30
1 คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตรชุมชน 2 (Community Medicine II) ปการศึกษา 2557 ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

1

คูมือรายวิชา 367–341

เวชศาสตรชุมชน 2

(Community Medicine II)

ปการศึกษา 2557

ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 2: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

2

คํานํา

รายวิชา 367-341 เวชศาสตรชุมชน 2 เปนรายวิชาสุดทาย ภาคการศึกษาที่ 1 ของนักศึกษาแพทยปที่ 3

ใชเวลาในการศึกษา 4 สัปดาห เน้ือหารายวิชาตอเน่ืองจากรายวิชาเวชศาสตรชุมชน 1 เก่ียวของกับการศึกษา

ชุมชน วินิจฉัยชุมชน การวางแผน เขียนโครงการ การบริหาร การดําเนินการ และการประเมินผลโครงการ

สาธารณสุขในชุมชน การจัดการเรียนการสอนเนนชุมชนเปนฐาน โดยใหนักศึกษาไดมีโอกาสนําความรูจาก

รายวิชา 367-291 เวชศาสตรชุมชน 1 ในชั้นปที่ 2 ไดแกระบาดวิทยา สถิติชีพ เครื่องมือศึกษาชุมชน การคนหา

ปญหาสุขภาพชุมชน และการจัดลําดับความสําคัญของปญหา มาใชศึกษาชุมชนที่ไดรับมอบหมาย

คูมือรายวิชาเลมน้ีจัดทําขึ้นเพื่อใหนักศึกษาและอาจารยผูสอนทราบขอบเขต และขอมูลที่สําคัญของ

รายวิชา ประกอบดวยวัตถุประสงค เน้ือหาของรายวิชา การจัดลําดับการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล

คูมือยังไดระบุรายชื่อบุคคลตาง ๆ ที่นักศึกษาสามารถติดตอได สถานที่ สื่อการเรียนรู วิธีการศึกษา และการ

นําเสนอผลการฝกภาคปฏิบัติ คณะผูจัดทําจึงหวังเปนอยางย่ิงวาคูมือเลมน้ี จะเปนประโยชนตอทั้งนักศึกษา และ

อาจารยผูสอน หากมีขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงคูมือใหเหมาะสมย่ิงขึ้น กรุณาแจงไดที่ประธานหรือเลขานุการ

คณะกรรมการรายวิชา

คณะกรรมการรายวิชา

กันยายน 2557

Page 3: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

3

สารบัญ หนา

The M.D. Program 4

รายช่ือคณะกรรมการประจํารายวิชา (Block manager) 7

คําอธิบายรายวิชา 8

วัตถุประสงครายวิชาเวชศาสตรชุมชน II 8

เน้ือหา 9

การจัดการเรียนการสอน 9

รายละเอียดกิจกรรม 10

ลําดับการนําเสนอรายงานและอาจารยผูวิจารณ 13

บุคลากรภาควิชา 15

นักวิชาการ 16

กําหนดการฝก 17

การประเมินผล 20

การเขียนโครงการสาธารณสุข 21

ขอควรปฏิบัติในการฝกภาคสนาม 24

แบบประเมินตางๆ 25

Page 4: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

4

Page 5: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

5

Page 6: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

6

คุณลักษณะบัณฑิตแพทยสงขลานครินทร

1. มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรมแหงวิชาชีพ และจิตสํานึกของความเปนลูกพระราชบิดาโดยถือ

ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หน่ึง

(Professional habits, attitudes, moral, and ethics)

2. มีทักษะในการสื่อสารและการสรางสัมพันธภาพกับบุคคล

(Communication and interpersonal skills)

3. มีความรูดานการแพทย ทักษะและหัตถการทางคลินิก* ใหการบริบาลผูปวยแบบองครวมโดย

คํานึงถึงหลักฐานเชิงประจักษ และความปลอดภัย

(Medical knowledge, clinical and manual skills, holistic and evidence-basedpatient

care, and patient safety concern)

4. สามารถคิดวิเคราะห และแกปญหาไดอยางมีวิจารณญาณ

(Critical thinking and problem solving)

5. มีความรู ความเขาใจ และมุงมั่นในเรื่องการสรางเสริมสุขภาพและระบบบริบาลสุขภาพ ทั้ง

ระดับบุคคล ชุมชน และประชาชน

(Health promotion and understanding health care system: individual, community

and population health)

6. พัฒนาความรูความสามารถทางวิชาชีพอยางตอเน่ือง

(Continuousprofessional development)

7. มีทักษะการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ และนวัตกรรม

(Information technology skills, and innovation skills)

8. มีภาวะผูนํา สามารถทํางานเปนทีม และมีทักษะในการบริหารจัดการ

(Leadership, teamwork and management skills)

9. มีทักษะทางสังคม และการดําเนินชีวิต

(Social and life skills)

*ไมต่ํากวาเกณฑแพทยสภา

Page 7: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

7

รายช่ือคณะกรรมการประจํารายวิชา (Block manager)

1. ผศ.ดร.จุฑารัตน สถิรปญญา ประธาน

2. รศ.ดร.พญ.พิชญา พรรคทองสุข รองประธาน

3. รศ.นพ.สีลม แจมอุลิตรัตน กรรมการ

4. ผศ.นพ.ถวัลย เบญจวัง กรรมการ

5. ผศ.นพ.กอปรชุษณ ตยัคคานนท กรรมการ

6. ผศ.ดร.ฐิติวร ชูสง กรรมการ

7. ผศ.นพ.กฤษณะ สุวรรณภูมิ กรรมการ

8. พญ.ธนิษฐา ศิริรักษ กรรมการ

9. นพ.ชนนท กองกมล กรรมการ

10. นพ.วิศรุต ศรีสินธร กรรมการ

11. นพ.พิชญานนท งามเฉลียว กรรมการ

12. พญ.ธารทิพย แสงสุวรรณ กรรมการ

13. พญ.วดี อัมรักเลิศ กรรมการ

14. นพ.นฤชา โกมลสุรเดช กรรมการ

15. นพ.ปญญา จํารูญเกียรติกุล กรรมการ

16. พญ.ธารีรัตน อนันตชัยทรัพย กรรมการ

17. พญ.อรพรรณ ฟูมณีโชต ิ กรรมการ

18. นางสาวทัศนีย ขันทอง กรรมการ

19. นางสาวชุติมา พันละมาย กรรมการ

20. นายกิตติศักดิ ์ ชูมาล ี กรรมการ

21. นายวรวิช วณิชานนท กรรมการ

22. นางสาวซูไวบะ แวบากอ กรรมการ

23. นางสาวนูรีดา สาและ กรรมการ

24. นางรัดเกลา เภามี เลขานุการ

Page 8: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

8

รหัสวิชา 367 - 341 เวชศาสตรชุมชน 2

Community Medicine II

จํานวนหนวยกิต 4 (0 - 4 - 8)

ระยะเวลา 4 สัปดาห

รายวิชาบังคับกอน : เวชศาสตรชุมชน 1 : 367-291

คําอธิบายรายวิชา

หลักการของระบาดวิทยาและเวชศาสตรชุมชน ชีวสถิติทางการแพทย การสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคทั้งในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน การสื่อสารและการสรางมนุษยสัมพันธกับประชาชนและบุคลากรสาธารณสุข อนามัยครอบครัว โภชนาการชุมชน อาชีวอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม โรคติดตอและโรคไมติดตอ การเขียนโครงการเพื่อแกปญหาสาธารณสุข การวางแผน การบริหาร การดําเนินงานและการประเมิลผลโครงการ โดยครอบคลุมภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน

Principles of epidemiology and community medicine; medical biostatistics; health promotion and disease prevention, covering individuals, families, and communities; communication and relationship among the general public and health personnel; family health, community dietetics; occupational and environmental health; infectious and non-infectious diseases; proposal writing for solving public health problems; planning, administration, execution, and evaluation of projects covering individual, family, and community health

วัตถุประสงครายวิชา (Community Medicine 2)

การเรียนการสอนรายวิชาเวชศาสตรชุมชน 2 เปนรายวิชาสําหรับนักศึกษาแพทยปที่ 3 ซึ่งเมื่อสิ้นสุด

การเรียนการสอนของรายวิชาน้ีแลว นักศึกษาจะมีความสามารถดังตอไปน้ี

1. มีความรู ความสามารถ และเจตคติที่ดีในการสงเสริมสุขภาพ ระบาดวิทยา ทั้งในระดับบุคคล

ครอบครัว และชุมชน

2. สามารถติดตอสื่อสาร และสรางมนุษยสัมพันธอันดีกับประชาชน และบุคลากรสาธารณสุข

3. มีทักษะในการทํางานเปนกลุม (team work skill)

4. มีทักษะในการจัดการขอมูล (information skill)

5. อธิบายหลักการจัดทําโครงการ การวางแผน การบริหาร การประเมินผล และการเขียน

โครงการสาธารณสุขได

6. วางแผน ดําเนินการและประเมินผลโครงการสาธารณสุขในชุมชนได

7. อธิบายหลักการและวิธีการใหสุขศึกษาในชุมชนได

Page 9: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

9

เน้ือหา

1. Community and Community Study

2. Community Diagnosis

3. Health project Management

1.1 Planning

1.2 Project proposal design

1.3 Implementation

1.4 Evaluation

4. Interactions between the patient and the physician or the health care system

5. ระบาดวิทยา

การจัดการเรียนการสอน

1. การเรียนกลุมยอย (group activity)

2. การศึกษาดวยตนเอง

3. การฝกภาคสนาม

3.1 การแบงกลุมนักศึกษา

3.2 การเตรียมพื้นที่ฝกภาคสนาม ศึกษาดูงานหนวยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวของกับโครงการ

3.3 การศึกษาภาคสนาม เตรียมเครื่องมือสํารวจชุมชน สํารวจชุมชน วินิจฉัยชุมชน วางแผนโครงการ

ดําเนินโครงการ ประเมินผลโครงการ อภิปรายกับอาจารยที่ปรึกษาประจํากลุม และนําเสนอผลการ

ดําเนินโครงการตอชุมชน

4. การนําเสนอ

4.1 การนําเสนอผลการสํารวจชุมชนและการดําเนินโครงการโดยโปสเตอร

4.2 การนําเสนอรายงานหนาช้ันและอภิปราย

5. การเขียนรายงาน

5.1 รายงานการสํารวจชุมชน

5.2 รายงานโครงการสาธารณสุข

Page 10: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

10

รายละเอียดกิจกรรม

1. การเรียนกลุมยอย (Group activity)

เปนการศึกษาและอภิปรายความรูภายในกลุมนักศึกษา การเตรียมตัวสําหรับสํารวจชุมชน เลือกใช

เครื่องมือสํารวจ วิเคราะหขอมูล วินิจฉัยชุมชน วางแผนโครงการ เขียนโครงการ ดําเนินโครงการ การ

ประเมินผล การวิเคราะหขอมูล การเขียนรายงาน และการนําเสนอรายงาน

2. การศึกษาดวยตนเอง (SDL)

เปนการศึกษาดวยตนเองของนักศึกษาเพื่อทบทวนความรู และคนควาความรู เพื่อเตรียมตัวสําหรับ

Tutorial session การอภิปรายกับอาจารยที่ปรึกษา การเรียนกลุมยอย และการฝกภาคสนาม

3. การฝกภาคสนาม

3.1 การแบงกลุมนักศึกษา

แบงเปน 10 กลุม กลุมละ 19 – 22 คน และจัดใหมีอาจารยที่ปรึกษาประจํากลุม

จุดมุงหมายของการแบงกลุมนักศึกษา เพื่อใหเกิดการเรียนรูในการทํางานเปนกลุม และใหมี

จํานวนนักศึกษาเหมาะสมกับประชากรในพื้นทีท่ี่นักศึกษารับผิดชอบ

3.2 การเตรียมพ้ืนท่ีฝกภาคสนาม

ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน รับผิดชอบในการติดตอประสานงานกับหนวยงานและบุคคลที่เกี่ยวของ ใน

การเตรียมพื้นที่ฝกภาคสนาม ไดแก

3.2.1 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาล

สงเสริมสุขภาพตําบล เทศบาล สถานบริการสาธารณสุข กํานัน ผูใหญบาน เจาหนาที่สาธารณสุข ครู

เจาอาวาส หรือผูนําศาสนา ผูนําชุมชน อาสาสมัครประจําหมูบาน ฯลฯ

3.2.2 พื้นที่ฝกภาคสนามควรมีความพรอมในดานที่พัก หองนํ้า หองสวม ไมไกลจากชุมชนที่ออกฝก มี

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และจัดหาอาหารไดสะดวก

3.3 การศึกษาภาคสนาม

ประกอบดวย

3.3.1 Field visit

3.3.2 การศึกษาขอมูลสาธารณสุขโรงพยาบาลชุมชน ศูนยบริการสาธารณสุข และหนวยงาน องคกร

ตางๆ ในชุมชน ที่เกี่ยวของกับสุขภาพ ฯลฯ

3.3.3 การสํารวจชุมชน สํารวจครัวเรือน สอบถาม สัมภาษณ เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพ

3.3.4 การวินิจฉัยชุมชน

3.3.5 การวางแผนและ โครงการ

3.3.6 การประเมินผลโครงการ

Page 11: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

11

โดยมีรายละเอียดดังน้ี

สัปดาหท่ี 1

1. อภิปรายกับอาจารยที่ปรึกษาประจํากลุม วางแผนการฝกปฏิบัติภาคสนาม จัดโครงสรางการบริหารงาน

ภายในกลุม และออกสํารวจพื้นที่ (field visit) ครั้งที่ 1 เพื่อประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของและผูนําชุมชนในการ

เตรียมที่พัก กําหนดพื้นที่ที่จะลงสํารวจ ประชุมกลุมเพื่อเตรียมความพรอมในการสํารวจขอมูลในชุมชน เตรยีมแบบ

สํารวจและลงพื้นทีฝ่ก

2. ออกเดินทางไปยังชุมชนพื้นที่ฝก โดยคณะแพทยศาสตรจัดรถยนตสงนักศึกษา อาจารยและ

นักวิชาการไปยังชุมชนพื้นที่ฝก สําหรับพื้นที่ฝกซึ่งไมไดคางคืน จะใหรถยนตสงนักศึกษาไปที่ฝกในตอนเชา

และไปรับกลับในตอนเย็น

3. เขาที่พัก แบงงานสวัสดิการของกลุมและสวนรวม

สัปดาหท่ี 2

1. ปฏิบัติงานในชุมชน โดยเลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสมในการสํารวจชุมชน และนําเครื่องมือใน

การศึกษาชุมชนทางสังคม มานุษยวิทยมาใช เพื่อชวยทําความเขาใจชุมชน

2. วิเคราะหขอมูลจากการสํารวจและ วินิจฉัยชุมชน จัดลําดับความสําคัญของปญหาสาธารณสุขที่พบ

รวมกับชุมชน เตรียมวางแผนโครงการสาธารณสุข

สัปดาหท่ี 3

1. ดําเนินโครงการสาธารณสุขในชุมชน และประเมินผลโครงการ

2. อภิปรายกับอาจารยที่ปรึกษา และประชุมกลุม เพื่อรายงานผลการฝก ปญหาอุปสรรค เพื่อการ

