7
รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม บทที1 และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด 1-1| ห น า บทที1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน สืบเนื่องจากผลการพิจารณารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการปองกันแกไขผลกระทบ สิ่งแวดลอม คําขอประทานบัตรที่ 2/2552 ของโครงการเหมืองแรดินขาว ของบริษัท หลอวัฒนา จํากัด ในเขตการปกครอง ตําบลผาจุก อําเภอเมืองอุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ ตามหนังสือที่ ทส. 1009.2/5383 ลงวันที่ 13 มิถุนายน 2554 ออก โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังเอกสารแนบ 1 และไดรับอนุญาตประทานบัตร เลขที่ 32144/16023 ดังเอกสารแนบ 2 โดยจะตองปฏิบัติตามเงื่อนไขมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ ่งแวดลอมโดยเครงครัด บริษัท หลอวัฒนา จํากัด จึงมอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท จํากัด จัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม 1.2 รายละเอียดของโครงการโดยสังเขป 1.2.1 รายละเอียดโครงการ 1. ชื่อโครงการ โครงการเหมืองแรดินขาว ประทานบัตรที่ 32144/16023 2. เจาของโครงการ บริษัท หลอวัฒนา จํากัด 3. สถานที่ตั้งโครงการ ตําบลผาจุก อําเภอเมืองอุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ 4. ขนาดที่ตั้งโครงการ เนื้อที่ 69-1-26 ไร 5. โครงการผานการพิจารณาของคณะกรรมการผูชํานาญการ วันที19 เมษายน 2554 6. โครงการไดรับอนุญาต ตั้งแตวันที่ 22 เมษายน 2556 ถึงวันที่ 21 เมษายน 2566 โดยไดรับ อนุญาตการทําเหมืองเปนระยะเวลา 10 ป 1.2.2 จุดที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการปรากฏอยูในแผนที่ภูมิประเทศของกรมแผนที่ทหารมาตราสวน 1:50,000 ลําดับชุดทีL7018 ระวาง 5044 III อยูระหวางเสนกริดพิกัดตั้งที่ 629000-630000 ตะวันออก และระหวางเสนกริดพิกัดนอนที่ 1957000- 1958000 เหนือ ดังรูปที่ 1-1 ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่โครงการในปจจุบันมีพื้นที่บอเหมืองลึกลงไปในพื้นที่ราบประมาณ 10 เมตร พื้นที่บางสวนมีการขุดเปดเปลือกดินเพื่อทําการพัฒนาหนาเหมือง และพื้นที่บางสวนทางตอนเหนือที่ยังไมมีการเปดการทํา เหมืองยังคงมีแนวตนไมขึ้นปกคลุมตามธรรมชาติ ดังรูปที1-2

บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที ่1 และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-1| ห น า

บทที ่ 1 บทนาํ

1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน

สืบเน่ืองจากผลการพิจารณารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการปองกันแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม คําขอประทานบัตรท่ี 2/2552 ของโครงการเหมืองแรดินขาว ของบริษัท หลอวัฒนา จํากัด ในเขตการปกครองตําบลผาจุก อําเภอเมืองอุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ ตามหนังสือท่ี ทส. 1009.2/5383 ลงวันที่ 13 มิถุนายน 2554 ออกโดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดังเอกสารแนบ 1 และไดรับอนุญาตประทานบัตรเลขท่ี 32144/16023 ดังเอกสารแนบ 2 โดยจะตองปฏิบัติตามเง่ือนไขมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโดยเครงครัด บริษัท หลอวัฒนา จํากัด จึงมอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด จัดทํารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

