2
แนวทางการปฏิบัติ สำาหรับการจัดการตัวอย่าง น้ำาทิ้งสำาหรับแหล่งกำาเนิดมลพิษ ประเภทที่ดินจัดสรรและ อาคารบางประเภทบางขนาด แนวทางการปฏิบัติสำาหรับการจัดการตัวอย่างหรือวิธีการได้มาซึ่ง ตัวอย่างก่อนการนำาส่งห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจสอบ รวมไปถึงการพิจารณา เลือกห้องปฏิบัติการเพื่อทดสอบตัวอย่างนั้น มีความสำาคัญและจำาเป็นต่อผล การวิเคราะห์คุณภาพน้ำาทิ้งของแหล่งกำาเนิดมลพิษ ซึ่งจะเป็นส่วนสำาคัญที่จะ ทำาให้ข้อมูลมีคุณภาพ ถูกต้อง แม่นยำา ตามหลักวิชาการ เป็นตัวแทนนำาทิ้ง ที่ดีของแหล่งกำาเนิดมลพิษ ดังนั้นผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าทีที่เกี่ยวข้องจำาเป็นที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงแนวทาง การจัดการตัวอย่างที่ถูกต้อง และสอดคล้องกับระบบ คุณภาพ ISO/IEC 17025 พารามิเตอร์ ภาชนะบรรจุ ปริมาตร การรักษาสภาพ ระยะเวลาที่เก็บได้ วิธีทดสอบ Sulfide ขวด DO 300 มล. 1) เติม HgCl 2 7 วัน การไตเตรท พร้อมฝา 40 มล. พลาสติก 2) เติม 2 N Zinc Acetate 2 หยด ต่อตัวอย่าง 100 มล. 3) เก็บที่ 4±2 ํC TKN ขวด HDPE 1,000 มล. เติม H 2 SO 4 28 วัน วิธีการเจลดาห์ล (Kjeldahl) ให้ pH <2 เก็บทีอุณหภูมิ 4±2 ํC ไขมัน ขวดแก้วสีชา 1,000 มล. เติม H 2 SO 4 หรือ 28 วัน การสกัดตัวทําละลาย และน้ํามัน HCl (1+1) ให้ pH <2 เก็บทีอุณหภูมิ 4±2 ํC การส่งตัวอย่าง ไปยังห้องปฏิบัติการ • กรณีขนส่งตัวอย่างมาด้วยตนเอง : นําตัวอย่างนํ้าบรรจุในกล่อง แช่เย็นรักษาอุณหภูมิที่ 4 ± 2 ํC ส่งห้องปฏิบัติการทันที • กรณีขนส่งตัวอย่างโดยรถรับจ้าง : นําขวดตัวอย่างนํ้า ใส่ลงในกล่องรักษาสภาพ (ที่อุณหภูมิ 4 ± 2 ํC) และ ปดผนึกกล่องให้เรียบร้อยแล้วนําส่งห้องปฏิบัติการ โดยเร็วที่สุด (ไม่เกิน 24 ชั่วโมง) ซึ่งอาจใช้บริการ รถโดยสารต่างๆ ตามความเหมาะสม วิธีการได้มา ซึ่งตัวอย่าง ตัวอย่าง : การสุ่มเก็บตัวอย่างส่วนหนึ่งของน้ ําในแหล่งน้ ํา เพื่อทราบถึง คุณลักษณะหรือคุณภาพ ซึ่งควรเก็บตัวอย่างน้ ําในปริมาณที่เพียงพอต่อการ วิเคราะห์ด้วยวิธีการที่ถูกต้อง เหมาะสมกับภาชนะเก็บตัวอย่าง การขนส่ง และ เป็นตัวแทนของน้ําในแหล่งน้ําที่แท้จริง ตำาแหน่งจุดเก็บตัวอย่าง : คือ จุดระบายน้ําทิ้งที่มีการระบายน้ําทิ้ง จากแหล่งกําเนิดมลพิษออกสู่ภายนอก หากไม่สามารถเก็บตรงจุดที่มี การระบายน้ ําทิ้งออกได้ ให้พิจารณาเก็บ ณ จุดถัดเข้ามาตามความ เหมาะสม และควรเป็นจุดเดียวกับที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษทําการ เก็บตัวอย่างน้ํา วิธีการเก็บตัวอย่างน้ำา : การเก็บตัวอย่างแบบจ้วง (Grab Sampling) เป็นการเก็บตัวอย่าง ครั้งเดียวที่จุดเดียวในเวลาใดเวลาหนึ่งแล้วนํามาวิเคราะห์ อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่าง การรักษาสภาพตัวอย่าง และวิธีการทดสอบตัวอย่าง พารามิเตอร์ ภาชนะบรรจุ ปริมาตร การรักษาสภาพ ระยะเวลาที่เก็บได้ วิธีทดสอบ pH ขวดพลาสติก PE 50 มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 6 ชั่วโมง ใช้เครื่อง pH meter 4±2 ํC BOD ขวดพลาสติก PE 1,000 มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 48 ชั่วโมง Azide Modification ที่อุณหภูมิ 5 ํC เป็นเวลา 4±2 ํC 5 วันติดต่อกัน หรือวิธีการอื่นที่คณะกรรมการ ควบคุมมลพิษให้ความเห็นชอบ TSS ขวดพลาสติก PE 1,000 มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 7 วัน กรองผ่าน Glass Fiber Filter Dise 4±2 ํC TDS ขวดพลาสติก PE 1,000 มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 7 วัน ระเหยแห้งที่อุณหภูมิ 103 - 105 ํC เป็นเวลา 4±2 ํC 1 ชม.

