9
สงวนลิขสิทธิสำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พวิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด พ.ศ. ๒๕๕๖ สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย), ๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕ แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖ website : www.iadth.com ชั้นมัธยมศึกษาปีทกลุ่มส�ระก�รเรียนรู้ภ�ษ�ไทย ต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น พุทธศักร�ช ๒๕๕๑ ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์จิตต์นิภา ศรีไสย์ อาจารย์ประนอม วิบูลย์พันธุผู้ตรวจ รองศาสตราจารย์ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา รองศาสตราจารย์อมรา เล็กเริงสินธุผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชน้อย สถิรอังกูร บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์จิตต์นิภา ศรีไสย์ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย

หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

สงวนลิขสิทธิ์

สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒน�คุณภ�พวิช�ก�ร (พว.) จำ�กัด

พ.ศ. ๒๕๕๖

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐

โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ ส�ย), ๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕

แฟกซ์ : ทุกหม�ยเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖

website : www.iadth.com

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖กลุ่มส�ระก�รเรียนรู้ภ�ษ�ไทย

ต�มหลักสูตรแกนกล�งก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น

พุทธศักร�ช ๒๕๕๑

ผู้เรียบเรียง

รองศาสตราจารย์จิตต์นิภา ศรีไสย์

อาจารย์ประนอม วิบูลย์พันธุ์

ผู้ตรวจ

รองศาสตราจารย์ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา

รองศาสตราจารย์อมรา เล็กเริงสินธุ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชน้อย สถิรอังกูร

บรรณาธิการ

รองศาสตราจารย์จิตต์นิภา ศรีไสย์

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย

หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

Page 2: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

หนังสือเรียน หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เล่มนี้ สถาบัน-

พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จัดทำาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน

กลุม่สาระการเรยีนรูภ้าษาไทย ตามหลกัสตูรแกนกลางการศกึษาขัน้พืน้ฐาน พทุธศกัราช ๒๕๕๑

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนสังเกตลักษณะภาษาไทย สามารถพัฒนาทักษะการใช้

ภาษาไทยในการสื่อสารในชีวิตประจำาวันให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งพัฒนาคุณลักษณะ

ด้านการคิดวิเคราะห์ และการคิดมิติอื่น ๆ เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดสังเคราะห์

การคิดประเมินค่า และการคิดสร้างสรรค์ อันจะนำาไปสู่ความเข้าใจภาษา การตระหนักรู้คุณค่า

ของภาษาไทย ในฐานะที่เป็นเครื่องมือการสื่อสารและมรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทย

การนำาเสนอเนื้อหาแบ่งเป็น ๒ ตอน ตอนที่ ๑ เรียนรู้หลัก ประจักษ์ภาษา มีเนื้อหา

เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง อันเป็นพื้นฐานสำาคัญในการใช้ภาษาเพื่อ

การสื่อสาร ตอนที่ ๒ พัฒนาทักษะสื่อสาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการใช้ทักษะทางภาษาแต่ละด้าน

ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด เพื่อเป็นแนวทางในการฝึกทักษะทางภาษา

ให้มีประสิทธิภาพ ตอนท้ายบทเรียนแต่ละเรื่องมีการสรุปความรู้ที่กระชับ เข้าใจง่าย มีประเด็น

สำาคญัทีน่กัเรยีนควรคดิพจิารณา รวมทัง้มกีจิกรรมเสนอแนะ เพือ่ใหน้กัเรยีนฝกึคดิและฝกึปฏบิตัิ

อันจะทำาให้เกิดความเข้าใจภาษาและมีความชำานาญในการใช้ทักษะทางภาษามากยิ่งขึ้น

สถาบนัพฒันาคณุภาพวชิาการ (พว.) หวงัเปน็อยา่งยิง่วา่หนงัสอืเรยีนเลม่นีจ้ะมปีระโยชน์

แก่การจดัการเรยีนรูภ้าษาไทยตามหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หากมีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงหนังสือเรียน คณะผู้จัดทำาขอน้อมรับด้วยความขอบคุณ

และจะนำาไปพัฒนาคุณภาพของหนังสือเรียนเล่มนี้ต่อไป

สถาบนัพฒันาคณุภาพวชิาการ (พว.)

ตอนที่ ๑ เรียนรู้หลัก ประจักษ์ภาษา ๕

ลักษณะของภาษาไทย ๖

องค์ประกอบของพยางค์และคำา ๙

หลักการเขียนสะกดคำา ๑๖

หลักการสร้างคำาในภาษาไทย ๒๕

การใช้คำาและกลุ่มคำาสร้างประโยค ๓๕

ระดับภาษา ๔๑

ราชาศัพท์ ๔๘

การแต่งคำาประพันธ์ประเภทฉันท์ ๕๖

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ๗๒

การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๘๓

ตอนที่ ๒ พัฒนาทักษะสื่อสาร ๙๔

การอ่าน ๙๖

การอ่านออกเสียงประเภทร้อยแก้วและร้อยกรอง ๙๖

• การอ่านออกเสียงประเภทร้อยแก้ว ๙๖

• การอ่านออกเสียงประเภทร้อยกรอง ๑๑๐

การอ่านจับใจความ ๑๑๙

• การอ่านจับใจความข่าว ๑๑๙

• การอ่านจับใจความเรื่องสั้น ๑๒๒

• การอ่านจับใจความนวนิยาย ๑๓๐

• การอ่านจับใจความวรรณกรรมพื้นบ้าน ๑๓๒

• การอ่านจับใจความบทโฆษณา ๑๓๔

• การอ่านจับใจความปาฐกถา ๑๓๕

• การอ่านจับใจความบทความประเภทเทศนา ๑๓๗

หน้า

Page 3: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

เรียนรู้หลัก ประจักษ์ภาษา

อธิบายธรรมชาติของภาษาพลังของภาษาและลักษณะของภาษา(ท๔.๑ม.๔-๖/๑)