ปรับปรุง

3. ประชุมกับกรรมการชุมชน เพื่อรายงานผลการดําเนินโครงการสาธารณสุข

สัปดาหท่ี 4

1. ประมวลผล วิเคราะหขอมูล จัดทํารายงานโครงการสาธารณสุข

2. อภิปรายกับอาจารยที่ปรึกษาประจํากลุม ปรับปรุงแกไขรายงาน และซอมการนําเสนอรายงาน

หนาช้ัน

3. เตรียมโปสเตอรเสนอผลการดําเนินโครงการ และจัดแสดงโปสเตอร

4. สงรายงานการสํารวจชุมชน รายงานโครงการสาธารณสุข

5. สงแบบประเมินพฤติกรรม

6. นําเสนอรายงานโครงการหนาช้ัน

Page 12: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

12

4. การนําเสนอ

4.1 การนําเสนอดวยโปสเตอร

เปนการนําเสนอรายงานการสํารวจชุมชน และการดําเนินโครงการแกปญหาสาธารณสุขชุมชน จากการ

ฝกภาคสนาม ในลักษณะที ่เปดโอกาสใหผูชมเลือกชมตามที่ตองการได และมีเวลาซักถามไดมากขึ้น เพื่อฝกทักษะ

การนําเสนอดวยโปสเตอร หน่ึงวันกอนนําเสนอหนาชั้น โดยกําหนดใหนักศึกษา 1 กลุม จัดทําโปสเตอรเสนอผล

การฝกภาคสนาม ตอบอรด แสดง 1 ชุด (2 โปสเตอร) ประกอบดวย

4.1.1 ผลการสํารวจชุมชน ประกอบดวย เน้ือหาตาง ๆ ไดแก ชื่อโครงการ กลุมผูดําเนินโครงการ วัตถุ

ประสงค วิธีการดําเนินการสํารวจ ผลการสํารวจ การวินิจฉัยชุมชน วิจารณ สรุป

4.1.2 ผลการดําเนินโครงการแกปญหาสาธารณสุขชุมชน ประกอบดวย ชื่อโครงการ หลักการและ

เหตุผล วัตถุประสงค

การประเมินผลการนําเสนอดวยโปสเตอร ผูประเมินไดแกอาจารยประจํารายวิชา อาจารยที่เปน

อนุกรรมการวิชาการ นักศึกษาแพทย นักวิชาการ

วันนําเสนอดวยโปสเตอร ในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2557 ต้ังแตเวลา 13.00 - 16.00 น. ณ บริเวณใต

อาคารแพทยศาสตรศึกษาราชนครินทร ใหแบงนักศึกษาตามกลุมที่ฝกภาคสนาม จํานวน 10 กลุม

รูปแบบโปสเตอร ทําดวย ไวนิล ขนาด 1 x 1 เมตร

หมายเหตุ การนําเสนอโปสเตอรจะไมมีการตกแตง หากมีการตกแตงโปสเตอรจะตัดคะแนนการใชวัสดุ

อุปกรณท่ีตกแตงโปสเตอร

4.2 การนําเสนอรายงานหนาชั้น

เปนการนําเสนอรายงานการศึกษาชุมชน และโครงการสาธารณสุข ประกอบดวย

4.1.1 ช่ือกลุม

4.1.2 หลักการและเหตุผล

4.1.3 วัตถุประสงค

4.1.4 วิธีดําเนินงาน (การสํารวจ การดําเนินโครงการ การประเมินผลโครงการ)

4.1.5 ผลการดําเนินงาน

4.1.6 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

4.1.7 บทคัดยอ (แจกผูเขาฟงการนําเสนอ)

รูปแบบการนําเสนอหนาชั้น

นักศึกษานําเสนอ 3 รอบ

รอบท่ี 1 นําเสนอ 4 กลุม รอบท่ี 2 และ 3 นําเสนอรอบละ 3 กลุม

เวลาในการนําเสนอกลุมละ 8 นาที

เม่ือครบ 1 รอบ ใหนักศึกษาซักถาม 6 นาที อาจารยใหขอเสนอแนะ 6 นาที

(รวมเวลากลุมละ 20 นาที) หากนักศึกษาใชเวลาเกินใหลดเวลาของอาจารย

- อาจารยสรุป comment การนําเสนอและอ่ืน ๆ 10 นาที

Page 13: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

13

ลําดับการนําเสนอรายงาน

นําเสนอรายงาน วันศุกร ท่ี 21 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 น. ณ หองวิจารณ พาณิช

ผูดําเนินการนําเสนอ : ผศ.ดร.ฐิติวร ชูสง

ลําดับการนําเสนอ

กลุมนําเสนอรอบท่ี 1 กลุม นศ.วิจารณ อาจารยผูเสนอแนะ

กลุม 7 (ปลักธง) 1 อ.จุฑารัตน สถิรปญญา

กลุม 2 (เกาะเรียน) 4 อ.ธนิษฐา ศิริรักษ

กลุม 5 (พะตง) 9 อ.ธารทิพย แสงสุวรรณ

กลุม 10 (ปลักธง) 3 อ.นฤชา โกมลสุรเดช

กลุมนําเสนอรอบท่ี 2

กลุม 8 (ปลักธง) 2 อ.พิชญานนท งามเฉลียว

กลุม 1 เกาะหมาก 7 อ.วดี อัมรักเลิศ

กลุม 4 (ปลักธง) 6 อ.สีลม แจมอุลิตรัตน

กลุมนําเสนอรอบท่ี 3

กลุม 9 (ปลักธง) 5 อ.กอปรชุษณ ตยัคคานนท

กลุม 3 (ตะโหมด) 8 อ.ถวัลย เบญจวัง

กลุม 6 (เทศบาล4) 10 อ.พิชญา พรรคทองสุข

Page 14: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

14

6. รายงานโครงการ

6.1 รายงานโครงการ กําหนดรูปแบบ ดังน้ี (ดู การเขียนรายงาน Thesis book)

- จํานวนหนาของรายงานทั้งสองสวนไมเกิน 50 หนา (ไมรวม ภาคผนวก สารบัญ ปก)

- ใชตัวอักษร Cordia New ขนาด

หัวขอใหญ หรือบทท่ี ใชตัวอักษรตัวหนา ขนาด 20 point

หัวขอยอย ใชตัวอักษรตัวหนา ขนาด 18 point

หัวขอยอย ใชตัวอักษรธรรมดา ขนาด 16 point

6.2 การเนนขอความ หากตองการเนนขอความตัวอักษรใชเลือกอยางใดอยางหน่ึงตอไปน้ี

- ตัวหนา

- ตัวเอียง

- ขีดเสนใตขอความ

6.3 การสงรายงาน กอนเวลา 15.00 น.วันที่ 21 พฤศจิกายน 2557

- สง digital file 1 ไฟล โดยไมแยกบทรายงาน (บันทึกใน Handy drive ที่ภาควิชาใหยืม)

- สงสไลด power point ที่ใชนําเสนอรายงานหนาช้ัน 1 ไฟล (บันทึกใน Handy drive

ที่ภาควิชาใหยืม)

** สงแบบประเมินตาง ๆ รายงาน Handy drive ที่ คุณรัดเกลา เภาม ีภาควิชาเวชศาสตรชุมชน

Page 15: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

15

บุคลากรในรายวิชา

1. ประธานและรองประธาน คณะกรรมการรายวิชา

หากมีปญหาใด ๆ สามารถติดตอ ผศ.ดร.จุฑารัตน สถิรปญญา ประธานรายวิชา

รศ.ดร.พญ.พิชญา พรรคทองสุข รองประธานรายวิชา หรือคณาจารยภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะ

แพทยศาสตร โทรศัพท 0 74 451330-2 หรือสายตรง 0 7442 9921 เบอรภายใน 1330-2

2. อาจารยท่ีปรึกษาประจํากลุม

อาจารยที่ปรึกษาประจํากลุมตลอดรายวิชา จะทําหนาที่เปนที่ปรึกษาในการเตรียมการฝกภาคสนาม เปน

ผูสนับสนุนและกระตุนใหเกิดการเรียนรู การสรางแบบสํารวจชุมชน การออกฝกภาคสนาม การสัมภาษณ การ

รวบรวมขอมูล การแปลผลขอมูล การวินิจฉัยชุมชน การแนะนําในการติดตอ ประสานงานกับประชาชน ผูนํา

ทองถิ่น เจาหนาที่สาธารณสุข และหนวยราชการอ่ืน ๆ ในพื้นที่ฝก

รายชื่ออาจารยท่ีปรึกษาประจํากลุม

กลุมที่ 1 รศ.นพ.สีลม แจมอุลิตรัตน โทร 1025, 089-4684673 e-mail : [email protected]

กลุมที่ 2 ผศ.ดร.จุฑารัตน สถิรปญญา โทร.089-1453761 e- mail : [email protected]

นพ.นฤชา โกมลสุรเดช โทร 089-0020842 e- mail : [email protected]

กลุมที่ 3 ผศ.ดร.ฐิติวร ชูสง โทร.088-7904708 e- mail : [email protected]

กลุมที่ 4 พญ.ธารทิพย แสงสุวรรณ โทร.089 9760071 e- mail : [email protected]

กลมที่ 5 ผศ.นพ.กอปรชุษณ ตยัคคานนท โทร.081 7662242 e-mail : [email protected]

กลุมที่ 6 นพ.พิชญานนท งามเฉลียว โทร.081 5992253 e- mail : [email protected]

พญ.ธารีรัตน อนันตชัยทรัพย โทร. 085-8898592 e- mail : [email protected]

กลุมที่ 7 ผศ.นพ.ถวัลย เบญจวัง โทร.0 8127 5890 7 e-mail : [email protected]

พญ.อรพรรณ ฟูมณีโชติ โทร.089-8781005 e- mail :[email protected]

กลุมที่ 8 รศ.ดร.พญ.พิชญา พรรคทองสุข โทร.0 8154 1406 4 e-mail : [email protected]

นพ.ปณิธาน วัจนคมกุล โทร.089-6562450 e- mail :[email protected]

กลุม 9 พญ.ธนิษฐา ศิริรักษ โทร. 086-9972792 e- mail :[email protected]

นพ.ปญญา จํารูญเกียรติกุล โทร.081-8985768 e- mail :[email protected]

กลุม 10 พญ.วดี อัมรักเลิศ โทร.083-6551560 e- mail :[email protected]

Page 16: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

16

4. นักวิชาการประจํากลุม

นักวิชาการจะทําหนาที่ชวยเหลือและเปนที่ปรึกษานักศึกษากลุมยอย เปนผูสนับสนุนและอํานวย

ความสะดวกในการเตรียมพื้นที่ฝกภาคสนาม สวัสดิการตาง ๆ ตลอดจนประสานงานกับประชาชนและ

เจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อใหการเรียนการสอนเปนไปตามวัตถุประสงค ที่ต้ังไว

4.1 นายกิตติศักด์ิ ชูมาลี 1167, 0 8189 7503 4

4.2 นางสาวทัศนีย ขันทอง 1330-2, 0 8668 5340 4

4.3 นายวรวิช วณิชานนท 1330-2, 0 8199 0584 7

4.4 นางสาวชุติมา พันละมาย 1167, 0 8696 0562 9

5. นักวิชาการศึกษา ใหบริการและคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

5.1 นางทัษนีย พิณสุวรรณ 1330-2, 0 7442 9921

5.2 นางรัดเกลา เภามี 1330-2, 0 7442 9921

6. เจาหนาท่ีโสตทัศนศึกษา ใหบริการ จัดหา ยืม-คืน และใหคําแนะนําดานอุปกรณโสตทัศนศึกษา

นายสุรพล แสงอุไร 1330-2, 0 7442 9921

7. เลขานุการภาควิชา ใหคําแนะนําดานการบริหารจัดการตาง ๆ

นางสาวลักษมี สัตตบุษยวรกุล 1330-2, 0 7442 9921

8. ผูใหคําแนะนําดานงบประมาณ การเงิน โครงการ

นางสาวรัชดา ไชยมิตร 1330-2, 0 7442 9921

9. ผูใหบริการและจัดหาวัสดุ อุปกรณ และยานพาหนะ

นางกมลวรรณ ทองศรี 1330-2, 0 7442 9921

Page 17: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

17

กําหนดการฝกปฏิบัติวิชาเวชศาสตรชุมชน 2 นักศึกษาแพทยชั้นปท่ี 3 ปการศึกษา 2557

กลุม

กิจกรรม

พบอาจารยท่ีปรึกษา

วันจันทรท่ี 27 ตุลาคม 2557

Field visit

วันอังคาร ท่ี 28 ตุลาคม 2557

หอง เวลา ขอรถ นัดสถานท่ีฝก สถานท่ีนัดพบ

1 อ.สีลม เกษมพานิช 13.00 08.45 10.00 รพ.สต.เกาะหมาก

2 อ.จุฑารัตน

อ.นฤชา

หองวิจารณ พานิช 10.00 08.30 10.30 รพ.สต.เกาะเรียน

3 อ.ฐิติวร หองวิจารณ พานิช 10.00 08.30 10.30 รพ.สต.ตะโหมด

4 อ.ธารทิพย Med 205 13.00 13.00 13.30 ศูนย สธ.ปลักธง

5 อ.กอปรชุษณ ประชุม1ภาควิชา 10.00 14.30 15.00 รพ.สต.พะตง

6 อ.พิชญานนท

อ.ธารีรัตน

หองประชุม 2

ภาควิชา

13.00 13.30 13.45 ศูนย สธ. เทศบาล4

7 อ.ถวัลย

อ.อรพรรณ

Med 527 13.00 13.00 13.30 ศูนย สธ.ปลักธง

8 อ.พิชญา

อ.ปณิธาน

วิจารณ์พานิช 13.00 13.00 13.30 ศูนย สธ.ปลักธง

9 อ.ธนิษฐา

อ.ปญญา

Med 529 13.00 13.00 13.30 ศูนย สธ.ปลักธง

10 อ.วดี Med 201 13.00 13.00 13.30 ศูนย สธ.ปลักธง

***Field visit ข้ึนรถหนาอาคารแพทยศาสตรศึกษา (ตึกแดง)

- กรณีใชหองประชุมนอกเหนือจากตารางท่ีกําหนดใหแจงคุณรัดเกลา โทร. 1331-2 ลวงหนา 1 วันเพ่ือประสานงานขอใชหอง

- ตองการใชหองหรือโปรเจคเตอรในวันท่ีไมมีหองประชุมกลุม แจงคุณรัดเกลา ลวงหนา เพ่ือจัดหาหองให

Page 18: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

18

สถานท่ี

1. หองสมุดวิทยาศาสตรสุขภาพ อาคารเรียนรวมและหอสมุด คณะแพทยศาสตร เปดบริการระหวางเวลา

07.30 - 21.00 น.

2. หองบรรยาย MED 206 อาคารแพทยศาสตรศึกษาราชนครินทร

3. หองคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) ช้ัน 3 อาคารแพทยศาสตรศึกษาราชนครินทร เปดบริการระหวางเวลา

08.30 - 19.30 น.

4. หองเรียนกลุมยอย อาคารแพทยศาสตรศึกษาราชนครินทร และอาคารเรียนรวมฯ เปดบริการระหวาง

เวลา 08.30 – 19.30 น.

