18
คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา ขั้นตอนที่ 1 การสอบเทียบเค อุปกรณตางๆ ที่ใชในการตรวจวัดคุณ รูปที่ ข รูปที่ ข-1 ประกอบดวย (1) เ มีหลายขนาดขึ้นอยูกับความแรงของน (3) เชือก สําหรับมัดตุมถวง (4) เทปสํา รูปที่ ข-2 แสดงเครื่องมือวัดค พารามิเตอร (Multi-parameters) รูปซ 3 ครื่องมือ (Calibration) ณภาพน้ํา ข-1 อุปกรณเสริมในการตรวจวัดคุณภาพน้ํา เสื้อชูชีพ ใชในระหวางการปฏิบัติงานขณะลงเรือในการต น้ํา กรณีน้ําไหลแรง และ กรณีที่ตองการวัดที่ความลึกหล าหรับกําหนดความลึก รูปที่ ข-2 เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา คุณภาพน้ําแบบหัวรวม (Multi Probe System) หรือเคร ซายมือเปนเครื่องมือ YSI 556 MPS และ รูปขวามือคือ 1 1 2 3 4 หนา 1 ตรวจวัด (2) ตุมถวง ลายระดับในแนวดิ่ง รื่องมือวัดแบบหลาย YSI 650 MDS

ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 1

ขั้นตอนท่ี 1 การสอบเทียบเครื่องมือ (Calibration)อุปกรณตางๆ ท่ีใชในการตรวจวัดคุณภาพน้ํา

รูปที่ ข-1 อุปกรณเสริมในการตรวจวัดคุณภาพน้ํารูปที่ ข-1 ประกอบดวย (1) เสื้อชูชีพ ใชในระหวางการปฏิบัติงานขณะลงเรือในการตรวจวัด (2) ตุมถวง

มีหลายขนาดข้ึนอยูกับความแรงของน้ํา กรณีน้ําไหลแรง และ กรณีที่ตองการวัดที่ความลึกหลายระดับในแนวดิ่ง(3) เชือก สําหรับมัดตุมถวง (4) เทปสําหรับกําหนดความลึก

รูปที่ ข-2 เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํารูปที่ ข-2 แสดงเครื่องมือวัดคุณภาพน้ําแบบหัวรวม (Multi Probe System) หรือเครื่องมือวัดแบบหลาย

พารามิเตอร (Multi-parameters) รูปซายมือเปนเครื่องมือ YSI 556 MPS และ รูปขวามือคือ YSI 650 MDS

1 1

2

33

4

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 1

ขั้นตอนท่ี 1 การสอบเทียบเครื่องมือ (Calibration)อุปกรณตางๆ ท่ีใชในการตรวจวัดคุณภาพน้ํา

รูปที่ ข-1 อุปกรณเสริมในการตรวจวัดคุณภาพน้ํารูปที่ ข-1 ประกอบดวย (1) เสื้อชูชีพ ใชในระหวางการปฏิบัติงานขณะลงเรือในการตรวจวัด (2) ตุมถวง

มีหลายขนาดข้ึนอยูกับความแรงของน้ํา กรณีน้ําไหลแรง และ กรณีที่ตองการวัดที่ความลึกหลายระดับในแนวดิ่ง(3) เชือก สําหรับมัดตุมถวง (4) เทปสําหรับกําหนดความลึก

รูปที่ ข-2 เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํารูปที่ ข-2 แสดงเครื่องมือวัดคุณภาพน้ําแบบหัวรวม (Multi Probe System) หรือเครื่องมือวัดแบบหลาย

พารามิเตอร (Multi-parameters) รูปซายมือเปนเครื่องมือ YSI 556 MPS และ รูปขวามือคือ YSI 650 MDS

1 1

2

33

4

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 1

ขั้นตอนท่ี 1 การสอบเทียบเครื่องมือ (Calibration)อุปกรณตางๆ ท่ีใชในการตรวจวัดคุณภาพน้ํา

รูปที่ ข-1 อุปกรณเสริมในการตรวจวัดคุณภาพน้ํารูปที่ ข-1 ประกอบดวย (1) เสื้อชูชีพ ใชในระหวางการปฏิบัติงานขณะลงเรือในการตรวจวัด (2) ตุมถวง

มีหลายขนาดข้ึนอยูกับความแรงของน้ํา กรณีน้ําไหลแรง และ กรณีที่ตองการวัดที่ความลึกหลายระดับในแนวดิ่ง(3) เชือก สําหรับมัดตุมถวง (4) เทปสําหรับกําหนดความลึก

รูปที่ ข-2 เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํารูปที่ ข-2 แสดงเครื่องมือวัดคุณภาพน้ําแบบหัวรวม (Multi Probe System) หรือเครื่องมือวัดแบบหลาย

พารามิเตอร (Multi-parameters) รูปซายมือเปนเครื่องมือ YSI 556 MPS และ รูปขวามือคือ YSI 650 MDS

1 1

2

33

4

Page 2: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 2

รูปที่ ข-3 กระดาษทรายละเอียดสําหรับทําความสะอาดหัวอาน DOรูปที่ ข-3 แสดง กระดาษทรายละเอียด สําหรับทําความสะอาดหัวอาน DO หากหัวอาน DO (1) มีสีไม

เหลืองนวล คือขุน หรือดําใหใช กระดาษทราย (2) ทําความสะอาดหัวอานเบาๆ ไปในทางเดียวกัน 3 ครั้ง แตพยายามอยาใหหัวอาน สกปรกเนื่องจากเปนจุดที่บอบบาง ซึ่งถาไมจําเปนอยาใช

1

2

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 2

รูปที่ ข-3 กระดาษทรายละเอียดสําหรับทําความสะอาดหัวอาน DOรูปที่ ข-3 แสดง กระดาษทรายละเอียด สําหรับทําความสะอาดหัวอาน DO หากหัวอาน DO (1) มีสีไม

เหลืองนวล คือขุน หรือดําใหใช กระดาษทราย (2) ทําความสะอาดหัวอานเบาๆ ไปในทางเดียวกัน 3 ครั้ง แตพยายามอยาใหหัวอาน สกปรกเนื่องจากเปนจุดที่บอบบาง ซึ่งถาไมจําเปนอยาใช

1

2

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 2

รูปที่ ข-3 กระดาษทรายละเอียดสําหรับทําความสะอาดหัวอาน DOรูปที่ ข-3 แสดง กระดาษทรายละเอียด สําหรับทําความสะอาดหัวอาน DO หากหัวอาน DO (1) มีสีไม

