108

รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท
Page 2: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท
Page 3: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

1

รายงานประจําป 2552 ของบรษัิท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) หัวขอ หนาที่ 1. ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท.......................................................................................... 1-2 2. สารจากประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ..………..………………………………………… 3-5 3. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ………………………………………………………………… 6-7 4. รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน………………………………… 8 5. รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดี.............……………………………….……… 9-25 6. ขอมูลท่ัวไป…………………………………………………………………………………………….. 26-29

6.1 ขอมูลบริษัท……………………………………………………………………………………… 26 6.2 นิติบุคคลท่ีบริษัทถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป………………………………………………… 27-28 6.3 บุคคลอางอิงอื่น ๆ………………………………………………………………………………… 29

7. ลักษณะการประกอบธุรกิจ……………………………………………………………………………… 30-32 7.1 โครงสรางรายได…………………………………………………………………………………. 30 7.2 การเปล่ียนแปลงที่สําคัญในปท่ีผานมา………………………………………………………….. 31-32

8. ปจจัยเส่ียง………………………………………………………………………………………..……… 33-34 9. ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน……………………………………………………………………… 35-45 10. คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ…………………………………………………………… 46-53

10.1 ภาพรวมทางดานการปฎิบัติงาน………………………………………………………………… 46-47 10.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน...........................…………… 48-52 10.3 ปจจัยและอิทธิพลท่ีอาจมีผลตอการดําเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต........................... 53 10.4 คาตอบแทนผูสอบบัญชี…….…………………………………………………………………… 53

11. ผูถือหุนและการจัดการ………………………………………………………………………………… 54-68 11.1 ผูถือหุน………………………………………………………………………………………….. 54 11.2 คณะกรรมการและผูบริหาร…………………………………………………………………….. 55-68 11.3 นโยบายจายเงินปนผล………………………………………………………………………….. 68

12. บุคคลท่ีมีผลประโยชนรวมและรายการระหวางกัน…………………………………………………… 69-70 12.1 รายการระหวางกันกับบุคคลท่ีมีผลประโยชนรวม

ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการดังกลาว...............................………….….… 69 12.2 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน…………………………….…...... 70 12.3 แนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต…………………………………………….…… 70

13. ปจจัยอื่นท่ีอาจมีผลกระทบตอการตัดสินใจลงทุน……………………………………………….…..… 71 13.1 ขอพิพาททางกฎหมาย…………………………………………………………………….……. 71 13.2 พันธะผูกพันในการออกหุนในอนาคต…………………………………………………….…… ไมม ี

14. ขอมูลเกี่ยวกับหุนกูหรือต๋ัวเงิน……………….……………………………………………………….. ไมม ี15. งบการเงิน…………………………………………………………………………..………………..... แนบทาย

Page 4: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท (งบการเงินรวม)

1

(หนวย: ลานบาท)

2550 2551 2552 สินทรัพยรวม 1,034 1,077 1,024

หนี้สินรวม 88 91 94

สวนของผูถือหุน 946 986 930

รายไดจากการขาย 638 1,305 823

รายไดรวม 658 1,333 847

กําไรขั้นตน 319 550 278

กําไรสุทธิ 207 332 171

อัตราสวนทางการเงิน (หนวย: %)

2550 2551 2552 อัตรากําไรสุทธิตอรายไดรวม 31.50 24.88 20.20 อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน 21.90 33.62 18.39 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม 20.03 30.77 16.70

ขอมูลตัวเลขตอหุน (หนวย: บาท) (ปรับมูลคาทางบัญชีตอหุนใหเปน 1 บาทเพื่อการเปรียบเทียบ)

2550 2551 2552 กําไรสุทธิตอหุน 0.64 1.02 0.53

เงินปนผลจายตอหุน 0.50 0.90 0.70

เงินปนผลตอหุน (ตามงวดผลการดําเนินงาน) 0.60 1.00 0.50 (1)

มูลคาตามบัญชีตอหุน 2.92 3.04 2.87 หมายเหตุ : (1)ตามมติจากการประชุมคณะกรรมการเม่ือวันที่ 25 กุมภาพันธ 2553 เพื่อนําเสนอที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุน

คร้ังที่ 33 ตอไป

Page 5: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท (งบการเงินรวม)

2

500

600

700

800

900

1,000

1,100

2550 2551 2552

1,0341,077

1,024

สินทรัพยรวม ( ลานบาท )

400

600

800

1,000

1,200

1,400

2550 2551 2552

658

1,333

847

รายไดรวม ( ลานบาท )

50

100

150

200

250

300

350

2550 2551 2552

207

332

171

กําไรสุทธิ ( ลานบาท )