5. พื้นที่ฝกภาคสนาม ไดแก ศูนยบริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองคอหงส ศูนยบริการสาธารณสุขโรงเรียน

เทศบาล 4 วัดคลองเรียน ศูนยบริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองบานพร ุโรงพยาบาลบางกล่ํา โรงพยาบาล

สทิงพระ โรงพยาบาลจะนะ

6. ครอบครัวในพื้นที่ฝก

Page 19: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

19

สื่อการเรียนรู

1. ถวัลย เบญจวัง. เวชศาสตรชุมชน 1. คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร : สงขลา. 2540.

2. ถวัลย เบญจวัง. เวชศาสตรชุมชน 2. คณะแพทยศาสตร หาวิทยาลัยสงขลานครินทร : สงขลา. 2540.

3. นิศา ชูโต. การประเมินโครงการ. หจก.พี.เอ็น.การพิมพ : กรุงเทพฯ. 2538

4. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศร.ี การประเมินโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัติ. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ. 2542.

5. สุชาติ ประสิทธ์ิ. การประเมินโครงการ : หลักการและการประยุกต. โรงพิมพเลี่ยงเชียง : กรุงเทพฯ. 2541.

6. ศึกษาจากบทเรียนออนไลน Website Virtual Classroom เรื่องสถิติสําหรับฝกภาคสนามเวชศาสตร

ชุมชน โดยเขาสู Web site : medical.psu.ac.th เลือก การเรียนการสอน เลือก บทเรียนคอมพิวเตอร

ชวยสอน เลือก CAK html จะเขาสูสารบัญบทเรียน เลือกเรื่อง สถิติสําหรับฝกภาคสนามเวชศาสตรชุมชน

อาจารยผูสอน นพ.สีลม แจมอุลิตรัตน

7. ศึกษาจากบทเรียนออนไลน E-Learning โดยเขาสู Web site ของคณะแพทย คอลัมภขาวนักศึกษา

แพทย เลือก Medicine e-Learning รายวิชา 367-331 เวชศาสตรชุมชน 2 โดยสมัครเปนสมาชิกกอน

ตามข้ันตอนทีแ่จง เพราะนักศึกษาตองใช login ในการเขาสูบทเรียน

8. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย. คูมือ คูคิด สุขภาพชุมชน บริการปฐมภูมิ : กรุงเทพฯ.

9. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย. วิถีชุมชน เครื่องมือ 7 ช้ิน ที่ทําใหงานชุมชนงาย ไดผล และสนุก : กรุงเทพฯ.

2554.

10. สุขภาพคนไทย 2552. website http://www.thaihealth.or.th/files/pokna-poklang_V.pdf

Page 20: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

20

การวัดและประเมินผล

องคประกอบ เกณฑ(รอยละ) วิธีการประเมิน ผูประเมิน นํ้าหนัก

Process 60 พฤติกรรม เพื่อน 15

อาจารย+นักวิชาการ 40

อาจารยพี่เลี้ยง 5

Product 40 รายงาน อาจารย 25

นําเสนอโดยวาจา อาจารย+นักวิชาการ 5

นําเสนอโปสเตอร เพื่อน 2

อาจารย+นักวิชาการ 8

รวม 100 100

Page 21: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

21

การเขียนรายงานโครงการสาธารณสุข

ผศ.นพ.กอปรชุษณ ตยัคคานนท

เม่ือดําเนินโครงการเสร็จสิ้น ผูดําเนินโครงการจะนําเสนอผลตอผูท่ีเก่ียวของ (ผูใหทุน หนวยงานท่ีเก่ียวของในทองถิ่น

หรือท่ีดูแลทองถิ่นน้ัน และกลุมหรือประชาการเปาหมายท่ีโครงการเขาไปดําเนินการ) ในรูปแบบการนําเสนอตอท่ี

ประชุม หรือการจัดทํารายงานท่ีเปนรูปเลม

การจัดทํารายงานเปนรูปเลมที่มีคุณภาพ นอกเหนือจากการเสนอตอผูที่เก่ียวของแลว จะไดประโยชนเพิ่มคือ

เปนการเผยแพรผลการดําเนินโครงการทั้งในดาน กลวิธี วิธีการ กระบวนการดําเนินการ ที่สงผลสําเร็จ รวมถึงบทเรียนที่

ไดจากโครงการ ที่ผูอ่ืนที่สนใจ หรือมีภารกิจในการปรับปรุงแกไขปญหาสาธารณสุขในลักษณะเดียวกัน จะนําไป

ดําเนินการในพื้นทีอ่ื่น หรือประชากรกลุมอ่ืนไดอีกดวย

ในการจะสื่อผลการดําเนินการโครงการ จึงจําเปนจะตองเขียนใหสื่อใหผูอานไดรับทราบ และเขาใจในเน้ือหา

ของรายงานอยางเหมาะสม ดวยองคประกอบ และลักษณะของเน้ือหาของรายงาน ดังตอไปน้ี (เปนองคประกอบ

อยางนอยท่ีจะตองมี สวนหวัขออ่ืน เชน สมมติฐาน ขึ้นกับลักษณะของโครงการ ซ่ึงผูรายงานสามารถพิจารณาไดตาม

ความเหมาะสม)

1. ปก ประกอบดวย

- ชื่อโครงการ

- กลุมผูดําเนินโครงการ

- ระบุวาเปนสวนหน่ึงการการฝกภาคปฏิบัติฯ

- พ.ศ.ท่ีรายงาน

2. คํานํา

เปนการแนะนําวารายงานเลมน้ี เปนของใคร เก่ียวของกับเร่ืองอะไร ทําเพ่ืออะไร (ในกรณีน้ี คือ เปนสวน

หน่ึงของวิชาเวชศาสตรชุมชน 2) เพ่ือประโยชนอะไร ตอใคร อยางกระชับ สั้น ๆ ลงทายดวยระบุผูรายงาน และ

วัน-เดือน-ปท่ีรายงาน

3. สารบัญ (อาจมีสารบัญตาราง และสารบัญภาพดวย ถามีจํานวนมาก)

4. บทคัดยอ

เปนการยอรายงานท้ังหมดอยางกระชับกะทัดรัด (ความยาวไมเกิน 2/3 หนากระดาษ A4) เพ่ือใหผูอาน

เขาใจวารายงานน้ี

- ความเปนมาของโครงการ

- ทําเพ่ืออะไร ทําอยางไร ประเมินผลอยางไร และไดผลเปนอยางไร

- ขอสรุปและขอเสนอแนะ

Page 22: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

22

4. บทนํา (หรือหลักการและเหตุผล)

เปนการปูพ้ืนความรูความเขาใจอยางยอกระชับ ใหกับผูอานรายงานไดเขาใจเชนเดียวกับผูดําเนินโครงการ

วาเร่ืองท่ีทํามีความเปนมา/ความสําคัญอยางไร น่ันคือ

- เหตุผล/ความเปนมาท่ีพบปญหาน้ี และเหตุผลท่ีเลือกเร่ืองน้ี โดยอางอิงขอมูลสําคัญ ๆ ท่ีพบ

เปรียบเทียบขอมูลประกอบ และผลกระทบท่ีจะเกิดหากปลอยไว ใหผูอานเห็นวามีความสําคัญจริง ท้ังน้ี

ตองมีการอางแหลงท่ีมา (reference) ดวย

5. เปาประสงค เปนการระบุวา ในอนาคตหลังดําเนินโครงการ ผูดําเนินโครงการหวังวาจะเกิดการ

เปลี่ยนแปลงท่ีดีอะไรบาง

6. วัตถุประสงค

เปนการระบุวาเม่ือเสร็จสิ้นโครงการ ผูดําเนินโครงการตองการใหเกิดอะไร/บรรลุอะไร วัตถุประสงคท่ีดี