ซึ่งตัวอย่าง 2 พร้อมฝา 40 มล.cac.pcd.go.th/images/ptechResource/PublishDoc/2561... · การวิเคราะห์คุณภาพน้ำาทิ้งของแหล่งกำซึ่งจะเป็นส่วนสำาเนิดมลพิษ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ซึ่งตัวอย่าง 2 พร้อมฝา 40 มล.cac.pcd.go.th/images/ptechResource/PublishDoc/2561... · การวิเคราะห์คุณภาพน้ำาทิ้งของแหล่งกำซึ่งจะเป็นส่วนสำาเนิดมลพิษ

แนวทางการปฏิบัติสำาหรับการจัดการตัวอย่างน้ำาทิ้งสำาหรับแหล่งกำาเนิดมลพิษประเภทที่ดินจัดสรรและอาคารบางประเภทบางขนาด

แนวทางการปฏิบัติสำาหรับการจัดการตัวอย่างหรือวิธีการได้มาซึ่งตัวอยา่งกอ่นการนำาสง่หอ้งปฏบิตักิารเพือ่ตรวจสอบรวมไปถงึการพจิารณาเลือกห้องปฏิบัติการเพ่ือทดสอบตัวอย่างน้ันมีความสำาคัญและจำาเป็นต่อผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำาทิ้งของแหล่งกำาเนิดมลพิษซึ่งจะเป็นส่วนสำาคัญที่จะทำาให้ข้อมูลมีคุณภาพ ถูกต้อง แม่นยำาตามหลักวิชาการ เป็นตัวแทนน้ำาทิ้ง

ท่ีดีของแหล่งกำาเนิดมลพิษดังนั้นผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ทีเ่กีย่วขอ้งจำาเปน็ทีจ่ะตอ้งมคีวามรูค้วามเขา้ใจถงึแนวทาง

การจัดการตัวอย่างที่ถูกต้อง และสอดคล้องกับระบบคุณภาพISO/IEC17025

พารามิเตอร์ ภาชนะบรรจุ ปริมาตร การรักษาสภาพ ระยะเวลาที่เก็บได้ วิธีทดสอบ

Sulfide ขวดDO 300มล. 1)เติมHgCl2 7วัน การไตเตรท

พร้อมฝา 40มล.

พลาสติก 2)เติม2NZinc

Acetate2หยด

ต่อตัวอย่าง

100มล.

3)เก็บที่4±2ํC

TKN ขวดHDPE 1,000มล. เติมH2SO

4 28วัน วิธีการเจลดาห์ล(Kjeldahl)

ให้pH<2เก็บที่

อุณหภูมิ4±2ํC

ไขมัน ขวดแก้วสีชา 1,000มล. เติมH2SO

4หรือ 28วัน การสกัดตัวทําละลาย

และน้ํามัน HCl(1+1)

ให้pH<2เก็บที่

อุณหภูมิ4±2ํC

การส่งตัวอย่างไปยังห้องปฏิบัติการ • กรณีขนส่งตัวอย่างมาด้วยตนเอง : นําตัวอย่างน้ําบรรจุในกล่อง

แช่เย็นรักษาอุณหภูมิที่4±2ํCส่งห้องปฏิบัติการทันที

• กรณีขนส่งตัวอย่างโดยรถรับจ้าง: นําขวดตัวอย่างน้ํา

ใส่ลงในกล่องรักษาสภาพ(ที่อุณหภูมิ 4 ±2ํC) และ

ปดผนึกกล่องให้เรียบร้อยแล้วนําส่งห้องปฏิบัติการ

โดยเร็วที่สุด(ไม่เกิน24 ชั่วโมง) ซึ่งอาจใช้บริการ

รถโดยสารต่างๆตามความเหมาะสม

วิธีการได้มาซึ่งตัวอย่าง ตัวอย่าง : การสุ่มเก็บตัวอย่างส่วนหนึ่งของน้ําในแหล่งน้ํา เพื่อทราบถึง