เหลืองนวล คือขุน หรือดําใหใช กระดาษทราย (2) ทําความสะอาดหัวอานเบาๆ ไปในทางเดียวกัน 3 ครั้ง แตพยายามอยาใหหัวอาน สกปรกเนื่องจากเปนจุดที่บอบบาง ซึ่งถาไมจําเปนอยาใช

1

2

Page 3: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 3

รูปที่ ข-4 แปลงสําหรับทําความสะอาดหัวอาน ECรูปที่ ข-4 แสดง ใหเห็นการทําความสะอาด หัวอาน EC โดยใชแปลง ทําความสะอาด 2 ชองดานบน ซึ่ง

ควรทําหลังจากที่ใชงานแลวเสร็จ

รูปที่ ข-5 สลิ้งฉีดยาสําหรับทําความสะอาดหัวอาน ECสลิ้งฉีดยา สําหรับฉีดน้ําเขาไปลางในหัวอาน EC เพ่ือใหการทําความสะอาดไดเขาถึง เพ่ือปองกัน error

ในการตรวจวัดครั้งตอไป ซึ่งควรทําหลังใชแปลง เสร็จเรียบรอยแลว

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 3

รูปที่ ข-4 แปลงสําหรับทําความสะอาดหัวอาน ECรูปที่ ข-4 แสดง ใหเห็นการทําความสะอาด หัวอาน EC โดยใชแปลง ทําความสะอาด 2 ชองดานบน ซึ่ง

ควรทําหลังจากที่ใชงานแลวเสร็จ

รูปที่ ข-5 สลิ้งฉีดยาสําหรับทําความสะอาดหัวอาน ECสลิ้งฉีดยา สําหรับฉีดน้ําเขาไปลางในหัวอาน EC เพ่ือใหการทําความสะอาดไดเขาถึง เพ่ือปองกัน error

ในการตรวจวัดครั้งตอไป ซึ่งควรทําหลังใชแปลง เสร็จเรียบรอยแลว

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 3

รูปที่ ข-4 แปลงสําหรับทําความสะอาดหัวอาน ECรูปที่ ข-4 แสดง ใหเห็นการทําความสะอาด หัวอาน EC โดยใชแปลง ทําความสะอาด 2 ชองดานบน ซึ่ง

ควรทําหลังจากที่ใชงานแลวเสร็จ

รูปที่ ข-5 สลิ้งฉีดยาสําหรับทําความสะอาดหัวอาน ECสลิ้งฉีดยา สําหรับฉีดน้ําเขาไปลางในหัวอาน EC เพ่ือใหการทําความสะอาดไดเขาถึง เพ่ือปองกัน error

ในการตรวจวัดครั้งตอไป ซึ่งควรทําหลังใชแปลง เสร็จเรียบรอยแลว

Page 4: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 4

รูปที่ ข-6 Cotton Bud สําหรับทําความสะอาดหัวอาน pHCotton Bud ชุบน้ํายาลางจาน ไวสําหรับเช็ด ทําความสะอาดหัวอานคา pH ที่เปนแกว เพ่ือใหสามารถ

ตรวจวัดไดแมนยํายิ่งข้ึน โดยหลังจากที่ทําการตรวจวัดเสร็จ ควรเช็ดเบาๆ ดวย Cotton Bud ชุบน้ํายาลางจานแลวลางใหสะอาดดวยน้ําเปลา แลวซับใหแหง ให ใส ดังรูป

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 4

รูปที่ ข-6 Cotton Bud สําหรับทําความสะอาดหัวอาน pHCotton Bud ชุบน้ํายาลางจาน ไวสําหรับเช็ด ทําความสะอาดหัวอานคา pH ที่เปนแกว เพ่ือใหสามารถ

ตรวจวัดไดแมนยํายิ่งข้ึน โดยหลังจากที่ทําการตรวจวัดเสร็จ ควรเช็ดเบาๆ ดวย Cotton Bud ชุบน้ํายาลางจานแลวลางใหสะอาดดวยน้ําเปลา แลวซับใหแหง ให ใส ดังรูป

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 4

รูปที่ ข-6 Cotton Bud สําหรับทําความสะอาดหัวอาน pHCotton Bud ชุบน้ํายาลางจาน ไวสําหรับเช็ด ทําความสะอาดหัวอานคา pH ที่เปนแกว เพ่ือใหสามารถ

ตรวจวัดไดแมนยํายิ่งข้ึน โดยหลังจากที่ทําการตรวจวัดเสร็จ ควรเช็ดเบาๆ ดวย Cotton Bud ชุบน้ํายาลางจานแลวลางใหสะอาดดวยน้ําเปลา แลวซับใหแหง ให ใส ดังรูป

Page 5: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 5

ตัวอยางน้ํายาท่ีใชในการ Calibrate เครื่องมือ

(1) น้ํายา Calibration Solution น้ํายาบัฟเฟอร pH พีเอช 4, 7, 10 สําหรับใชในการ calibrateหัวอาน pH

(2) น้ํายา Calibration Solution น้ํายาEC

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 5

ตัวอยางน้ํายาท่ีใชในการ Calibrate เครื่องมือ

(1) น้ํายา Calibration Solution น้ํายาบัฟเฟอร pH พีเอช 4, 7, 10 สําหรับใชในการ calibrateหัวอาน pH

(2) น้ํายา Calibration Solution น้ํายาEC

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 5

ตัวอยางน้ํายาท่ีใชในการ Calibrate เครื่องมือ

(1) น้ํายา Calibration Solution น้ํายาบัฟเฟอร pH พีเอช 4, 7, 10 สําหรับใชในการ calibrateหัวอาน pH

(2) น้ํายา Calibration Solution น้ํายาEC

Page 6: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 6

น้ํายา Calibration Solution สําหรับ Calibrate หัวอาน Conductivity มีอยูหลาย คา ข้ึนอยูกับความเค็มของน้ําที่จะไปตรวจ เชน ถาวัดน้ําทะเล จะ calibrate ที่ คา Conductivity เทากับ EC=100,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร และ EC=50,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร สวนน้ํากรอย จะ ใชน้ํายา EC=50,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร และ EC=10,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร สวนน้ําจืดจะใช EC=1,413ไมโครโมหตอเซนติเมตร หรือ EC=1,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร เปนตน ซึ่งจะเห็นไดวาน้ําชลประทาน โดยสวนใหญไมมีความเค็มมาก ดังนั้น จึงใช EC=1,413 ไมโครโมหตอเซนติเมตร หรือ EC=1,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร

(3) น้ํายา และ membrane สําหรับ Calibrate หัวอาน DO

การ Calibrate เครื่องมือ YSI 556 MPSเนื่องจากเครื่องมือโดยสวนใหญที่โครงการไดรับคือ เครื่องวัดคุณภาพน้ําแบบหลายตัวแปร (Multi Probe

System) ยี่หอ YSI รุน 556 MPS กอนที่ทําการตรวจวัดคุณภาพน้ํา เจาหนาที่ที่เขาไปทําการตรวจวัด จะตองทําการสอบเทียบเครื่องมือ ทุกครั้ง โดยในการสอบเทียบเครื่องมือ คา EC หรือ คา Conductivity จะทําการสอบเทียบอยางนอย 6 ครั้งตอเดือน คา pH อยางนอยเดือนละครั้ง และ คา DO อยางนอยเดือนละครั้ง แตเพ่ือความถูกตองแมนยําและปองกันการหลงลืมจึงขอใหทางโครงการ calibrate เครื่องมือ ทุกครั้งกอนเขาทําการตรวจวัดโดยข้ันตอนในการสอบเทียบเครื่องมือ จะตองทําการ calibrate คา DO กอน แตกอนที่จะทําการ calibrateจะตองทําการประกอบเครื่องมอืกอน

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 6

น้ํายา Calibration Solution สําหรับ Calibrate หัวอาน Conductivity มีอยูหลาย คา ข้ึนอยูกับความเค็มของน้ําที่จะไปตรวจ เชน ถาวัดน้ําทะเล จะ calibrate ที่ คา Conductivity เทากับ EC=100,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร และ EC=50,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร สวนน้ํากรอย จะ ใชน้ํายา EC=50,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร และ EC=10,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร สวนน้ําจืดจะใช EC=1,413ไมโครโมหตอเซนติเมตร หรือ EC=1,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร เปนตน ซึ่งจะเห็นไดวาน้ําชลประทาน โดยสวนใหญไมมีความเค็มมาก ดังนั้น จึงใช EC=1,413 ไมโครโมหตอเซนติเมตร หรือ EC=1,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร

(3) น้ํายา และ membrane สําหรับ Calibrate หัวอาน DO

การ Calibrate เครื่องมือ YSI 556 MPSเนื่องจากเครื่องมือโดยสวนใหญที่โครงการไดรับคือ เครื่องวัดคุณภาพน้ําแบบหลายตัวแปร (Multi Probe

System) ยี่หอ YSI รุน 556 MPS กอนที่ทําการตรวจวัดคุณภาพน้ํา เจาหนาที่ที่เขาไปทําการตรวจวัด จะตองทําการสอบเทียบเครื่องมือ ทุกครั้ง โดยในการสอบเทียบเครื่องมือ คา EC หรือ คา Conductivity จะทําการสอบเทียบอยางนอย 6 ครั้งตอเดือน คา pH อยางนอยเดือนละครั้ง และ คา DO อยางนอยเดือนละครั้ง แตเพ่ือความถูกตองแมนยําและปองกันการหลงลืมจึงขอใหทางโครงการ calibrate เครื่องมือ ทุกครั้งกอนเขาทําการตรวจวัดโดยข้ันตอนในการสอบเทียบเครื่องมือ จะตองทําการ calibrate คา DO กอน แตกอนที่จะทําการ calibrateจะตองทําการประกอบเครื่องมอืกอน

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 6

น้ํายา Calibration Solution สําหรับ Calibrate หัวอาน Conductivity มีอยูหลาย คา ข้ึนอยูกับความเค็มของน้ําที่จะไปตรวจ เชน ถาวัดน้ําทะเล จะ calibrate ที่ คา Conductivity เทากับ EC=100,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร และ EC=50,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร สวนน้ํากรอย จะ ใชน้ํายา EC=50,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร และ EC=10,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร สวนน้ําจืดจะใช EC=1,413ไมโครโมหตอเซนติเมตร หรือ EC=1,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร เปนตน ซึ่งจะเห็นไดวาน้ําชลประทาน โดยสวนใหญไมมีความเค็มมาก ดังนั้น จึงใช EC=1,413 ไมโครโมหตอเซนติเมตร หรือ EC=1,000 ไมโครโมหตอเซนติเมตร

(3) น้ํายา และ membrane สําหรับ Calibrate หัวอาน DO

การ Calibrate เครื่องมือ YSI 556 MPSเนื่องจากเครื่องมือโดยสวนใหญที่โครงการไดรับคือ เครื่องวัดคุณภาพน้ําแบบหลายตัวแปร (Multi Probe

System) ยี่หอ YSI รุน 556 MPS กอนที่ทําการตรวจวัดคุณภาพน้ํา เจาหนาที่ที่เขาไปทําการตรวจวัด จะตองทําการสอบเทียบเครื่องมือ ทุกครั้ง โดยในการสอบเทียบเครื่องมือ คา EC หรือ คา Conductivity จะทําการสอบเทียบอยางนอย 6 ครั้งตอเดือน คา pH อยางนอยเดือนละครั้ง และ คา DO อยางนอยเดือนละครั้ง แตเพ่ือความถูกตองแมนยําและปองกันการหลงลืมจึงขอใหทางโครงการ calibrate เครื่องมือ ทุกครั้งกอนเขาทําการตรวจวัดโดยข้ันตอนในการสอบเทียบเครื่องมือ จะตองทําการ calibrate คา DO กอน แตกอนที่จะทําการ calibrateจะตองทําการประกอบเครื่องมอืกอน

Page 7: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 7

การประกอบเครื่องมือเพื่อพรอมในการ Calibrateเนื่องจากในการเก็บเครื่องมือ หัว pH จะถูกเก็บไว ตางหาก แตหัว DO และ EC จะติดกับตัวเครื่องมือ

ดังนั้นกอนที่จะทําการ calibrate จะตองทําการประกอบเครื่องมือกอน ดังรูป

ลักษณะหัวอานที่ถูกเก็บไว โดยแยกเก็บหัวอาน pH และ หัวอาน EC และ DO อยูติดกับเครื่องมือ

เติมน้ํายา DO 4-6 หยด ใน membrane ใส membrane เขาในหัววัด DOหมายเหตุ: เพื่อปองการการเกิดฟองอากาศในหัววัด จึงควรเติมน้ํายาใหเต็ม membrane