ใช้คำาและกลุ่มคำาสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์(ท๔.๑ม.๔-๖/๒)

ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะและบุคคลรวมทั้งคำาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม(ท๔.๑ม.๔-๖/๓)

แต่งบทร้อยกรอง(ท๔.๑ม.๔-๖/๔)

วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น(ท๔.๑ม.๔-๖/๕)

อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคำาในภาษาไทย(ท๔.๑ม.๔-๖/๖)

วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์(ท๔.๑ม.๔-๖/๗)

ตัวชี้วัด

แผนผังสาระการเรียนรู้

เรียนรู้หลัก ประจักษ์ภาษา

ลักษณะของภาษาไทย

ระดับภาษา

ราชาศัพท์

หลักการเขียนสะกดคำา

องค์ประกอบของพยางค์และคำา

หลักการสร้างคำาในภาษาไทย

อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น

การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์

และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

การแต่งคำาประพันธ์ประเภทฉันท์

การใช้คำาและกลุ่มคำาสร้างประโยค

• การอ่านจับใจความบทร้อยกรองร่วมสมัย ๑๓๙

• การอ่านจับใจความบทเพลง ๑๔๑

• การอ่านจับใจความบทอาเศียรวาท ๑๔๒

• การอ่านจับใจความคำาขวัญ ๑๔๔

การอ่านเพื่อพัฒนาความคิด ๑๔๕

มารยาทในการอ่าน ๑๕๕

การเขียน ๑๕๖ การเขียนแสดงทรรศนะ ๑๕๖

การเขียนโต้แย้ง ๑๖๓

การเขียนโน้มน้าวใจ ๑๖๘

การเขียนเชิญชวน ๑๗๑

การเขียนโครงการและรายงานการดำาเนินโครงการ ๑๗๔

การเขียนรายงานการประชุม ๑๗๙

การกรอกแบบรายการ ๑๘๗

การเขียนเรียงความเกี่ยวกับอุดมคติ ๑๙๑

การเขียนย่อความ ๑๙๙

การเขียนเรื่องสั้น ๒๑๔

การประเมินคุณค่าของงานเขียน ๒๒๓

การเขียนรายงานเชิงวิชาการและการเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ ๒๔๔

การเขียนบันทึกความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ๒๔๙

มารยาทในการเขียน ๒๕๒

การฟังการดูและการพูด ๒๕๔ การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู ๒๕๔

การพูดสรุปความคิดและการแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู ๒๕๘

การพูดอภิปราย ๒๖๑

การพูดแสดงทรรศนะ ๒๖๕

การพูดโน้มน้าวใจ ๒๖๘

มารยาทในการฟังการดูและการพูด ๒๗๕

จุดประกายโครงการ ๒๗๗

บรรณานุกรม ๒๗๘

Page 4: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ม. ๖ 7

ภาษาไทย เป็นภาษาที่มีลักษณะเฉพาะเป็นของตนเองที่แตกต่างไปจากภาษาอื่น ซึ่งลักษณะ

ดังกล่าวนี้ ถือเป็นเอกลักษณ์ทางภาษา เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของไทย การเรียนภาษาไทยให้เกิด

ประสิทธิภาพจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาลักษณะของภาษาไทยให้เข้าใจ

ลักษณะของภาษาไทยมีดังนี้

๑. ภาษาไทยมีลักษณะเป็นภาษาคำาโดดคำาไทยเดิมส่วนมากเป็นคำาพยางค์เดียวเช่นพ่อแม่

พี่น้องดินนำ้าลมไฟเมื่อจะกล่าวข้อความใดๆก็นำาคำาต่างๆมาเรียงให้เข้ากันเป็นประโยคเช่น

ฉันรักคนยิ้มแป้น

๒. ภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำาที่นำามาเรียงเข้าเป็นประโยคเหมือนภาษาอังกฤษ

หรือภาษาอื่นๆเช่น

ภาษาอังกฤษเช่น Igo. Shegoes. Wearegoing.

ภาษาไทย เช่น ฉันไป เธอไป เรากำาลังไป

จะเห็นว่าคำากริยาต่างๆไม่เปลี่ยนแปลงในภาษาไทย

๓. การเรียงกลุ่มคำาสลับที่กันทำาให้ความหมายเปลี่ยนไปเช่น

ไปไม่ได้-ไม่ได้ไป น้อยใจ-ใจน้อย กลัวไม่จริง-จริงไม่กลัว

นอกบ้าน-บ้านนอก ใจดี-ดีใจ นำ้าตก-ตกนำ้า

๔. การเรียงตำาแหน่งคำาในประโยคต่างกัน

ทำาให้ความหมายและหน้าที่ของคำาเปลี่ยนไปเช่น

ลิงไล่เด็ก-เด็กไล่ลิง เขารักเธอ–เธอรักเขา

ประธานในประโยคแรกกลายเป็นกรรมในประโยคหลัง

๕. ภาษาไทยสว่นใหญจ่ะเรยีงคำาขยายไวข้า้งหลงัคำาหลกั

เช่น ส้มโอหวาน ข้าวสารขาว ลูกสาวสวย เด็กดี ปลาใหญ่

รสอร่อย

ลักษณะของภาษาไทย

ส้มโอ

๖. ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์และรูปวรรณยุกต์ทำาให้ความหมายเปลี่ยนไปเช่น

