4
จดหมายข่าว ฉบับที่ 7 ปีท่ 2 ประจำาเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม 2555 ISSN 2229-1393 นิวเคลียร์ รู้จัก โครงการสมรภูมิไอเดีย สอเทคโนโลยีนิวเคลียร์ทั่วไทย ปี 2 อำาเภอองครักษ์ กิจกรรมจัดหาทุนซ่อมสร้างฯ จังหวัดชัยนาท ติดตามผลการใช้สารละลายโปรตีนไหม และไคโตซาน จังหวัดนครราชสีมา www.tint.or.th “สอเทคโนโลยีนิวเคลียร์ทั่วไทย ปี 2”

จดหมายข่าว...จดหมายข าว ฉบ บท 7 ป ท 2 ประจำาเด อนกรกฎาคม ถ ง ส งหาคม 2555 น วเคล

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: จดหมายข่าว...จดหมายข าว ฉบ บท 7 ป ท 2 ประจำาเด อนกรกฎาคม ถ ง ส งหาคม 2555 น วเคล

จดหมายข่าว

ฉบับที่ 7 ปีที่ 2

ประจำาเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม 2555

ISSN 2229-1393

นิวเคลียร์

รู้จัก

โครงการสมรภูมิไอเดีย

สื่อเทคโนโลยีนิวเคลียร์ทั่วไทย ปี 2

อำาเภอองครักษ์

กิจกรรมจัดหาทุนซ่อมสร้างฯ

จังหวัดชัยนาท

ติดตามผลการใช้สารละลายโปรตีนไหม

และไคโตซาน จังหวัดนครราชสีมา

www.tint.or.th

“สื่อเทคโนโลยีนิวเคลียร์ทั่วไทย ปี 2”

Page 2: จดหมายข่าว...จดหมายข าว ฉบ บท 7 ป ท 2 ประจำาเด อนกรกฎาคม ถ ง ส งหาคม 2555 น วเคล

ทักทายจาก สทน. กองบรรณาธิการ

ในฉบับน้ีขอเก็บภาพความสนกุสนานกบัสือ่สร้างสรรค์

โครงการดีๆ จาก สทน. ในโครงการ สือ่เทคโนโลยนีวิเคลยีร์

ทั่วไทย ปี 2 ที่ ได้พาน้องๆ จาก โรงเรียนในพื้นที่ต่างๆ

มาฝาก รวมทั้งน้องๆ โรงเรียนในพื้นที่อ�าเภอองครักษ์

ที่ ได ้เข ้าร ่วมกิจกรรมกับทาง สถาบันฯ ซึ่งจากภาพ

ความสนุกสนานแล้ว น้องๆ ยังได้รับความรู ้เกี่ยวกับ

เทคโนโลยีนิวเคลียร์กลับไปอีกด้วย รวมทั้งภาพกิจกรรม

ท่ีทาง สทน. ได้ ไปร่วมท�าบุญกับหน่วยงานต่างๆ ของ

กระทรวงวิทย์ฯ ที่จังหวัดชัยนาท และการติดตามผลงาน

ของ สทน. ที่ ได้ร่วมกับ กฟผ. น�าสารละลายโปรตีนไหม

และสารละลายไคโตซานไปมอบให้เกษตรกร ในอ�าเภอสคีิว้

จงัหวดันครราชสมีา ได้ทดลองใช้ และยงัไม่ลืมส�าหรับคอลมัน์

รู้จักรังสี ที่น�าเกร็ดความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคนิคการควบคุม

แมลงโดยการใช้แมลงที่เป็นหมัน วิธีการจะเป็นอย่างไร

ติดตามกันได้นะคะ

ที่ปรึกษาดร.สมพร จองค�ำนำยสิริพล เชื้ออินต๊ะนำยประชำ ตันเสนีย์

กองบรรณาธิการฝ่ำยสื่อสำรองค์กำร

จัดท�าโดยฝ่ำยสื่อสำรองค์กำรสถำบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชำติ(องค์กำรมหำชน)โทร/โทรสำร 037 392 930

จัดพิมพ์โดยบริษัท ไอติง แอดเวอร์ไทซิ่ง จ�ำกัด

www.tint.or.th

ขอ เ ก็บ กิ จกร รมที่ได ้จัดขึ้นภำยในร้ัวของ

สทน.มำฝำก สถำบันเทคโนโลยีนิวเคลียร ์ แห่งชำต ิ(องค์กำรมหำชน) ได ้ ร ่ วมกับ รำยกำร “สมรภูมิ ไอเดีย” ซึ่ ง

ออกอำกำศทกุวนัศกุร์ เวลำ 15.45 – 16.15 น. เป็นรำยกำร

แนวส่งเสริมกำรศึกษำส�ำหรับเด็ก เยำวชน และสถำบนักำรศกึษำทัว่ประเทศ โดยน�ำเสนอผลงำน

