69
Page 1 of 69 ขั้นตอนการดําเนินการเพื่อจัดทําบัญชีสารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการ เรียบเรียงโดย ..ขวัญยืน ศรีเปารยะ นักวิทยาศาสตรการแพทยชํานาญการพิเศษ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย หองปฏิบัติการในที่นี้หมายถึงหองปฏิบัติการทั้งหมดในสวนกลางของ กรมวิทยาศาสตรการแพทย ซึ่งมีทั้งดานชันสูตร ดานจุลชีววิทยาและดานเคมี อยางไรก็ตามสามารถ ประยุกตใชกับการสํารวจสารเคมีในโรงพยาบาล ได การสํารวจนี้ชวยใหทราบขอมูลชนิด ปริมาณ แหลงที่เก็บ สภาพการเก็บ เพื่อนํามาจําแนกชนิดความเสี่ยงเบื้องตน ทั้งตอสุขภาพบุคลากรผูสัมผัส สารทั้งในสภาวะการใชปกติในหองปฏิบัติการและสภาวะเกิดอุบัติภัยเชนการรั่วไหล ไฟไหม เปน ตน การดําเนินการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยเรื่อง การตรวจหาความเสียหายระดับดีเอ็นเอและ ระดับเซลลโดยวิธีโคเมทแอสเสย และไมโครนิวเคลียส จากเซลลลิมโฟไซต และตรวจวัดไมโครนิวเคลียส จากเยื่อ บุกระพุงแกม เพื่อประเมินความเสี่ยงตอสุขภาพจากการใชสารเคมีอันตรายของนักวิทยาศาสตรการแพทย และ เจาหนาทีที่เกี่ยวของในหองปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตรการแพทย ซึ่งตีพิมพในวารสารสมาคมพิษวิทยา แหงประเทศไทย ในการเก็บขอมูลดําเนินการดังนี(Download files ที่นี) ขั้นแรก ใชแบบสอบถามเพื่อคัดกรองหองปฏิบัติการที่มีการใชสารเคมี สารรังสี โดยสง แบบสอบถามใหหองปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตรการแพทยในสวนกลาง จํานวนทั้งสิ้น 32 แหง (32ชุด) เพื่อสงบัญชีรายชื่อสารเคมีทั้งหมดที่รวบรวมไดมาให รายละเอียดตัวอยางแบบสํารวจที่ลง ขอมูลตามตารางที1 ในขั้นนี้เปนการสํารวจโดยใหตัวแทนหองปฏิบัติการเปนผูลงขอมูลทําใหลง รายละเอียดสภาพการใชไดไมมาก จึงใชเปนขอมูลเบื้องตนเพื่อสํารวจตอไป ขั้นที่สอง ผูรับผิดชอบนําแบบสอบถามจากขั้นแรกมาวิเคราะหวามีการใชสารเคมีอันตรายที่เปน สารกอมะเร็ง/สารกอกลายพันธุและสารรังสีหรือไม โดยใชฐานขอมูลของ International Agency for Research on Cancer (IARC) จากเว็บโดยหา keyword “IARC Monographs- Classifications - Complete List of Agents” (web: http://monographs.iarc.fr/ENG/Classification/index.php ) และ ขอมูล Toxprofile ของNSTDA (หาจากWeb http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles ) และคน ฐานความรูเรื่องความปลอดภัยดานสารเคมีทีweb: www.chemtract.org เขาไปที่คลังขอมูลสารเคมี web http://sci.dss.go.th/ มาประกอบ (ฐานขอมูลนี้เปนภาษาไทย แตตองใสชื่อสารหรือ INS No ให ถูกตอง ) จากนั้นนําขอมูลทั้งหมดมาสรุปลงตารางดังตัวอยางในตารางที2 แลวเชื่อมขอมูลของ ตารางที1 กับ 2 เขาดวยกัน กอนแจงผลใหหองปฏิบัติการทราบเพื่อขอความรวมมือตอไปในการ สํารวจการใชสารและขอมูลบุคลากร เหตุผลที่ตองลงขอมูลผลกระทบเองเพราะสวนใหญ Lab จะ ไมมีเวลาลงให หรือตองหาขอมูลมาเพิ่มเพราะไมมีขอมูล MSDS ของสารหลายๆตัว

ขั้นตอนการด ําเนินการเพ ื่อจัดทําบัญชีสารเคม ีที่ใช ในห อง ...webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/applications/files/chemical_list.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • Page 1 of 69

    ขั้นตอนการดาํเนินการเพื่อจัดทําบัญชีสารเคมีท่ีใชในหองปฏิบตัิการ เรียบเรียงโดย น.ส.ขวัญยืน ศรีเปารยะ นักวิทยาศาสตรการแพทยชํานาญการพิเศษ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย

    ห อ ง ปฏิ บั ติ ก า ร ใ นที่ นี้ ห ม า ย ถึ ง ห อ ง ปฏิ บั ติ ก า ร ทั้ ง ห ม ด ในส ว น ก ล า ง ข อ งกรมวิทยาศาสตรการแพทย ซ่ึงมีทั้งดานชันสูตร ดานจุลชีววิทยาและดานเคมี อยางไรก็ตามสามารถประยุกตใชกับการสํารวจสารเคมีในโรงพยาบาลได การสํารวจนี้ชวยใหทราบขอมูลชนิด ปริมาณ แหลงที่เก็บ สภาพการเก็บ เพื่อนํามาจําแนกชนิดความเสี่ยงเบื้องตน ทั้งตอสุขภาพบุคลากรผูสัมผัสสารทั้งในสภาวะการใชปกติในหองปฏิบัติการและสภาวะเกิดอุบัติภัยเชนการรั่วไหล ไฟไหม เปนตน การดําเนินการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการวิจัยเร่ือง การตรวจหาความเสียหายระดับดีเอ็นเอและระดับเซลลโดยวิธีโคเมทแอสเสย และไมโครนิวเคลียส จากเซลลลิมโฟไซต และตรวจวัดไมโครนิวเคลียส จากเยื่อบุกระพุงแกม เพื่อประเมินความเสี่ยงตอสุขภาพจากการใชสารเคมีอันตรายของนักวิทยาศาสตรการแพทย และ