เขาใส่เสื้อขาวไปหาข่าวแล้วไปกินข้าวที่ศูนย์การค้า

ลูกจ่าร้องไห้จ้าบอกป้าจ๋าว่าหนูจะไปหาพ่อ

๗. คำาไทยบางคำามีความหมายหลายอย่าง การที่จะรู้ความหมายของคำาจะต้องพิจารณาจาก

ข้อความประโยคหรือบริบทถ้าอ่านเพียงคำาเดียวอาจไม่ทราบความหมายที่แท้จริงเช่น

คืนนี้เขาจะคืนสมบัติต่างๆให้เจ้าของ

คืน หมายถึงกลางคืน,กลับคืน

เขาเป่าเขาบนเขา

เขา หมายถึงผู้ที่เรากล่าวถึงเป็นสรรพนามบุรุษที่๓,สิ่งที่งอกออกมาจาก

หัวสัตว์,เนินที่นูนสูงขึ้นไปเป็นจอมเด่น

เขาขันเมื่อเห็นไก่ขันบนขัน

ขัน หมายถึง หัวเราะ,อาการร้องอย่างหนึ่งของไก่,ภาชนะสำาหรับตักหรือใส่นำ้า

๘. ภาษาไทยมีตัวสะกดตรงตามมาตราเช่นฉันวันขันรักบ้านคิดลิงยกเว้นคำาเขมร

บางคำาที่เป็นคำาพยางค์เดียวหรือสะกดตรงมาตราเช่นแข(พระจันทร์)อวย(ให้)บาย(ข้าว)เลิก(ยก)

แต่สังเกตว่าคำาภาษาอื่นเราจะต้องแปลอีกครั้งจึงจะเข้าใจส่วนคำาภาษาไทยเข้าใจได้ทันที

๙. ภาษาไทยไม่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตเช่นขันสาดจันสันส่วนภาษาอื่นๆจะมีเครื่องหมาย

ทัณฑฆาตเช่นขรรค์ ศาสตร์ จันทร์ สรรค์ การ์ดฟิล์มฟาร์มชอล์ก

ภาษาไทยมีลักษณะดังนี้

๑. ภาษาไทยเป็นภาษาคำาโดด

๒. ภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำาที่นำามาเรียงเข้าเป็นประโยค

๓. การเรียงกลุ่มคำาสลับที่กันทำาให้ความหมายเปลี่ยนไป

๔. การเรียงตำาแหน่งคำาในประโยคต่างกันทำาให้ความหมายและหน้าที่ของคำาเปลี่ยนไป

๕. ภาษาไทยส่วนใหญ่จะเรียงคำาขยายไว้ข้างหลังคำาหลัก

๖. ภาษาไทยมีเสียงและรูปวรรณยุกต์ที่ทำาให้ความหมายของคำาเปลี่ยนไป

๗. คำาไทยบางคำามีความหมายหลายอย่างจะรู้ความหมายได้เมื่อเข้ารูปประโยค

๘. คำาไทยมีตัวสะกดตรงตามมาตรา

๙. คำาไทยไม่ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต

สรุปลักษณะและการใช้ภาษาไทย http://www.kroobannok.com/33023

ลักษณะของภาษาไทย

สรุปความรู้

Page 5: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

กิจกรรมเสนอแนะ

ทบทวนชวนคิด

8 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ม. ๖ 9

ภาษาทุกภาษาประกอบขึ้นจากหน่วยย่อยๆหลายหน่วยมาประกอบเข้าด้วยกันหน่วยย่อยในภาษา

ประกอบกนัเขา้เปน็หนว่ยทีใ่หญข่ึน้ตามลำาดบัเมือ่วเิคราะหภ์าษาไทยแลว้จะพบหนว่ยยอ่ยไปจนถงึหนว่ย

ที่ใหญ่กว่าได้แก่พยางค์คำากลุ่มคำาประโยคและข้อความทุกหน่วยในภาษาล้วนแต่มีความสัมพันธ์กัน

อย่างเป็นระบบการเรียนภาษาไทยให้เกิดประสิทธิภาพ จึงจำาเป็นต้องทำาความเข้าใจตั้งแต่หน่วยย่อย

ของภาษา เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาภาษาในชั้นที่สูงขึ้นต่อไป ในบทนี้จะกล่าวถึงพยางค์และคำา

ซึ่งเป็นหน่วยย่อยพื้นฐานที่สำาคัญในภาษาไทย

พยางค์ คือเสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้งประกอบด้วยเสียงพยัญชนะเสียงสระ

และเสียงวรรณยุกต์จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้พยางค์ทุกพยางค์จะต้องมีเสียงพยัญชนะต้น

เสียงสระและเสียงวรรณยุกต์บางพยางค์ก็อาจมีเสียงพยัญชนะสะกดประกอบด้วยเช่น

พิมพ์ ๑ พยางค์ ๑คำา

แม่พิมพ์ ๒ พยางค์ ๑คำา

สำานักพิมพ์ ๓ พยางค์ ๑คำา

ส่วนประกอบของพยางค์ มีดังนี้

๑. พยัญชนะ+สระ+วรรณยุกต์พยางค์ชนิดนี้เรียกว่าประสม๓ส่วนเช่นกาตาดีไปนาแม่

กา = ก(พยัญชนะ)+-า(สระ)+วรรณยุกต์เสียงสามัญ(ไม่มีรูป)

แม่ = ม(พยัญชนะ)+แ-(สระ)+-่(วรรณยุกต์รูปเอกเสียงโท)

๒. พยัญชนะ+สระ+ตัวสะกด+วรรณยุกต์พยางค์ชนิดนี้เรียกว่าประสม๔ส่วน

เช่นบ้านน้องแจ่ม

บ้าน = บ(พยัญชนะ)+-า(สระ)+น(ตัวสะกด)+-้(วรรณยุกต์รูปโทเสียงโท)