สิ่งประดิษฐ์ของนักเรียนนักศึกษำต่ำงๆ รวมถึงนวัตกรรมภูมปัิญญำไทยมำกมำยหลำกหลำยประเภท ซึ่งเป็นผลงำนที่เกิดจำกควำมคิด และผ่ำนกำรวิเครำะห์อย่ำงสร้ำงสรรค์ เพื่อสร้ำงนวัตกรรมหรือแก้ปัญหำของกลุ่มเป้ำหมำยในลักษณะต่ำงๆกัน และจำกควำมควำมส�ำเร็จในโครงกำร “สมรภูมิไอเดีย สื่อเทคโนโลยีนิวเคลียร์ทั่วไทย” โดย ในคร้ังที่ผ่ำนมำ สทน. ได้รับควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดี โดยมีรูปแบบของกำรประกวดสื่อสร้ำงสรรค์เทคโนโลยีนิวเคลียร์ ที่มีนักคิด นักสร้ำงสรรค์ทั่วฟ้ำเมืองไทย ได้ร่วม

ส่งผลงำนเข้ำประกวดแข่งขัน จนได้ที่สุดของสื่อสร้ำงสรรค์ พร้อมต่อยอดด้วยกำรน�ำสื่อสร้ำงสรรค์เหล่ำนั้นไปเผยแพร่ในรูปแบบเชิงกิจกรรมสร้ำงสรรค์กับ 20 โรงเรียนน�ำร่องทั่วประเทศไทย

จนมำถึงวันน้ี กับ “โครงกำรสมรภูมิไอเดียสื่อเทคโนโลยีนิวเคลียร์ทั่วไทย ปี 2” ที่เรำได้สำนต่อควำมส�ำเร็จ ด้วยรูปแบบกิจกรรมใหม่ ฐำนกำรเรียนรู้ใหม่ ที่พร้อมจะให้นักเรียนได้เข้ำถึงเนื้อหำ และสำระควำมรู้จำกประโยชน์ของนิวเคลียร์มำกข้ึน กับกำรลงพื้นท่ีสร้ำงควำมสนุกสนำนปนสำระควำมรู้ดีๆ ให้กับ 20 โรงเรียนผู้ประสบอุทกภัยครั้งรุนแรงที่ผ่ำนมำ ด้วยควำมมุ่งหวังที่จะพลิกฟื ้น และฟื ้นฟูจิตใจของน้องๆ จำกโรงเรียน ในเขตพื้นที่ที่ประสบภัย ให ้กลับมำสดใสดังเดิม ซึ่ง รูปแบบกิจกรรมใหม่นี้ ประกอบไปด้วย ฐำนกำรเรียนรู้, รถสื่อสร้ำงสรรค์, กิจกรรมบนเวที และมินิคอนเสริต์จำกศิลปิน อ๊อฟ - ชัยนนท์ จันทร์เต็ม (นักร้อง,นักแสดง และพิธีกรรำยกำร “อำวุธไอเดีย”) และที่ขำดไม่ได้กับกำรมอบควำมรู้ที่ยั่งยืน ให้กับเยำวชนอนำคตของชำติด้วย “ชดุคอมพวิเตอร์ และ สือ่กำรเรยีนรู”้ จำกสถำบนัเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชำติ (องค์กำรมหำชน)

เรื่องจากปก

Page 3: จดหมายข่าว...จดหมายข าว ฉบ บท 7 ป ท 2 ประจำาเด อนกรกฎาคม ถ ง ส งหาคม 2555 น วเคล

1.นางวรรณา วิมลวัฒนาภัณฑ์ ผู้จัดการ

ศูนย์บริการเทคโนโลยีนิวเคลียร์ มอบชุด

สื่อการเรียนรู ้ในกิจกรรมสมรภูมิไอเดีย

สื่อเทคโนโลยีนิวเคลียร์ท่ัวไทย ปี 2 ณ สทน.องครักษ์

ซึ่งได้พาน้องๆ โดยรอบพ้ืนท่ี สทน. จ�านวน 6 โรงเรียน

เข้าร่วมกิจกรรม กับการลงพื้นที่สร้างความสนุกสนาน

ปนสาระความรู ้ดีๆ ให ้กับโรงเรียนผู ้ประสบอุทกภัย

ครั้งรุนแรงที่ผ่านมา กิจกรรมในครั้งน้ีประกอบไปด้วย

ฐานการเรียนรู ้ รถสื่อสร ้ างสรรค ์ กิจกรรมบนเวที

และมินิคอนเสริต์จากศิลปิน อ๊อฟ - ชัยนนท์ จันทร์เต็ม

(นักร้อง,นักแสดง และพิธีกรรายการ “อาวุธไอเดีย”)

2.สทน.ร่วมท�าบุญกบัชมรมนักเขยีนและผูจ้ดัท�าหนงัสอืวทิยาศาสตร์

โดยได้ร ่วมบริจาค พร้อมทั้งจัดกิจกรรมและนิทรรศการ

ในโครงการจัดงานหาทุนซ่อมสร้างและส่งเสริมสื่ออุปกรณ์

เพื่อการศึกษา 3 โรงเรียน โรงเรียนวัดสิงห์ โรงเรียนอนุบาลวัดสิงห์และโรงเรียน

เทศบาลวัดสิงห์ ที่ประสบอุทกภัยในชัยนาทและจัดสร้าง

ศูนย ์การเรียนรู ้ทางวิทยาศาสตร ์ตามพระราชด�าริ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

