2
No. 167 November 2010 44 TPA news คบเด็กสร้างบ้าน คบเด็กสร้างบ้าน นิพนธ์ ลักขณาอดิศร วิศวกรควบคุมระดับสามัญวิศวกรโยธา ผู้จัดการส่วนบริหารงานก่อสร้าง บริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำากัด (มหาชน) ปัจ จุบันหากต้องการจะใช้คอนกรีตนั้นมีความสะดวกขึ้นมาก เนื่องจากมีบริการคอนกรีตผสมเสร็จกันแล้วโทรไปสั่ง สักครู เดียวก็มาส่งอย่างกับพิซซ่า เรียกได้ว่าไม่ต้องเสียแรงเสียเวลามาคลุกปูน คลุก หิน-ทรายกันให้เหงื่อแตกเหงื่อแตน อีกทั้งยังสามารถควบคุมคุณภาพของ คอนกรีตได้ดีกว่าอีกด้วย เพราะเดิมทีผู้รับเหมารายย่อยทั่วไปจะท�าการ ผสมคอนกรีตกันเองหน้างาน ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะละเลยในเรื่องอัตราส่วนการ ผสมและคุณภาพของวัสดุ คบเด็กสร้างบ้านตอนนี้จึงขอน�าเสนอความรู พื้นฐานส�าหรับเราๆ ท่านๆ ทั่วไปที่ต้องการใช้คอนกรีตผสมเสร็จในการ ต่อเติมบ้าน หรือสร้างบ้าน หรือแม้แต่วิศวกร โฟร์แมน ได้ทบทวนเพื่อ ประโยชน์ในการควบคุมงานก่อสร้าง คอนกรีตผสมเสร็จ (Ready-Mixed Concrete) ถูกควบคุมด้วย มอก. 213 การชั่งตวงวัดปริมาณซีเมนต์ หิน ทรายและน�้า รวมถึงสารผสม เพิ่มต่างๆ ในโรงงานนั้นจะก�าหนดด้วยวิธีชั่งน�้าหนัก ซึ่งจะต้องมีการตรวจ สอบเครื่องจักรอยู ่ตลอดเวลาเพื่อให้อัตราส่วนผสมที่ได้ก�าหนดไว้ถูกต้อง แน่นอนว่าการสั่งคอนกรีตจากโรงงานที่ผ่านการควบคุมมาตรฐานของ มอก. ก็มั่นใจได้ว่ามีมาตรฐานการผลิตที่เชื่อถือได้ การสั่งคอนกรีตมาใช้ นั้นจะระบุคุณสมบัติหลักๆ ดังนี1. ก�าลังอัดคอนกรีต (Compressive Strength) ปกติแล้วใน แบบก่อสร้างทางวิศวกรจะระบุก�าลังอัดเอาไว้ โดยมาตรฐานก�าลังอัดทีระบุนี้เป็นก�าลังคอนกรีตที่มีอายุ 28 วัน คุณสมบัติก�าลังอัดของคอนกรีต นี้เป็นคุณสมบัติหลักที่ต้องให้ความส�าคัญมากที่สุด เนื่องจากระบุถึงความ สามารถในการรับน�้าหนักของคอนกรีต อันมีผลต่อความแข็งแรงของ โครงสร้างที่เราจะใช้งาน โดยทั่วไปจะระบุเป็นหน่วย กก. ต่อ ตร.ซม. หรือ รู้ก่อนใช้ คอนกรีต ตอน (1) ผสมเสร็จ

ตอน คอนกรีต รู้ก่อนใช้ ผสม ......No. 167 November 2010 44 TPA news คบเด กสร างบ าน คบเด กสร างบ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตอน คอนกรีต รู้ก่อนใช้ ผสม ......No. 167 November 2010 44 TPA news คบเด กสร างบ าน คบเด กสร างบ

No. 167 ● November 2010

44 TPA news

คบเด็กสร้างบ้าน

คบเด็กสร้างบ้าน

นิพนธ์ ลักขณาอดิศร

วิศวกรควบคุมระดับสามัญวิศวกรโยธา ผู้จัดการส่วนบริหารงานก่อสร้าง

บริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำากัด (มหาชน)

ปัจจุบันหากต้องการจะใช้คอนกรีตน้ันมีความสะดวกขึ้นมาก เนื่องจากมีบริการคอนกรีตผสมเสร็จกันแล้วโทรไปสั่ง สักครู่