แจ่ม = จ(พยัญชนะ)+แ-(สระ)+ม(ตัวสะกด)+-่(วรรณยุกต์รูปเอกเสียงเอก)

๓. พยัญชนะ+สระ+ วรรณยุกต์ +ตัวการันต์พยางค์ชนิดนี้เรียกว่า ประสม๔ส่วนพิเศษ

เช่นเล่ห์พ่าห์สีห์เมล์

เล่ห์ = ล(พยัญชนะ)+เ-(สระ)+-่(วรรณยุกต์รูปเอกเสียงโท)+ห(ตัวการันต์)

เมล์ = ม(พยญัชนะ)+เ-(สระ)+วรรณยกุตเ์สยีงสามญั(ไมม่รีปู)+ล(ตวัการนัต)์

๔. พยัญชนะ+สระ+ตัวสะกด+วรรณยุกต์+ตัวการันต์พยางค์ชนิดนี้เรียกว่าประสม๕ส่วน

เช่นแพทย์สิทธิ์โรจน์ฤทธิ์

สิทธิ์ = ส(พยัญชนะ)+-ิ(สระ)+ท(ตัวสะกด)+วรรณยุกต์เสียงเอก(ไม่มีรูป)+

ธิ(ตัวการันต์)

โรจน์ = ร(พยัญชนะ)+โ-(สระ)+จ(ตัวสะกด)+วรรณยุกต์เสียงโท(ไม่มีรูป)+

น(ตัวการันต์)

องค์ประกอบของพยางค์และคำา

๑. ภาษาไทยมีลักษณะอย่างไรจึงเรียกว่าเป็นภาษาคำาโดด

๒. การเรียงลำาดับคำาในประโยคของภาษาไทยสามารถบอกอะไรเกี่ยวกับคำาได้บ้าง

๓. โครงสร้างประโยคในภาษาไทยเป็นอย่างไร

๔. วรรณยุกต์มีความสำาคัญอย่างไรในภาษาไทย

๕. คำาบางคำามีความหมายหลายอย่างนักเรียนมีวิธีสังเกตความหมายของคำาอย่างไร

๑. ให้นักเรียนยกตัวอย่างการเรียงกลุ่มคำาสลับที่กันแล้วความหมายเปลี่ยนมา๕ตัวอย่าง

๒. ให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยคกลับกันแล้วทำาให้ความหมายและหน้าที่ของคำาเปลี่ยนมา๕ประโยค

๓. ให้นักเรียนแต่งประโยค๕ประโยคแสดงให้เห็นว่าเมื่อเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์แล้วทำาให้

ความหมายเปลี่ยน

๔. ให้นักเรียนแต่งประโยค๔ประโยคที่แสดงว่าคำาไทยคำาเดียวเมื่อเข้าประโยคแล้วจึงจะรู้ความหมาย

ดังต่อไปนี้

๔.๑ ฉัน

๔.๒ กัน

๔.๓ สาว

๔.๔ ชาย

๕. ให้นักเรียนทำาสมุดภาพหาภาพและเขียนคำาไทยประกอบภาพมา๑๐ภาพ

๖. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มจัดอภิปรายในหัวข้อ“รู้คุณค่าภาษาไทย„หน้าชั้นเรียน

๗. ให้นักเรียนยกตัวอย่างคำาไทยต่อไปนี้อย่างละ๕คำา

๗.๑ คำาเรียกญาติ

๗.๒ ชื่อสัตว์

๗.๓ ชื่อเครื่องใช้ต่างๆ

๘. ให้นักเรียนจัดนิทรรศการ “ภาษาไทย : เอกลักษณ์ไทย„ แสดงประวัติความเป็นมาของภาษาไทย

ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยและปลุกจิตสำานึกการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง

องค์ประกอบของพยางค์และคำา

Page 6: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

10 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ม. ๖ 11

พยัญชนะต้น คือ พยัญชนะที่ประสมกับสระ อาจมีพยัญชนะ

ตัวเดียว เช่น ก าร ช าญ ส าน หรือพยัญชนะประสม ๒ ตัว คือ

อักษรนำาเช่นถวิลขนมสงบอักษรควบเช่นปลากวางทรายไซร้

และถ้าจะแยกพยางค์ให้เขียนว่าเป็นพยัญชนะต้น หรือถ้าเป็นพยัญชนะ

ประสมให้เขียนว่าเป็นอักษรนำาหรืออักษรควบ

สระ คือเสียงที่เปล่งจากลำาคอโดยตรงเมื่อประสมกับพยัญชนะมีรูปเปลี่ยนแปลงไปบ้างดังนี้

ตัวอย่าง

ตัวสะกดเป็นพยัญชนะตัวเดียวเช่นฉัน ขันปัน รัก มาก

ตัวสะกดเป็นพยัญชนะที่เป็นอักษรควบเช่นบุตรจักรตัวสะกดคือตรกร

๑. ในแม่กกาส่วนใหญ่มีรูปสระคงที่จะมีเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อยเช่น

๑.๑ สระอะมักจะประวิสรรชนีย์ เช่น มะระชะนี กระทะแต่บางคำาลดวิสรรชนีย์ เช่น

ณธอณู

๑.๒ สระอือต้องเติมตัว“อ„เข้าไปด้วยเช่นมือถือ

๑.๓ สระเอาะ เมื่อประสมกับตัว ก + วรรณยุกต์โท ต้องลดรูปสระ ใช้แต่ไม้ไต่คู้ข้างบน

คือก็(เก้าะ)

๑.๔ สระออส่วนใหญ่มี“อ„อยู่จะลดตัวอบ้างเช่น บ บ่ (ไม่)จรลีทรชน

๒. เมื่อสระมีตัวสะกดต่างๆจะใช้รูปสระดังนี้

๒.๑ สระอะเปลี่ยนวิสรรชนีย์เป็นไม้หันอากาศเช่นกัน(ก+อะ+น=กัน)