ควรมีลักษณะดังตอไปน้ี

- ไมมากขอเกินไป (ถาเปนไปไดไมควรเกิน 3 ขอ)

- ตองจําเพาะ สามารถวัด/ประเมินได

- ถาโครงการทําใหเกิดผลอ่ืน หรือผูดําเนินการตองการผลอ่ืน ใหแยกไวในหัวขอผลกระทบแทน

7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

เม่ือดําเนินโครงการตามวัตถุประสงคแลว จะสงผลใหเกิดอะไรตามมาท้ังเม่ือจบโครงการ และในอนาคต

ตอท้ังประชากรเปาหมาย ผูดําเนินโครงการ หนวยงานท่ีเก่ียวของ หรือระบบท่ีเก่ียวของ ท้ังน้ีไมใชการนํา

วัตถุประสงคมาเขียนซํ้า

8. การทบทวนความรูที่เกี่ยวของ

เปนการทบทวนความรูท่ีเก่ียวของกับปญหาท่ีทําท่ีครอบคลุมถึง

- ลักษณะ สถานการณ แนวโนมของปญหา

- สาเหตุและปจจัยท่ีเก่ียวกับปญหา

- ผลกระทบของปญหา ในดานตาง ๆ

- แนวทางการปรับปรุง พัฒนา แกไข ท้ังทางทฤษฎ ีและโครงการเก่ียวของอ่ืน ๆ

โดยตองมีการนําเสนอขอมูลและอางอิงแหลงท่ีมา (reference) ประกอบดวย

9. การดําเนินโครงการ

เปนการนําเสนอวา เพ่ือใหบรรลุตามวัตถุประสงค มีกลวิธีและแนวทางอยางไร ดําเนินการอยางไร ทํา

อะไรบาง ตรงตามแผนหรือมีการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง เพราะอะไร ในหัวขอน้ีตองใหรายละเอียดทุกขั้นตอน

ครบถวนในลักษณะท่ีวา ถาผูอื่นตองการจะทําโครงการแบบเดียวกันน้ี เม่ืออานรายงานในสวนน้ีแลวสามารถ

ดําเนินโครงการไดเลย โดยไมตองวางแผนใหม

9. การประเมินโครงการ

- จุดมุงหมาย/วัตถุประสงคของการประเมิน เพ่ืออะไร เพ่ือใชประโยชนอะไร

- ใชตัวชี้วัดอะไร มีเกณฑ (ถามี) อะไร ใชขอมูลอะไร

- เปนการประเมินชนิดใด

- ใชเคร่ืองมืออะไรบางในการประเมิน

- ใชวิธีอยางไรในการเก็บรวบรวมขอมูล รวมถึงขั้นตอนการดําเนินการ

Page 23: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

23

- วิธีการ/ขั้นตอนการวิเคราะหผล การใชสถิติประกอบ และการนําเสนอผล สวนน้ีก็เชนเดียวกับหัวขอการดําเนินโครงการ คือ ตองเขียนในลักษณะท่ีวา ผูอานสามารถนําไป

ดําเนินการประเมินไดโดยไมตองคิดรายละเอียดใหม

10. ผลการดําเนินโครงการ

รายงานผลท่ีเกิดขึ้นจากการทําโครงการทุกอยาง ท้ังในสวนท่ีเปน Input, process, output และปญหา

อุปสรรค ซ่ึงรวมถึงผลท่ีไดจากการประเมิน โดยเฉพาะท่ีเก่ียวของกับการตอบวัตถุประสงค

การนําเสนอใหเขียนในลักษณะพรรณนา การ “แปลผล” ท่ีไดจากการวิเคราะหขอมูลเปนหัวขอ ๆ โดยใช

ตารางหรือภาพประกอบการพรรณนา ไมเขียนในลักษณะบรรยายใตภาพ (เขียนพรรณนา แลวจึงตอดวยภาพ

หรือตาราง ไมใชเสนอตาราง/ภาพกอนเขียนผล)

11. วิจารณหรืออภิปรายผล

เปนการอภิปรายผลการดําเนินโครงการท่ีสรุปไวในหัวขอท่ีผานมา อธิบายวา

- ผลท่ีไดจากการวิเคราะห/แปลผล มีความหมายอยางไร

- ท่ีไดผลเปนเชนน้ันเปนเพราะอะไร

- ผลท่ีไดน้ีจะสงผลตออะไร/อยางไรบาง

ท้ังน้ีอาจตองเปรียบเทียบกับขอมูลจากแหลงอ่ืน เชน รายงานประจําป รายงานโครงการท่ีคลายคลึงกันท่ี

ทําท่ีอ่ืน (ซ่ึงตองอาง reference ดวย) นอกจากน้ันการอภิปราย จะครอบคลุมถึงเหตุและปจจัยท่ีมีผลตอการ

ดําเนินโครงการ และท่ีสงผลใหเกิดปญหาอุปสรรคดวย การอภิปรายและวิจารณท่ีด ี จะนําไปสูสรุป และให

ขอเสนอแนะไดชัดเจน เปนรูปธรรม

12. สรุปขอเสนอแนะ

เปนการสรุปผลการดําเนินโครงการอยางกระชับ ตอจากการสรุปเปนการใหขอเสนอแนะโดยอาศัยประเด็น

สําคัญท่ีไดจากการอภิปรายผล ท้ังน้ีอาจเปนขอเสนอแนะเก่ียวกับกลวิธีการทําโครงการเพ่ือแกปญหาเทคนิคท่ี

สําคัญท่ีคนพบจากโครงการ ขั้นตอนตาง ๆ ในการดําเนินการ การประเมินผล ฯลฯ

13. เอกสารอางอิง

เปนรายการเอกสารท่ีอาจเปนหนังสือ รายงานโครงการ รายงานวิจัย หรือเอกสารวิชาการอ่ืน ๆ ท่ีใชอางใน

สวนของ บทนํา (หรือความเปนมา หรือหลักการและเหตุผล) การทบทวนวรรณกรรม/ความรูท่ีเก่ียวของ และ

อภิปราย/วิจารณผล

สิ่งท่ีไมเปนท่ียอมรับในการใชอางอิงคือ บทความในหนังสือพิมพหรือนิตยสาร แผนปลิวหรือแผนพับ และ

เอกสารโรเนียวท่ีไมมีรูปแบบวิชาการครบถวน

การเขียนใหใชรูปแบบท่ีแนะนําไวในวารสาร "สงขลานครินทรเวชสาร" ซ่ึงใตรูปแบบของ Index Medicus

(ระบบ Vancouver) เรียงลําดับเลขจากการถูกอางอิงกอน-หลัง

14. ภาคผนวก

รายละเอียดตาง ๆ ท่ีผูรายงานใชประกอบในการรายงาน แตมีรายละเอียดมากเกินไป ถาใสไวในเน้ือ

รายงานจะทําใหเทอะทะ หรือเยิ่นเยอเกินไป เชน โครงการท่ีเขียนไวกอนดําเนินโครงการ แบบประเมินตาง ๆ

สูตรการคํานวณ เปนตน

การจัดเรียงใหเปนไปตามลําดับท่ีถูกอางถึงในเน้ือรายงาน โดยระบุดวยวา ชิ้นใดเปนภาคผนวกท่ีเทาไร เชน

ภาคผนวกท่ี 1 โครงการ………….ภาคผนวกท่ี 2 แบบสํารวจ…………..