    เจาหนาที่ ท่ีเก่ียวของในหองปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตรการแพทย ซ่ึงตีพิมพในวารสารสมาคมพิษวิทยาแหงประเทศไทย ในการเก็บขอมูลดําเนินการดังนี้ (Download files ที่นี่) ขั้นแรก ใชแบบสอบถามเพื่อคัดกรองหองปฏิบัติการที่มีการใชสารเคมี สารรังสี โดยสงแบบสอบถามใหหองปฏิบัติการของกรมวิทยาศาสตรการแพทยในสวนกลาง จํานวนทั้งสิ้น 32 แหง (32ชุด) เพื่อสงบัญชีรายช่ือสารเคมีทั้งหมดที่รวบรวมไดมาให รายละเอียดตัวอยางแบบสํารวจที่ลงขอมูลตามตารางที่ 1 ในขั้นนี้เปนการสํารวจโดยใหตัวแทนหองปฏิบัติการเปนผูลงขอมูลทําใหลงรายละเอียดสภาพการใชไดไมมาก จึงใชเปนขอมูลเบื้องตนเพื่อสํารวจตอไป ขั้นท่ีสอง ผูรับผิดชอบนําแบบสอบถามจากขั้นแรกมาวิเคราะหวามีการใชสารเคมีอันตรายที่เปนสารกอมะเร็ง/สารกอกลายพันธุและสารรังสีหรือไม โดยใชฐานขอมูลของ International Agency for Research on Cancer (IARC) จากเว็บโดยหา keyword “IARC Monographs- Classifications - Complete List of Agents” (web: http://monographs.iarc.fr/ENG/Classification/index.php ) และขอมูล Toxprofile ของNSTDA (หาจากWeb http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles ) และคนฐานความรูเร่ืองความปลอดภัยดานสารเคมีที่ web: www.chemtract.org เขาไปที่คลังขอมูลสารเคมี web http://sci.dss.go.th/ มาประกอบ (ฐานขอมูลนี้เปนภาษาไทย แตตองใสช่ือสารหรือ INS No ใหถูกตอง) จากนั้นนําขอมูลทั้งหมดมาสรุปลงตารางดังตัวอยางในตารางที่ 2 แลวเชื่อมขอมูลของตารางที่ 1 กับ 2 เขาดวยกัน กอนแจงผลใหหองปฏิบัติการทราบเพื่อขอความรวมมือตอไปในการสํารวจการใชสารและขอมูลบุคลากร เหตุผลที่ตองลงขอมูลผลกระทบเองเพราะสวนใหญ Lab จะไมมีเวลาลงให หรือตองหาขอมูลมาเพิ่มเพราะไมมีขอมูล MSDS ของสารหลายๆตัว

  • Page 2 of 69

    ตารางที่ 1 ตัวอยางการรวบรวมขอมูลจากหองปฏิบัติการตางๆ

    ฝาย สารที่ใช กลุมของสาร/อาการ/ผลกระทบ Acetic acid glacial 100% D Chloroform 2B Termidor (Fipronil) Temephos D Chlorpyriphos D Permethrin 3 Methomyl D Bendiocarb Fenitrothion Chlordane 2B

    ฝายสนับสนุนหองปฏิบัติการ

    Hexaflumeron Chloroform 2B Ethanol 99.7-100%v/v D Ethidium Bromine stain Methanol Sulphuric acid 1 Trypen blue stain 2B

    ฝายปฏิบัติการเชื้ออันตรายและภูมิคมกัน

    วิทยา

    UV light 2A Ethanol 99.7-100%v/v D Ethidium Bromine stain Hydrogen peroxide 3 Liquid parafin UV light 2A

    ฝายแบคทีเรียลําไส

    Gram stain Ethanol 99.7-100%v/v D งานถุงมือ/ถุงยาง

    อนามัย n-Propyl alcohol Acetic acid glacial 100% D Acetone D Ethanol 99.7-100%v/v D Hydrochloric acid 37% 3 Methanol Sulphuric acid 1 Nitric acid

    ฝายตรวจสอบทางเคมี

    Acetic acid

  • Page 3 of 69

    ฝาย สารที่ใช กลุมของสาร/อาการ/ผลกระทบ Acetyl acetone

    ฝายตรวจสอบทางเคมี Formalin 2A 95% alcohol D Copper (П) sulfate anhydrus ฝายไวรัสกอมะเร็ง 5.25% Sodium hypochlorile Ethanol 99.7-100%v/v D Sulphuric acid 1

    ฝายประกันคุณภาพการตรวจการติดเชื้อ HIV UV light 2A

    Acetic acid glacial 100% D

    Acetone D

    Acetonitrile D

    Dichloromethane 2B Ethanol 99.7-100%v/v D n-Hexane Hydrochloric acid 37% 3

    Methanol Perchloric acid 69-72% ortho-Phosphoric acid 85% Sulphuric acid Boric acid Sodium hydroxide

    กลุมชีววัตถุเพื่อการรักษา

    Phenol 3 Acetic acid glacial 100% D Ethanol 99.7-100%v/v D Hydrochloric acid 37% 3

    Methanol Perchloric acid 69-72% ortho-Phosphoric acid 85% Perchloric acid 70% Sulphuric acid 1

    Xylene 3

    Sodium hydroxide

    กลุมสนับสนุน กองชีววัตถุ

    Phenol 3

  • Page 4 of 69

    ฝาย สารที่ใช กลุมของสาร/อาการ/ผลกระทบ

    Chloroform 2B Ethidium Bromine stain iso-Propyl alcohol 3 UV light 2A Di ethylpyro carbonate

    ฝายไวรัสตับอักเสบ

    TRIZOL Acetone D iso-Propyl alcohol 3 Pyrethroid group

    ฝายศึกษาควบคุมแมลงโดยใชสารเคมี

    Organophosphorous group Acetic acid glacial 100% D

    Acetone D

    Acetonitrile D

    Dimethylformamide 3

    Ethylene glycol D

    Hydrochloric acid 37% 3

    Methanol

    iso-Propyl alcohol 3

    Sulphuric acid 1

    Trypen blue stain 2B

    UV light 2A

    ฝายปฏิบัติการดานกัมมันตภาพรังสี

    Iodine 125 labeled cpe.

