17
บทที2 : ความหมาย ความสาคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ที่เกี่ยวข้องกับสื่อมวลชนสัมพันธ์ อาจารย์เรวดี ไวยวาสนา

บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

บทที่ 2 : ความหมาย ความส าคัญ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ น ว คิ ด แ ล ะ ท ฤษฏี ที่เกี่ยวข้องกับสื่อมวลชนสัมพันธ์

อาจารย์เรวดี ไวยวาสนา

Page 2: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

ความหมายของสื่อมวลชนสัมพันธ์ (Media Relations)

สื่อมวลชนสัมพันธ์ (Media Relations) หรือเรียกอีกอย่างว่า การสร้างความสัมพันธ์กับสื่อมวลชน มีความหมายเช่นเดียวกับค าว่า การหนังสือพิมพ์สัมพันธ์ (Press Relations)

Page 3: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

วิรัช ลภิรัตนกุล (2546) หมายถึง วิธีการอย่างหนึ่งของงานประชาสัมพันธ์ ที่มุ่งจะอาศัยสื่อมวลชนเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่หรือกระจายข่าวสารขององค์การสถาบันไปสู่ประชาชน โดยที่องค์การสถาบันไม่ต้องจ่ายเงินค่าเวลาหรือซื้อเนื้อที่ในสื่อมวลชนเหล่านั้น

ในความหมายของ สมช.สัมพันธ์

Page 4: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

Lattimore, Baskin, Heiman, Toth, & Leuven, (2004) หมายถึง กิจกรรมซึ่งมุ่งสร้างความสัมพันธ์และเครือข่ายความร่วมมือสนับสนุนกับสื่อมวลชน

Theaker ( 2001) Schenkler, & Herrling (2003) คือ การท าให้สื่อมวลชนสนใจเรื่องราวข่าวสารขององค์การและรายงานข่าวคราวความเคลื่อนไหวขององค์การด้วยความรู้สึกที่ดีหรือในด้านบวกอย่างต่อเนื่อง และบ่อยครั้งเท่าที่จะเป็นไปได้

Page 5: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

Biagi (2001) หมายถึง การติดต่อกับสื่อมวลชนที่เกี่ยวข้องกับข่าว (news media) นิตยสาร นักเขียนอิสระ และส านักพิมพ์ ด้วยวัตถุประสงค์ในการตีพิมพ์ หรือออกอากาศข่าวหรือสารคดีที่เกี่ยวกับองค์การหรือเกิดจากองค์การ รวมทั้งการตอบสนองความต้องการด้านข่าวสารของสื่อมวลชน

ในความหมายของ การสร้างความสัมพันธ์กับสมช.

Page 6: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

Newsom, Turk, & Kruckeberg, (2004) คือ หน้าที่ประการหนึ่งของนักประชาสัมพันธ์ ในการประสานงานกับสื่อมวลชนเพื่อเผยแพร่ข่าวสารขององค์การซึ่งอยู่ในความสนใจของสื่อมวลชน และการสนองความต้องการด้านข่าวสารข้อมูลเมื่อสื่อมวลชนร้องขอ

Page 7: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

กล่าวโดยสรุป

สมช.สัมพันธ์ เป็นวิธีการอย่างหนึ่งของการปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ที่มุ่งหวังอาศัย สื่อมวลชน เป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ หรือกระจายข่าวสารขององค์กรสถาบัน / ไปสู่ประชาชนโดยที่สถาบันไม่ต้องจ่ายเงินค่าเวลา สื่อมวลชนและนักประชาสัมพันธ์ ต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน การสร้างความสัมพันธ์กับสื่อมวลชนเป็นสิ่งที่นักประชาสัมพันธ์ต้องให้ความส าคัญ เพราะเป็นบุคคลที่ท างานตรงกลางระหว่าง องค์กรกับสื่อมวลชน

Page 8: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

โดยมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยหลักดังนี้

1. องค์กร / สถาบัน

2. นักประชาสัมพันธ์

3. สื่อมวลชน

4. เครื่องมือหรือสื่อเผยแพร่ที่จะใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์

Page 9: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

วัตถุประสงค์ในการสร้างความสัมพันธ์กับสื่อมวลชน

1. สร้างและธ ารงรักษาความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน เพื่อส่งเสริม ความเข้าใจที่ถูกต้องและทัศนคติที่ดี เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ และ ความน่าเชื่อถือ เพื่อผลในการสนับสนุนการด าเนินงานขององค์การ 2. สื่อมวลชนปฏิบัติหน้าที่เสมือน “นายทวารข่าวสาร (gatekeeper) และสามารถก าหนดประเด็นข่าวสาร (agenda setting) ไปสู่ประชาชน ดังนั้นสัมพันธภาพที่ดีระหว่างองค์การ นักประชาสัมพันธ์ และสื่อมวลชน จะส่งผลดีต่อประสิทธิผลในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารขององค์การไป สู่กลุ่มประชาชนเป้าหมาย