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 7

การประกอบเครื่องมือเพื่อพรอมในการ Calibrateเนื่องจากในการเก็บเครื่องมือ หัว pH จะถูกเก็บไว ตางหาก แตหัว DO และ EC จะติดกับตัวเครื่องมือ

ดังนั้นกอนที่จะทําการ calibrate จะตองทําการประกอบเครื่องมือกอน ดังรูป

ลักษณะหัวอานที่ถูกเก็บไว โดยแยกเก็บหัวอาน pH และ หัวอาน EC และ DO อยูติดกับเครื่องมือ

เติมน้ํายา DO 4-6 หยด ใน membrane ใส membrane เขาในหัววัด DOหมายเหตุ: เพื่อปองการการเกิดฟองอากาศในหัววัด จึงควรเติมน้ํายาใหเต็ม membrane

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 7

การประกอบเครื่องมือเพื่อพรอมในการ Calibrateเนื่องจากในการเก็บเครื่องมือ หัว pH จะถูกเก็บไว ตางหาก แตหัว DO และ EC จะติดกับตัวเครื่องมือ

ดังนั้นกอนที่จะทําการ calibrate จะตองทําการประกอบเครื่องมือกอน ดังรูป

ลักษณะหัวอานที่ถูกเก็บไว โดยแยกเก็บหัวอาน pH และ หัวอาน EC และ DO อยูติดกับเครื่องมือ

เติมน้ํายา DO 4-6 หยด ใน membrane ใส membrane เขาในหัววัด DOหมายเหตุ: เพื่อปองการการเกิดฟองอากาศในหัววัด จึงควรเติมน้ํายาใหเต็ม membrane

Page 8: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 8

ถอดที่ปดหัวอาน pH ออก ทาจารบีขาวที่หัวโอริงโดยรอบปองกันน้ําเขา

ใสหัวอาน pH เขาไปกับเครื่องโดยใชไขควงหมุนใหแนน แตอยาใหแนนจนเกินไปเนื่องจากตัวเครื่องเปนอลูมิเนียมแตเกลียวเปนพลาสติกถาแนนเกินไปจะทําใหเกลียวหวาน

เนื่องจากหลังจากการทําการ ประกอบเครื่องมือและเติมน้ํายาใน membrane เปนที่เรียบรอยแลวเพ่ือใหความดันบรรยากาศระหวาง พ้ืน membrane กับหัวอาน เซตตัวเขาสูสภาวะอ่ิมตัวใหมากที่สุด จึงควรทิ้งไวประมาณ 15 นาทีกอนที่จะทําการ calibrate โดยเก็บไวในบิกเกอรดังรูป

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 8

ถอดที่ปดหัวอาน pH ออก ทาจารบีขาวที่หัวโอริงโดยรอบปองกันน้ําเขา

ใสหัวอาน pH เขาไปกับเครื่องโดยใชไขควงหมุนใหแนน แตอยาใหแนนจนเกินไปเนื่องจากตัวเครื่องเปนอลูมิเนียมแตเกลียวเปนพลาสติกถาแนนเกินไปจะทําใหเกลียวหวาน

เนื่องจากหลังจากการทําการ ประกอบเครื่องมือและเติมน้ํายาใน membrane เปนที่เรียบรอยแลวเพ่ือใหความดันบรรยากาศระหวาง พ้ืน membrane กับหัวอาน เซตตัวเขาสูสภาวะอ่ิมตัวใหมากที่สุด จึงควรทิ้งไวประมาณ 15 นาทีกอนที่จะทําการ calibrate โดยเก็บไวในบิกเกอรดังรูป

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 8

ถอดที่ปดหัวอาน pH ออก ทาจารบีขาวที่หัวโอริงโดยรอบปองกันน้ําเขา

ใสหัวอาน pH เขาไปกับเครื่องโดยใชไขควงหมุนใหแนน แตอยาใหแนนจนเกินไปเนื่องจากตัวเครื่องเปนอลูมิเนียมแตเกลียวเปนพลาสติกถาแนนเกินไปจะทําใหเกลียวหวาน

เนื่องจากหลังจากการทําการ ประกอบเครื่องมือและเติมน้ํายาใน membrane เปนที่เรียบรอยแลวเพ่ือใหความดันบรรยากาศระหวาง พ้ืน membrane กับหัวอาน เซตตัวเขาสูสภาวะอ่ิมตัวใหมากที่สุด จึงควรทิ้งไวประมาณ 15 นาทีกอนที่จะทําการ calibrate โดยเก็บไวในบิกเกอรดังรูป

Page 9: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 9

การตรวจสอบสภาพ membrane วายังใชงานไดอยูหรือไม ใหเปดเครื่องมาแลวสังเกตคา DO% วาใกลเคียง 100 หรือไม หาก คา DO% ต่ํากวา 80 หรือ คา DO% จะตองไมแกวงไป แกวงมาหรือข้ึนๆ ลง จะตองทําการ เปลี่ยน membrane DO ใหม แลวสังเกตอีกครั้ง

ข้ันตอนตอไปคือการ Calibrate เครื่องมือ ซึ่งจะอยูใน mode: calibration จําแนกตามชนิดของดัชนีคุณภาพน้ํา ในที่นี้จะเริ่มจากการ Calibrate คา DO กอน ดังรูป

เลือกปุม Calibrate แลวกด เลือกปุม DO แลวกดสังเกตเห็นวาปุม DO เขียนวา DO 2 mil PE (Blue) ซึ่ง membrane จะมี 3 สี (ดังรูป) คือ(1) สีดํา มีความหนาขนาด 1 มิลลิเมตร ทําจากเทฟลอน (DO 1 mil Teflon (Black))(2) สีเหลือง มีความหนาขนาด 1 มิลลิเมตร ทําจาก PE (DO 1 mil PE (Yellow))(3) สีน้ําเงิน มีความหนาขนาด 2 มิลลิเมตร ทําจาก PE (DO 2 mil Teflon (Blue))

หาก membrane cap ไมใชสีน้ําเงิน ใหเขาไปเปลี่ยนที่หนาจอตรง Sensor ดังรูป

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 9

การตรวจสอบสภาพ membrane วายังใชงานไดอยูหรือไม ใหเปดเครื่องมาแลวสังเกตคา DO% วาใกลเคียง 100 หรือไม หาก คา DO% ต่ํากวา 80 หรือ คา DO% จะตองไมแกวงไป แกวงมาหรือข้ึนๆ ลง จะตองทําการ เปลี่ยน membrane DO ใหม แลวสังเกตอีกครั้ง

