17
ความรูพื้นฐาน : รื่อง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 1 ******************************************************************************************* 1. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1.1 ความสําคัญของงานเขียนแบบ ในการสื่อสารระหวางผูคิดสิ่งประดิษฐ กับผูผลิตในทางงานวิศวกรรม ใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางรวดเร็ว และถูกตองนั้น การใชรูปสัญลักษณ หรือรูปภาพ เปนมาตรฐานตามวิธีการงานเขียนแบบจะทําใหการสื่อสารเปนไป อยางมีประสิทธภาพ 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ งานเขียนแบบที่มีคุณภาพที่สามารถใชในการสื่อสารใชผูที่อยูในอาชีพเดียวกันใหเขาใจตรงกัน ของวิชาชีพ วิศวกรรมสาขาตาง มีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีองคกรกลางเปนผูกําหนดมาตรฐานที่เกี่ยวของกับงานเขียนแบบ ในแตละสาขาใหเปนไปในแนวปฏิบัติเดียวกัน ( ใหเปนภาษาเดียวกันหรือเปนภาษาสากลของคนทั้งโลก ) 1.2.1 ระบบและมาตรฐานอุตสาหกรรม ระบบและมาตรฐานอุตสาหกรรมในโลก ปจจุบัน นี้มีการกําหนดหลายมาตรฐาน เชน 1) หนวยงานระบบและมาตรฐานสากล ISO ( International Organization for Standardization ) องคระหวางประเทศวาดวย มาตรฐาน เปนองคกรที่ทําหนาที่บัญญัติศัพท ใหความหมาย กําหนดรูปสัญลักษณ กําหนดคุณสมบัติ คุณภาพของ บริภัณฑตาง ทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร และสาขาอื่นๆ หมายเหตุ : สําหรับงานดานการเขียนแบบไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส มีหนวยงานแยกออกไปเฉพาะคือ IEC ( International Electro technical Commission ) หรือคณะกรรมการระหวางประเทศวาดวยเทคนิคไฟฟา เปนผู กําหนด ซึ่งมาตรฐานนี้เปนที่นิยมใชในประเทศ อังกฤษ เยอรมัน รวมทั้งประเทศไทย 2) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศสหรัฐอเมริกา มีอยูหลายมาตรฐานเชน 2.1) ANSI ( American National Standard Institute ) 2.2) IEEE ( Institute of Electrical and Electronic Engineer ) 2.3) EIA ( Electronic Industry Association ) 2.4) NEMA ( National Electrical Manufactures Association ) 2.5) FCC ( Federal Communication Commission ) 2.6) NASA ( National Aeronautics and Space Administration ) ฯลฯ 3) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศเยอรมันตะวันตกที่นิยมใชคือ DIN ( Deutch Industrial Norn ) 4) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศญี่ปุที่นิยมใชคือ JIS ( Japanese Industrial Standard) 5) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศอังกฤษ ที่นิยมใชคือ BSI ( British Standard Institution)

ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 1 *******************************************************************************************

1. ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1.1 ความสําคัญของงานเขียนแบบ ในการสื่อสารระหวางผูคิดสิ่งประดิษฐ กับผูผลิตในทางงานวิศวกรรม ใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางรวดเร็วและถูกตองนัน้ การใชรูปสัญลักษณ หรือรูปภาพ เปนมาตรฐานตามวธีิการงานเขียนแบบจะทําใหการสื่อสารเปนไปอยางมีประสิทธภาพ 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ งานเขียนแบบที่มีคณุภาพที่สามารถใชในการสือ่สารใชผูที่อยูในอาชีพเดียวกันใหเขาใจตรงกัน ของวิชาชีพ วิศวกรรมสาขาตาง ๆ มีความจําเปนอยางยิง่ที่ตองมีองคกรกลางเปนผูกาํหนดมาตรฐานที่เกีย่วของกบังานเขียนแบบในแตละสาขาใหเปนไปในแนวปฏิบัติเดยีวกัน ( ใหเปนภาษาเดยีวกันหรือเปนภาษาสากลของคนทั้งโลก ) 1.2.1 ระบบและมาตรฐานอตุสาหกรรม ระบบและมาตรฐานอตุสาหกรรมในโลก ปจจุบัน นี้มีการกําหนดหลายมาตรฐาน เชน 1) หนวยงานระบบและมาตรฐานสากล ISO ( International Organization for Standardization ) องคระหวางประเทศวาดวยมาตรฐาน เปนองคกรที่ทําหนาที่บัญญัติศัพท ใหความหมาย กําหนดรูปสัญลักษณ กําหนดคณุสมบัติ คุณภาพของบริภัณฑตาง ๆ ทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร และสาขาอื่นๆ หมายเหตุ : สําหรับงานดานการเขียนแบบไฟฟาและอิเล็กทรอนกิส มีหนวยงานแยกออกไปเฉพาะคือ IEC ( International Electro technical Commission ) หรือคณะกรรมการระหวางประเทศวาดวยเทคนคิไฟฟา เปนผูกําหนด ซ่ึงมาตรฐานนี้เปนที่นิยมใชในประเทศ อังกฤษ เยอรมัน รวมทั้งประเทศไทย 2) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศสหรัฐอเมริกา มีอยูหลายมาตรฐานเชน 2.1) ANSI ( American National Standard Institute ) 2.2) IEEE ( Institute of Electrical and Electronic Engineer ) 2.3) EIA ( Electronic Industry Association ) 2.4) NEMA ( National Electrical Manufactures Association ) 2.5) FCC ( Federal Communication Commission ) 2.6) NASA ( National Aeronautics and Space Administration ) ฯลฯ 3) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศเยอรมันตะวนัตกที่นยิมใชคือ DIN ( Deutch Industrial Norn ) 4) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศญี่ปุน ทีน่ิยมใชคือ JIS ( Japanese Industrial Standard) 5) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศอังกฤษ ที่นิยมใชคือ BSI ( British Standard Institution)

Page 2: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 2 ******************************************************************************************* 6) หนวยงานระบบและมาตรฐานประเทศไทยคือ TIS ( Thai Industrial Standard Institution) หรือสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ( มอก.) เปนหนวยงานของรัฐบาลไทยที่ขึ้นอยูกบักระทรวงอุตสาหกรรม 1.2.2 มาตรฐานของกระดาษเขียนแบบ ตามมาตรฐาน DIN 476 ไดกําหนดมาตรฐานขนาดเขียนแบบขนาด DIN A0 ( กระดาษที่มพีื้นที่ 1 ตารางเมตร และมีอัตราสวนดานยาว : ดานกวาง เปน 1:2 ) และเมื่อแบงยอยลงไปจะไดเปนขนาด A1 A2 A3 A4 A5 และ A6 ดังนี ้

รูปแบบ ( Format ) ขนาดกระดาษ กวาง x ยาว ( ม.ม.) A0 841 x 1189 A1 594 x 841 A2 420 x 594 A3 297 x 420 A4 21 x 297 A5 148 x 210 A6 105 x 148

รูปที่ 1.2.2 - 1 รูปแบบและขนาดของกระดาษเขียนแบบตามมาตรฐาน DIN 476

Page 3: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 3 ******************************************************************************************* 1.2.3 มาตรฐานตารางรายการแบบ ตารางรายการแบบ เปนสวนที่แสดงไวในแบบเพื่อบอกขอมูลตาง ๆ ตามมาตรฐาน มอก.ไดกําหนดรายการ ตาง ๆ ที่ตองแสดงไวในตารางรายการแบบอยานอยดังนี้ ชื่อ ชิ้นสวนท่ีเขียน หมายเลขแบบ ชื่อท่ีอยูของเจาของแบบ ชื่อผูออกแบบ ผูเขียน ผูตรวจ และผูรับผิดชอบ มาตราสวน วันเดือนป ท่ีเขียนแบบ

รูปที่ 1.2.3 - 1 ตัวอยางรูปแบบ มาตรฐานตารางรายการแบบ ของกระดาษเขียนแบบในแนวนอน

รูปที่ 1.2.3 - 2 ตัวอยางรูปแบบ มาตรฐานตารางรายการแบบ ของกระดาษเขียนแบบในแนวตั้ง

Page 4: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 4 ******************************************************************************************* หมายเหตุ : ในกรณีทีใ่ชกระดาษเขียนแบบขนาด A4 สําหรับการศึกษาในรายวิชานีข้อกําหนด ตารางรายการแบบดังนี ้