เดยีวกม็าส่งอย่างกบัพซิซ่า เรยีกได้ว่าไม่ต้องเสยีแรงเสยีเวลามาคลกุปนู คลกุหนิ-ทรายกนัให้เหงือ่แตกเหงือ่แตน อกีท้ังยงัสามารถควบคมุคณุภาพของคอนกรีตได้ดีกว่าอีกด้วย เพราะเดิมทีผู้รับเหมารายย่อยทั่วไปจะท�าการผสมคอนกรีตกันเองหน้างาน ซึง่ส่วนใหญ่กจ็ะละเลยในเรือ่งอัตราส่วนการผสมและคุณภาพของวัสดุ คบเด็กสร้างบ้านตอนนี้จึงขอน�าเสนอความรู ้พื้นฐานส�าหรับเราๆ ท่านๆ ทั่วไปท่ีต้องการใช้คอนกรีตผสมเสร็จในการต่อเติมบ้าน หรือสร้างบ้าน หรือแม้แต่วิศวกร โฟร์แมน ได้ทบทวนเพื่อประโยชน์ในการควบคุมงานก่อสร้าง

คอนกรีตผสมเสร็จ (Ready-Mixed Concrete) ถูกควบคุมด้วย มอก. 213 การชั่งตวงวัดปริมาณซีเมนต์ หิน ทรายและน�้า รวมถึงสารผสม

เพิม่ต่างๆ ในโรงงานนัน้จะก�าหนดด้วยวธิชีัง่น�า้หนกั ซึง่จะต้องมีการตรวจสอบเครื่องจักรอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้อัตราส่วนผสมท่ีได้ก�าหนดไว้ถูกต้อง แน่นอนว่าการสั่งคอนกรีตจากโรงงานที่ผ่านการควบคุมมาตรฐานของ มอก. ก็มั่นใจได้ว่ามีมาตรฐานการผลิตที่เชื่อถือได้ การสั่งคอนกรีตมาใช้นั้นจะระบุคุณสมบัติหลักๆ ดังนี้

1. ก�าลังอัดคอนกรีต (Compressive Strength) ปกติแล้วในแบบก่อสร้างทางวิศวกรจะระบุก�าลังอัดเอาไว้ โดยมาตรฐานก�าลังอัดที่ระบุนี้เป็นก�าลังคอนกรีตที่มีอายุ 28 วัน คุณสมบัติก�าลังอัดของคอนกรีตนีเ้ป็นคณุสมบตัหิลกัทีต้่องให้ความส�าคญัมากทีส่ดุ เนือ่งจากระบุถงึความสามารถในการรับน�้าหนักของคอนกรีต อันมีผลต่อความแข็งแรงของโครงสร้างที่เราจะใช้งาน โดยทั่วไปจะระบุเป็นหน่วย กก. ต่อ ตร.ซม. หรือ

รูก้อ่นใชค้อนกรตี

ตอน

(1)ผสมเสร็จ

Page 2: ตอน คอนกรีต รู้ก่อนใช้ ผสม ......No. 167 November 2010 44 TPA news คบเด กสร างบ าน คบเด กสร างบ

November 2010 ● No. 167

45TPA news

คบเด็กสร้างบ้าน

การเกบ็ก้อนตวัอย่างรปูทรงกระบอกตามมาตรฐาน ASTM C192 (ASTM: ชิ้นตัวอย่างทรงกระบอก) เป็นดังนี้

อุปกรณ์ที่ใช้1) แบบหล่อก้อนตัวอย่างทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 15

ซม. สูง 30 ซม.2) เหล็กต�าปลายกลมมนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มม.3) ชั้นตักและเกรียงเหล็ก

วิธีเก็บตัวอย่าง1) ท�าความสะอาดแบบหล่อตัวอย่างและทาน�้ามันเคลือบ

แบบหล่อภายในทุกด้าน (เพื่อให้ง่ายเวลาถอดแบบ)2) ตกัคอนกรตีใส่แบบหล่อ โดยแบ่งเป็น 3 ช้ันเท่าๆ กนั แต่ละ

ชั้นต�าด้วยเหล็กต�า 25 ครั้ง (เพื่อให้เนื้อคอนกรีตสม�า่เสมอในแบบ)3) เมือ่ต�าช้ันสดุท้ายเสรจ็ น�าเกรยีงเหลก็ปาดหน้าผวิคอนกรตี

ให้เรียบ พร้อมทั้งท�าระเบียนบันทึกข้อมูลก้อนตัวอย่างติดที่ชิ้นตัวอย่างที่ต้องลงรายละเอียดวิธีการอย่างละเอียด เพราะหน้างานที่ผม