ข้ันตอนตอไปคือการ Calibrate เครื่องมือ ซึ่งจะอยูใน mode: calibration จําแนกตามชนิดของดัชนีคุณภาพน้ํา ในที่นี้จะเริ่มจากการ Calibrate คา DO กอน ดังรูป

เลือกปุม Calibrate แลวกด เลือกปุม DO แลวกดสังเกตเห็นวาปุม DO เขียนวา DO 2 mil PE (Blue) ซึ่ง membrane จะมี 3 สี (ดังรูป) คือ(1) สีดํา มีความหนาขนาด 1 มิลลิเมตร ทําจากเทฟลอน (DO 1 mil Teflon (Black))(2) สีเหลือง มีความหนาขนาด 1 มิลลิเมตร ทําจาก PE (DO 1 mil PE (Yellow))(3) สีน้ําเงิน มีความหนาขนาด 2 มิลลิเมตร ทําจาก PE (DO 2 mil Teflon (Blue))

หาก membrane cap ไมใชสีน้ําเงิน ใหเขาไปเปลี่ยนที่หนาจอตรง Sensor ดังรูป

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 9

การตรวจสอบสภาพ membrane วายังใชงานไดอยูหรือไม ใหเปดเครื่องมาแลวสังเกตคา DO% วาใกลเคียง 100 หรือไม หาก คา DO% ต่ํากวา 80 หรือ คา DO% จะตองไมแกวงไป แกวงมาหรือข้ึนๆ ลง จะตองทําการ เปลี่ยน membrane DO ใหม แลวสังเกตอีกครั้ง

ข้ันตอนตอไปคือการ Calibrate เครื่องมือ ซึ่งจะอยูใน mode: calibration จําแนกตามชนิดของดัชนีคุณภาพน้ํา ในที่นี้จะเริ่มจากการ Calibrate คา DO กอน ดังรูป

เลือกปุม Calibrate แลวกด เลือกปุม DO แลวกดสังเกตเห็นวาปุม DO เขียนวา DO 2 mil PE (Blue) ซึ่ง membrane จะมี 3 สี (ดังรูป) คือ(1) สีดํา มีความหนาขนาด 1 มิลลิเมตร ทําจากเทฟลอน (DO 1 mil Teflon (Black))(2) สีเหลือง มีความหนาขนาด 1 มิลลิเมตร ทําจาก PE (DO 1 mil PE (Yellow))(3) สีน้ําเงิน มีความหนาขนาด 2 มิลลิเมตร ทําจาก PE (DO 2 mil Teflon (Blue))

หาก membrane cap ไมใชสีน้ําเงิน ใหเขาไปเปลี่ยนที่หนาจอตรง Sensor ดังรูป

Page 10: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 10

เลือกที่ Sensor แลวกด เลือกที่ DO ซึ่งในที่นี้จะข้ึน Blue แลวกด

เปลี่ยน membrane cap ตามสีที่มี แลวกด แลวกลับเขาไปเลือก Calibrate ใหม เลือก DO

เลือกปุม DO%แลวกด คาความดันบรรยากาศเทากับ 760 แลวกด

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 10

เลือกที่ Sensor แลวกด เลือกที่ DO ซึ่งในที่นี้จะข้ึน Blue แลวกด

เปลี่ยน membrane cap ตามสีที่มี แลวกด แลวกลับเขาไปเลือก Calibrate ใหม เลือก DO

เลือกปุม DO%แลวกด คาความดันบรรยากาศเทากับ 760 แลวกด

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 10

เลือกที่ Sensor แลวกด เลือกที่ DO ซึ่งในที่นี้จะข้ึน Blue แลวกด

เปลี่ยน membrane cap ตามสีที่มี แลวกด แลวกลับเขาไปเลือก Calibrate ใหม เลือก DO

เลือกปุม DO%แลวกด คาความดันบรรยากาศเทากับ 760 แลวกด

Page 11: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 11

รอจนกระทั่งคา DO% นิ่ง แลวกด คา DO% ไดเทากับ 100 หรือใกลเคียง แลวกดโดยที่หลังจากพบวาคา DO% เทากับ 100 หรือใกลเคียง แลวกด เพ่ือยืนยันการ Calibrate ไมเชนนั้นจะเทากับไมไดทําการ Calibrate

หลังจาก Calibrate EC แลวใหทําการ Calibrate คา pH ซึ่งจะมีสารละลาย 3 คา คือ pH 4pH 7 pH10 โดยเริ่มตนจากคา pH 7 ทุกครั้งหลังจากนั้นจะใช pH 10 หรือ pH 4 ก็ได ดังรูป

เติมสารลงในบิกเกอร ใสหัววัดลงในบิกเกอร

เลือก pH แลวกด เลือก 3 points แลวกด

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 11

รอจนกระทั่งคา DO% นิ่ง แลวกด คา DO% ไดเทากับ 100 หรือใกลเคียง แลวกดโดยที่หลังจากพบวาคา DO% เทากับ 100 หรือใกลเคียง แลวกด เพ่ือยืนยันการ Calibrate ไมเชนนั้นจะเทากับไมไดทําการ Calibrate

หลังจาก Calibrate EC แลวใหทําการ Calibrate คา pH ซึ่งจะมีสารละลาย 3 คา คือ pH 4pH 7 pH10 โดยเริ่มตนจากคา pH 7 ทุกครั้งหลังจากนั้นจะใช pH 10 หรือ pH 4 ก็ได ดังรูป

เติมสารลงในบิกเกอร ใสหัววัดลงในบิกเกอร

เลือก pH แลวกด เลือก 3 points แลวกด

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 11

รอจนกระทั่งคา DO% นิ่ง แลวกด คา DO% ไดเทากับ 100 หรือใกลเคียง แลวกดโดยที่หลังจากพบวาคา DO% เทากับ 100 หรือใกลเคียง แลวกด เพ่ือยืนยันการ Calibrate ไมเชนนั้นจะเทากับไมไดทําการ Calibrate

หลังจาก Calibrate EC แลวใหทําการ Calibrate คา pH ซึ่งจะมีสารละลาย 3 คา คือ pH 4pH 7 pH10 โดยเริ่มตนจากคา pH 7 ทุกครั้งหลังจากนั้นจะใช pH 10 หรือ pH 4 ก็ได ดังรูป