    Acetic acid glacial 100% D Chloroform 2B

    Dimethylformamide 3

    Ethanol 99.7-100%v/v D

    Ethylene glycol D

    Ethidium Bromine stain Hydrogen peroxide 3

    Hydrochloric acid 37% 3

    Methanol Sulphuric acid 1

    UV light 2A

    ฝายแบคทีเรียทั่วไป

    Polyacrylamide

  • Page 5 of 69

    ฝาย สารที่ใช กลุมของสาร/อาการ/ผลกระทบ ฝายแบคทีเรียทั่วไป Guanidine thiocyanate ฝายอาโบไวรัส Acetic acid glacial 100% D

    Acetone D

    Ammonium Nitrate Ethanol 99.7-100%v/v D

    Ethidium Bromine stain Hydrogen peroxide 3

    Hydrochloric acid 37% 3

    iso-Propyl alcohol 3

    Polyethyleneglycol 200 D

    Sulphuric acid 1

    UV light 2A

    O-Phenylenediamine (OPD)

    Glycerol Hypochloride 3 Seven X

    * = Groups of agents were evaluated in IARC Monographs Group 1: Carcinogenic to humans Group 2A: Probably carcinogenic to humans Group 2B: Possibly carcinogenic to humans Group 3: Not classifiable as to carcinogenicity to humans Group 4: Probable not carcinogenic to humans Group D: Not classifiable as to human carcinogenicity จากปริมาณขอมูลที่ได พบวาขอมูลในการสํารวจขั้นนี้ มนีอยกวาความเปนจริงเพราะผูใชสารแตละ คนจะเปนผูใหขอมูลไดมากที่สุด

  • Page 6 of 69

    ตารางที่ 2 การจําแนกกลุมสารเคมีที่มีใชในหองปฏิบัติการตาม IARC และขอมูลผลกระทบตอสุขภาพจากการไดรับสัมผัสสารในชองทางตางๆ

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    Acetic acid glacial 100% D

    Acetone D

    Acetonitrile D

    Aldrin 3

    Benzene 1

    Cyclohexane 3

    Carbontratachloride 2B

    Dioxan reinst 2B

    Ethanol 99.7-100%v/v D

    n-Heptane D

    Hydrogen peroxide 3

    Methylene Chloride 2B

    iso-Propyl alcohol 3

    Petroleum spirit D

    Pyridine 3

    Sulphuric acid 1

    Toluene 3

    Xylene 3

  • Page 7 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: ไอระเหย ของเหลวของสารนี้ จะทําใหเกิดการสูญเสียชั้นไขมันของผิวหนัง ทําใหผิวหนังแหง แตก และเกิดผื่นแดง

    - การสัมผัสทางตา: ระคายเคือง และทําใหเยื่อเมือกตาอักเสบ เกิดตาแดง สายตาพรามัว

    - การสูดดม: : เนื้อเยื่อทางเดินหายใจถูกทําลายอยางรุนแรงมาก เปนอันตรายเมื่อสูดดม กดระบบประสาทสวนกลาง ทําใหปวดศีรษะ เวียนศีรษะ งวงนอน ถาสัมผัสปริมาณมากจะทําใหอาการโคมาและตายได เนื่องจากระบบหายใจลมเหลว

    - การกลืนกิน: ระคายเคือง เยื่อเมือกของปากและลําคอ ทําใหเกิดอาการไอ ทองรวง ปวดทอง ปวดศีรษะ และงวงซึม

    Methanol

    ความผิดปกติอื่น ๆ: - ถาสัมผัสสารนี้ปริมาณมาก อาจทําใหอาการโคมาและตายได มีผลกระทบตอการมองเห็น โดยปกติอาการจะรุนแรงขึ้นหลังจาการสัมผัส 12-18 ชั่วโมง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: การสัมผัสทางผิวหนังทําใหเกิดการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัส และเกิดการทําลายชั้นไขมันของผิวหนังอยางรุนแรง

    - การสัมผัสทางตา: การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกิดการระคายเคือง

    - การสูดดม: จะเปนอันตรายถาหายใจเขาไป ไอระเหยที่ความเขมขนสูง ๆ จะทําใหปวดศีรษะ มึนงง หมดสติ

    - การกลืนกิน: การกลืนกินเขาไปจะทําใหคลื่นไส อาเจียน ปวดศีรษะ งวงนอน หมดสติ

    - การกอมะเร็ง: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารไมกอใหเกิดมะเร็งโดย NTP, IARC, OSHA

    Ethyl acetate

    - ความผิดปกติอื่นๆ : สารนี้มีผลทําลายดวงตา ผิวหนัง และระบบหายใจ

  • Page 8 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม.