Page 24: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

24

ขอควรปฏิบัติสําหรับนักศึกษาแพทยในการฝกภาคสนาม และพักคางคืนในหมูบาน

ขอควรปฏิบัติรายกลุม

1. ควรกําหนดฝายสวัสดิการตาง ๆ ข้ึนในกลุม ไดแก

1.1 ฝายรักษาความสะอาดที่พัก และบริเวณหองนํ้า

1.2 ฝายจัดอาหารและนํ้าด่ืม

1.3 ฝายปองกันอุบัติภัยตาง ๆ

1.4 ฝายประชาสัมพันธและรับรองแขกผูมาเย่ียม

1.5 ฝายปฐมพยาบาล

2. จัดทํากําหนดการปฏิบัติงานประจําวันที่แนนอนใหกลุมทราบลวงหนาอยางนอย 1 วัน

3. การใชยานพาหนะ ใหติดตอคุณกมลวรรณ และกําหนดแผนไวลวงหนา 1 วัน

4. ควรมีกิจกรรมรวมกับชุมชน และพัฒนาที่พักกอนวันเดินทางกลับอยางนอย 1 วัน

5. ไมควรมีกิจกรรมอื่น ๆ นอกเขตฝกภาคสนามทุกกรณี เวนแตไดรับความเห็นชอบจาก อาจารยที่ปรึกษาประจํากลุม

ขอควรปฏิบัติรายบุคคล

1. นักศึกษาแตงกายชุดนักศึกษา และนักศึกษาชายไวทรงผมสั้น ติดบัตรประจําตัวนักศึกษา

2. ไมออกนอกพื้นที่ปฏิบัติงาน กอนไดรับอนุญาตจากอาจารยที่ปรึกษาประจํากลุม

3. ไมออกนอกบริเวณที่พักในเวลากลางคืน หากจําเปนหรือมีแผนออกเย่ียมครอบครัวตอนกลางคืน ตองแจง

ใหอาจารยที่ปรึกษาทราบกอนทุกครั้ง และไมควรออกไปคนเดียว

4. จัดเก็บที่นอนของใชสวนตัวและทํากิจธุระสวนตัว เพื่อพรอมที่จะปฏิบัติงานกอน 08.00 น. ของทุกวัน

5. ไมควรวิจารณเรื่องที่พักและเรื่องอาหารระหวางนักศึกษาดวยกัน แตควรนําเรื่องเขาที่ประชุมกลุม

6. ไมเลนไพ หรือการพนันทุกชนิด และไมด่ืมสุราในพื้นที่ปฏิบัติงาน และในที่พกั

7. ไมพูดลอเลียนสําเนียงภาคใตตอหนาชาวบาน หรือระหวางปฏิบัติงานในพื้นที ่

8. สําหรับนักศึกษาชาย ไมควรใสชุดช้ันในอาบนํ้าในที่โลงแจง และสําหรับนักศึกษาหญิง ไมควรใสกางเกงขาสั้น

9. การพักผอนในระหวางการปฏิบัติงาน ไมควรจับกลุมน่ังในรานกาแฟในหมูบาน และไมควร น่ังเปนคูคุยกัน

เปนเวลานาน ๆ ในหมูบานระหวางนักศึกษาหญิงและนักศึกษาชาย

10. ควรตระหนักในการปฏิบัติตนใหสอดคลองกับขนบธรรมเนียม ประเพณีของชุมชนและศาสนา

11. การปฏิบัติงานใหคํานึงความปลอดภัยของตนเองและเพื่อน

12. ใหนักศึกษาติดบัตรประจําตัวนักศึกษาทุกครั้งที่เขาสัมภาษณ หรือเย่ียมครอบครัวในชุมชน

13. กรณีตองการลา ใหขอแบบฟอรมใบลาจากภาควิชา

หมายเหตุ - เขตฝกภาคสนามหรือพื้นที่ปฏิบัติงาน หมายถึงเขตชุมชนที่นักศึกษากลุมน้ัน ๆ รับผิดชอบ

- กลุมที่ไมไดพักคางคืนในหมูบาน ใหปฏิบัติกิจกรรมกลุม และนัดกับอาจารยที ่

ปรึกษาประจํากลุมตามหองที่จัดไว (หนา 27) หรือสถานที่อื่นตามความเหมาะสม

Page 25: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

25

แบบประเมินการนําเสนอโปสเตอร ผลการสํารวจปญหาสาธารณสุขชุมชน

ผูประเมิน อาจารย นักวิชาการ นักศึกษา เกณฑการใหคะแนน ในแตละหัวขอประเมิน คะแนน 0-10 (ดีที่สุด คือ 10 คะแนน)

หัวขอประเมิน กลุมที ่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ลักษณะ

ชุมชน

1. การสื่อความหมาย ลักษณะทางกายภาพ และความ โดด

เดนของชุมชน ชัดเจน

วิธีการสํารวจ

1. ความเหมาะสมของการใชเคร่ืองมือสํารวจดัชนีสุขภาพ

2. ความถูกตองของการใชเคร่ืองมือทางสังคมมานุษยวิทยา

3. ความครอบคลุม ครบถวนของการสํารวจ

ผลการ

สํารวจ

1. ความถูกตองในการประมวลผล

2. ความถูกตองของรูปแบบการนําเสนอผล

3. การอางอิง/เปรียบเทียบกับการศึกษาอื่นๆ

การวินิจฉัย

ชุมชน

1. ความชัดเจนขององคประกอบและเกณฑการวินิจฉัยชุมชน

2. ความถูกตองของขอมูลและการแปลผลการวินิจฉัยชุมชน

3. ใชหลักการมีสวนรวม

รูปแบบการจัดทําโปสเตอร (การออกแบบ ตัวอักษร ความสวยงาม)

รวม

แบบประเมินการนําเสนอโปสเตอร ผลการดําเนินโครงการแกปญหาสาธารณสุขของชุมชน

หัวขอประเมิน

กลุมที ่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ชื่อโครงการ

หลักการและเหตุผล

1. มีการอางอิง ใชขอมูล สถิติเพ่ือสนับสนุน

ความจําเปนของการทําโครงการ

2. มีขอมูล/อางอิงการเลือกวิธีการแกปญหา

สอดคลองกับสาเหตุของปญหา

วัตถุประสงค 1. มีเกณฑ เปาหมาย สามารถวัดได

2. สอดคลองกับปญหา

วิธีดําเนินงาน

1. สอดคลองกับวัตถุประสงค

2. ออกแบบกิจกรรมโดยมีความคิด

สรางสรรค/นวัตกรรม และเหมาะสมกับ

สภาพการณ ลักษณะกลุมเปาหมายชุมชน

3. งาย สามารถปฏิบัติไดจริง

ผลการดําเนินงานและการ

ประเมินผล

1. นําเสนอผลการดําเนินงานถูกตอง

2. .มีรูปแบบประเมินผลท่ีชัดเจน

3. ใชสถิติ วิธีการถูกตองในการประเมินผล

รูปแบบการจัดทําโปสเตอร (การออกแบบ ตัวอักษร ความสวยงาม)

รวม

***นักศึกษาแพทยคิดวากลุมที่จัดทําโปสเตอรไดดีที่สุดตามแบบประเมิน โปสเตอร คือ กลุมที่.....................

Page 26: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

26

แบบประเมินการนําเสนอดวยวาจา Oral Presentation ผลการสํารวจปญหาสาธารณสุขชุมชน

เกณฑการใหคะแนน พิจารณาใหคะแนนในภาพรวมของแตละกลุม ระดับ 1- 5 ( 5 คือ ดีที่สุด)

หัวขอประเมิน กลุมที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

1. ลักษณะชุมชน - การสื่อความหมาย ลักษณะทางกายภาพ

2. วิธีการสํารวจ – ดัชนีสุขภาพ เคร่ืองมือทางสังคมมานุษยวิทยา ความครอบคลุม

3. ผลการสํารวจ - ความถูกตองในการประมวลผล การนําเสนอ

ผล การอางอิง เปรียบเทียบกับการศึกษาอ่ืน

4. การวินิจฉัยชุมชน - องคประกอบและเกณฑการวินิจฉัยชุมชน การแปรผล การมีสวนรวมของชุมชน

5. รูปแบบ วิธีการนําเสนอ )บุคลิก เสียง สื่อการนําเสนอ(

การนําเสนอในภาพรวมของกลุมไดระดับ)1 2 3 4 5)

ผลการดําเนินโครงการแกปญหาสาธารณสุขของชุมชน

หัวขอประเมิน กลุมที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

1. หลักการและเหตุผล การอางอิงขอมูล สอดคลองกับ

สาเหตุของปญหา

2. วัตถุประสงค .มีเกณฑ เปาหมาย สามารถวัดได .