0.00

0.50

1.00

1.50

2550 2551 2552

0.64

1.02

0.53

กําไรสุทธิตอหุน ( บาท )( ปรบัมูลคาทางบญัชีตอหุนเปน 1 บาทเพื่อการเปรียบเทียบ )

1.00

1.50

2.00

2.50

3.00

3.50

2550 2551 2552

2.923.04

2.87

มูลคาทางบัญชีตอหุน ( บาท )( ปรบัมูลคาทางบญัชีตอหุนเปน 1 บาทเพื่อการเปรียบเทียบ )

0.20

0.40

0.60

0.80

1.00

2550 2551 2552

0.60

1.00

0.50

เงินปนผลตอหุน ( บาท )( ปรบัมูลคาทางบญัชีตอหุนเปน 1 บาทเพื่อการเปรียบเทียบ )

Page 6: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

สารจากประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ

3

หลังจากท่ีเกิดวิกฤตการณราคาน้ํามันปโตรเลียมและสินคาโภคภัณฑตาง ๆ ปรับตัวขึ้นสูจุดสูงสุดเปนประวัติการณในป 2551 ราคาน้ํามันปาลมดิบก็มีการปรับตัวสูระดับสูงสุดเชนเดียวกัน โดยมีราคาเฉล่ียรายเดือนเคล่ือนไหวระหวาง 17.02 – 36.26 บาท/กิโลกรัม และมีราคาเฉล่ียท้ังปอยูท่ี 28.96 บาทตอกิโลกรัม นับวาเปนการปรับตัวสูงขึ้นของราคาเปนปท่ี 3 ติดตอกัน ในขณะที่ป 2552 ราคาเร่ิมปรับตัวลดลงและความผันผวนของราคาตลอดทั้งปมีไมมากนัก โดยเคล่ือนไหวอยูระหวาง 21.48 – 27.51 บาทตอกิโลกรัม และราคาน้ํามันปาลมดิบเฉลี่ยอยูท่ี 24.33 บาทตอกิโลกรัม โดยสาเหตุหลักมาจากความตองการนํ้ามันปโตรเลียมของโลกลดลงซึ่งสงผลกระทบทําใหราคาของไบโอดีเซล และความตองการน้ํามันปาลมลดลง ประกอบกับผลผลิตปาลมน้ํามันในป 2552 มีประมาณ 8 ลานตัน ลดลงรอยละ 13 จากป 2551 ท่ีมีผลผลิต 9.2 ลานตัน ทําใหผลผลิตน้ํามันปาลมดิบในป 2552 มีจํานวนประมาณ 1.3 ลานตัน ลดลงรอยละ 13 จากป 2551 ซึ่งมี 1.54 ลานตัน ในขณะท่ีผลผลิตปาลมน้ํามันจากสวนของบริษัทในป 2552 ก็มีปริมาณลดลงจากป 2551 เชนเดียวกัน ผลการดําเนินงาน รายไดจากการขายลดลงจาก 1,305 ลานบาท ในป 2551 เปน 823 ลานบาท คิดเปนลดลงรอยละ 36.9 เนื่องจากปริมาณผลปาลมสดท้ังจากสวนของบริษัท และจากการรับซื้อจากเกษตรกรลดลง อีกท้ังราคาขายน้ํามันปาลมดิบในป 2552 โดยเฉล่ียปรับตัวลดลงต่ํากวาป 2551 ทําใหกําไรสุทธิของบริษัทลดลงจาก 331.5 ลานบาท เปน 171.7 ลานบาท ดานการผลิต โครงการขยายกําลังการผลิตการสกัดน้ํามันปาลมดิบของบริษัทไดแลวเสร็จในป 2552 ทําใหกําลังการผลิตเพ่ิมขึ้นจาก 60 ตันตอชั่วโมง เปน 75 ตันตอชั่วโมง นอกจากนี้โครงการการผลิตกาซชีวภาพจากบอบําบัดน้ําเสีย ท่ีโรงสกัดน้ํามันปาลม จังหวัดกระบ่ี ขนาด 2 เมกกะวัตต ไดเสร็จเรียบรอยแลวเชนกัน โดยไดรับอนุมัติโครงการจากกระทรวงพลังงาน ขณะน้ีเหลือเพียงรอการติดต้ังสายสงจากการไฟฟาสวนภูมิภาค โครงการดังกลาวนับเปนการชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก ภายใตกลไกการพัฒนาท่ีสะอาด (Clean Development Mechanism) ในดานการจําหนายเมล็ดพันธุและกลาปาลมน้ํามันพันธุ CIRAD® ไดรับการตอบรับเปนอยางดีจากเกษตรกรชาวสวนปาลม บริษัทสยามเอลิทปาลม ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวาง UPOIC และ PalmElit (บริษัทในเครือ CIRAD) จึงขยายแปลงเพาะตนพอแมพันธุปาลมน้ํามัน CIRAD® ในจังหวัดกระบ่ี ซึ่งคาดวาจะสามารถผลิตและจําหนายเมล็ดพันธุไดในอีก 5 ปขางหนา ดานสังคมและสิ่งแวดลอม จากท่ีบริษัทไดเขารวมเปนสมาชิกของ Roundtable on Sustainable Palm Oil (RSPO) ต้ังแตป พ.ศ. 2551 และเปนสมาชิกท่ีมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมการปลูกและการใชปาลมน้ํามันอยางย่ังยืนในประเทศไทย อาทิเชน การเปนผูริเริ่มกอต้ังคณะทํางานจัดทําตัวชี้วัดและแนวปฏิบัติของประเทศไทย

