผลลัพท ผูวิจัยกําหนดผลลัพท ครอบคลุมเรื่อง

4.1 ผลสัมฤทธของนักศึกษา ไดแก สมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝก

ปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรมหลังการใชโปรแกรม

4.2 ความพึงพอใจของผูเรียนตอสื่อประสม

Page 35: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

26

5. การลําดับขั้นตอนการทํางาน คือนําเนื้อหาที่ไดจาก การวิเคราะหและสิ่งที่คาดหวัง

จากผูเรียนมาเรียงลําดับ แลววางแนวการเสนอในรูปของ Storyboard และ Flow Chart แตละโมดูล

เนื้อหาจะถูกนําเสนอตามกรอบของกระบวนการพยาบาล และเนนในเรื่องตอไปนี้

5.1. ทุกโมดูลจะมี scenario แสดงกรณีศึกษาผูปวยที่ไดรับการทําหัตการตาง ๆ

5.2 ขนาดขอความใน 1 จอภาพตองมีความชัดเจน

5.3 ขนาดของตัวอักษรที่เหมาะสม สามารถปรับได

5.4. มีการใชแรงเสริมตาง ๆ ในบทเรียนดวยวิธีการตาง ๆ

5.5 มีการชี้แนะในเว็บไซต

5.6 มีแบบฝกหัดทายบทแตละโมดูล

6. ขั้นการสราง (Instruction Construction) ประกอบดวย

6.1. การสรางโปรแกรม เปนการทําเนื้อหาที่อยูในรูปของ สตอรี่บอรดใหเปน

ชุดคําสั่งที่คอมพิวเตอรเขาใจ โดยใช php ผูวิจัยจะมีการตรวจแกขอผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรม

และหาขอ บกพรองที่โปรแกรมเมอรออกแบบไว เพื่อนําขอมูลเหลานั้นกลับมาปรับปรุง ตนฉบับ

และแกไขโปรแกรมตอไป

6.2. ปรับปรุงแกไข หลังจากทราบขอบกพรอง จากการ นําโปรแกรมไปทดสอบการ

ทํางานแลวทําการปรับปรุงแกไข ที่ Storyboard กอนแลวจึงคอย ปรับปรุงแกไข เมื่อแกไขเรียบรอย

แลวนําไปทดสอบการทํางานใหม จนกวาจะไดโปรแกรมที่เรียบรอย แลวนําไปทดสอบการทํางาน

ใหม

6.3 ขั้นการประยุกตใช (Instruction Implementation) ในขั้นตอนนี้ ผูวิจัยจะนําไป

ทดสอบกับนักศึกษาพยาบาลปที่ 3 จํานวน 10 คน เมื่อไดขอเสนอแนะที่เปนประโยชนจากการ

ทดลองใช ประกอบดวย ความชัดเจนในการนําเสนอ ความเชื่อมโยงตอเนื่อง ความเขาใจเนื้อหา

ระยะเวลาของภาพยนตรที่นําเสนอ เปนตน หลังจากนั้นผูวิจัยจึงนําไปใหโปรแกรมเมอรแกไขอีก

ครั้ง

7. ประยุกตใชในหองเรียน ในขั้นตอนนี้ใชเวลาประมาณ 21 สัปดาห หรือ 5 เดือน โดย

ผูวิจัยนําไปใชกับนักศึกษาพยาบาล 3 กลุม ๆ ละ 15 คน รวม 45 คน โดยมีการแนะนําวิธีใช โดยให

Page 36: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

27

นักศึกษาเรียนรูทีละโมดูล และในแตละโมดูลจะเริ่มตนเรียนจาก senario, assessment, planning,

implementation และ evaluation ตามลําดับ

8. ประเมินผล ในขั้นตอนนี้เปนขัน้ตอนการประเมินสมรรถนะของนกัศึกษาพยาบาลใน

การฝกปฏิบัตกิารพยาบาลทางอายุรกรรม ผูวิจัยจะประเมนิสมรรถนะรวมกับอาจารยประจําหอผูปวย

เมื่อสิ้สุดการเรียนการสอนในสัปดาหที่ 7 ของ แตละกลุม โดยใชแบบประเมินที่มีขอคําถาม 13 ขอ