คุณลักษณะหรือคุณภาพ ซึ่งควรเก็บตัวอย่างนํ้าในปริมาณที่เพียงพอต่อการ

วเิคราะหด์ว้ยวธีิการทีถ่กูตอ้งเหมาะสมกบัภาชนะเกบ็ตวัอยา่งการขนสง่และ

เป็นตัวแทนของน้ําในแหล่งน้ําที่แท้จริง

ตำาแหน่งจุดเก็บตัวอย่าง: คือ จุดระบายน้ําทิ้งที่มีการระบายน้ําทิ้ง

จากแหล่งกําเนิดมลพิษออกสู่ภายนอก หากไม่สามารถเก็บตรงจุดที่มี

การระบายนํ้าทิ้งออกได้ ให้พิจารณาเก็บ ณ จุดถัดเข้ามาตามความ

เหมาะสมและควรเปน็จดุเดยีวกบัทีเ่จา้พนักงานควบคมุมลพษิทําการ

เก็บตัวอย่างน้ํา

วิธีการเก็บตัวอย่างน้ำา : การเก็บตัวอย่างแบบจ้วง(GrabSampling) เป็นการเก็บตัวอย่าง

ครั้งเดียวที่จุดเดียวในเวลาใดเวลาหนึ่งแล้วนํามาวิเคราะห์

อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่างการรักษาสภาพตัวอย่างและวิธีการทดสอบตัวอย่าง

พารามิเตอร์ ภาชนะบรรจุ ปริมาตร การรักษาสภาพ ระยะเวลาที่เก็บได้ วิธีทดสอบ

pH ขวดพลาสติกPE 50มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 6ชั่วโมง ใช้เครื่องpHmeter

4±2ํC

BOD ขวดพลาสติกPE1,000มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 48ชั่วโมง AzideModificationที่อุณหภูมิ5ํCเป็นเวลา

4±2ํC 5วันติดต่อกันหรือวิธีการอื่นที่คณะกรรมการ

ควบคุมมลพิษให้ความเห็นชอบ

TSS ขวดพลาสติกPE1,000มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 7วัน กรองผ่านGlassFiberFilterDise

4±2ํC

TDS ขวดพลาสติกPE1,000มล. แช่เย็นที่อุณหภูมิ 7วัน ระเหยแห้งที่อุณหภูมิ103-105ํCเป็นเวลา

4±2ํC 1ชม.

Page 2: ซึ่งตัวอย่าง 2 พร้อมฝา 40 มล.cac.pcd.go.th/images/ptechResource/PublishDoc/2561... · การวิเคราะห์คุณภาพน้ำาทิ้งของแหล่งกำซึ่งจะเป็นส่วนสำาเนิดมลพิษ

แนวทางการปฏิบัติสำาหรับการจัดการตัวอย่างน้ำาทิง้สำาหรบัแหลง่กำาเนดิมลพษิประเภทที่ดินจัดสรรและอาคารบางประเภทบางขนาด

ศูนย์ช่วยเหลือให้ปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม(ThaiEnvironmentalComplianceAssistanceCenter)ฝ่ายคุณภาพสิ่งแวดล้อมและห้องปฏิบัติการกรมควบคุมมลพิษ

ฝ่ายคุณภาพสิ่งแวดล้อมและห้องปฏิบัติการกรมควบคุมมลพิษ92ซอยพหลโยธิน7ถนนพหลโยธินเขตพญาไทกรุงเทพฯ10400โทรศัพท์022982092โทรสาร022985369

ศูนย์ช่วยเหลือให้ปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม(ThaiEnvironmentalComplianceAssistanceCenter)http://cac.pcd.go.th

การเลือกห้องปฏิบัติการสำาหรับทดสอบตัวอย่าง • พิจารณาห้องปฏิบัติการทดสอบด้านสิ่งแวดล้อมสําหรับทดสอบตัวอย่างตามระบบคุณภาพ

ISO/IEC17025

• ตรวจสอบพารามิเตอร์ ช่วงความเข้มข้น และประเภทตัวอย่างนํ้าที่ห้องปฏิบัติการทดสอบ

ได้รับการรับรอง

• พิจารณาผลการผ่านเกณฑ์เข้าร่วมการทดสอบความชํานาญ(ProficiencyTesting :PT)

ของห้องปฏิบัติการในรายการที่ประสงค์จะทําการทดสอบ

• พจิารณาหอ้งปฏิบตักิารทดสอบจากฐานข้อมลูหอ้งปฏิบติัการทีข้ึ่นทะเบยีนไวก้บักรมโรงงาน

อุตสาหกรรม และได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO/IEC17025 ที่ข้ึนทะเบียนกับ

กรมวิทยาศาสตร์บริการ

3. คลิกเลือกประเภทห้องปฏิบัติการ

envlabISO17025หรือenvlab

วิธีการสืบค้นห้องปฏิบัติการ 1. เข้าไปที่เว็บไซต์ศูนย์ช่วยเหลือ

ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย

สิ่งแวดล้อม

http://cac.pcd.go.th

2. เลือกหัวข้อหลัก

บริการ

Labน้ําเสีย

abc labdef labghi labjkl lab

4. สามารถตรวจสอบพารามิเตอร์ที่ได้รับ

การรับรองISO17025หรือพารามิเตอร์

ที่วิเคราะห์

abc lab xyz lab