พบส่วนใหญ่พนักงานที่ดูแล หรือแม้แต่วิศวกรที่ควบคุมมักจะละเลยวิธีท่ีมาตรฐานก�าหนด รวมถงึไม่ทราบด้วยซ�า้ว่ามาตรฐานเขาก�าหนดไว้อย่างไร ทัง้ๆ ทีเ่ป็นเรือ่งใกล้ตวัมากๆ ส�าหรบัวศิวกรควบคมุงานก่อสร้าง ปริมาณการเก็บตัวอย่างมักจะสุ่มเก็บตัวอย่างทุกๆ การเทคอนกรีตปริมาณ 100 ม.3 หรือทุกพื้นที่ 500 ม.2 อย่างน้อย 3 ชิ้นตัวอย่างเพื่อหาค่าเฉลี่ยค่าทดสอบที่ได้ หากปริมาณคอนกรีตที่ใช้น้อยกว่า 30 ม.3 วิศวกรอาจละเว้นการเก็บตัวอย่างได้ซ่ึงขึ้นกับวิจารณญาณของวิศวกรผู้ควบคุมงานเป็นผู้ตัดสินใจ ส�าหรับมาตรฐานที่ทางสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยได้ใช้อ้างอิงในการตรวจสอบงานคอนกรตีนัน้ จะเป็นของอเมริกาเป็นหลัก

หากคุณมีค�าถาม ปัญหา อยากเข้ามาร่วมแบ่งปันประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องงานก่อสร้าง หรือมีข้อเสนอแนะ ติชม ผมยินดีรับฟังผ่านทาง

อีเมล์ [email protected] ครับ

ภาษาช่างเรยีกกนัว่า KSC (Kg per Square Centimeter) ราคาของคอนกรตีผสมเสรจ็นีก้จ็ะขึน้อยูก่บัก�าลังของคอนกรตีทีจ่ะสัง่ โดยคอนกรตีทีย่ิง่มกี�าลงัสูงก็จะยิ่งมีราคาแพงตามไปด้วย (ภาษาช่างเรียกกันว่า ราคาที่ตั้งนี้ซื้อกันที่ก�าลังคอนกรีตเป็นหลัก) ก�าลังอัดคอนกรีตที่ก�าหนดในแบบก่อสร้างนี้ จะระบุก�าลังอัดและบอกเพิ่มเติมด้วยว่าเป็นก�าลังอัดคอนกรีตของชิ้นตัวอย่างคอนกรีตรูปทรงอะไร ซึ่งตามมาตรฐานรูปร่างของชิ้นตัวอย่างคอนกรีต เพื่อน�าไปทดสอบนี้จะมี 2 ชนิด คือ รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์และรูปทรงกระบอกขึ้นกับมาตรฐานท่ีใช้อ้างอิง โดยมาตรฐานของอังกฤษจะก�าหนดให้เป็นชิ้นตัวอย่างรูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ขนาด15x15x15 ซม. (BS1881:PART3) ส่วนมาตรฐานของอเมรกิาจะก�าหนดให้เป็นช้ินตัวอย่างรปูทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศนูย์กลาง 15 ซม. สูง 30 ซม. (ASTM C192) ซึ่งมาตรฐานของทั้งสองแบบก็จะมีข้อก�าหนดแตกต่างกันในการเก็บก้อนตัวอย่าง ดังนี้

การเกบ็ก้อนตวัอย่างรปูทรงสีเ่หลีย่มลกูบาศก์ตามมาตรฐาน BS1881:PART3 เป็น ดังนี้

อุปกรณ์ที่ใช้1) แบบหล่อก้อนตัวอย่างทรงลูกบาศก์ขนาด 15x15x15 ซม.2) เหล็กต�าหน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1x1นิ้ว3) ชั้นตักและเกรียงเหล็กวิธีเก็บตัวอย่าง1) ท�าความสะอาดแบบหล่อตัวอย่างและทาน�้ามันเคลือบแบบ

หล่อภายในทุกด้าน (เพื่อให้ง่ายเวลาถอดแบบ)2) ตักคอนกรีตใส่แบบหล่อ โดยแบ่งเป็น 3 ชั้นเท่าๆ กัน แต่ละ

ชั้นต�าด้วยเหล็กต�า 35 ครั้ง (เพื่อให้เนื้อคอนกรีตสม�า่เสมอในแบบ)3) เม่ือต�าชัน้สดุท้ายเสรจ็ น�าเกรยีงเหล็กปาดหน้าผิวคอนกรตีให้

เรียบ พร้อมทั้งท�าระเบียนบันทึกข้อมูลก้อนตัวอย่างติดที่ชิ้นตัวอย่าง ต่อฉบับหน้าอ่าน