1.2 รายละเอียดของโครงการโดยสังเขป

1.2.1 รายละเอียดโครงการ

1. ช่ือโครงการ โครงการเหมืองแรดินขาว ประทานบัตรท่ี 32144/16023 2. เจาของโครงการ บริษัท หลอวัฒนา จํากัด 3. สถานที่ตั้งโครงการ ตําบลผาจุก อําเภอเมืองอุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ 4. ขนาดทีต่ั้งโครงการ เน้ือท่ี 69-1-26 ไร 5. โครงการผานการพิจารณาของคณะกรรมการผูชํานาญการ วันท่ี 19 เมษายน 2554 6. โครงการไดรบัอนุญาต ต้ังแตวันท่ี 22 เมษายน 2556 ถึงวันท่ี 21 เมษายน 2566 โดยไดรับ

อนุญาตการทําเหมืองเปนระยะเวลา 10 ป

1.2.2 จุดท่ีต้ังและลักษณะภูมิประเทศพื้นท่ีโครงการ

พื้นท่ีโครงการปรากฏอยูในแผนท่ีภูมิประเทศของกรมแผนท่ีทหารมาตราสวน 1:50,000 ลําดับชุดท่ี L7018 ระวาง 5044 III อยูระหวางเสนกริดพิกัดต้ังท่ี 629000-630000 ตะวันออก และระหวางเสนกริดพิกัดนอนท่ี 1957000-1958000 เหนือ ดังรูปที่ 1-1

ลักษณะภูมิประเทศของพื้นท่ีโครงการในปจจุบันมีพื้นท่ีบอเหมืองลึกลงไปในพื้นท่ีราบประมาณ 10 เมตร พื้นท่ีบางสวนมีการขุดเปดเปลือกดินเพื่อทําการพัฒนาหนาเหมือง และพื้นท่ีบางสวนทางตอนเหนือท่ียังไมมีการเปดการทําเหมืองยังคงมีแนวตนไมข้ึนปกคลุมตามธรรมชาติ ดังรูปที่ 1-2

Page 2: บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที ่1 และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-2| ห น า

1.2.3 เสนทางคมนาคมขนสง

เสนทางเขาสูพื้นท่ีโครงการโดยทางรถยนตจากจังหวัดอุตรดิตถไปตามเสนทางไปอําเภอทาปลา โดยใชทางหลวงหมายเลข 1045 ระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร เลี้ยวซายเขาสูทางหลวงชนบทอุตรดิตถ 3019 ไประยะทางประมาณ 7.0 กิโลเมตร จะถึงพื้นท่ีโครงการ ดังรูปที่ 1-3

1.2.4 ลักษณะการใชประโยชนท่ีดิน

• การใชประโยชนท่ีดินบริเวณพื้นท่ีโครงการ ในปจจุบันมีพื้นท่ีท่ีเปดทําเหมืองแลวและพื้นท่ีท่ีอยูระหวางการพัฒนาหนาเหมืองประมาณ 5 ไร นอกจากน้ีเปนเสนทางขนสงแร พื้นท่ีลานเก็บกองแร และพื้นท่ีเวนการทําเหมืองจากทางสาธารณะ สําหรับพื้นท่ีอื่นๆ ท่ีไมมีการใชประโยชนยังคงสภาพธรรมชาติเดิมไว (รูปที่ 1-2)

• การใชประโยชนท่ีดินบริเวณโดยรอบพื้นท่ีโครงการสวนใหญเปนพื้นท่ีปาไมและพื้นท่ีเกษตรกรรม แสดงไดดังรูปที่ 1-3 รายละเอียดตอไปน้ี

ทิศเหนือ ติดกับ คําขอประทานบัตรขางเคียง ทิศใต ติดกับ คําขอประทานบัตรขางเคียง

ทิศตะวันออก ติดกับ พื้นท่ีเกษตรกรรมและถนนลูกรังสาธารณะ ทิศตะวันตก ติดกับ คําขอประทานบัตรขางเคียง