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูล มีรายละเอียดดังนี ้

1. ขอมูลความเปนไดในการใชสื่อประสมในการเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษา

พยาบาลในการฝกปฏิบัตกิารพยาบาลอายุรกรรม

1.1 สวนความเปนไปได วิเคราะหขอมูลโดยการ แจกแจงความถ่ี และรอยละ

1.2 สวนสมรรถนะของนกัศึกษาพยาบาล วิเคราะหขอมูลโดยการ แจกแจงความถ่ี

และรอยละ เทียบกับเกณฑการปฏิบัติผานเทากับรอยละ 50

Page 37: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

28

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การศึกษาวจิัยครั้งนี้เปนการศกึษาเชิงพัฒนา (Developmental research) เพื่อพัฒนาสื่อ

ประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพือ่เสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษา

พยาบาลในการฝกปฏิบัตกิารพยาบาลทางอายุรกรรม และศึกษาความเปนไปไดของสื่อประสมในการ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบตัิการพยาบาลอายุรกรรม โดยใชเวลา

ทั้งส้ิน 14 เดือน

ผลการวิเคราะหขอมูลนําเสนอเปน 2 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ลักษณะของสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

สวนที่ 2 ความเปนไปไดของส่ือประสมในการเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษา

พยาบาลในการฝกปฏิบัตกิารพยาบาลอายุรกรรม

Page 38: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

29

สวนที่ 1 ลักษณะของส่ือประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพวิเตอรภายในเพื่อเสริมสราง

สมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

สื่อประสมบนเครือขายอินเตอรเนต เปนสื่อที่นําเสนอเนื้อหาท่ีประกอบดวยขอความ

ภาพนิ่ง ภาพยนตร และเสียง โดยนําเสนอที่ http:// webmed.cmnet.co.th (ดังรูปที่ 1) ประกอบดวย

สาระสําคัญ 2 สวน ไดแก

1. สาระสําคัญทั่วไป ประกอบดวยปุมทีจ่ะนําไปสูรายละเอียดของเนื้อหาตามหัวขอ

ตอไปนี้

1.1 โครงการ เปนการนําเสนอความเปนมาของโครงการและวัตถุประสงค

1.2 ขาวประชาสัมพันธ เปนการนําเสนอขาวที่ผูวิจัยตองการใหนกัศึกษาทราบ

1.3 การใชงาน เปนการนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับการใชงาน

1.4 ลงทะเบียนการใชงาน เปนการอํานวยความสะดวกใหผูใชลงทะเบียนดวย

ตนเอง โดยการกรอกที่อยู User name และ Password

1.5 ผูพัฒนา เปนการนําเสนอรายชื่อ และรูปภาพผูพัฒนาโปรแกรมสื่อประสม

1.6 ผูสนับสนุน เปนการนําเสนอรายชื่อผูสนับสนุนงบประมาณ และพื้นที่ของ

ระบบเครือขาย

1.7 รายชื่อเนื้อหาทั้ง 6 โมดูล ไดแก

Module 1 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการตรวจพิเศษ ประกอบดวยเนื้อหา

ยอย ไดแก รังสีและคอมพิวเตอร Bronchoscopy Gastroscopy ERCP และ Cardiac catherization

Module 2 : การพยาบาลผูปวยทีไดรับการเจาะตางๆ ประกอบดวยเนื้อหา

ยอย ไดแก การเจาะทอง การเจาะปอด การเจาะหลัง การเจาะไขกระดกู และการเจาะขอ

Module 3 : การพยาบาลผูปวยที่วดัความดันเลือดสวนกลาง

Module 4 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการบําบัดดวยวิธีพนละออง

Module 5 : การเจาะเลือดทางหลอดเลือดดํา

Module 6 : การใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา

1.8 กระดานสนทนา สําหรับใหอาจารยและนกัศกึษาไดแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวาง

การใชส่ือประสม

Page 39: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

30

รูปที่ 1 website ที่นําเสนอส่ือประสม

Page 40: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

31

2. รายละเอียดของเนื้อหา และสื่อประสมแตละเรื่อง ประกอบดวย ขอความ ภาพนิ่ง

ซึ่งมีภาพนิ่งทั้งหมด 159 ภาพ และภาพยนตรสั้น หัตการละ 2-5 เรื่อง ไดแก Senario และ ภาพยนตรแสดงการทําหัตการตาง ๆ รวมทั้งหมด 57 เรื่อง ดังแสดงในตาราง ที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนสื่อในหวัขอตาง ๆ