ขัน(ข+อะ+น=ขัน)

๒.๒ สระเอะ แอะ เปลี่ยนจากเ-ะใช้เ-็และแ-ะใช้แ-็เช่นเล็ก(ล+เอะ+ก=เล็ก)

แข็ง(ข+แอะ+ง=แข็ง)

๒.๓ สระโอะลดรูปเมื่อมีตัวสะกดเช่นนก(น+โอะ+ก=นก)

ลด(ล+โอะ+ด=ลด)

๒.๔ สระเอาะ เปลี่ยนจากเ-าะใช้-็อเช่นล็อก(ล+เอาะ+ก=ล็อก)

ช็อก(ช+เอาะ+ก=ช็อก)

๒.๕ สระออลดรูปอเมื่อมีตัว“ร„สะกดเช่นพร(พ+ออ+ร=พร)

จร(จ+ออ+ร=จร)

ตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประสมอยู่ท้ายสระ อาจมีพยัญชนะตัวเดียว หรือเป็นพยัญชนะ-

ประสมก็ได้ในภาษาไทยมาตราตัวสะกดมีทั้งหมด๘มาตราคือมาตรากกกดกบกนกงกม

เกยเกอวส่วนมาตรากกาเป็นพยัญชนะประสมสระไม่มีตัวสะกด

กวาง

คำาว่าเสาร์ไมล์เยาว์ถือเป็นคำาที่ประสม๕ส่วนเพราะมีพยางค์ที่ประสมสระอำาใอไอเอา

ซึ่งถือว่าอำา(อะ+ม)อยู่ในแม่กมใอไอ(อะ+ย)อยู่ในแม่เกยและเอา(อะ+ว)อยู่ในแม่เกอว

ฉะนั้นพยางค์หนึ่งจะต้องมีอักษรประสมกันอย่างน้อย๓ส่วนขึ้นไป

องค์ประกอบของพยางค์และคำา

ตัวการันต์ คือ พยัญชนะที่ไม่ต้องการออกเสียงและใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตกำากับอยู่ข้างบน

ตัวการันต์นี้มีไว้เพื่อรักษารูปของคำาเดิม เพื่อให้รู้ที่มาของคำา ซึ่งมักเป็นคำาที่ยืมมาจากภาษาอื่น เช่น

ลักษมณ์ จันทร์ ฟาร์ม ฟิล์ม ในคำาภาษาบาลีและสันสกฤตมักมีตัวการันต์อยู่ท้ายพยางค์ จึงเรียกว่า

การันต์แปลว่าอักษรสุดท้าย

วรรณยุกต์มี๔รูปได้แก่-่-้-๊-๋๕เสียงได้แก่สามัญเอกโทตรีจัตวา

พยางค์ทุกพยางค์แม้ไม่มีรูปวรรณยุกต์แต่มีเสียงวรรณยุกต์อยู่ด้วยเช่น

มา – ไม่มีรูปวรรณยุกต์แต่มีเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสามัญ

ขา – ไม่มีรูปวรรณยุกต์แต่มีเสียงวรรณยุกต์จัตวา

มาก – ไม่มีรูปวรรณยุกต์แต่มีเสียงวรรณยุกต์โท

ตัวอย่าง

ตัวการันต์ที่มีพยัญชนะตัวเดียวเช่นสงฆ์องค์ องก์

ตัวการันต์ที่มีพยัญชนะสองตัวเช่นพักตร์กาญจน์ ลักษณ์

ตัวการันต์ที่มีพยัญชนะสามตัวเช่นลักษมณ์

ตัวการันต์ที่มีรูปสระประกอบเช่นบริสุทธิ์รามเกียรติ์ มหาหิงคุ์ สฤษดิ์

คำา มีความหมายต่างกันดังนี้

๑. คำาหมายถึงเสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ

ซึ่งจะมีความหมายเสมอเจ้าของภาษาจะเข้าใจได้ทันทีเช่น

กล้วย ๑ พยางค์ ๑คำา

ชะนี ๒พยางค์ ๑คำา

สับปะรด๓พยางค์ ๑คำา

สับปะรด

Page 7: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

คำ� พย�งค์ หน่วยคำ� คว�มหม�ย

ชาวเกาะ ๒พยางค์ ๒หน่วย ผู้ที่อยู่ในเกาะ

แมว ๑พยางค์ ๑หน่วย สัตว์เลี้ยงในบ้านมีสี่ขากินปลาเป็นอาหาร

มะละกอ ๓พยางค์ ๑หน่วย ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง

สังกะสี ๓พยางค์ ๑หน่วย ชื่อวัสดุชนิดหนึ่ง

แมลงวัน ๓พยางค์ ๑หน่วย ชื่อแมลงประเภทหนึ่ง

ตุ๊กตาทอง ๔พยางค์ ๒หน่วย ชื่อรางวัลเป็นตุ๊กตาสีทองสำาหรับมอบให้

(ตุ๊กตา+ทอง) ดาราดีเด่น

ตัวอย่าง

12 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ม. ๖ 13

องค์ประกอบของคำา

คำาของทุกภาษาจะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ เป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นคำามีองค์ประกอบ๒ส่วนคือ