Page 3: บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

รปูท่ี 1-1 ตําแหน่งทีต่ ัง้โครงการ

รายงานผลการปฏบิัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-3| หนา

Page 4: บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

รูปที่ 1-2 ลักษณะภูมิประเทศพื้นท่ีโครงการ

หน้าเหมอืงปจัจุบนัของโครงการ

01/11/2018

คนันบ/ครูะบายน้ํารอบโครงการ

รายงานผลการปฏบิัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-4| หนา

01/11/2018

Page 5: บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

รูปที่ 1-3 แสดงเสนทางคมนาคมขนสงแรของโครงการฯ

เสน้ทางขนสง่แรข่องโครงการ

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-5| หนา

รายงานผลการปฏบิัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที่ 1

และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

Page 6: บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที ่1 และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-6| ห น า

1.2.5 กิจกรรมของโครงการ

1. การออกแบบและวางแผนทําเหมือง พื้นท่ีโครงการทําเหมือง มีเน้ือท่ีรวม 69-1-26 ไร การใชประโยชนพื้นท่ีโครงการประกอบดวย พื้นท่ีทํา

เหมือง พื้นท่ีเวนไมทําเหมืองระยะ 10 เมตร โดยรอบพื้นท่ีโครงการ พื้นท่ีเก็บกองมูลดินทราย และพื้นท่ีบอดักตะกอนเปนตน แสดงรายละเอียดการใชพื้นท่ีดังรูปที่ 1-2

การทําเหมืองจะทําโดยวิธีเหมืองเปดและเดินหนาเหมืองในลักษณะข้ันบันได (Benching Method) โดยจะ

เปดการทําเหมืองท่ีบริเวณหมายอักษร “ห” แลวเดินหนาเหมืองไปตามลูกศรช้ี → (ดังรูปที่ 1-2) การทําเหมืองจะเดินหนาเ ห มื อ ง ใ น ลั ก ษ ณ ะ ข้ั น บั น ไ ด โ ด ย แบ ง เ ป น สิ บ ช้ั น ช้ั นล ะ 3 เ ม ต ร ค ว า มก ว า ง ขอ ง ข้ั น บั น ไ ด ไ ม เ กิ น 3 เมตร เอียงประมาณ 57 องศา โดยควบคุมความลาดชันสุดทายของหนาเหมืองไมเกิน 35 องศา ข้ันตอนการผลิตแร งานผลิตจะใชรถขุดแบ็คโฮ ขนาดความจุปุงกี๋ 1.5 ลูกบาศกเมตร ตักแรดินขาวจากกองแรท่ีหนาเหมืองใสรถบรรทุกเททายขนาดบรรทุก 15.0 ลูกบาศกเมตร ลําเลียงแรดินขาวไปยังโรงแตงแรตอไป

2. การแตงแร แรดินขาวท่ีไดจากหนาเหมือง จะตักใสรถบรรทุกเททาย ขนสงไปยังโรงแตงแรเพื่อทําการคัดขนาดใหมี

ขนาดตามท่ีทางลูกคาตองการ แรดินขาวท่ีไดจากหนาเหมือง จะตักใสรถบรรทุกเททายไปยังโรงแตงแร การแตงแรดินขาวมี 2 วิธี คือการแตงแรแบบแตงแหงและการแตงเปยกดังน้ี

1) การแตงแรชนิดแหง การแตงแรดินขาวชนิดแหงเร่ิมจากการขุดแรหนาเหมือง แลวขนไปยังโรงแตงแรดวยรถบรรทุก จากน้ัน

แรจะถูกเทผานตะแกรงขนาด 1 น้ิว เพื่อแยกกรวด หิน ดิน ทราย ท่ีมีขนาดเสนผาศูนยกลางใหญกวา 1 น้ิวท้ิง และนําดินมาบดใหเปนกอนขนาดเล็กและยางใหแหงในเคร่ืองยางชนิดหมุน (Rotary Dryer) จากน้ันนําไปบดใหละเอียดเปนผง แลวใชลมพนแยกเอาดินท่ีมีขนาดเล็กกวา 44 ไมครอนออกจากกรวด ทราย

2) การแตงแรชนิดเปยก การแตงแรดินขาวชนิดแหงเร่ิมจากการขุดแรหนาเหมือง แลวขนไปยังโรงแตงแรดวยรถบรรทุก จากน้ัน