จัดขึ้น ณ โรงเรียนวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท เมื่อวันที่ 13-

15 กรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา

3. ความร่วมมือ ระหว่าง กฟผ. และ สทน. ในการพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตของเกษตรกรใน ต�าบลคลองไผ่ อ�าเภอสี่คิ้ว จังหวัด

นครราชสีม า โดยน� าส ารล ะล าย โปรตีน ไหมแล ะ ไค โตซาน

ฉายรังสีมาช่วยชาวบ้านในการท�าเกษตรกรรม ไม่ว่าจะเป็นล�าใย มันส�าปะหลัง

ผัก รวมทั้งไม้ดอกอย่างดาวเรือง พร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้สารละลาย

โปรตีนไหมและไครโตซานกับเกษตรกร ซึ่งได้รับเสียงตอบรับจากเกษตรกร

เป็นอย่างด ีผลการใช้สารละลายโปรตนีไหมและสารละลาย

ไคโตซานของเกษตรกรได้รับผลผลิตท่ีมีคุณภาพและ

ปริมาณที่มากขึ้น

เก็บกิจกรรมมาฝาก

Page 4: จดหมายข่าว...จดหมายข าว ฉบ บท 7 ป ท 2 ประจำาเด อนกรกฎาคม ถ ง ส งหาคม 2555 น วเคล

Thailand Institute of Nuclear Technology (Public Organization)

9/9 หมู่ที่ 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ์ จ.นครนายก 26120

โทรศัพท์ / โทรสาร 037 392 930

www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

นิวเคลียร์

จดหมายข่าว

รู้จักรังสี

“ นิวเคลียร์ รู้ ใช้ ได้ประโยชน์ ”

ฉบับที่ 7 ปีที่ 2

ประจำาเดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม 2555

เรือ่ง เทคนคิการควบคมุแมลงโดยการใช้แมลงทีเ่ป็นหมัน

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้ตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ

เกษตรกรไทยและได้ด�าเนนิการวิจยัและพฒันาองค์ความรูท้างด้านเทคโนโลยนีวิเคลยีร์มาช่วยแก้ปัญหาทีเ่กดิขึน้

เช่น ปัญหาผลไม้ของเกษตรกรที่ท�าการเพาะปลูกถูกแมลงวันผลไม้ท�าลายเสียหายเป็นจ�านวนมาก ผลผลิต

ที่ถูกท�าลายเก็บเกี่ยวไม่ได้ หรือมีต�าหนิท�าให้ราคาตกต�่า นอกจากนี้ในบางประเทศยังใช้เป็นข้ออ้างกีดกันไม่ให้

น�าเข้าผลไม้จากประเทศไทย การใช้สารเคมีก�าจัดแมลงวันผลไม้ของเกษตรไม่ได้ผลเท่าที่ควรและยังก่อปัญหา

พิษตกค้างในผลิตผลและสิ่งแวดล้อม

ทางสถาบนัฯ จงึได้มกีารวจิยัและพฒันาเทคโนโลยนีวิเคลยีร์ น�าเทคนคิการควบคมุแมลงโดยการ

ใช้แมลงทีเ่ป็นหมันร่วมกับวิธกีารอืน่ๆ ทีใ่นหลายประเทศใช้ได้ผลมาวจิยัและพฒันา เพือ่ช่วยแก้ปัญหาเกษตรกร

ไทย โดยใช้เทคนคิการใช้แมลงทีเ่ป็นหมนั โดยการเล้ียงแมลงให้ได้เป็นจ�านวนมาก ท�าหมนัแมลงด้วยการฉายรงัสี

และปล่อยแมลงที่เป็นหมันควบคุมคุณภาพของแมลงและการติดตามประเมินผล แมลงที่เป็นหมันเมื่อผสมพันธุ์

กบัแมลงในธรรมชาติก็จะไม่มลูีกหลานออกมา เมือ่ปล่อยแมลงทีเ่ป็นหมนัจ�านวนมากตดิต่อกนัจะท�าให้ประชากร

แมลงในธรรมชาติลดลง และเพื่อให้ได้ผลดียิ่งขึ้น จึงได้ผสมผสานวิธีการอื่นๆ ผนวกเข้ามาด้วย ได้แก่ การใช้

กับดัก การก�าจัดแหล่งขยายพันธุ์ การก�าจัดผลไม้ที่แมลงท�าลาย ท�าให้เกษตรกรได้ผลผลิตสูงขึ้น และลดการ

ใช้สารเคมีก�าจัดแมลง ผลผลิตมีคุณภาพสูงขึ้น สร้างมูลค่าให้กับผลไม้ของประเทศเพิ่มมากขึ้น