รูปกับเสียงและความหมายเช่น

คำาจะแบ่งประเภทเป็น๓ลักษณะคือ

๑. คำาพยางค์เดียวเช่นดินนำ้าลมไฟ

๒. คำา๒พยางค์เช่นมะลิกะทิมะระ

๓. คำาหลายพยางค์เช่นมะละกอสาละวนมโหรีกระโดกกระเดก

คำา ๑ คำา จะต้องมีความหมายอย่างน้อย ๑ ความหมายเสมอ และคำาบางคำามีความหมาย

ได้มากกว่า๑ความหมายถ้าเรียงคำาเข้าประโยคจึงจะรู้ความหมายที่แท้จริงเช่นฉันขันกัน

ม้า ม(พยัญชนะ)+สระอา สัตว์ชนิดหนึ่ง

+รูปวรรณยุกต์โท(เสียงวรรณยุกต์ตรี) ใช้ขี่เป็นพาหนะ

คำ� รูป + เสียง คว�มหม�ย

ม้า

ตุ๊กตาทอง

๒. คำาในตำาราฉันทศาสตร์หมายถึง

๒.๑ พยางค์ในแต่ละวรรคของคำาประพันธ์ทุกชนิดเช่นกลอนแปดมีวรรคละ๘คำา

๒.๒ คำากลอนในบทละครคำากลอนหมายถึงคำาร้องท่อนหนึ่งคือ๑คำากลอนมี๒วรรค

เรียกว่า๑คำาดังปรากฏในบทละครต่อไปนี้

นักภาษาศาสตร์เรียกหน่วยในภาษาที่เล็กกว่าคำาและมีความหมายเสมอว่า“หน่วยคำา„(morpheme)เช่น

จะสังเกตเห็นว่าคำา๑คำาจะต้องมีหน่วยคำาอย่างน้อย๑หน่วยเสมอซึ่งหน่วยคำา๑หน่วย

อาจมีเพียงหน่วยเสียงเดียว(พยางค์เดียว)เช่นแมวฟ้านำ้าวัวควายหรืออาจมีหน่วยเสียงมากกว่า

๑หน่วย(มากกว่า๑พยางค์)เช่นมะละกอสังกะสีแมลงวันตุ๊กตาทองนอกจากนี้คำา๑คำา

ยังอาจประกอบด้วยหน่วยคำามากกว่า๑หน่วยก็ได้

คำาที่มีหน่วยคำา๑หน่วยเช่น คำาที่มีหน่วยคำา๒หน่วยเช่น

คำาที่มีหน่วยคำา๓หน่วยเช่น คำาที่มีหน่วยคำา๔หน่วยเช่น

คำ� หน่วยคำ�

แม่ /แม่/

สะใภ้ /สะใภ้/

ขนม /ขนม/

กะลาสี /กะลาสี/

คำ� หน่วยคำ�

แม่นำ้า /แม่//นำ้า/

สะใภ้เจ้า /สะใภ้//เจ้า/

ขนมชั้น /ขนม//ชั้น/

กะลาสีเรือ /กะลาสี//เรือ/

คำ� หน่วยคำ�

นักการทูต /นัก//การ//ทูต/

เครื่องปรับอากาศ /เครื่อง//ปรับ//อากาศ/

ช่างไฟฟ้า /ช่าง//ไฟ//ฟ้า/

จานดาวเทียม /จาน//ดาว//เทียม/

คำ� หน่วยคำ�

บ้านพักตากอากาศ /บ้าน//พัก//ตาก//อากาศ/

นักเดินทางไกล /นัก//เดิน//ทาง//ไกล/

พ่อค้าคนกลาง /พ่อ//ค้า//คน//กลาง/

สำาหรับคำาที่มีหน่วยคำามากกว่า ๔ หน่วย มักเป็นศัพท์ทางวิชาการ ศัพท์บัญญัติ ชื่อเฉพาะ

หรือราชาศัพท์เช่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาศิลปศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์

เมื่อนั้น องค์มะเดหวีศรีใส ๑คำากลอน

ปลอบประโลมลูกน้อยกลอยใจ แล้วพาไปเก็บบุหงาสารพัน ๑คำากลอน

ฯ๒คำา ฯ

อิเหนา : รัชกาลที่ ๒

องค์ประกอบของพยางค์และคำา

Page 8: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

ทบทวนชวนคิด

กิจกรรมเสนอแนะ

14 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ม. ๖ 15

๑. พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้

องค์ประกอบของพยางค์ประกอบด้วย พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เรียกว่า ประสม ๓ ส่วน

ประสม๔ส่วนได้แก่พยัญชนะสระวรรณยุกต์ตัวสะกดประสม๔ส่วนพิเศษได้แก่พยัญชนะ

สระวรรณยุกต์ตัวการันต์ประสม๕ส่วนได้แก่พยัญชนะสระวรรณยุกต์ตัวสะกดและตัวการันต์

๒. พยัญชนะต้น คือ พยัญชนะที่ประสมกับสระ อาจมีพยัญชนะตัวเดียวหรือพยัญชนะ

๒ตัวก็ได้

สระ คือ เสียงที่เปล่งจากลำาคอโดยตรง เมื่อประสมกับพยัญชนะต้นหรือตัวสะกด

ใช้รูปสระเดิมบ้างเปลี่ยนไปใช้รูปสระอื่นบ้างสระบางตัวลดรูป

ตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประสมอยู่ท้ายสระ อาจมีพยัญชนะตัวเดียวหรือพยัญชนะ

ประสม๒ตัวก็ได้

พยางค์และคำา http://suwannarat.wordpress.com/2011/08/01/

อยา่งทีท่ราบกนัดวีา่ภาษาไทยเปน็ภาษาทีม่วีรรณยกุต ์ซึง่จดัเปน็เอกลกัษณท์างภาษาอย่างหนึ่ง แต่มิใช่ภาษาไทยเท่านั้นที่มีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ ในบรรดาภาษาต่าง ๆ ทั่วโลก ในทุกทวีปมากกว่าพันภาษาที่ยึดวรรณยุกต์เป็นสำาคัญในการแยกความหมายของคำา เช่น ภาษาไทย จีน พม่า ญวน พูดในเอเชีย ภาษาทวิ พูดในซูดาน ภาษาทิฟว์ ภาษาเอฟฟิกส์ ภาษายารุบา พูดในไนจีเรีย ภาษาคิกูยู พูดในแอฟริกาตะวันออก ภาษาสวิดิช พูดในยุโรป ภาษาอินเดียนแดง พูดในอเมริกา