เติมสารลงในบิกเกอร ใสหัววัดลงในบิกเกอร

เลือก pH แลวกด เลือก 3 points แลวกด

Page 12: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 12

พิมพ คา pH 7.0 แลวกด รอจนคา pH นิ่ง แลวกด คาใกลเคียง 7 ผาน

ลางดวยน้ําเปลาใหสะอาด ฉีดลางในซอก

ซับใหแหง ใสน้ํายาชุดตอไปลงในบิกเกอรนิดหนอย

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 12

พิมพ คา pH 7.0 แลวกด รอจนคา pH นิ่ง แลวกด คาใกลเคียง 7 ผาน

ลางดวยน้ําเปลาใหสะอาด ฉีดลางในซอก

ซับใหแหง ใสน้ํายาชุดตอไปลงในบิกเกอรนิดหนอย

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 12

พิมพ คา pH 7.0 แลวกด รอจนคา pH นิ่ง แลวกด คาใกลเคียง 7 ผาน

ลางดวยน้ําเปลาใหสะอาด ฉีดลางในซอก

ซับใหแหง ใสน้ํายาชุดตอไปลงในบิกเกอรนิดหนอย

Page 13: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 13

กลอกน้ํายาไปมาเพ่ือใหมีน้ํายาทั่วทั้งบิกเกอรและหัววัด

น้ํายา pH 4.0 เปนชุดที่ 2 กด รอจนกระทั่งนิ่ง กด

ถาคาใกลเคียง 4.0 ถือวาผาน รอจนคา pH นิ่ง แลวกด เพ่ือ Calibrate คาตอไปทําความสะอาดเชนเดียวกับที่ผานมา

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 13

กลอกน้ํายาไปมาเพ่ือใหมีน้ํายาทั่วทั้งบิกเกอรและหัววัด

น้ํายา pH 4.0 เปนชุดที่ 2 กด รอจนกระทั่งนิ่ง กด

ถาคาใกลเคียง 4.0 ถือวาผาน รอจนคา pH นิ่ง แลวกด เพ่ือ Calibrate คาตอไปทําความสะอาดเชนเดียวกับที่ผานมา

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 13

กลอกน้ํายาไปมาเพ่ือใหมีน้ํายาทั่วทั้งบิกเกอรและหัววัด

น้ํายา pH 4.0 เปนชุดที่ 2 กด รอจนกระทั่งนิ่ง กด

ถาคาใกลเคียง 4.0 ถือวาผาน รอจนคา pH นิ่ง แลวกด เพ่ือ Calibrate คาตอไปทําความสะอาดเชนเดียวกับที่ผานมา

Page 14: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 14

เติมน้ํายา pH=10.0 น้ํายา pH 10.0 เปนชุดที่ 3 กด

รอจนกระทั่งคา นิ่ง กด ถาคาใกลเคียง 4.0 ถือวาผาน รอจนคา pH นิ่ง แลวกด

หมายเหตุ : ในกรณีที่ระหวางการทําการ Calibrate คา pH เกิด หนาจะ ดังรูป

ใหกลับไปตรวจสอบน้ํายา วา น้ํายาหมดอายุหรือไม หากน้ํายาอยูในสภาพปกติ แสดงวา ตัว censor ของหัวอาน pH ไมสามารถอานคา ในชวงนั้น ได และ ทุกครั้งที่เกิดเหตุการณนี้ ใหกด NO เพราะ ถากด Yes หมายถึงเรายอมรับคาที่มันคลาดเคลื่อน ซึ่งจะสงผลทําใหขอมูลที่วัดไดไมถูกตองคูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 14

เติมน้ํายา pH=10.0 น้ํายา pH 10.0 เปนชุดที่ 3 กด

รอจนกระทั่งคา นิ่ง กด ถาคาใกลเคียง 4.0 ถือวาผาน รอจนคา pH นิ่ง แลวกด

หมายเหตุ : ในกรณีที่ระหวางการทําการ Calibrate คา pH เกิด หนาจะ ดังรูป

ใหกลับไปตรวจสอบน้ํายา วา น้ํายาหมดอายุหรือไม หากน้ํายาอยูในสภาพปกติ แสดงวา ตัว censor ของหัวอาน pH ไมสามารถอานคา ในชวงนั้น ได และ ทุกครั้งที่เกิดเหตุการณนี้ ใหกด NO เพราะ ถากด Yes หมายถึงเรายอมรับคาที่มันคลาดเคลื่อน ซึ่งจะสงผลทําใหขอมูลที่วัดไดไมถูกตองคูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 14

เติมน้ํายา pH=10.0 น้ํายา pH 10.0 เปนชุดที่ 3 กด

รอจนกระทั่งคา นิ่ง กด ถาคาใกลเคียง 4.0 ถือวาผาน รอจนคา pH นิ่ง แลวกด

หมายเหตุ : ในกรณีที่ระหวางการทําการ Calibrate คา pH เกิด หนาจะ ดังรูป

ใหกลับไปตรวจสอบน้ํายา วา น้ํายาหมดอายุหรือไม หากน้ํายาอยูในสภาพปกติ แสดงวา ตัว censor ของหัวอาน pH ไมสามารถอานคา ในชวงนั้น ได และ ทุกครั้งที่เกิดเหตุการณนี้ ใหกด NO เพราะ ถากด Yes หมายถึงเรายอมรับคาที่มันคลาดเคลื่อน ซึ่งจะสงผลทําใหขอมูลที่วัดไดไมถูกตอง

Page 15: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 15

ตอจากนั้นทําการ calibrate คา Conductivity โดยใชสารละลายมาตรฐานที่ชื่อ ConductivityCalibrator 1,413S/cm โดยเติมสารละลายใหพอดีกับหัวอาน EC ดังรูป

เติมสารละลายใสบีกเกอรโดยที่สารละลายที่ใช Conductivity Calibrator 1,413 S/cm

กดปุม Conductivity แลวกด เลือก Specific Conductivity แลวกด

1,413S/cm=1.413mS/cm ถาคา Specific EC เทากับ 1.413mS/cm แสดงวาผานโดยที่หลังจากพบวาคา Specific EC เทากับ 1,413S/cm หรือใกลเคียง แลวกด เพ่ือยืนยันการ Calibrateไมเชนนั้นจะเทากับไมไดทําการ Calibrate