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การสูดดม: ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจ สวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก อาจเปนอันตรายหากสูดดม

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ตับ

    n-Hexane

    - การไดรับแบบเรื้อรัง - กอวิรูป

    - เมื่อสูดดมไอระเหย: ระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ งวงซึม

    - เมื่อรางกายดูดซึม: เมื่อไดรับสารปริมาณมาก ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น คือ โรคปอดอักเสบ , โรคปอดบวม

    - เมื่อสัมผัสผิวหนัง: ผิวหนังสูญเสียไขมัน อาจเกิดการอักเสบตามมา

    - เมื่อเขาตา: ระคายเคืองเล็กนอย

    - เมื่อกลืนกิน: คลื่นไส , อาเจียน , กระสับกระสาย , ชัก เมื่อรางกายดูดซึม

    Iso octane

    - ขอมูลเพิ่มเติม: เมื่อดูดซึมในปริมาณมาก: มึนเมา (inebriation) , งวงซึม

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    ortho-phosphoric acid

    - อวัยวะเปาหมาย: ตับ. เลือด. ไขกระดูก.

    UV light 2A

  • Page 9 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: ไอระเหยของเหลวจะทําใหเกิดการสูญเสียชั้นไขมันของผิวหนัง ทําใหผิวหนังแหง แตก และเกิดผื่นแดง

    - การสัมผัสทางตา: ระคายเคือง และทําใหเยื่อเมือกตาอักเสบ เกิดตาแดง สายตาพรามัว

    - การสูดดม: : เนื้อเยื่อทางเดินหายใจถูกทําลายอยางรุนแรงมาก เปนอันตรายเมื่อสูดดม กดระบบประสาทสวนกลาง ทําใหปวดศีรษะ เวียนศีรษะ งวงนอน ถาสัมผัสปริมาณมากจะทําใหอาการโคมาและตายได เนื่องจากระบบหายใจลมเหลว

    - การกลืนกิน: ระคายเคือง เยื่อเมือกของปากและลําคอ ทําใหเกิดอาการไอ ทองรวง ปวดทอง ปวดศีรษะ และงวงซึม

    Methanol

    - ความผิดปกติอื่น ๆ: - ถาสัมผัสสารนี้ปริมาณมาก อาจทําใหอาการโคมาและตายได มีผลกระทบตอการมองเห็น โดยปกติอาการจะรุนแรงขึ้นหลังจาการสัมผัส 12-18 ชั่วโมง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม.

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การสูดดม: ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก อาจเปนอันตรายหากสูดดม

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ตับ

    n-Hexane

    - การไดรับแบบเรื้อรัง - กอวิรูป

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    Perchloric acid 69-72%

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

  • Page 10 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    Phenol 3

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    ortho-phosphoric acid 85%

    - อวัยวะเปาหมาย: ตับ. เลือด. ไขกระดูก.

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบน

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

    - อวัยวะเปาหมาย: อัณฑะ

    Boric acid

    - การไดรับแบบเรื้อรัง - กอวิรูป

    Trypen blue stain 2B

    MTT 3

    Ethidium bromide 2B

  • Page 11 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคือง

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง

    - การสูดดม: การหายใจเอาไอระเหย เขาไปทําใหเกิด อาการคลื่นเหียน อาเจียน ปวดศรีษะ

    - การกลืนกิน: รับประทานจะทําให อาเจียน , ปวดศีรษะ และขาดมีสติ

    - ผลกระทบเรื้อรัง: จะทําลายตับและไต - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ตา ผิวหนัง

    Dimethyl sulfoxide (DMSO)

    - ผล: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารที่ไมกอมะเร็งตามการแบงของ NTP,IARC,OSHA,OSHA REG

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: แสบรอน

    - การสัมผัสทางตา: แสบรอน อาจกอใหเกิดตอในตา

    - การสูดดม: ระคายเคืองตอเยื่อเมือก Mercaptoethanol

    - ผลตอระบบในรางกาย: ระบบประสาทสวนกลางผิดปกติ ( คลื่นไส , อาเจียน ) เมื่อไดรับสารปริมาณมาก ชัก งวงซึม หมดแรง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - การสูดดม: : เปนพิษเมื่อสูดดม ไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบน

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - สภาวะที่รายแรงขึ้นจากการไดรับสาร: Alkalosis, ภาวะผิดปกติของเลือดและเนื้อเยื่อที่มีสภาพดางเพิ่มขึ้น

    Sodium hydrogencarbonate

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง : กอการกลายพันธุ

  • Page 12 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคือง อักเสบ เมื่อสารสัมผัสกับบริเวณที่ไวตอการสัมผัส

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง ปวด ทําใหเนื้อเยื่อตาอักเสบ

    - การสูดดม: ทําใหระคายเคืองเล็กนอย ไอ จาม หายใจติดขัด

    - การกลืนกิน: รับประทานจะทําให คลื่นเหียน อาเจียน ปวดในชองทอง ทองเสีย

    HEPES

    - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ระบบทางเดินหายใจ ตา ผิวหนัง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง.

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง.

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก. เปนพิษมากเมื่อหายใจเขาไป

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

    Nitric acid

    - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ปอด ฟน ระบบ GI. ระบบหัวใจรวมหลอดเลือด.

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม.

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

    - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ฟน ไต

    - สภาวะที่รายแรงขึ้นจากการไดรับสาร: อาจเกิดอาการตับออนอักเสบเฉียบพลันและ รุนแรง หลังการกลืนกินกรดอะซิติกเขมขน

    Acetic acid

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง - กอการกลายพันธุ

  • Page 13 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม.

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดความระคายเคืองตอดวงตา.

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบน อาจเปนอันตรายหากสูดดม

    - การกลืนกิน: เปนพิษเมื่อกลืนกิน

    - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ตอมไทมัส ประสาท

    - สภาวะที่รายแรงขึ้นจากการไดรับสาร: อาจรบกวนระบบประสาท

    Acetyl acetone

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง - กอการกลายพันธุ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจ สวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    Perchloric acid 69-72%

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    ortho-phosphoric acid 85%

    - อวัยวะเปาหมาย: ตับ. เลือด. ไขกระดูก.