รูปที่ 1.2.3 - 3 แสดงกระดาษเขียนแบบขนาด A4 และ ตารางรายการแบบสําหรับการศึกษาในรายวิชานี ้

Page 5: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 5 ******************************************************************************************* 1.2.4 ชนิดและความหนาของเสน เสนที่ใชในการเขียนแบบ ตามระบบ ISO ไดกําหนดชนิดและความหนาของเสนเปน มาตรฐาน ดังนี ้ชนิดของเสน ลักษณะของเสน ปากกา(ม.ม.) ดินสอ การใชงานเปน เสนเต็มหนา

0.5 HB

เสนขอบรูปที่มองเห็นชัดเจน หรือแสดงความจริง ( Visible Line )

เสนเต็มบาง

0.25 2H

เสนกําหนดขนาด( Dimension Line ) เสนอางอิง ( Reference Line ) เสนทะแยงมุม ( Diagonal Line ) เปนเสนรางแบบ

เสนประ

0.35 H

เสนขอบงานที่ถูกบังไว เสนแสดงมุมที่มองไมเห็น ( Concealed Line )

เสนศูนยกลางหนา

0.5 HB เสนแสดงภาพตัด ( Section Line )

เสนศูนยกลางบาง

0.25 2H เสนผาศูนยกลางของชิ้นงานกลม

เสนรอยตัดยอสวน เสนมือเปลา

0.25 2H

เสนแสดงรอยตัดยอสวน เสนแสดงรอยตัดแตกตัว เสนรางชิ้นงานกอนการเขยีนแบบ

ตัวอยาง : การใชเสนแบบตาง ๆในงานเขียนแบบ แสดงตามรูปที่ 5

รูปที่ 1.2.4 – 1 แสดงตัวอยางการใชเสนแบบตาง ๆในงานเขียนแบบ

Page 6: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 6 ******************************************************************************************* 1.2.5 มาตรฐานตัวอักษร ตัวอักษรในงานเขียนแบบมมีาตรฐานตัวอักษรที่ใชหลายมาตรฐานเชน DIN 6776 , DIN 6776 , ISO 3098-74(E) และ มอก.210-2520 ตามตัวอยาง 1 ) อักษรแบบตัวตรง (ตามมาตรฐานสากล มอก.210-2520 )

รูปที่ 1.2.5 – 1 แสดงแบบ อักษรแบบตวัตรง (ตามมาตรฐานสากล มอก.210-2520 ) ขนาดและระยะของตัวอักษร (ม.ม.) รูปที่ 1.2.5 – 2 แสดงขนาดและระยะของตัวอักษร

ความสูงของตัวอักษรตวัใหญ

ขนาดความสูงของตัวอักษรตวัเล็ก

ความหนาของตัวอักษร

ความยาวสวนลางอักษรตัวเล็ก

ระยะหางระหวางบรรทัด

ระยะชองไฟของตัวอักษร

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 7

Page 7: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

******************************************************************************************* 2 ) ตัวอักษรแบบตัวเอียง 75 องศา (ตามมาตรฐานสากล มอก.210-2520 )

รูปที่ 1.2.5 – 3 แสดงแบบตัวอักษรแบบตัวเอียง 75 องศา (ตามมาตรฐานสากล มอก.210-2520 ) 3 ) ตัวอักษรภาษาไทย (ตามมาตรฐานสากล มอก.210-2520 )

รูปที่ 1.2.5 – 4 แสดงแบบตัวอักษรภาษาไทย (ตามมาตรฐานสากล มอก.210-2520 )

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 8

Page 8: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

******************************************************************************************* 4 ) ตัวอักษรภาษาไทย ประดิษฐ

ตัวอักษรประดิษฐ นิยมใชในการเขียนใบประกาศนียบัตร ปริญญาบัตร การดเชิญรวมงานในพิธีตางๆ ในการเขียนจะใชคอมพิวเตอรชวย หรือเขียนดวยมือเปลา

รูปท่ี 3.5 ตัวอักษรหวัเหล่ียม

2.2 ชนิดหัวกลม ตามมาตรฐานสากล (มอก.210-2520) (ดังรูป 3.6)