เทสารละลายทิ้งแลวทําการลางหัววัดดวยน้ําสะอาด แลวเช็ดใหสะอาดดวยกระดาษทิชชู

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 15

ตอจากนั้นทําการ calibrate คา Conductivity โดยใชสารละลายมาตรฐานที่ชื่อ ConductivityCalibrator 1,413S/cm โดยเติมสารละลายใหพอดีกับหัวอาน EC ดังรูป

เติมสารละลายใสบีกเกอรโดยที่สารละลายที่ใช Conductivity Calibrator 1,413 S/cm

กดปุม Conductivity แลวกด เลือก Specific Conductivity แลวกด

1,413S/cm=1.413mS/cm ถาคา Specific EC เทากับ 1.413mS/cm แสดงวาผานโดยที่หลังจากพบวาคา Specific EC เทากับ 1,413S/cm หรือใกลเคียง แลวกด เพ่ือยืนยันการ Calibrateไมเชนนั้นจะเทากับไมไดทําการ Calibrate

เทสารละลายทิ้งแลวทําการลางหัววัดดวยน้ําสะอาด แลวเช็ดใหสะอาดดวยกระดาษทิชชู

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 15

ตอจากนั้นทําการ calibrate คา Conductivity โดยใชสารละลายมาตรฐานที่ชื่อ ConductivityCalibrator 1,413S/cm โดยเติมสารละลายใหพอดีกับหัวอาน EC ดังรูป

เติมสารละลายใสบีกเกอรโดยที่สารละลายที่ใช Conductivity Calibrator 1,413 S/cm

กดปุม Conductivity แลวกด เลือก Specific Conductivity แลวกด

1,413S/cm=1.413mS/cm ถาคา Specific EC เทากับ 1.413mS/cm แสดงวาผานโดยที่หลังจากพบวาคา Specific EC เทากับ 1,413S/cm หรือใกลเคียง แลวกด เพ่ือยืนยันการ Calibrateไมเชนนั้นจะเทากับไมไดทําการ Calibrate

เทสารละลายทิ้งแลวทําการลางหัววัดดวยน้ําสะอาด แลวเช็ดใหสะอาดดวยกระดาษทิชชู

Page 16: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 16

เมื่อ calibrate แลวเสร็จใหใส ตัวปองกันหัวสําหรับทําการตรวจวัด และเตรียมเครื่องมือสําหรับออกทําการตรวจวัดตามจุดตรวจวัดตางๆ

การเก็บหัววัดการเก็บหัววัดมี 2 แบบคือ การเก็บหัววัดแบบระยะยาว (แบบแหง) และการเก็บหัววัดแบบระยะสั้น

(แบบเปยก) แตกอนที่จะทําการเก็บหัววัดนั้น จะตองทําความสะอาดหัววัดใหเรียบรอยกอน และซับใหแหง จึงคอยทําการเก็บหัววัด

การเก็บหัวแบบระยะสั้น (แบบเปยก)การเก็บแบบระยะสั้น เหมาะสําหรับคนที่ตองทําการตรวจวัดบอยครั้งในแตละเดือน ซึ่งหลังจากทําการ

ตรวจวัดแลว วิธีการคือ หัววัดทั้งหมดติดอยูกับตัวเครื่องวัด นําฟองน้ําจุมน้ํา แลวบิดพอหมาด ใสลงในบิกเกอรปดฝา เก็บไวกับกระเปาเครื่องมือ

การเก็บหัวแบบระยะยาว (แบบแหง)การเก็บแบบระยะยาว เหมาะสําหรับคนที่ทําการตรวจวัด มากกวาหรือเทากับ 1 เดือนตอครั้ง ดังนั้น

สําหรับแตละโครงการที่ทําการตรวจวัดเพียงเดือนละครั้ง แนะนําใหเก็บแบบระยะยาว โดยข้ันตอนในการเก็บแบบแหง หรือ แบบระยะยาวเปนดังนี้

(1) ถอดหัวอาน pH ออกเพ่ือเก็บแยกตางหาก ดังนี้

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 16

เมื่อ calibrate แลวเสร็จใหใส ตัวปองกันหัวสําหรับทําการตรวจวัด และเตรียมเครื่องมือสําหรับออกทําการตรวจวัดตามจุดตรวจวัดตางๆ

การเก็บหัววัดการเก็บหัววัดมี 2 แบบคือ การเก็บหัววัดแบบระยะยาว (แบบแหง) และการเก็บหัววัดแบบระยะสั้น

(แบบเปยก) แตกอนที่จะทําการเก็บหัววัดนั้น จะตองทําความสะอาดหัววัดใหเรียบรอยกอน และซับใหแหง จึงคอยทําการเก็บหัววัด

การเก็บหัวแบบระยะสั้น (แบบเปยก)การเก็บแบบระยะสั้น เหมาะสําหรับคนที่ตองทําการตรวจวัดบอยครั้งในแตละเดือน ซึ่งหลังจากทําการ

ตรวจวัดแลว วิธีการคือ หัววัดทั้งหมดติดอยูกับตัวเครื่องวัด นําฟองน้ําจุมน้ํา แลวบิดพอหมาด ใสลงในบิกเกอรปดฝา เก็บไวกับกระเปาเครื่องมือ

การเก็บหัวแบบระยะยาว (แบบแหง)การเก็บแบบระยะยาว เหมาะสําหรับคนที่ทําการตรวจวัด มากกวาหรือเทากับ 1 เดือนตอครั้ง ดังนั้น

สําหรับแตละโครงการที่ทําการตรวจวัดเพียงเดือนละครั้ง แนะนําใหเก็บแบบระยะยาว โดยข้ันตอนในการเก็บแบบแหง หรือ แบบระยะยาวเปนดังนี้

(1) ถอดหัวอาน pH ออกเพ่ือเก็บแยกตางหาก ดังนี้

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 16

เมื่อ calibrate แลวเสร็จใหใส ตัวปองกันหัวสําหรับทําการตรวจวัด และเตรียมเครื่องมือสําหรับออกทําการตรวจวัดตามจุดตรวจวัดตางๆ

การเก็บหัววัดการเก็บหัววัดมี 2 แบบคือ การเก็บหัววัดแบบระยะยาว (แบบแหง) และการเก็บหัววัดแบบระยะสั้น

(แบบเปยก) แตกอนที่จะทําการเก็บหัววัดนั้น จะตองทําความสะอาดหัววัดใหเรียบรอยกอน และซับใหแหง จึงคอยทําการเก็บหัววัด

การเก็บหัวแบบระยะสั้น (แบบเปยก)การเก็บแบบระยะสั้น เหมาะสําหรับคนที่ตองทําการตรวจวัดบอยครั้งในแตละเดือน ซึ่งหลังจากทําการ

