13
ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพ ทางกายตามเกณฑ์

ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

ตัวบ่งชี้ 1.2

มีน้้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพ

ทางกายตามเกณฑ์

Page 2: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี การด้าเนินงาน/ผลการด้าเนนิการ เอกสาร/หลักฐาน มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ 1.2 มีน้้าหนักส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน

โรงเรียนเห็นความส้าคัญของการมีสุขภาพและสมรรถภาพทางกายท่ีสมบูรณ์แข็งแรง งานอนามัยได้เล็งเห็นความส้าคัญของการดูแลสุขภาพจึงจัดท้าโครงการตรวจสุขภาพประจ้าปี นักเรียนอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพท่ีถูกต้อง และน้าผลการตรวจไปจัดท้ารายงานภาวะสุขภาพของ นักเรียน ให้ทราบถึงปัญหาทางสุขภาพของตนเองและหาแนวทางในการดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์และแข็งแรงต่อไป และหากพบปัญหาภาวะน้้าหนักและส่วนสูงนักเรียนต่้ากว่าเกณฑ์มาตรฐานก้าหนดคัดกรองกลุ่มนักเรียนดังกล่าวเพ่ือจัดอาหารเสริมให้นักเรียน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน รักการออกก้าลังกาย เห็นความส้าคัญของการมีสุขภาพและสมรรถภาพทางกายท่ีดี จัดให้ผู้เรียนทุกคนได้ทดสอบสมรรถภาพทางกายปีละ 2 ครั้ง โดยน้าผลการทดสอบครั้งที่ 1 มาวิเคราะห์ แล้วหาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาให้ผู้เรียนที่มีสมรรถภาพทางกายท่ีต่้าหรือไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ให้ได้รับการพัฒนาจนผ่านเกณฑ์ ที่ก้าหนด และส่งเสริมให้ผู้ที่มีสมรรถภาพทางกาย ดีอยู่แล้วได้พัฒนาตนเองให้ดียิ่งขึ้น ส้าหรับผู้เรียนที่มีน้้าหนักเกินเกณฑ์หรืออ้วน ครูผู้สอนได้จัดกิจกรรม ลดความอ้วน โดยจัดโปรแกรมการออกก้าลังกายท่ีถูกต้อง เหมาะสม พร้อมทั้งให้ความรู้ในเรื่องโภชนาการ จากผลการด้าเนินงานดังกล่าวท้าให้ผู้เรียนร้อยละ 93.67 มีน้้าหนักส่วนสูงและมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

- สมุดบันทึก การชั่งน้้าหนัก และวัดส่วนสูง - สมุดบันทึก การทดสอบสมรรถภาพทางกาย - สมุดบันทึก การออกก้าลังกายเพ่ือสุขภาพ - โครงการสร้างเสริมสุขภาพ - กิจกรรม ลดความอ้วน

Page 3: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

ภาคผนวก

Page 4: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

โครงการ สร้างเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย

เพื่อสุขภาพ

Page 5: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

โครงการ

สร้างเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ

กิจกรรม ลดความอ้วน, กิจกรรมพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ( / ) ด้านคุณภาพผู้เรียน ( ) ด้านการจัดการศึกษา ( ) ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ( ) ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ( ) ด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกก้าลังกายสม่้าเสมอ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๒ มีน้้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน หน่วยงานที่รับผิดชอบ สังกัดกลุ่มงานวิชาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑. หลักการและเหตุผล