เนื้อหา

ขอความ ภาพนิ่ง ภาพยนตร

ประกอบ

เสียง

Module 1 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการตรวจพิเศษ

รังสีและคอมพิวเตอร / 2 6 Bronchoscopy / 2 6 Gastroscopy / 2 5

ERCP / 1 4 Cardiac catherization / 1 5 Module 2 : การพยาบาลผูปวยทีไดรับการเจาะตาง ๆ

การเจาะทอง / 20 2 การเจาะปอด / 14 3 การเจาะหลัง / 14 3

การเจาะไขกระดกู / 14 4 การเจาะขอ / 13 1 Module 3 : การพยาบาลผูปวยที่วดัความดันเลือดสวนกลาง / 21 4

Module 4 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการบําบัดดวยวิธีพนละออง

/ 17 8

Module 5 : การเจาะเลือดทางหลอดเลือดดํา / 18 4

Module 6 : การใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา / 20 2

รวม

159

57

จากตาราง ที่ 1 แสดงใหเห็นวา ส่ือประสมประกอบดวย ขอความทกุเรื่อง และทุกเรื่องมีทั้งภาพนิ่ง และภาพยนตรประกอบเสียงทุกหัวขอ ( ดังตวัอยาง รูปที่ 2, 3 4 และรูปที่ 5 )

Page 41: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

32

รูปที่ 2 แสดงใหเห็นถึง Senario ผูปวยมะเร็งปอดที่ตองทําหัตการ Bronchoscopy

รูปที่ 3 แสดงภาพยนตรประกอบเสียงแสดงการทําหัตการ Bronchoscopy

Page 42: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

33

รูปที่ 4 แสดง Senario พยาบาลกําลังตรวจปอดผูปวยที่ไดการบําบัดดวยยาพนละออง

รูปที่ 5 แสดง ภาพยนตรประกอบเสียงแสดงการใชแครื่องพนยา

Page 43: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

34

สวนที่ 2 ความเปนไปไดของส่ือประสมในการเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝก

ปฏิบัติการพยาบาลอายุรกรรม

ตารางที่ 2

จํานวนและรอยละของประชากร ผูทดลองใชสื่อประสม จําแนกตามตาม ระดับความคิดเห็นตอความ

เปนไปไดในการนําสื่อประสมไปใช (n = 45)

ความเปนไปไดในการนํา

สื่อประสมไปใช

ระดับความคิดเห็น

มาก ปานกลาง นอย

จํานวน(รอยละ) จํานวน(รอยละ) จํานวน(รอยละ)

1. มีความสะดวกในการใชส่ือ

ประสม

2. ภาพ เสียง ภาพยนตรใน

สื่อประสมมีความชัดเจน

3. ชวยใหเขาใจเนื้อหาได

4. พัฒนาทักษะในการเรียนรู

ดวยตนเอง

5. มีประโยชนตอการเรียน

การสอน

45(100)

42 (93.33)

100 (100)

41(91.11)

100 (100)

0 (0)

3 (6.67)

0 (0)

4 (8.88)

0 (0)

0(0)

0(0)

0(0)

0(0)

0 (0)

จากตารางที ่ 2 ประชากรผูทดลองใชส่ือประสม จํานวน 45 คน มีความคิดเหน็ในระดับ “มาก” วา

สื่อประสม มีความสะดวกในการใช รอยละ 100 ภาพ เสียง ภาพยนตรในสื่อประสมมีความชัดเจน

รอยละ 93.33 สื่อประสมชวยใหเขาใจเนื้อหาได รอยละ 100 พัฒนาทักษะในการเรียนรูดวยตนเอง

รอยละ 91.11 และมีประโยชนตอการเรียนการสอนรอยละ 100

Page 44: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

35

ตารางที่ 3

จํานวนและรอยละของประชากรจําแนกตามสมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาลตามเกณฑการฝก

ปฎิบัติที่รอยละ 50

สมรรถนะการฝกปฏิบัต ิ จํานวน รอยละ

ผานเกณฑรอยละ 50

45

100

ไมผานเกณฑ

0

0

จากตารางที่ 3 ประชากรผูทดลองใชส่ือประสม จํานวน 45 คน ผานเกณฑการปฏิบัติการพยาบาล

หลังไดรับความรูจากสื่อประสม คิดเปน รอยละ 100

Page 45: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

36

การอภิปรายผล

ผูวจิัยนําเสนอการอภิปรายผลใน 2 ประเด็นไดแก 1) ลักษณะของส่ือประสมสําหรับ

ใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนกัศึกษาพยาบาลในการฝก

ปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม 2) ความเปนไปไดของส่ือประสมในการเสริมสรางสมรรถนะ

ของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลอายุรกรรม ดังนี ้

สวนที ่1 ลักษณะของสื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายใน

เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

ผลจากการวิจัย จะเห็นวา ในสวนสาระสําคัญทั่วไป ซึ่งประกอบดวยหัวขอตาง ๆ 8

หัวขอ เปนไปตามหลักการการเรียนรูตามทฤษฎีการเรียนรูโดยมัลติมีเดียของเมเยอร ( Mayer, 2001)

โดยในขั้นตอนของการออกแบบ ผูวิจัยไดออกแบบหนาแรกของสื่อประสมเปนแบบเรียบงาย ไมมี

รายละเอียดมากมาย อานงาย มีรูปเคลื่อนไหวเล็กนอยเพื่อกระตุนความสนใจในชวง 1-3 วินาทีแรกที่

ผูเรียนเปดสื่อประสม ซึ่งสอดคลองกับหลักการขั้นแรก ซึ่งเปนระยะของความจําแบบสัมผัส ที่

ตองการเพียงเพื่อใหผูเรียนตัดสินใจวา จะใหความสนใจตอหรือไม หากผูวิจัยออกแบบเนื้อหาที่มาก

เกินไป จะทําใหขอมูลตาง ๆ ที่ถูกสงผานเครื่องรับสัมผัสจะมีจํานวนมากเกินกวาที่ระบบตางๆของ

ผูเรียนจะรับไวได

สวนในการออกแบบหัวขอตาง ๆ ในสื่อประสม ผูวิจัยไดออกแบบใหมคีวาม

เชื่อมโยงกัน ตั้งแตหัวขอการแนะนํา โครงการ ขาวประชาสัมพันธ การใชงาน ลงทะเบียนการใช

งาน และ ขอมูลผูพัฒนา และผูสนับสนุน ซึ่งการออกแบบเปนไปอยางงายไมสลับซับซอน และมี

เพียงขอมูลท่ีจําเปน ซึ่งวิธีการดังกลาว ผูเรียนเห็นวามคีวามสะดวกในการใชงานรอยละ 100 (ตารางที ่

2) สอดคลองกับแนวคดิของกาเย บริกสและแวกเนอร (Gagne’, Briggs and Wagner) ที่อธิบายถึงหลัก

ในการออกแบบส่ือประสมวาจะตองใหขอมูลท่ีแสดงถึงวัตถุประสงคของการพัฒนาสื่อประสม ดวย

วิธีการที่งาย ไมซับซอน

ในสวนของเนื้อหา แตละโมดูล ผูวิจยัไดออกแบบการเรียงลําดับเนื้อหา โดยอิงกรอบ

ของกระบวนการพยาบาล และเพิ่มเติมกรณศีึกษา เขาไป ดังนั้น ในแตละเนื้อหาของโมดูลตาง ๆ

Page 46: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

37

ประกอบดวย scenario, assessment, planning, implementation, evaluation และมีแบบฝกหัดเพื่อ

ทดสอบดวยตนเองในแตละเนื้อหา เหตุที่ออกแบบเชนนี ้ เนื่องจากผูวจิัยตองการใหผูเรียนคุนเคยกับ

กระบวนการพยาบาล (nursing process) ซึ่งเปนกระบวนการแกปญหาทางการพยาบาล อีกทั้งผูเรียน

จะไดมีความเขาใจในกระบวนแกไขปญหาผูปวยอยางเปนระบบ และสามารถเขาใจในเนื้อหาได ดัง

จะเห็นไดจาความคดเห็นตอเนื้อหา พบวาผูเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาถึงรอยละ 100 ( ตารางที่ 2)