รูปที่ 1.2.5 – 5 แสดงแบบตัวอักษรภาษาไทย ประดิษฐ 1.3 เคร่ืองมือและอุปกรณเขียนแบบ 1.3.1 โตะเขียนแบบ และ กระดานเขียนแบบ 1 ) โตะเขียนแบบ โดยทัว่ไปจะมีความสูงเปนมาตรฐานเดียวกนั หรือบางชนิดอาจปรับความสูงใหเหมาะสมกับการใชงานได พืน้โตะจะเรียบเปนสี่เหล่ียมผืนผา ขอบดานขางตรงและไดฉาก มีขนาดตางกันที่นยิมใชมากที่สุดคือ 500 x 600 มม. ตามรูปที่ 1.3.1 - 1 2 ) กระดานเขียนแบบ สวนมากใชสําหรับงานสนาม หรือในกรณีทีไ่มมีโตะเขียนแบบ ตามรูปที่ 1.3.1 -2

รูปที่ 1.3.1 -1 รูปโตะเขียนแบบมาตรฐาน รูปที่ 1.3.1 – 2 รูปกระดานเขียนแบบ ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 9

Page 9: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

******************************************************************************************* 1.3.2 อุปกรณท่ีใช เขียนรปูและขีดเสน 1 ) ดินสอเขียนแบบ เปนเครื่องมือที่ใชขีดเสนบนกระดาษเขยีนแบบ 1.1 ) ชนิดของดินสอเขียนแบบ 1.1.1) ดินสอชนิดเปลือกไม ตามรูปที่ 1.3.2 - 1

รูปที่ 1.3.2-1 ดินสอชนิดเปลือกไม 1.1.2) ดินสอชนิดเปลี่ยนไสได ตามรูปที่ 1.3.2 – 2 และรูปที่ 1.3.2 – 3

รูปที่ 1.3.2 – 2 ดินสอชนิดเปลี่ยนไส

รูปที่ 1.3.2 – 3 ดินสอชนิดเปลี่ยนไสแบบไสเข็ม และขนาดของไสดนิสอ 1.2 ) เกรดของใสดินสอ แบงออกเปนกลุมใหญๆ 3 เกรด คือ

- ดนิสอที่มีไสแข็งมาก (Hard) - ดนิสอที่มีไสแข็งปานกลาง (Medium) - ดนิสอแบบไสออน (Soft)

แลวแบงยอยตามลําดับความแข็งออนของแตละกลุม โดยใชตัวเลขเปนตัวกําหนดรวมกับตวัอักษร ดังนี ้ 1.2.1) ดินสอทีม่ีไสแข็งมาก (Hard) เบอร 9H-4H ใชสําหรับขีดเสนรางรูป เสนที่ใชเขยีนตองเปนเสนบาง เชน รางรูป เสนบอกขนาด และเสนชวยบอกขนาด ตามรูปที่ 1.3.2 - 4

รูปที่ 1.3.2 - 4 ดินสอไสแข็ง ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 10

Page 10: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

******************************************************************************************* 1.2.2) ดินสอทีม่ีไสแข็งปานกลาง (Medium) เบอร 3H-B ใชสําหรับใชสําหรับงานเขียนแบบงานสําเรจ็รูป เชน เสนขอบชิ้นงาน เสนแสดงแนวตัด และสัญลักษณแนวเชื่อม ตามรูปที่ 1.3.2 – 5

รูปที่ 1.3.2 – 5 ดินสอไสแขง็ปานกลาง 1.2.3) ดินสอแบบไสออน (Soft) เบอร 2B-7B ใชในงายศลิปะ วาดภาพ แรเงา ไมเหมาะที่จะนํามาใชในการเขียนแบบ ตามรูปที่ 1.3.2 – 6

รูปที่ 1.3.2 – 6 ดินสอไสออน

1.3 ) ลักษณะปลายดินสอที่ใชในงานเขียนแบบ งานเขียนแบบที่มีคุณภาพดีควรตองเลือกใชลักษณะปลายดินสอใหถูกตองเหมาะสมกับงานที่ตองเขียน ลักษณะของปลายดินสอที่วิธีใช ในงานเขียนแบบ แสดงไวตามรูปที่ 1.3.2 – 7

รูปที่ 1.3.2 – 7 ลักษณะปลายดินสอที่ใชในงานเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 11