สอดคลองกับปญหา

3. วิธีดําเนินงาน สอดคลองกับวัตถุประสงค ความคิด

สรางสรรค /นวัตกรรม เหมาะสมกับสภาพชุมชน

4. ผลการดําเนินงาน การประเมินผล ใชสถิติ ถูกตอง มี

การอางอิง ใชขอมูลอภิปรายผล

5. รูปแบบ วิธีการนําเสนอ )บุคลิก เสียง ส่ือการนําเสนอ(

การนําเสนอในภาพรวมของกลุมไดระดับ )1 2 3 4 5

แกไข 09เมย.57

Page 27: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

27

แบบใหคะแนนรายงานผลการสํารวจปญหาสาธารณสุขในชุมชน

นักศึกษาแพทยช้ันปที่ 3 ปการศึกษา 2557

หัวขอ

รายงาน หัวขอประเมิน

กลุมที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บทคัดยอ

การสื่อความหมาย ชัดเจน ครอบคลุม (พ้ืนที่สํารวจ

เคร่ืองมือ วิธีการ ผลการสํารวจ การวินิจฉัยชุมชน)

1. ความถูกตอง

บทนํา

1. การอางอิงขอมูล ที่แสดงถึงความสําคัญ เหตุผล ของ

การสํารวจชุมชน

2. กําหนดวัตถุประสงคของการสํารวจที่วัดได ชัดเจน

ทบทวน

วรรณกรรม

1. มีการทบทวนเอกสาร งานวิจัยที่เก่ียวของจาก

แหลงขอมูลที่เชื่อถือได

2. ความเปนปจจุบันของการทบทวนวรรณกรรม

3. ความถูกตองของขอมูลและการสังเคราะหขอมูลจากการ

ทบทวน

4. ความครอบคลุมของการทบทวน

วิธีดําเนินกา

รสํารวจ

1. พ้ืนที่ ประชากร กลุมตัวอยาง

2. เคร่ืองมือในการสํารวจ

3. คุณภาพของเคร่ืองมือในการสํารวจ

4. วิธีการสํารวจ

รายงานผล

การสํารวจ

และการ

อภิปรายผล

1. การนําเสนอผลการสํารวจโดยใชสิถิติ วิธีการวิเคราะห

ขอมูลที่ถูกตอง

2. การนําเสนอผลการสํารวจโดยเคร่ืองมือทางสังคม/

มานุษยวิทยา

3. ความครอบคลุม ครบถวนของขอมูล

4. .การอภิปราย/เปรียบเทียบผลการสํารวจกับผล

การศึกษาอ่ืนๆ โดยใชขอมูลที่ถูกตอง แหลงขอมูล

นาเชื่อถือได

5. การสรุปผลการสํารวจ/การคนพบที่สําคัญ

การวินิจฉัย

ชุมชน

1. กระบวนการประชาคม

2. การนําเสนอขอมูลจากการสํารวจ ในกระบวนการ

วินิจฉัยชุมชน

3. ความถูกตอง เหมาะสมของเกณฑวินิจฉัยชุมชน

4. การมีสวนรวมของชุมชน

ลงชื่อผูประเมิน...........................................................................................วันที่ประเมิน...................................................

Page 28: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

28

แบบใหคะแนนรายงานผลการดําเนินโครงการแกปญหาสาธารณสุขในชุมชน

นักศึกษาแพทยช้ันปที่ 3 ปการศึกษา 2557

รายงานผล

การ

ดําเนินการ

สรุปและ

อภิปรายผล

1. การนําเสนอผลโดยใชสิถิติ วธิีการวิเคราะห

ขอมูลที่ถูกตอง

2. ความครอบคลุม ครบถวนของขอมูล

3. การอภิปราย/เปรียบเทียบกับผลการศึกษาอ่ืนๆ

โดยใชขอมูลที่ถูกตอง แหลงขอมูลนาเชื่อถือได

4. การสรุปผลการดําเนินโครงการครอบคลุม

กระชับ ถูกตอง

ลงชื่อผูประเมิน...........................................................................................วันที่ประเมิน...................................................

หัวขอ

รายงาน หัวขอประเมิน

กลุมที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บทคัดยอ

1. การสื่อความหมายชัดเจน ครอบคลุม

(กลุมเปาหมาย พ้ืนที่ เคร่ืองมือ วิธีการ ผลการ

ดําเนินการ การประเมินผล)

2. ความถูกตอง

บทนํา

1. การอางอิงขอมูล ที่แสดงถึงความสําคัญ

เหตุผล ของการดําเนินโครงการ

2. กําหนดวัตถุประสงคของการดําเนินโครงการที่

วัดได ชัดเจน

ทบทวน

วรรณกรรม

1. มีการทบทวนเอกสาร งานวิจัยที่เก่ียวของจาก

แหลงขอมูลที่เชื่อถือได

2. ความเปนปจจุบันของการทบทวนวรรณกรรม

3. ความถูกตองของขอมูลและการสังเคราะหขอมูล

จากการทบทวน

4. ความครอบคลุมของการทบทวน

วิธีดําเนินการ

1. กลุมเปาหมายในการดําเนินโครงการ

2. วิธีการ กิจกรรมในการดําเนินโครงการ

3. การวางแผนในการดําเนินโครงการ

4. การมีสวนรวมของชมุชนในการวางแผน

ดําเนินการ และประเมินผลโครงการ

การประเมินผล

1. เคร่ืองมือ เกณฑการประเมินเหมาะสม

2. รูปแบบการประเมินผลเหมาะสม

3. วิธีการประเมินผลเหมาะสม

Page 29: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

29

แบบประเมินพฤติกรรมภาคปฏิบัติ กลุมที…่……..

ผูประเมิน.............................................................. .........................วันที่ประเมิน.........................

ประเด็นการประเมิน : ในภาพรวม ทานมีความเห็นวาสมาชิกแตละคนในกลุม มีความสามารถในการทํางานเปนทีม

มีความรับผิดชอบ มีความประพฤติที่เหมาะสม และความวิริยะ อุตสาหะ มุงม่ันในการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน : ประเมินโดยใหจัดลําดับ ตั้งแตลําดับที่ 1 - ลําดับสุดทาย โดยไมมีลําดับที่ซํ้ากัน

หมายเหตุ 1. หากนักศึกษาจัดลําดับเทากันหมด หรือจัดลําดับซํ้ากัน ใหอาจารยประจํากลุมเปนผูใหคะแนนทั้งหมด

2. นักศึกษาไมตองประเมินตนเอง

ลําดับ รหัส รายชื่อนักศึกษา ผลการประเมิน (ลําดับที)่

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

12.

13.

14.

15.

16.

17.

18.

19.

20.

21.

22.

23.

24.

25.

Page 30: คู มือรายวิชา 367–341 เวชศาสตร ชุมชน 2 (Community Medicine ...medinfo2.psu.ac.th/commed/web/pdf/2/y3_manual2014.pdf · (Health

30