  • Page 14 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง Perchloric acid 70%

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: กอใหเกิดการระคายเคืองรุนแรง เปนแผลไหม และเกิดเปนแผล พุพองได

    - การสัมผัสทางตา: การสัมผัสถูกตา จะมีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเกิดการระคายเคือง รุนแรง เปนแผลแสบไหม อาจทําใหมองไมเห็นถึงขั้นตาบอดได

    - การสูดดม: การหายใจเขาไปจะกอใหเกิดการระคายเคือง และทําใหเกิดการทําลายตอทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดอาการจาม ปวดคอ หรือน้ํามูกไหล ปอดอักเสบอยางรุนแรง หายใจติดขัด หายใจถี่รั่ว

    - การกลืนกิน: การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหแสบไหมบริเวณปาก คอ กระเพาะอาหาร ทําใหเปนแผลเปน เลือดออกในกระเพาะอาหาร อาเจียน ทองรวง ความดันเลือดลดต่ําลง อาจทําใหเสียชีวิต

    Sodium hydroxide

    - การสัมผัสสารติดตอกันเปนเวลานาน จะทําใหเกิดการทําลายเนื้อเยื่อแตยังไมพบขอมูลสนับสนุนดานการเกิดมะเร็ง

    Cs-137 - เมื่อสัมผัสในปริมาณสูงจะทําใหมีอาการคลื่นเหียน อาเจียน ทองเสีย เสนเลือดฝอยแตกและทําใหเกิดอาการโคมา และอาจทําใหเสียชีวิตไดในกรณีที่ไดรับในปริมาณที่สูงมาก

    - จากขอมูลในสัตวทดลองเมื่อไดรับสัมผัส Radioactive strontium แบบเรื้อรังพบวา สารไปรบกวนกระบวนการสรางเม็ดเลือด การทํางานของเม็ดเลือดขาวและเพิ่มอุบัติการเกิดมะเร็งที่เกี่ยวของกับระบบกระดูก

    Sr-90 - ขอมูลจากรายงานการติดตามสุขภาพของกลุมที่อาศัยอยูบนบริเวณที่มีสาร Radioactive strontium ปนเปอนสูง พบวากลุมคนบริเวณดังกลาว มีอุบัติการผูปวยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวสูงขึ้น (Techa River cohort)

    n-Propyl alcohol A3**

  • Page 15 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    Chloroform 2B

    Ethylene glycol D

    Methylene Chloride 2B

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การสูดดม: : สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูก ทําลายอยางรุนแรงมาก เปนอันตรายเมื่อสูดดม

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    Diethyl ether

    - อวัยวะเปาหมาย: ไต

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม.

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก อาจเปนอันตรายหากสูดดม

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - ขอมูลของอวัยวะเปาหมาย: ตับ

    n-Hexane

    - การไดรับแบบเรื้อรัง - กอวิรูป

  • Page 16 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การสูดดม: สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    ortho-phosphoric acid 85%

    - อวัยวะเปาหมาย: ตับ. เลือด. ไขกระดูก.

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: ดูดซึมผานผิวหนังทันที เปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึม ผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา

    - การสูดดม: อาจเปนอันตรายหากสูดดมอาจจะทําใหเกิดการระคายเคืองที่แผนเยื่อเมือก และบริเวณทางเดินหายใจสวนบน

    Di sodium hydrogen phosphate

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตาอยางรุนแรง

    - การสูดดม: : เปนพิษเมื่อสูดดม. ไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบน

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    Ammonium chloride

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง: กอการกลายพันธุ

  • Page 17 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - การสูดดม: : เปนพิษเมื่อสูดดม ไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบน

    Sodium dihydrogen phosphate

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - การรับประทาน: ทําใหระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคือง

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง

    - การสูดดม: ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง

    Sodium lauryl sulfate

    - การกอมะเร็ง: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารที่ไมกอมะเร็งตามการแบงของ NTP,IARC,Z LIST, OSHA REG.

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: การสัมผัสถูกผิวหนังทําใหระคายเคือง การสัมผัสเปนเวลานานจะทําใหปวดแสบปวดรอนและแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: ดูดซึมผานผิวหนังทันที เปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึม ผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา

    - การสูดดม: การหายใจเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองจมูกและ คอ, ปอด

    - การกลืนกิน: การกลืนกินเขาไปทําใหระคายเคืองกระเพาะอาหารและลําไส ทําให คลื่นไสและอาเจียน

    - การกอมะเร็ง: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารไมกอใหเกิดมะเร็งโดย NTP, IARC, OSHA

    Sodium chloride

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง: การสัมผัสกับสารเปนระยะเวลานานหรือการสัมผัสสารซ้ํา จะทําใหเกิดแผลพุพอง

  • Page 18 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การรับประทาน: ทําใหระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคือง

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง

    - การสูดดม: ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง

    Heptanesulfonic acid sodium salt

    - อวัยวะเปาหมาย: ดวงตา , ผิวหนัง

    - การรับประทาน: ฟอสเฟตจะคอยๆ ดูดซึมเมื่อกลืนกิน ทําใหอาการงวงซึม คลื่นเหียนอาเจียนทองเสีย ผลของสารเคมีมีผลตอหัวใจ ระบบประสาทสวนกลาง อาการ เฉียบพลันไมคอยพบเนื่องจากถากินเขาไปจะอาเจียนออกมากอนที่จะไปมีผลทําลายไต อาการเปนพิษของแคลเซียมจะไปมีผลตอหัวใจ เปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจ เจ็บแปลบที่มือและเทา