นอกจากนั้น ในการออกแบบสื่อประสมที่จะนําเสนอในแตละสวนของเนื้อหา ซึ่ง

ผูวิจัยไดพัฒนาภาพยนตรประกอบเสียง แลวเลือกนําเสนอในรูปของวิดิโอลงไปในสวนของ

implementation จํานวนทั้งส้ิน 57 เรื่อง แตละเรื่องจะใชเวลาในการนําเสนอไมเกิน 5 นาที ตอเรื่อง

ซึ่งใชเวลาที่ไมนานจนเกินไป สื่อชนิดภาพยนตรประกอบเสียงที่สรางขึ้นนี้นอกจากจะชวยทําให

ผูเรียนเกิดความสนใจ ขอมูลที่ได จะถูกเก็บเขาไปในความจําชวงทํางานหรือความจําระยะสั้น

( working memory) ตอจากนั้นจะมีการจัดแจงภาพและเสียงยอย ๆ เหลานี้ใหเปนกลุมเปนกอน ทําให

เกิดความรูในรูปของภาพและเสียง และเก็บไวเปนความจํา แตก็ยังถือวาเปนความจําระยะสั้น ซึ่งจะ

อยูในระยะเวลาที่จํากัด ดังนั้นในการนําเสนอจะตองไมใชเวลาที่นานเกินไป (Mayer, 2001) จะทําให

ผูเรียนไมสนใจเทาที่ควร ดังนั้นในชวงฝกปฏิบัติบนหอผูปวย ผูวิจัยจึงย้ําใหผูเรียนเขามาใชสื่อ

ประสมเพื่อทบทวนความรูซํ้า ๆ หลาย ๆ ครั้ง โดยเฉพาะภาพยนตรประกอบเสียงทั้ง 57 เรื่อง จะชวย

ใหผูเรียนเกิดการจดจํามากขึ้น

Page 47: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

38

สวนที่ 2 ความเปนไปไดของสือ่ประสมในการเสริมสรางสมรรถนะของนกัศกึษา

พยาบาลในการฝกปฏบิัติการพยาบาลอายุรกรรม

การทดสอบความเปนไปไดในการใชสื่อประสม ผูวิจัยไดมีการรวบรวมขอมูลโยให

ผูเรียนตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอการใชสือประสม และผูวิจัยประเมินสมรรถนะในการ

ปฏิบัติการพยาบาลตามเกณฑการฝกปฎิบตัิรวมกับอาจารยนิเทศ ผูเรียนมีความคิดเห็นตอส่ือประสม

ในระดับ “มาก” ในทกุหัวขอ กลาวคือ มีความสะดวกในการใช รอยละ 100 ภาพ เสียง ภาพยนตรใน

สื่อประสมมีความชัดเจนรอยละ 93.33 สื่อประสมชวยใหเขาใจเนื้อหาได รอยละ 100 พัฒนาทักษะใน

การเรียนรูดวยตนเองรอยละ 91.11 และมีประโยชนตอการเรียนการสอนรอยละ 100 (ตารางที่ 2)

ผลการวิจัย อธิบายไดวา การออกแบบส่ือประสม และการปฏิบัติตามหลักการและ

ขั้นตอนของการพฒันาสื่อประสม รวมไปถึงการวิเคราะหและสกัดเนื้อหาที่จําเปน เปนปจจัยที่ทําให

ผูเรียนมีความเห็นในระดับมากทุกขอ โดยเฉพาะเกดิความเขาใจในเนื้อหาที่จะเรยีนมากยิ่งขึน้ ซึ่ง

เปนเปาหมายสําคัญของการจัดการเรียนการสอนวิชาฝกปฏิบัติทางการพยาบาลอายุรกรรม ที่มคีวาม

ซับซอน และหัตการบางอยาง ผูสอนไมสามารถจัดหาประสบการณ ในสถานการณจริงจากแหลงฝก

ได จึงมีการจดัการเรียนเการสอนในหองปฏิบัตกิารพยาบาล รวมกับการใชสื่อในรูปแบบตาง ๆ

รวมกนั อยางไรก็ตาม จากผลการวิจยัครั้งนี้ ยืนยันวา การใชส่ือประสมที่ประกอบดวยสื่อหลาย

