29
1 การประเมินความเสี่ยงและแผนควบคุมความเสี่ยง มอก. 18001 คณะแพทยศาสตร .สงขลานครินทร คณะกรรมการดําเนินงาน โครงการระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะแพทยศาสตร .สงขลานครินทร

การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

1

การประเมินความเสี่ยงและแผนควบคุมความเสี่ยง มอก. 18001

คณะแพทยศาสตร ม.สงขลานครินทร

คณะกรรมการดําเนินงาน

โครงการระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร ม.สงขลานครินทร

Page 2: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

2

ขอกําหนด 4.4.1

• องคกรตองจัดทําและปฏิบัติตามเอกสารขั้นตอนการ

ดําเนินงานในการชี้บงอันตราย และการประมาณระดับความเสี่ยงทุกกิจกรรมและสภาพแวดลอมในการทํางาน

ของลูกจาง และผูเกีย่วของเพื่อใชในการกําหนดมาตรการควบคุมความเสี่ยง

• องคกรตองทบทวนการประเมินความเสี่ยง ในกรณีที่มีการดําเนินกิจกรรมใหมหรือมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง

กิจกรรม

• องคกรตองจัดทําและเก็บบนัทึกตามที่กําหนดในขอ 4.6.4

Page 3: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

3

วัตถุประสงค

• เพื่อระบุอันตรายในหนวยงาน

• ประเมินความเสี่ยงและการจัดลําดับความเสี่ยง

• เพื่อพิจารณามาตรการควบคุมความเสี่ยงที่มีอยูวา

มีความเพียงพอหรือไม

Page 4: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

4

ขั้นตอนการปฏิบัติ

• การแตกงาน(RA.1)

• ชี้บงอันตราย(RA.2.ตัวชวย)

• การประเมินความเสี่ยง (RA.2.ตัว

ชวย)

• การประมาณระดับระดบัความเสี่ยง

(RA.2.ตัวชวย)

• การทําทะเบียนความเสี่ยง (RA.2)

• เตรียมแผนปฏิบัติงานควบคุมความเสี่ยง (RA.3)

• ทบทวนความเพียงพอของแผนปฏิบัติการ

• การทบทวนประเมนิความเสี่ยง

จบการนําเสนอ

Page 5: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

5

1.การแตกงาน

• ระบุงานยอยในหนวยงานตามแบบ RA1 เชน

งานวิศวกรรมซอมบํารุงอาจแตกเปนงานแอร

งานไฟฟา งานประปา งานไม งานหมอน้าํ ฯ

Page 6: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

6

RA.1

Page 7: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

7

2. ชี้บงอันตราย

• มีแหลงกําเนดิอนัตรายในงาน

• ใครหรืออะไรเปนผูไดรับอันตราย • อันตรายจะเกิดขึ้นอยางไร

Page 8: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

8

แหลงกําเนิดอันตรายในงาน

• สิ่งคุกคามทางกายภาพ • สิ่งคุกคามทางเคมี • สิ่งคุกคามทางชีวภาพ • สิ่งคุกคามทางจิตใจ • ทาทางในการทํางานไมปลอดภัย • อุบัติเหตุในงาน • สภาพงานมีความเสี่ยง

Page 9: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

9

สิ่งคุกคามทางกายภาพ

• เสียงดัง • แสงไมพอ/แสงจา • รังสี • ความรอน • ความสั่นสะเทือน

Page 10: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

10

สิ่งคุกคามทางเคมี

• สารเคมีอันตราย

– กลูตารัลดีไฮน – เอทิลีนอ็อกไซด

Page 11: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

11

สิ่งคุกคามทางชีวภาพ

• ถูกเข็มตาํในงาน • สูดหายใจเชื้อโรคเชน วัณโรค สุกใส

Page 12: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

12

สิ่งคุกคามทางจิตใจ

• เครียดจากงาน • ความรุนแรงในงาน • งานแบบกะ

Page 13: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

13

ทาทางในการทํางานไมปลอดภัย

• ปวดหลัง • สถานีงานคอมพิวเตอรไมเหมาะสมทําใหปวด

ไหลคอในงานคอมพิวเตอร

Page 14: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

14

อุบัติเหตุในงาน

• อุบัตเิหตุในงาน เชน น้าํรอนลวก เศษหินกระเดน็เขาตา มีดบาด เข็มตํา ไฟฟาดูด

• สภาพงานมีความเสี่ยงเชน ฝาหลุด แอรเอยีง สภาพทางหนีภัยไมเหมาะสม

Page 15: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

15

2.2 ใครหรืออะไรเปนผูไดรับอนัตราย ผลกระทบ?