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ไมเปนพิษเมื่อสัมผัส

    - ดวงตา: ไมเปนพิษแตเปนสาเหตุของกลไกการทําใหระคายเคือง

    Potassium hydrogenphosphate

    - การสูดดม: ไมเปนพิษเมื่อสูดดม ทําใหสะสมแคลเซียมฟอสเฟตในไต

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคือง

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคืองเล็กนอย

    - การสูดดม: ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง

    - การรับประทาน: ทําใหระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร มีอาการคลื่นเหียน อาเจียนและทองเสีย

    Ammonium hydrogenphosphate

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง: ทาํใหเปนสาเหตุขอผิวหนังอักเสบ

    - การรับประทาน: ทําใหระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร คลื่นเหียน อาเจียน ทองเสีย

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคืองผิวหนัง แดง เจ็บ

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคืองผิวหนัง แดง เจ็บ

    Butanesulfonic acid sodium salt

    - การสูดดม: ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง ไอ หายใจติดขัด

  • Page 19 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสูดดม: ไมพบความเปนพิษแตความเปนพิษพื้นฐานเกิดจากสารประกอบซึ่งทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง

    - การรับประทาน: ไมพบความเปนพิษแตสารประกอบอาจทําใหเปนพิษได

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคืองเมื่อสารดูดซึมเขาสูรางกาย

    Octanesulfonic acid sodium salt

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง

    - การสูดดม: ไมพบความเปนพิษแตความเปนพิษพื้นฐานเกิดจากสารประกอบซึ่งทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง

    - การรับประทาน: ไมพบความเปนพิษแตสารประกอบอาจทําใหเปนพิษได

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคืองเมื่อสารดูดซึมเขาสูรางกาย

    Pentanesulfonic acid sodium salt

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - การสูดดม: เปนพิษเมื่อสูดดม ไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่ เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบน

    Ammonium acetate

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    Trypen blue stain 2B

    Formalin 2A

    Acrylamide / Bisacrylamide 2A

  • Page 20 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การรับประทาน: ทําใหระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคือง

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง

    - การสูดดม: ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง

    - อวัยวะเปาหมาย: ดวงตา , ผิวหนัง

    Crystal violet

    - ผล: สารนี้ถูกรายงานวาเปน หรือมีสวนประกอบเปนสารที่ไมกอมะเร็งตามการแบงของ NTP,IARC,Z LIST, OSHA REG

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - การสูดดม: : เปนพิษเมื่อสูดดม ไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบน

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - อวัยวะเปาหมาย: เลือด ระบบประสาทสวนกลาง ระบบหัวใจรวมหลอดเลือด ตอมไทรอยด

    Potassium cyanide

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง: กอการกลายพันธุ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การสูดดม: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - การกลืนกิน: ทําใหระคายเคือง เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน Potassium fericyanide

    - ขอมูลความเปนพิษอื่นๆ : จะเปนอันตรายสูงเมื่อละลายน้ํา

  • Page 21 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: เมื่อสมัผัสเปนระยะเวลานานจะทําใหระคายเคืองผิวหนัง บางครั้งทําใหผิวหนังอักเสบและไวตอสาร

    - การสัมผัสทางตา: หมอกและละอองของสารทําใหตาระคายเคืองและเจ็บ

    - การสูดดม: : สารนี้ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง รวมไปถึงอาการไอ หายใจติดขัด ละอองของสารทําใหเปนปอดบวมได

    - การกลืนกิน: ทําใหทองเสียอยางรุนแรง คลื่นเหียน อาเจียน ชองทองเปนตะคริว ละอองที่เขาไปในปอดทําใหเปนสาเหตุของโรคปอดบวมจากสารเคมี

    Liquid paraffin

    - ผล: สารนี้ไมกอมะเร็งตามการจําแนกของ NTP and IARC

    N-butyl alcohol D

    Cyclohexane 3

    Petroleum spirit D

    Ethyl alcohol 95% D

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การสูดดม: : สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก เปนอันตรายเมื่อสูดดม

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    Diethyl ether

    - อวัยวะเปาหมาย: ไต

  • Page 22 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: การสัมผัสทางผิวหนังทําใหเกิดการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัส และเกิดการทําลายชั้นไขมันของผิวหนังอยางรุนแรง

    - การสัมผัสทางตา: การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกิดการระคายเคือง

    - การสูดดม: จะเปนอันตรายถาหายใจเขาไป ไอระเหยที่ความเขมขนสูง ๆ จะทําใหปวดศีรษะ มึนงง หมดสติ

    - การกลืนกิน: การกลืนกินเขาไปจะทําใหคลื่นไส อาเจียน ปวดศีรษะ งวงนอน หมดสติ

    - การกอมะเร็ง: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารไมกอใหเกิดมะเร็งโดย NTP, IARC, OSHA

    Ethyl acetate

    - ความผิดปกติอื่นๆ : สารนี้มีผลทําลายดวงตา ผิวหนัง และระบบหายใจ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนังหรือแลวแตบุคคลที่ไวตอสารนี้

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตาเล็กนอยและทําใหตาแดง

    - การสูดดม: : ไมพบขอมูลที่คาดวาจะเปนอันตราย Tween 80 (Polysorbate 80)

    - การกลืนกิน: ถาไดรับในปริมาณมากจะทําใหกลามเนื้อชองทองหด,กระตุก ทองเสีย

    Diethylamine D

    Acetaldehyde 2B

    Cobalt thiocyanate A3**

    Selenious acid D

    Fast blue B salt 2B

    Formaldehyde 2A

  • Page 23 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหมอยางรุนแรง

    - การสูดดม: : สารนี้ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก เปนอันตรายเมื่อสูดดม

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    Diethyl ether

    - อวัยวะเปาหมาย: ไต

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: การสัมผัสทางผิวหนังทําใหเกิดการอักเสบของผิวหนังบริเวณ ที่สัมผัส และเกิดการทําลายชั้นไขมันของผิวหนังอยางรุนแรง