Page 11: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

******************************************************************************************* 2 ) ปากกาเขยีนแบบ ปากกาเขียนแบบในปจจบุันนิยมใชปากกาเขียนแบบหมึกซึม ขนาดความโตของปากกาเขยีนแบบจะมีขนาดเทาขนาดของเสนมาตรฐานสากลที่ใชในงานเขียนแบบ ตามรูปที่ 1.3.2 – 8

รูปที่ 1.3.2 – 8 ปากกาเขียนแบบ 1.3.3 อุปกรณทําความสะอาด แบบงานที่มีคุณภาพนัน้ นอกจากจะเขียนไดถูกตอง สมบูรณ ไดมาตรฐานแลวนั้น แบบงานจะตองสะอาด ดังนั้นอุปกรณทําความสะอาดจึงมีความจําเปนมาก เชน 1 ) แปรงปด เปนแปรงขนออนใชสําหรับปดฝุนบนกระดาษเขยีนแบบ และปดเศษยางลบ ตามรูปที่ 1.3.3 – 1

รูปที่ 1.3.3 – 1 แปรงปดฝุน ทําความสะอาดงานเขียนแบบ 2 ) ยางลบ ใชสําหรับลบงาน มีลักษณะเปนยางออน ตามรูปที่ 1.3.3 – 2

รูปที่ 1.3.3 – 2 ยางลบดินสอ 3 ) แผนกันลบ ทําจากโลหะบางเบา เจาะรูไวหลายลักษณะ ใชกนัลบตรงบริเวณที่ขีดเสนผิดพลาด ตามรูปที่ 1.3.2 – 3

รูปที่ 1.3.2 – 3 แผนกันลบ ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 12

Page 12: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

******************************************************************************************* 1.3.4 ไมที มีสวนประกอบ 2 สวน คือ สวนหัว และสวนใบ ทําจากไมเนื้อแข็ง หรือ พลาสติกใส ทั้ง 2 สวน จะยึดตั้งฉากกัน ไมท ีใชสําหรับขีดเสนในแนวนอน และใชประกอบกับฉากสามเหลี่ยม ขีดเสนในแนวตั้งฉาก และขีดเสนเอยีงทํามุมตางๆ ตามรูปที่ 1.3.4 - 1

รูปที่ 1.3.4 – 1 ไมที และลักษณะการใชงาน

Page 13: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 13 ******************************************************************************************* 1.3.5 บรรทัดสามเหลี่ยมโดยทั่วไปทําจากพลาสติกใส เพื่อจะไดมองเห็นสวนอืน่ๆ ของแบบไดอยางชัดเจน บรรทดัสามเหลี่ยมใชสําหรับขีดเสนดิ่งและเสนเอนทํามุมตางๆ ปกติจะใชคูกับ ไมที มี 2 แบบ

แบบตายตวั ซ่ึงมีคามุม 45-90-45 องศา กับคามุม 30-90-60 องศา แบบปรับมุมตางๆ ได ตามรูปที่ 1.3.5 - 1

บรรทัดสามเหลี่ยม 30-60 องศา

บรรทัดสามเหลี่ยม 45 องศา

บรรทัดสามเหลี่ยม แบบปรบัมุมได

รูปที่ 1.3.5 – 1 ลักษณะของสามเหลี่ยมแบบตางๆ และการใชงาน

Page 14: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 14 ******************************************************************************************* 1.3.6 บรรทัดมาตราสวน ใชวัดขนาด มีความยาวตางกนั ตั้งแต 150, 300, 400, และ 600 มิลลิเมตร มีมาตราสวนตางๆ เพื่อใชเขียนรปูไดหลายขนาด คือ - มาตราสวนขนาดเทาของจริง 1 : 1 - มาตราสวนยอ 1 : 2, 1 : 5, 1 : 10, 1 : 100, 1 : 1000 - มาตราสวนขยาย 2 : 1, 5 : 1, 10 : 1, 100 : 1, 1000 : 1

รูปที่ 1.3.6 – 1 บรรทัดมาตราสวน

1.3.7 อุปกรณเขียนสวนโคง 1 ) วงเวียน วงเวียนแบงออกเปน 2 แบบ คือ วงเวยีนทีใ่ชเขียนสวนโคง และวงเวยีนทีใ่ชถายขนาด 1.1 ) วงเวียนเขียนสวนโคง เปนอุปกรณสําหรับเขียนวงกลม หรือสวนโคง มีรูปลักษณะการการใชงานตามรูปที่ 1.3.7 - 1