รูปแบบหลาย ๆ ครั้ง จะชวยใหผูเรียนเกดิการจดจํามากขึน้และนําไปสูการฝกปฏบัตกิารพยาบาลทาง

อายุรกรรม ซึ่งจะเห็นไดวาผูเรียนทั้งหมดผานเกณฑรอยละ 50 เมื่อสิ้นสุดการฝกปฏิบัติ 7 สัปดาห

(ตารางที่ 3) สอดคลองกับการศึกษาของ 4 ฮวง และคณะ (Huang ,Shi-Jer Lou & Yuan-Chang Guo,

2006 ) ที่ศึกษาผลของส่ือประสมในการพัฒนาทกัษะของนักศกึษาพยาบาลในการดูแลเด็ก โดยศึกษา

ในผูเรียนสองกลุม กลุมควบคุมใชการเรียนแบบเดิมในหองปฏิบัติการ สวนกลุมทดลองใชสื่อประสม

ที่พัฒนาขึน้เสริมการเรียนรูในหองปฏิบัติการ ผลการศกึษา พบวา ผูเรียนกลุมทดลองมีความพึงพอใจ

และมีทักษะในการดูแลเด็กดีขึน้ นอกจากนั้นยังพบวา สื่อประสมสามารถทําใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจ

และบรรลุเปาหมายของการเรียนรู

นอกจากนั้น สื่อประสมที่ผูวิจัยไดพัฒนาขึ้นนี้ ยังเปนส่ือที่มีความยืดหยุน ทําให

ผูเรียนสามารถทบทวนเนื้อหาไดดวยตนเอง จากการสมัภาษณผูเรยีนบางคนที่ไมไดอาศัยในหอพัก

ของคณะพยาบาลศาสตร พบวา สามารถเขาถึงสื่อประสมไดรวดเรว็ ทั้งนี้อาจเปนเพราะในชวงการ

ทดลองใช ผูวิจัยไดติดตัง้โปรแกรมในการนําสื่อประสมไวที่หนวยงานเอกชน ซึ่งมีการใชระบบ

Page 48: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

39

เครือขายชนดิความเรว็สูง จึงทําใหไมมีอุปสรรคในการเขาถึงส่ือประสม สวนประเด็นเกี่ยวกับการ

พัฒนาทักษะในการเรียนรูดวยตนเอง จากผลการวิจัยพบวา สวนใหญรอยละ 91.11 มีความเห็นวา

สามารถพัฒนาทักษะในการเรยีนรูดวยตนเอง มีเพียงผูเรียนจํานวน 4 คนที่มีความเห็นในระดับปาน

กลาง อธิบายไดวา การพัฒนาส่ือประสมในรูปท่ีนําเสนอในเครือขายอินเตอรเนต สามารถตอบสนอง

ความตองการของผูเรียนยคุใหม ซึ่งตองการการเรียนรูดวยตนเองที่ใดก็ได (any place) เวลาใดก็ได

(any time) อันเปนหลักในการจัดการจดัการเรียนการสอนโดยใช e-learning (ถนอมพร เลาหจรัส

แสง, 2551) สอดคลองกับการศึกษาของ มรูาดและวารกี้ ( Murad & Varky, 2008) ที่ทําการทบทวน

งานวิจัยจากฐานขอมูลตาง ๆ ในชวงเวลา 2005 จนถึง 2008 สรุปวา การสอนโดยการใชส่ือประสม

ชนิดตาง ๆ มีสวนชวยพัฒนาทักษะการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน ในขณะเดียวกัน ครูผูสอนควรทํา

หนาที่เปนผูอํานวยความสะดวกในการจัดหาส่ือท่ีมีคณุภาพใหแกผูเรียน จึงกลาวไดวา สื่อประสม

สามารถสงเสริมความพรอมที่จะใหผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองมากยิ่งขึ้น

จากผลการวิจัยครั้งนี้ ยืนยันไดวา สื่อประสมที่ผูวิจัยออกแบบโดยใชทฤษธีการ

เรียนรูโดยมัลติมีเดยี และพัฒนาตามขั้นตอนที่เปนระบบ ประกอบกับการนําแนวคดิการเรียนการ