    - การสัมผัสทางตา: การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกิดการระคายเคือง

    - การสูดดม: จะเปนอันตรายถาหายใจเขาไป ไอระเหยที่ความเขมขนสูง ๆ จะทําใหปวดศีรษะ มึนงง หมดสติ

    - การกลืนกิน: การกลืนกินเขาไปจะทําใหคลื่นไส อาเจียน ปวดศีรษะ งวงนอน หมดสติ

    - การกอมะเร็ง: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารไมกอใหเกิดมะเร็งโดย NTP, IARC, OSHA

    Ethyl acetate

    - ความผิดปกติอื่นๆ : สารนี้มีผลทําลายดวงตา ผิวหนัง และระบบหายใจ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา

    - การสูดดม: สารนี้อาจจะทําใหเกิดการระคายเคืองที่แผน เยื่อเมือก และบริเวณทางเดินหายใจสวนบน

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

    - ไดรับสารหลายวิถีทาง: อาจเปนอันตรายถาสูดดม, กลืนกิน, หรือโดยการดูดซึมผานผ ิวหนัง

    Sodium molybdate

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง: อันตรายตอระบบสืบพันธุ

  • Page 24 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การรับประทาน: ทําใหระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหาร

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหระคายเคือง

    - ดวงตา: ทําใหระคายเคือง Ninhydrin

    - อวัยวะเปาหมาย: ดวงตา , ผิวหนัง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง บวมแดง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: เปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.เหมือนกับการกลืนกิน

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดความระคายเคือง บวม แดง.

    - การสูดดม: ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง เปนพิษเหมือนกับการกลืนกิน Sodium nitroprusside

    - การกลืนกิน: ปวดหัว คลื่นเหียน อาเจียน ระบบไหลเวียนเลือดผิดปกติ ถาไดรับในปริมาณ มากอาจทําใหหมดสติได และทําใหเสียชีวิตไดเนื่องจากระบบทางเดินหายใจไมทํางาน ออกฤทธิ์ตามความเปนพิษของ Cyanide และ Nitrite

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - การสูดดม: : เปนพิษเมื่อสูดดมไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบน

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน

    - อวัยวะเปาหมาย: ตอมไทรอยด

    - การทําใหแพ: การไดรับสารเปนเวลานานหรือซ้ําหลายครั้งอาจกอใหผูที่แพงายเกิดอาการแพได

    Potassium Iodide

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง – กอการกลายพันธุ

  • Page 25 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง.

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดแผลไหม Hydrogen hexachloroplatinate

    - การสูดดม: ทําใหเนื้อเยื่อของเยื่อเมือกและบริเวณทางเดินหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก อาจเปนอันตรายหากสูดดม

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายเมื่อกลืนกิน Hydrogen hexachloroplatinate

    - การทําใหแพ: อาจทําใหเกิดการแพในระบบทางเดินหายใจและมีปฏิกิริยากับผิวหนัง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดระคายเคือง เจ็บ แดงและคัน

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดระคายเคืองตอตา เจ็บ ตาแดง

    - การสูดดม: ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง ทําใหปอดมีปญหาและถาดูดซึมเขาเขาสูรางกายจะมีอาการเหมือนการกิน Molybdic acid

    - การกลืนกิน: ทําใหระบบยอยอาหารระคายเคือง เจ็บคอ เจ็บทอง คลื่นไส ปวดหัว ทําใหเปนโรคโลหิตจาง เกา น้ําหนักลด ปวดที่ขอตอ ตับและไตถูกทําลาย

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง โดยเฉพาะที่ใบหนาทําใหมีอาการปวดแสบปวดรอน ผิวไหม และเมื่อไดรับตั้งแต 24 ชั่วโมงขึ้นไปทําใหปวด ผิวแหงและแตก

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดการระคายเคืองที่ตา

    - การสูดดม: : ทําใหระคายเคืองที่เยื่อเมือก เวียนศรีษะ ปวดหัว มีอาการครึ่งหลับครึ่งครึ่งตื่น และถาไดรับตั้งแต 24ชั่วโมงขึ้นไปทําใหมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง

    - การกลืนกิน: เมื่อกินเขาไปทําใหมีอาการชา ไหมที่ปากและคอ ปวดหัว เวียนศรีษะ ครึ่งหลับครึ่งตื่น คลื่นเหียน อาเจียน กลามเนื้อแขนและขากระตุก ถาไดรับปริมาณมากทําใหหมดสติและโคมาได

    - อวัยวะเปาหมาย: ดวงตา , ผิวหนัง ระบบประสาทสวนกลาง ตับ ระบบทางเดินหายใจ

    Pyrethroid group

    - ผล: สารนี้ถูกรายงานวาเปน หรือมีสวนประกอบเปนสารที่ไมกอมะเร็งตามการแบงของ NTP,IARC, OSHA ,ACGIH

  • Page 26 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: เมื่อไดรับเปนเวลานานทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดการระคายเคืองที่ตาปานกลาง

    - การสูดดม: : ฝุนและหมอกควันของสารทําใหระคายเคืองและเปนอันตรายเมื่อสูดดม Organophosphorous group

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกินและทําใหปอดถูกทําลายไดดวย

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: เมื่อสัมผัสเปนระยะเวลานานจะทําใหระคายเคืองผิวหนัง บางครั้งทําใหผิวหนังอักเสบและไวตอสาร

    - การสัมผัสทางตา: หมอกและละอองของสารทําใหตาระคายเคืองและเจ็บ

    - การสูดดม: : สารนี้ทําใหระบบทางเดินหายใจระคายเคือง รวมไปถึงอาการไอ หายใจติดขัด ละอองของสารทําใหเปนปอดบวมได

    - การกลืนกิน: ทําใหทองเสียอยางรุนแรง คลื่นเหียน อาเจียน ชองทองเปนตะคริว ละอองที่เขาไปในปอดทําใหเปนสาเหตุของโรคปอดบวมจากสารเคมี

    Liquid paraffin

    - ผล: สารนี้ไมกอมะเร็งตามการจําแนกของ NTP and IARC

    Dimethylformamide 3

    Trypen blue stain 2B

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนังเล็กนอย

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: เปนอันตราย

    - การสัมผัสทางตา: ทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา

    - การสูดดม: ทําใหระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ ปอด

    - การกลืนกิน: ทําใหระคายเคืองเยื่อเมือกในปาก ตอมที่โคนลิ้น คอหอยและระบบทางทางเดินอาหาร

    Iodine 125 labeled cpe.