ตรวจวัดแลว วิธีการคือ หัววัดทั้งหมดติดอยูกับตัวเครื่องวัด นําฟองน้ําจุมน้ํา แลวบิดพอหมาด ใสลงในบิกเกอรปดฝา เก็บไวกับกระเปาเครื่องมือ

การเก็บหัวแบบระยะยาว (แบบแหง)การเก็บแบบระยะยาว เหมาะสําหรับคนที่ทําการตรวจวัด มากกวาหรือเทากับ 1 เดือนตอครั้ง ดังนั้น

สําหรับแตละโครงการที่ทําการตรวจวัดเพียงเดือนละครั้ง แนะนําใหเก็บแบบระยะยาว โดยข้ันตอนในการเก็บแบบแหง หรือ แบบระยะยาวเปนดังนี้

(1) ถอดหัวอาน pH ออกเพ่ือเก็บแยกตางหาก ดังนี้

Page 17: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 17

(2) ถอด membrane ที่ใชงานแลว ออก จากหัวอาน DO ซับ หัวอาน DO ใหแหงดวยกระดาษ tissueนําหัว membrane ที่ยังไมไดใชมากครอบ หัวอาน DO ไว สวน membrane ที่มีน้ํายา ไมตองเททิ้ง เก็บไวในกลองแลวทําเครื่องหมายไว

เช็ดใหแหงดวยกระดาษ tissue ใสหัว membrane ที่ยังไมไดใช (แหง)

หัว membrane ที่ใชแลวเก็บไวแลวทําเครื่องหมายวาใชแลว(3) หัวอาน EC ยังคงเดิม หลังจากที่ทําความสะอาดแลวไมตองทําอะไร ทําความสะอาดบิกเกอรและเช็ด

ใหแหงดวยกระดาษ tissue ใสบิกเกอรครอบหัวอานไวเพ่ือปองกันฝุน แมลง หรือ อ่ืนๆ ทําความเสียหายกับ

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 17

(2) ถอด membrane ที่ใชงานแลว ออก จากหัวอาน DO ซับ หัวอาน DO ใหแหงดวยกระดาษ tissueนําหัว membrane ที่ยังไมไดใชมากครอบ หัวอาน DO ไว สวน membrane ที่มีน้ํายา ไมตองเททิ้ง เก็บไวในกลองแลวทําเครื่องหมายไว

เช็ดใหแหงดวยกระดาษ tissue ใสหัว membrane ที่ยังไมไดใช (แหง)

หัว membrane ที่ใชแลวเก็บไวแลวทําเครื่องหมายวาใชแลว(3) หัวอาน EC ยังคงเดิม หลังจากที่ทําความสะอาดแลวไมตองทําอะไร ทําความสะอาดบิกเกอรและเช็ด

ใหแหงดวยกระดาษ tissue ใสบิกเกอรครอบหัวอานไวเพ่ือปองกันฝุน แมลง หรือ อ่ืนๆ ทําความเสียหายกับ

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 17

(2) ถอด membrane ที่ใชงานแลว ออก จากหัวอาน DO ซับ หัวอาน DO ใหแหงดวยกระดาษ tissueนําหัว membrane ที่ยังไมไดใชมากครอบ หัวอาน DO ไว สวน membrane ที่มีน้ํายา ไมตองเททิ้ง เก็บไวในกลองแลวทําเครื่องหมายไว

เช็ดใหแหงดวยกระดาษ tissue ใสหัว membrane ที่ยังไมไดใช (แหง)

หัว membrane ที่ใชแลวเก็บไวแลวทําเครื่องหมายวาใชแลว(3) หัวอาน EC ยังคงเดิม หลังจากที่ทําความสะอาดแลวไมตองทําอะไร ทําความสะอาดบิกเกอรและเช็ด

ใหแหงดวยกระดาษ tissue ใสบิกเกอรครอบหัวอานไวเพ่ือปองกันฝุน แมลง หรือ อ่ืนๆ ทําความเสียหายกับ

Page 18: ขั้นตอนที่1 การสอบเทียบ ...hydrology.rid.go.th/sediment-wq/filepdf/manual/ysi556.pdfค ม อการใช ง านเคร องม

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 18

การเก็บหนาจอ

ในการเก็บจอ ควรถอดถานออกทุกครั้งหลังจากที่ทําการตรวจวัดแลว เพ่ือยืดอายุการใชงาน เสร็จเพ่ือปองกัน ความชื้นที่เกิดจากการไปตรวจวัด แลวสงผลใหถานชํารุด ดังนี้

ถอดสายออกจาก จอ display ใชไขควงไขนอตออก ตามลูกศร ไขออกนิดหนอยกอน

การไข นอต นําถานออกจากหนาจอเก็บไว

ตัวอยางหลังจากการตรวจวัดแลวมีความชื้นไมถอดถานออก จะทําใหถายละลายสงผลเสียหายตอจอ

1

23

4

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 18

การเก็บหนาจอ

ในการเก็บจอ ควรถอดถานออกทุกครั้งหลังจากที่ทําการตรวจวัดแลว เพ่ือยืดอายุการใชงาน เสร็จเพ่ือปองกัน ความชื้นที่เกิดจากการไปตรวจวัด แลวสงผลใหถานชํารุด ดังนี้

ถอดสายออกจาก จอ display ใชไขควงไขนอตออก ตามลูกศร ไขออกนิดหนอยกอน

การไข นอต นําถานออกจากหนาจอเก็บไว

ตัวอยางหลังจากการตรวจวัดแลวมีความชื้นไมถอดถานออก จะทําใหถายละลายสงผลเสียหายตอจอ

1

23

4

คูมือการใชงานเครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้ํา หนา 18

การเก็บหนาจอ

ในการเก็บจอ ควรถอดถานออกทุกครั้งหลังจากที่ทําการตรวจวัดแลว เพ่ือยืดอายุการใชงาน เสร็จเพ่ือปองกัน ความชื้นที่เกิดจากการไปตรวจวัด แลวสงผลใหถานชํารุด ดังนี้

ถอดสายออกจาก จอ display ใชไขควงไขนอตออก ตามลูกศร ไขออกนิดหนอยกอน

การไข นอต นําถานออกจากหนาจอเก็บไว

ตัวอยางหลังจากการตรวจวัดแลวมีความชื้นไมถอดถานออก จะทําใหถายละลายสงผลเสียหายตอจอ

1

23

4