ลักษณะวงเวยีน

หมุนสวนโคงตามเข็มนาฬกิา

Page 15: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 15 *******************************************************************************************

รูปที่ 1.3.7 – 1 ลักษณะของวงเวยีน และการใชงานในการเขียนวงกลม 2 ) วงเวียนถายขนาด เปนวงเวยีนที่มีปลายแหลม 2 ขาง วงเวยีนชนิดนีใ้ชสําหรับถายขนาด ที่วัดขนาดจากฟุตเหล็ก หรือฉากสามเหลี่ยม แลวนําไปถายลงบนแบบทําใหสามารถแบงเสนตรง แบงวงกลม ใหมีขนาดเทาๆ กันไดสะดวกและรวดเรว็งายตอการเขียน มีรูปลักษณะการการใชงานตามรูปที่ 1.3.7 - 2

Page 16: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 16 *******************************************************************************************

รูปที่ 1.3.7 - 2 ลักษณะของวงเวียนถายขนาด และการใชงานใน 3 ) บรรทัดเขียนสวนโคง (Curves) เปนอุปกรณที่ชวยในการเขียนสวนโคงชนิดหนึ่ง การใชบรรทัดสวนโคงจะตองใชสวนโคงของบรรทัดสัมผัสจุด อยางนอย 3 จุด เพื่อใหไดสวนโคงที่ดี มีความตอเนื่อง ซ่ึงตางกับการใชวงเวยีนที่มีระยะรัศมีเทากันทุกจุดของเสนโคงนั้นๆ แผนโคงนี้ใหความสะดวกในการทํางานสูง ซ่ึงผูใชเองก็ตองระมดัระวังในการใชงานใหดี หมุนปรับใหไดตําแหนง กอนที่จะทําการลากเสนโคงนั้น แผนเขียนโคงและการเขียนโคงโดยใชแผนเขียนโคงในรูปแบบตางๆ มีรูปลักษณะการการใชงานตามรูปที่ 1.3.7 - 3

บรรทัดเขียนสวนโคง

ลักษณะการเขยีนบรรทัดสวนโคง

รูปที่ 1.3.7 – 3 บรรทัดเขียนสวนโคงแบบตางๆ ที่ใชงาน

Page 17: ความรู พื้ รื่ นฐานความรองู ทั่ี่ับงานเขยวกวไปเกียนแบบ · 1.2 ระบบและมาตรฐานการเขียนแบบ

ความรูพื้นฐาน : เ ร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงานเขียนแบบ 1 - 17 ******************************************************************************************* 1.3.8 เทมเพลท (Template) เทมเพลท เปนแผนรูปสญัลักษณ มาตรฐาน ตาง ๆ ที่สรางขึ้นมาเพื่อชวยการเขยีนแบบที่ตองเขียนรูปหรือสัญลักษณที่ซํ้ากนับอย ๆ รูปรางของเทมเพลท มีหลายรูปแบบ ซ่ึงผูใชสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสม เชน

รูปที่ 1.3.8 – 1 ตัวอยาง เทมเพลท ( Template ) รูปแบบตาง ๆ 1.4 รูปแบบวิธีการเขียนแบบไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส รูปแบบวิธีการเขียนแบบไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส โดยทัว่ไปจากเอกสารหนังสือคูมือตรวจซอม ( Service manual ) และคูมอืการติดตั้ง จะมีลักษณะหลายรูปแบบดังตอไปนี ้

- Block diagram - Flow chart - Circuit diagram หรือ Schematic diagram - Wiring diagram หรือ Connection diagram - Pictorid diagram - Assembly diagram - Printed circuit diagram - Single Line diagram

ฯลฯ อยางไรก็ตามการเขียนแบบในรปูแบบตาง ๆ ก็มีวัตถุประสงคที่จะใชส่ือสารขอมูลระหวางผูเขียนแบบกับบุคคลเปาหมายทีแ่ตกตางกันไป ซ่ึงจะไดกลาวถึงรูปแบบและวิธีการเขียน ในแตละแบบตอไป *****************************************************************************************