สุขภาพและสมรรถภาพทางกายที่ดี เป็นสิ่งจ้าเป็นยิ่งส้าหรับความเจริญเติบโตของเด็กและเยาวชน เพราะเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะเป็นก้าลังของชาติต่อไปในอนาคต ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ก้าหนดแนวทางในการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือ การประกันคุณภาพของสถานศึกษา ได้ก้าหนดมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนในมาตรฐานที่ ๑ : ผู้เรียนมี สุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพจากการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนโรงเรียนคงคาราม ประจ้าปี ๒๕๕๕ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีระดับสมรรถภาพทางกายลดต่้าลงเกือบทุกรายการ ในฐานะครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งมีบทบาทส้าคัญยิ่งต่อการพัฒนาสุขภาพและศักยภาพของผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์ ความสมดุลและมีคุณภาพ เกิดความตระหนักและรับผิดชอบต่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกายของตนเอง จึงจัดกิจกรรมเพ่ือลดความอ้วน และกิจกรรมพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพเป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพให้เข้มแข็ง มุ่งสู่การเตรียมความพร้อมเพ่ือป้องกันปัญหาสุขภาพตั้งแต่แรกเริ่มให้สามารถเผชิญปัญหาและสภาวการณ์ที่คุกคามสุขภาพได้ตลอดไป ๒. วัตถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือให้นักเรียนได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของการออกก้าลังกายเพ่ือสุขภาพ ๒.๒ เพ่ือให้นักเรียนอ้วนได้ออกก้าลังกายท่ีถูกวิธีและรู้จักรับประทานอาหารให้ได้สัดส่วนของสารอาหารพอเหมาะ

Page 6: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ–นักเรียนโรงเรียนคงคารามทุกคน ได้ออกก้าลังกายเพ่ือสุขภาพอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน นักเรียนอ้วนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมลดความอ้วน เชิงคุณภาพ นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าของการออกก้าลังกายเพ่ือสุขภาพ มีน้้าหนักส่วนสูงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และนักเรียนอ้วนได้ออกก้าลังกายอย่างถูกวิธี รู้จักเลือกรับประทานอาหารให้ได้สัดส่วน ของสารอาหารพอเหมาะ และมีค่าไขมันลดลง ๔. พื้นที่ด้าเนินการ สนามกีฬา ห้องศูนย์พลศึกษาโรงเรียนคงคาราม ๕. ระยะเวลา ช่วงที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๕๕– ๓๑มีนาคม ๕๖)ช่วงที่ ๒ (๑ เมษายน ๕๖ – ๓๐ กันยายน ๕๖ ) ระยะเวลาที่ด้าเนินการ (ระบุ วัน/เดือน/ปี) ๑๒ พ.ย. ๒๕๕๕ – กันยายน ๒๕๕๖ ๖.งบประมาณ ใช้งบประมาณช่วงที่ ๑ ๓๖,๓๕๐ บาท ระบุเดือน ๑๙ พ.ย.๕๕ – ๒๐ ม.ค. ๕๖ ช่วงที่ ๒ .............-.................... บาท ระบุเดือน............-.................... ๗. วิธีด้าเนินการ

กิจกรรม เป้าหมาย ระยะเวลา งบประมาณ ขั้นเตรียมการ ประชุมวางแผนด้าเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการด้าเนินการ

- ก้าหนดภารกิจ -มอบหมายหน้าที่

๑๒ พ.ย.๕๕ ๑๔ พ.ย.๕๕

ขั้นด้าเนินการ ๑.ให้ความรู้ ๒.ปฏิบัติกิจกรรมลดความอ้วนและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ ๓.สรุปกิจกรรม

-สร้างความตระหนัก -สร้างเสริมสุขภาพ -ประเมินผลงาน

๑๙ พ.ย.๕๕ ๒๐ พ.ย.๕๕ ๒๐ ก.ย.๕๖

๓๖,๓๕๐

๘.การประเมินผล

ตัวชี้วัดความส้าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ ผลผลิต(ปริมาณและคุณภาพ) นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ มีน้้าหนักส่วนสูงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน นักเรียนอ้วนได้ออกก้าลังกายอย่างถูกวิธี รู้จักเลือกรับประทานอาหารให้ได้สัดส่วนของสารอาหารพอเหมาะ และมี

-การสังเกต -การสัมภาษณ์

-แบบสังเกต -แบบสัมภาษณ์

Page 7: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

ตัวชี้วัดความส้าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ ค่าไขมันลดลง ผลลัพธ์(ประโยชน์ที่ได้จากผลผลิต) นักเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ตระหนักและเห็นคุณค่าของ การออกก้าลังกายเพ่ือสุขภาพรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