สอนในภาคปฏิบัติ ซึ่งไดแก กระบวนการพยาบาลมาเปนกรอบในการนําเสนอเนื้อหายอยแตละ

เนื้อหา ซึ่งนับวาแกตางจาการนําเสนอเนื้อหาการปฏิบัตกิารพยาบาลโดยทั่วไป ทําใหเกิดผลที่ดตีอ

การจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะผูเรียน

Page 49: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

40

บทที่ 5

สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

การศึกษาวจิัยครั้งนี้เปนการศกึษาเชิงพัฒนา (Developmental research) เพื่อพัฒนา

สื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพวิเตอรภายในเพื่อเสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษา

พยาบาลในการฝกปฏิบัตกิารพยาบาลทางอายุรกรรม และศึกษาความเปนไปไดของสื่อประสมในการ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบตัิการพยาบาลอายุรกรรม โดยในการ

พัฒนาสื่อประสม ผูวิจัย ใช 8 ขั้นตอนในการพัฒนา ประกอบดวย การออกแบบ การวิเคราะหเนื้อหา

ศึกษาความเปนไปได กําหนดผลลัพท จัดลําดับขั้นตอนในการทํางาน สรางสื่อประสม ประยกุตใช

และประเมินผล สวนการศึกษาความเปนไปได ผูวิจัยประเมินจากความคิดเห็นของผูเรียนตอการใชสื่อ

ประสม และสมรรถนะของนักศกึษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

ประชากร ประกอบดวย นักศึกษาพยาบาล ปที่ 3 ที่ลงทะเบียนในป พศ. 2552

จํานวน 45 คน ใชระยะเวลาศึกษาจํานวนทั้งสิ้น 14 เดือน

ผลการวิจัย พบวา

1. ลักษณะของส่ือประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในเพื่อ

เสริมสรางสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม นําเสนอบน

website http://webmed.cmnet .co.th มีสาระสําคัญ 2 สวน ไดแก สาระสําคัญทั่วไป และ สวนเนื้อหา

ซึ่งมีเนื้อหาและส่ือประสมชนิดภาพนิ่ง 159 ภาพ และภาพยนตรจํานวน 57 เรื่อง รวมทั้งสิ้น 6 โมดูล

ไดแก

Module 1 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการตรวจพิเศษ ประกอบดวยเนื้อหายอย

ไดแก รังสีและคอมพิวเตอร Bronchoscopy Gastroscopy ERCP และ Cardiac catherization

Page 50: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู

41

Module 2 : การพยาบาลผูปวยทีไดรับการเจาะตางๆ ประกอบดวยเนื้อหายอย

ไดแก การเจาะทอง การเจาะปอด การเจาะหลัง การเจาะไขกระดูก และการเจาะขอ

Module 3 : การพยาบาลผูปวยที่วัดความดันเลือดสวนกลาง

Module 4 : การพยาบาลผูปวยที่ไดรับการบําบดัดวยวิธีพนละออง

Module 5 : การเจาะเลือดทางหลอดเลือดดํา

Module 6 : การใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา

2. สื่อประสมสําหรับใชในระบบเครือขายคอมพวิเตอรภายในมีความเปนไปไดใน

การเสริมสรางสมรรถนะของนกัศึกษาพยาบาลในการฝกปฏิบัติการพยาบาลทางอายุรกรรม

ขอเสนอแนะในการนําผลการศึกษาไปใช

ผูใชควรจะมีการตรวจสอบวามีขอมูลหัตถการทางคลินิกใหม ๆ หากมีเพิ่มเติม ควรปอน

ขอมูลเนื้อหาใหม ๆ ลงไปใน website เพื่อใหสื่อประสมที่พัฒนาขึ้นมีเนื้อหาที่ถูกตอง เหมาะสมและ

ทันสมัยอยูเสมอ

ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ควรจัดทําแผนการพัฒนาฐานขอมูลหัตถการ

ทางการพยาบาลในสาขาวิชาอ่ืน ๆ และสนับสนุนงบประมาณในการจัดทําฐานขอมูลดังกลาว

และควรมีการศึกษาถึงประสิทธิภาพของส่ือประสมดังกลาวในระยะยาวตอไป

Page 51: portal.nurse.cmu.ac.th › cein › cnei › Lists › Nursing Ed... · การพัฒนาสื่อประสมสําหรับใช ใน ...2013-07-12 · ของผู