• บาดเจบ็ เจ็บปวย• ชํารุดเสียหาย ประสิทธิภาพการ

ทํางานลดลง

• มีวัตถุดิบเสียหาย ผลิตภัณฑไดลดลง

• เสียงดัง อากาศเสีย ฝุน

•คน

•เครื่องจักร+อุปกรณ

•วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ

•สิ่งแวดลอม

Page 16: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

16

2.3 อนัตรายจะเกิดขึ้นอยางไร?

• ลื่น หกลม

• ตกจากพื้นตางระดับ

• ถูกกระแทก/ ถกูตี

• กระแทกกับวัตถุที่เคลื่อนไหว

• ถูกหนีบ/ ถูกบีบ

• ถูกของแหลมหรือของมีคม ทิม่แทง บาด ตัด

• ไฟไหม ระเบิด

• สัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง ระบบหายใจ และทาง

ปาก

• ถูกบด/ กดทับ

• สัมผัสกับไฟฟา ความรอน ความเย็น รงัสี สาร

กัดกรอน เสียงดัง

Page 17: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

17

3.การประเมินความเสีย่ง

• ความรุนแรง

• โอกาส

ความเสี่ยง = ความรุนแรง X โอกาสที่จะเกดิขึ้น

Page 18: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

18

3.1 ความรุนแรงของอันตราย

Page 19: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

19

3.2 โอกาสที่จะเกิดของอันตราย

• จํานวนคนที่สัมผัส

• ความถี่และระยะเวลาที่สัมผัส

อันตราย

• การสัมผัสกับสิ่งที่เปนอันตราย

• มีขั้นตอน/ วิธีการปฏบิัติที่ไดมาตรฐาน

• มีการฝกอบรมขั้นตอน/ วิธีการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ

• มีการควบคุมอยางตอเนื่อง

• อุปกรณคุมครองความปลอดภัย

สวนบุคคลและอัตราการใช

• เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ อุปกรณ อปุกรณความปลอดภัย

• การตรวจความปลอดภัย

• การเตือนอันตราย

Page 20: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

20

4.การประมาณระดับระดบัความเสี่ยง การตัดสินความเสี่ยง

Page 21: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

21

5.การทําทะเบียนความเสี่ยง

• นําผลการประมาณระดับของความเสี่ยงของทุก

กิจกรรมไปบันทึกในทะเบียนความเสี่ยงในแบบ RA 2

• เรียงตามระดับความเสี่ยงจาก

– ไมอาจยอมรับได

– สูง

– ปานกลาง

Page 22: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

22

RA.2

Page 23: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

23

Page 24: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

24

6.เตรียมแผนปฏบิัตงิานควบคุมความเสี่ยง

• ตามแบบ RA 3

Page 25: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

25

Page 26: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

26

7.ทบทวนความเพียงพอของแผนปฏิบตัิการ

• การควบคุมที่ปรับปรุงใหมนี้ทําใหระดบัความเสี่ยงลดลงจน

ยอมรับไดหรือไม

• ผลจากการปรบัปรุงตามขอ 1 นั้น กอใหเกิดอนัตรายใหมขึ้นใหมหรอืไม

• ไดเลือกวิธีการแกไขปญหาที่คุมคาหรือไม

• มาตรการควบคุมที่ใชนัน้เปนทีย่อมรับของผูปฏิบัติงานและ

สามารถนําไปปฏิบัติไดหรือไม

• จะมีการนํามาตรการนี้ไปใช และจะไมถูกละเลยเมื่อเผชิญกับภาวะตางๆหรือไม เชน ถามีงานเรงดวนก็อาจจะละเลยมาตรการที่ตองปฏิบัตินั้น เปนตน

Page 27: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

27

8.การทบทวนประเมินความเสี่ยง

• ทุก 1 ป• เมื่อมกีารเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการทํางาน

Page 28: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

28

??? คําถาม ???

โปรดอยารอคอย แตจงติดตามดวยความระทึกในดวงหทัยพลัน

Page 29: การประเมินความเส ี่ยงและแผนควบค ุมความเส ี่ยงmedinfo2.psu.ac.th/commed/images/TIS18001/tisp3/images/tisdoc1… ·

29

ขอบคุณครับ

ขอพลังจงอยูกับทานขอพลังจงอยูกับทาน