-การสังเกต -การสัมภาษณ์

แบบติดตาม

๙.การวางแผนบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ การจัดกิจกรรมค้านึงถึงความเหมาะสมโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน ความมีเหตุผล การจัดกิจกรรมค้านึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับ การด้าเนินกิจกรรมกระท้าด้วยความรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกัน การจัดกิจกรรมค้านึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล เงื่อนไขความรู้ การจัดกิจกรรม จัดโดยยึดหลักวิชาการที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านในการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม การจัดกิจกรรมมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการด้าเนินชีวิต น้าไปสู่ ๔ มิต ิ จากการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อ การเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวัฒนธรรม

Page 8: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

ลงชื่อ ลงชื่อ ( นายประกอบ เสมอภาค ) (นายประกอบ เสมอภาค) ผู้รับผิดชอบ งาน/โครงการ ผู้เสนอ งาน/โครงการ หัวหน้ากลุ่มสาระ/งานสุขศึกษาและพลศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระ/งานสุขศึกษาและพลศึกษา

ลงชื่อ............................................... ( นายเฉลิม จ้าปาวิจิตร ) ผู้พิจารณา งาน/โครงการ รองผู้อ้านวยการกลุ่มงานวิชาการ ลงชื่อ ลงชื่อ (นายธนัท ชัยสิทธิส์งวน) (พ.อ.รังสรรค์ ปุ่นอภิรักษ์ ) หัวหน้างานแผนงาน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

ผู้ตรวจสอบ งาน/โครงการ ผู้เห็นชอบ งาน/โครงการ ผู้อนุมัติโครงการ

(นายพล อินทร์จันทร์) ผู้อ้านวยการโรงเรียนคงคาราม ........../........................./...........

Page 9: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

สรุปผลน้้าหนักและส่วนสงู ของนักเรียนโรงเรียนคงคาราม

ปีการศึกษา 2556

ระดับชั้น เกณฑ์น้้าหนักและส่วนสูง

รวม ผอม สมส่วน อ้วน

ม.1 8 506 16 530 ม.2 12 468 15 495 ม.3 11 410 13 434 ม.4 6 387 16 409 ม.5 9 302 14 325 ม.6 2 259 9 270 รวม 48 2332 83 2463

ร้อยละ 1.95 94.68 3.37 100.00

จากตารางแสดงให้เห็นว่านักเรียนโรงเรียนคงคารามมีเกณฑ์น้้าหนักและส่วนสูง โดยเทียบจากค่าน้้าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์กรมอนามัย 2542 ดังนี้ ผอม คิดเป็นร้อยละ 1.95 สมส่วน คิดเป็นร้อยละ 94.68 อ้วน คิดเป็นร้อยละ 3.37 สรุปนักเรียนโรงเรียนคงคารามมีค่าน้้าหนักและส่วนสูงผ่านเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 94.68

Page 10: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

แผนภูมิสรุปเกณฑ์น้้าหนักและส่วนสูงของนักเรียนโรงเรียนคงคาราม ปีการศึกษา 2556

(เทียบเกณฑ์น้้าหนักและส่วนสูงของกรมอนามัย 2542)

สรุปผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนโรงเรียนคงคาราม ประจ้าปีการศึกษา 2556

ระดับชั้น ระดับสมรรถภาพทางกาย

รวม ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่ผ่านเกณฑ์

ม.1 495 35 530 ม.2 472 23 495 ม.3 409 25 434 ม.4 377 32 409 ม.5 311 14 325 ม.6 244 26 270 รวม 2308 155 2463 ร้อยละ 93.71 6.29 100.00

1.95

94.68

3.37

ผอม

สมสว่น

อ้วน

Page 11: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

ตรวจวัดความดันโลหิต

นักเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกาย

Page 12: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมลดความอ้วน

นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมลดความอ้วนที่ห้องกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา

Page 13: ตัวบ่งชี้ 1.2 มีน้้าหนัก ส่วนสูง ...e-port.kongkaram.ac.th/.../uploads/2014/07/STD-1.2.pdfม ส ขภาวะท ด และม

นักเรียนท้ากิจกรรมวิ่งออกก้าลังกายเพ่ือสุขภาพ

นักเรียนท้ากิจกรรมวิ่งออกก้าลังกายเพ่ือสุขภาพบริเวณสนามฟุตบอลของโรงเรียน