แรจะถูกเทผานสายพานลําเลียงลงสูถังกวนดินจะถูกกวนจนเปลี่ยนสภาพเปนนํ้าโคลน จากน้ันจึงจะทําการแยกคัดขนาดเอาทราย กรวด และเศษสกปรกออก จากน้ันนํ้าดินจะถูกสงไปยังขบวนการแยกคัดขนาดโดยใชไฮโดรไซโคลน เพื่อแยกเน้ือดินทรายจากกัน ดินท่ีไดจะถูกสงไปยังถังตกตะกอน แรดินท่ีไดจะผานขบวนการคัดขนาด ดวยตะแกรง หรือไฮโดรไซโคลนเพื่อแยกเปนขนาดตาง ๆ พรอมท้ังมีนํ้าดินเขมขนเหลาน้ีจะผานไปยังขบวนการทําใหแหงโดยใชเคร่ืองแยกนํ้าแบบ Filter Press ดินช้ืนท่ีไดอาจทําใหแหงอีกคร้ังโดยการตาก หรือสงไปใชในรูปดินช้ืนหมาด ๆ ได บางคร้ังมีการบดดินใหเปนฝุนเพื่อสงไปใชในอุตสาหกรรมตอไป

1.3 แผนการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมตามเงื่อนไขแนบทายประทานบัตร

แผนการดําเนินการดานสิ่งแวดลอมตามเง่ือนไขแนบทายประทานบัตร ทางโครงการไดดําเนินการตามเง่ือนไขมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ตามหนังสือท่ี 07/ก(1) 252 ลงวันท่ี 23 มิถุนายน 2553 (เอกสารแนบ 1) โดยแบงแผนการดําเนินงานออกเปน 2 สวน ดังน้ี

1.3.1 แผนการตรวจสอบมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ในการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ผูประกอบการไดมอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด เปนผูดําเนินการตรวจสอบ และรวบรวมขอมูล 2 7ผลก 2 7ารปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม เพื่อนําเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร

Page 7: บทที่ 1 บทนำeia.onep.go.th/images/monitor/1545796016.pdf1.2.1 รายละเอ ยดโครงการ 1. ช อโครงการ โครงการเหม

รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม บทที ่1 และมาตรการตดิตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด 1-7| ห น า

1.3.2 แผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ในการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ผูประกอบการไดมอบหมายให บริษัท ไมน เอ็นจิเนียร่ิง คอนซัลแตนท จํากัด เปนผูดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม พรอมท้ังเปรียบเทียบกับคามาตรฐานท่ีกําหนด เพื่อนําเสนอตอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร เพื่อใชเปนขอมูลสําหรับตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมท่ีเกี่ยวของกับทําเหมืองของโครงการ โดยมีแผนการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ดังตารางที่ 1-1 ตารางที่ 1-1 แผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

1. คุณภาพอากาศ - ปริมาณฝุนละอองรวมในอากาศ(TSP) - ปริมาณฝุนละอองขนาดเล็ก(PM10)

- ชวงเดือนเมษายน และเดือนพฤศจิกายน ของทุกป

• บานปาแดงหลง

2. ระดับเสียง - ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) - ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง(Leq)

- ชวงเดือนเมษายน และเดือนพฤศจิกายน ของทุกป

• บานปาแดงหลง

3. คุณภาพนํ้า

- ความเปนกรด-ดาง - ความขุน - ปริมาณของแข็งแรงทั้งหมด - ปริมาณสารแขวนลอย - ความกระดางทั้งหมด - ปริมาณเหล็กทั้งหมด - ซัลเฟต - ตะก่ัว - แคดเมี่ยม - สารหนู

- ชวงเดือนเมษายน และเดือนพฤศจิกายน ของทุกป

• บอรับนํ้าขุมเหมือง

• หวยฝางแลง

• หวยยิงเห็น

หมายเหตุ : มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ตามหนังสือที่ ทส. 1009.2/5383 ลงวันที่ 13 มิถุนายน 2554 (เอกสารแนบ 1)