Page 10: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

3. เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจของนักประชาสัมพันธ์ในการสร้าง

และการส ารวจประชามติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมี

ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

4. เพื่อช่วยให้นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ที่

เกี่ยวข้องกับสื่อมวลชนได้สะดวกและราบรื่นยิ่งขึ้น “ประหยัด”

“เป็นข่าว” โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย

Page 11: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

5. เพื่อส่งผลให้การปฏิบัติงานของนักประชาสัมพันธ์บรรล ุ

วัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ในแผน

6. เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสองวิชาชีพ คือ การ

สร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรล ุ

วัตถุประสงค์ในการด าเนินงานขององค์การนักประชาสัมพันธ์ และ

สื่อมวลชน รวมทั้งเพื่อสนองตอบความต้องการและประโยชน์ของ

ประชาชนและสังคม

Page 12: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

☺จุดก าเนิดของการสร้างความสัมพันธ์กับสื่อมวลชน

วิชาชีพการประชาสัมพันธ์มีจุดก าเนิดมาจากอาชีพการสร้างความสัมพันธ์กับสื่อมวลชน

สื่อมวลชนคือหัวใจส าคัญประการหนึ่งในกิจกรรม การประชาสัมพันธ์ เพราะ

1. วิชาชีพการประชาสัมพันธ์มีจุดเริ่มต้นมาจากอาชีพตัวแทนหนังสือพิมพ์ (press agentry)

2. สื่อมวลชน คือ เครื่องมือที่ทรงพลังในการโน้มน้าวใจและการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลไปสู่กลุ่มประชาชนเป้าหมาย

Page 13: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

ต้นแบบของงานสื่อมวลชนสัมพันธ์

ค.ศ.1905 Ivy Ledbetter Lee จดัตั้งส านักงานบริการ

เผยแพร่ข่าวสารและให้บริการข่าวสารข้อมูล แก่สื่อมวลชน (press agentry)

ค.ศ. 1906 ไอวี่ ลี จัดท าแถลงการณ์เกี่ยวกับหลักการส าคัญ ในการปฏิบัติงานด้านการเผยแพร่ข่าวสาร (Declaration of Principles) ส่งไปถึง บรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ทุกฉบับทั่ว ประเทศสหรัฐอเมริกา

Page 14: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

ค.ศ. 1906 บริษัทเดินรถไฟแห่งมลรัฐเพนซิลวาเนีย มีปัญหาเรื่องอุบัติเหต ุไอวี่ ลี เชิญสมช. ไปยัง

สถานที่เกิดเหตุ ให้ความร่วมมือกับ นักข่าว

และช่างภาพด้วยการให้ข้อเท็จจริงและภาพ เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น

ค.ศ. 1914-1934 เป็นผู้สร้างภาพลักษณ์ใหม่ให้แก่ร็อคกี้ เฟลเลอร์ และตระกูล โดยใช้กลยุทธ์การ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้น าตระกูล กับสื่อมวลชน และเน้นการพูดความจริง

Page 15: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

☺ แนวคิด แบบจ าลองที่เกี่ยวข้องกับสมช.สัมพันธ์

1. สื่อมวลชนเป็นทั้งผู้รับสารจากองค์การ เป็นทั้งตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างองค์การและประชาชนเป้าหมายที่หลากหลาย

2. เป็นนายทวารข่าวสาร (gatekeeper) ซึ่งท าหน้าที่ตัวกรองหรือผู้คัดเลือกข้อมูลข่าวสารระหว่างนักประชาสัมพันธ์กับประชาชน และกลุ่มเป้าหมาย

Page 16: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

แบบจ าลองของเวสเลย์และแมคลีน

X1 X2 X3 X4 :

X

C A x’ x1

x2 x3 x3m

x3c fBC

B

x4c

fBA fCA

x’’

Page 17: บทที่ 2 : ความหมาย ความสำคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิดและทฤษฏี ......บทที่ 2 : ความหมาย

แบบจ าลองของเดวดิ เอ็ม ไวท์ (David M. White)

แหล่งข่าว

ข่าวสาร 1 ข่าวสาร 2 ข่าวสาร 3 ข่าวสาร 4

ข่าวสาร 1 ข่าวสาร 3

ข่าวสารที่ถูกคัดออก ข่าวสาร 2 และ 4

ประตูข่าวสาร

ผู้รับสาร

The end