วรรณยุกต์คือระดับเสียงของพยางค์มี๕เสียง๔รูปกำากับอยู่เหนือพยัญชนะต้น

ตัวการันต์คือพยัญชนะที่ไม่ต้องการออกเสียงมีไว้เพื่อรักษารูปศัพท์เดิมของคำา

๓. คำา หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งซึ่งจะมีความหมายเสมอ คำาอาจหมายถึง

พยางค์ในแต่ละวรรคของคำาประพันธ์ หรือหมายถึงคำากลอนในคำาประพันธ์ประเภทกลอน๑คำากลอน

มี๒วรรค

๔. นักภาษาศาสตร์เรียกหน่วยในภาษาที่เล็กกว่าคำาว่า “หน่วยคำา„ ซึ่งจะต้องมีความหมายเสมอ

อาจมีหน่วยเดียวหรือมากกว่า๑หน่วยก็ได้

๕. คำา๑คำาจะต้องมีองค์ประกอบเป็นหน่วยคำาอย่างน้อย๑หน่วยเสมอ

๑. พยางค์มีลักษณะอย่างไรจงอธิบายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ๓ตัวอย่าง

๒. องค์ประกอบของคำามีอะไรบ้าง

ลักษณะของวรรณยุกต์ในบางภาษาก็เป็นลักษณะวรรณยุกต์เสียงระดับเดียว (level tone) หรือบางครั้งในภาษาอังกฤษก็ใช้ว่า register tone อันเป็นวรรณยุกต์ที่มีเสียงเสมอเท่ากันเมื่อ ออกเสยีง แตบ่างทกีม็วีรรณยกุตเ์สยีงเปลีย่นระดบั (contour tone) อนัเปน็วรรณยกุตท์ีม่รีะดบัเสยีงขึ้นลงหรือเปลี่ยนแปลงไปขณะที่ออกเสียง อย่างในภาษาไทย เสียงวรรณยุกต์สามัญ วรรณยุกต์เอกเป็นวรรณยุกต์เสียงระดับเดียว ส่วนเสียงวรรณยุกต์โท วรรณยุกต์จัตวาเป็นวรรณยุกต์เสียง เปลี่ยนระดับ ส่วนเสียงวรรณยุกต์ตรีนั้นมีลักษณะไปทางวรรณยุกต์เสียงเปลี่ยนระดับ เพราะ เมื่อจะสุดเสียงวรรณยุกต์ตรี เสียงจะลดตำ่าลง หน่วยเสียงวรรณยุกต์ เป็นหน่วยเสียงที่สำาคัญในภาษา การเรียนรู้เรื่องวรรณยุกต์ จะเป็น พืน้ฐานในการวเิคราะหภ์าษาไทยและภาษาอืน่ ๆ ทีม่ีหนว่ยเสยีงวรรณยกุตเ์ชน่เดยีวกับภาษาไทย

๑. ให้นักเรียนยกตัวอย่างตัวการันต์ที่มีพยัญชนะตัวเดียวและพยัญชนะสองตัวอย่างละ๕ตัวอย่าง๒. ให้นักเรียนยกตัวอย่างคำาต่อไปนี้อย่างละ๕ตัวอย่าง ๒.๑คำาที่มีหน่วยคำา๑หน่วย ๒.๒คำาที่มีหน่วยคำา๒หน่วย ๒.๓คำาที่มีหน่วยคำา๓หน่วย๓. ให้นักเรียนยกตัวอย่างส่วนประกอบของพยางค์จากสื่อสิ่งพิมพ์๕ตัวอย่างดังต่อไปนี้ ๓.๑ ประสม๓ส่วน ๓.๒ ประสม๔ส่วน ๓.๓ ประสม๔ส่วนพิเศษ ๓.๔ ประสม๕ส่วน๔. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มค้นคว้าคำาที่ใช้ในชีวิตประจำาวันมาอย่างละ๑๐คำา ๔.๑ คำาพยางค์เดียว ๔.๒ คำาสองพยางค์ ๔.๓ คำาหลายพยางค์๕. ให้นักเรียนอธิบายว่าคำาต่อไปนี้มีหน่วยคำาและหน่วยเสียงเป็นอย่างไร ดาราเกาหลีดารานักร้องดาวตกกะหลำ่าปลีก๋วยเตี๋ยวราดหน้ามะพร้าวอ่อนขนมครก แป้งสาลีข้าวต้มกุ้งข้าวต้มมัด

องค์ประกอบของพยางค์และคำา

รอบรู รอบโลก

วรรณยุกต์

สรุปความรู้

Page 9: หลักภ ษ และก รGช้ภ ษ ไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002624_example.pdf6 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย

16 หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ม. ๖

ปัจจุบันนี้ยังมีผู้้เขียนภาษาไทยผิดพลาดอยู่เสมอ นักเรียนจึงควรศึกษาหลักเกณฑ์การเขียน

ตัวสะกดที่ถูกต้อง และศึกษาคำาและความหมายจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานด้วย