    - ขอมูลอันตรายอื่นๆ : เปนสาเหตุของการกอมะเร็ง และเปนอันตรายตอระบบสืบพันธุ

    Ethidium Bromine stain 2B

    Trypen blue stain 2B

  • Page 27 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    Ethidium Bromine stain 2B

    Trypen blue stain 2B

    Isopropanol 3

    Chromium 1

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: ทําใหเกิดแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตาอยางรุนแรง

    - การสูดดม: เปนพิษเมื่อสูดดม. ไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบนถูกทําลายอยางรุนแรงมาก

    - การกลืนกิน: เปนอันตรายเมื่อกลืนกิน. การกลืนกินสามารถกอใหเกิดแผลไหมไดทันทีที่ปาก, คอหอย, ทอง; กลองเสียงบวมและรางกายเปนอัมพาต ซึ่งกระทบความ สามารถในการหายใจ อาการช็อคจากระบบหมุนเวียนโลหิตผิดปกติและมีอาการชัก

    - การทําใหแพทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดปฏิกิริยาแพเกี่ยวกับผิวหนัง

    Paraformaldehyde

    - อวัยวะเปาหมาย: ตา. ไต. ตับ. หัวใจ 3H-Thymidine - ความเปนอันตราย: มีคา LD-50 = 2512 mg/kg โดยวิธีฉีดเขาทองสัตวทดลอง(หนูถึบจักร)

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - การสูดดม: : เปนพิษเมื่อสูดดม. ไอระเหยหรือละอองจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวงหายใจสวนบน

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

    - อวัยวะเปาหมาย: หัวใจ

    Potassium chloride

    - การไดรับแบบเรื้อรัง – กอการกลายพันธุ

  • Page 28 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: ดูดซึมผานผิวหนังทันที เปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึม ผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา

    - การสูดดม: อาจเปนอันตรายหากสูดดม สารนี้อาจจะทําใหเกิดการระคายเคืองที่แผนเยื่อเมือก และบริเวณทางเดินหายใจสวนบน

    Potassium dihydrogen phosphate

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: การสัมผัสถูกผิวหนังทําใหระคายเคือง การสัมผัสเปน เวลานานจะทําใหปวดแสบปวดรอนและแผลไหม

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: ดูดซึมผานผิวหนังทันที เปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา

    - การสูดดม: การหายใจเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองจมูกและ คอ, ปอด

    - การกลืนกิน: การกลืนกินเขาไปทําใหระคายเคืองกระเพาะอาหารและลําไส ทําใหคลื่นไสและอาเจียน

    - การกอมะเร็ง: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารไมกอใหเกิดมะเร็งโดย NTP, IARC, OSHA

    Sodium chloride

    - การไดรับสารแบบเรื้อรัง: การสัมผัสกับสารเปนระยะเวลานานหรือการสัมผัสสารซ้ํา จะทําใหเกิดแผลพุพอง

    - การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: ดูดซึมผานผิวหนังทันที เปนอันตรายถึงชีวิตหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอดวงตา

    - การสูดดม: อาจเปนอันตรายหากสูดดม สารนี้อาจจะทําใหเกิดการระคายเคืองที่แผนเยื่อเมือก และบริเวณทางเดินหายใจสวนบน

    Di Sodium hydrogen phosphate anhydrous

    - การกลืนกิน: อาจเปนอันตรายหากกลืนกิน

  • Page 29 of 69

    Chemical List Group of agent และผลกระทบตอสุขภาพเมื่อไดรับสัมผัสสารในรูปแบบตางๆ

    Copper (II) sulfate anhydrus D

    5.25% Sodium hypochlorile 3

    - เมื่อหายใจเขาไป: กอใหเกิดการระคายเคืองของเยื่อเมือก, ไอและหายใจลําบาก

    - เมื่อถูกผิวหนัง: ระคายเคือง

    - เมื่อเขาตา: ระคายเคือง Diethyl pyrocarbonate

    - เมื่อกลืนกิน: ระคายเคืองตอเยื่อบุในปาก หลอดลม หลอดอาหารและระบบลําไส

    - เมื่อหายใจเขาไป: กอใหเกิดการระคายเคืองของเยื่อเมือก, ไอและหายใจลําบาก

    - เมื่อถูกผิวหนัง: ระคายเคือง

    - เมื่อเขาตา: ระคายเคือง

    - เมื่อกลืนกิน: ระคายเคืองตอเยื่อบุในปาก หลอดลม หลอดอาหารและระบบลําไส

    TRIZOL

    - ผล: สารนี้ถูกรายงานวาเปนสารที่ไมกอมะเร็งตามการแบงของ IARC,OSHA REG

    Polyethyleneglycol 200 D

    O-Phenylenediamine (OPD) A3**

    Hypochloride 3

    - การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเปนอันตรายหากถูกดูดซึมผานผิวหนัง

    - การสัมผัสทางตา: อาจทําใหเกิดการระคายเคืองดวงตา

    - กา