หลักการเขียนสะกดคำามีดังนี้

1. หลักการประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์

๑.๑ หลักการประวิสรรชนีย์ เป็นการออกเสียง อะ ที่ปรากฏรูปวิสรรชนีย์ มีหลักสังเกต

ดังนี้

๑) คำาไทยแท้ทุกคำาที่ออกเสียงอะชัดเจนให้ประวิสรรชนีย์เช่นมะระระยะตะกละ

หรือคำาไทยแท้พยางค์เดียวที่ออกเสียงอะให้ประวิสรรชนีย์ด้วยเช่นจะปะกะนะ

๒) คำาเดิมซึ่งมีหน่วยคำา๒หน่วยบางหน่วยคำามีเสียงกร่อนไปเป็นเสียงสระอะ

ให้ประวิสรรชนีย์เช่น

หลักการเขียนสะกดคำา

ชะเอม ตะเคียน

บ๊ะจ่าง

ตาวัน เป็น ตะวัน หมากพร้าว เป็น มะพร้าว

ชาวแม่ เป็น ชะแม่ หมากม่วง เป็น มะม่วง

ตัวขาบ เป็น ตะขาบ ฉันนี้ เป็น ฉะนี้

เฌอเอม เป็น ชะเอม ฉันนั้น เป็น ฉะนั้น

สาวใภ้ เป็น สะใภ้ ต้นเคียน เป็น ตะเคียน

๓) พยางค์ท้ายของคำาที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตถ้าต้องการอ่านออกเสียง

อะ ท้ายคำาให้ประวิสรรชนีย์ที่พยัญชนะตัวท้ายนั้น เช่น สรณะ ขณะ พละ ลักษณะ ศิลปะ ธรรมะ

ถ้าไม่ต้องการออกเสียง อะ ให้เขียนเครื่องหมายทัณฑฆาตบนพยัญชนะตัวท้ายนั้น เช่น สรณ์ ลักษณ์

ศิลป์ธรรม์

๔) คำาในภาษาจีนภาษาชวาภาษาญี่ปุ่น ภาษาพม่า ที่ออกเสียง อะ เมื่อไทยนำามาใช้

ให้ประวิสรรชนีย์เช่น

ภาษาจีน บะหมี่แป๊ะซะ บ๊ะจ่างฮะเก๋า ตือบะ บะช่อ

ภาษาชวา ปาปะอะหยี(พ่อ)อะหนะ(ลูก)มะเดหวี(ตำาแหน่งมเหสีที่๒)

ประไหมสุหรี(มเหสีฝ่ายขวา)ปะหนัน(ดอกลำาเจียก)

กะระตะ(ขี่ม้า)กระยาหงัน(ท้องฟ้า)สะตาหมัน(สวน)

ภาษาญี่ปุ่น ซาบะซาโยนาระซากุระโยชิดะ

ภาษาพม่า อังวะ อะแซหวุ่นกี้ตะเบงชะเวตี้

17

๕) คำ�ที่กร่อนม�จ�กคำ�ซำ้�ๆกันเรียกว่�คำ�อัพภ�สซึ่งมักใช้ในคำ�ประพันธ์

เมื่อออกเสียงอะให้ประวิสรรชนีย์เช่น

ริกริก - ระริก ยิ้มยิ้ม -ยะยิ้ม

แย้มแย้ม- ยะแย้ม วับวับ -วะวับ

รินริน - ระริน รื่นรื่น -ระรื่น

๖) คำ�ที่ขึ้นต้นด้วยสะเมื่อแผลงเป็นตะหรือกระให้ประวิสรรชนีย์เช่น

สะเทือน -กระเทือน สะพ�น- ตะพ�น

สะท้อน -กระท้อน สะพ�ย-ตะพ�ย

๗) คำ�บ�งคำ�พย�งค์ต้นมีวิสรรชนีย์อยู่ถึงแม้จะแทรก“ร„

สำ�หรับใช้ในคำ�ประพันธ์ก็ยังคงให้ประวิสรรชนีย์อย่�งเดิมเช่น

สะอื้น -สระอื้น สะอ�ด-สระอ�ด

สะคร�ญ -สระคร�ญ ชะมด -ชระมด

๘) คำ�ที่พย�งค์หน้�ออกเสียง “ระ„ เป็นคำ�ภ�ษ�เขมรให้ประวิสรรชนีย์ เช่น ระเบียบ

ระบำ�ระเบียน

๙) พย�งค์หน้�ของคำ�ที่ออกเสียงกระประตระให้ประวิสรรชนีย์เช่น

กระษ�ปณ์ กระหนก กระษัยกระเษียร(แผลงจ�กเกษียรแปลว่�นำ้�นม)

ประจักษ์ ประก�ศ ประม�ท ประโยชน์

ตระกูล ตระก�ร ตระหนัก ตระหง่�น

๑๐) คำ�ท้�ยพย�งค์ของภ�ษ�อื่นๆถ้�ออกเสียงอะ

ให้ประวิสรรชนีย์ด้วยเช่นซ�บะซ�โยน�ระ ซ�กุระเท็มปุระ

อังวะเม�ะตะมะแป๊ะซะกะระตะ อะหนะ อิสระคณะ

๑.๒ หลักการไม่ประวิสรรชนีย์ เป็นก�รออกเสียงอะไม่ปร�กฏรูปวิสรรชนีย์มีดังนี้

๑) คำ�ไทยที่ไม่ประวิสรรชนีย์ม�แต่โบร�ณเมื่อเขียนเป็นคำ�เต็มก็ไม่ประวิสรรชนีย์เช่น

ธ - ออกเสียงว่� ทะ แปลว่� ท่�นเช่นธประสงค์ใด

ณ - ออกเสียงว่� นะ แปลว่� ที่ในเช่นณอยุธย�

ฯพณฯ - ออกเสียงว่� พะ-นะ-ท่�น ย่อม�จ�กคำ�ว่�พณหัวเจ้�ท่�น

เป็นคำ�นำ�หน้�ชื่อหรือตำ�แหน่งข้�ร�ชก�รชั้นผู้ใหญ่

เช่นฯพณฯ น�ยกรัฐมนตรี

ชะมด

ปลาซาบะ

หลักการเขียนสะกดคำา