Insert CM picture

Insert MD picture

Page 7: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

สารจากประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ

4

เพ่ือการผลิตน้ํามันปาลมอยางยั่งยืนภายใตกรอบ RSPO (Thai National Interpretation Working Group) ซึ่งมีวัตถุประสงคในการจัดทําตัวชี้วัดและแนวปฏิบัติใหเหมาะสมกับประเทศไทย บริษัทมุงหวังท่ีจะไดรับการรับรองวามีกระบวนการการผลิตน้ํามันปาลมอยางย่ังยืน โดยตลอดปท่ีผานมา บริษัทไดประสานงานและแนะนํากลุมเกษตรกรเร่ืองเทคนิคการปลูกปาลม การเก็บผลผลิต เพ่ือเพ่ิมผลผลิต ไปพรอมกับการใหความสําคัญกับการรักษาส่ิงแวดลอม นอกจากการรับรองระบบ ISO 9001 และ 14001 บริษัทยังไดรับการรับรองเพ่ิมเติมในระบบอาชีวอนามัย OHSAS 18001 ท่ีเปนการรับรองวาบริษัทมีการดูแลเรื่องสุขภาพความเปนอยูของพนักงาน และรักษาส่ิงแวดลอม อีกท้ังบริษัทไดรับโล และเกียรติบัตรจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เมื่อเดือนกันยายน 2552 ซึ่งเปนการรับรองการปฎิบัติตามมาตรฐานความรับผิดชอบของผูประกอบการอุตสาหกรรมตอสังคม อันเปนการบงบอกวา บริษัทไดใหความสําคัญตอการรักษาส่ิงแวดลอมและการตอบแทนสังคมรอบขาง เพ่ือการอยูรวมกันอยางสันติสุข ดานทรัพยากรมนุษยและวัฒนธรรมองคกร นอกจากการท่ีบริษัทมุงเนนพัฒนาบุคลากรและวัฒนธรรมองคกรอยางตอเนื่อง ในป 2552 บริษัทยังไดจัดทําจรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Business Conduct) ขึ้นเปนแรก เพ่ือเปนแนวทางใหพนักงานของบริษัทถือปฏิบัติ สอดคลองกับนโยบายกํากับดูแลกิจการท่ีดี ป 2552 เปนปท่ีครบรอบ 60 ปของการดําเนินงานของกลุมบริษัทลํ่าสูง ซึ่งกอต้ังในประเทศไทยมาต้ังแตป 2517 และถือเปนโรงกล่ันน้ํามันปาลมรายแรกของประเทศ ในป 2546 ลํ่าสูงเริ่มขยายธุรกิจแนวด่ิงไปในอุตสาหกรรมตนน้ํา โดยการเขาลงทุนใน UPOIC ทําให UPOIC กลายมาเปนบริษัทยอยของบริษัท ตอมาในป 2547 ลํ่าสูงยังคงมีการขยายธุรกิจอยางตอเนื่อง นอกเหนือจากธุรกิจน้ํามันปาลม โดยการเขาลงทุนในบริษัท อาหารสากล จํากัด (มหาชน) และป 2550 UPOIC ยังมีการรวมทุนในธุรกิจสวนพอพันธุแมพันธุปาลมน้ํามันอีกดวย

ในฐานะที่เปนท้ังผูผลิตและผูจําหนาย กลุมบริษัทลํ่าสูงจึงพัฒนาลักษณะเฉพาะของตราสินคา ซึ่งบงบอกถึงคุณลักษณะท่ีนาเชื่อถือ มีความเปนมิตร และเขาถึงไดงาย และจากการท่ีเรากําลังอยูในชวงเวลาของการฉลองครบรอบ 60 ป กลุมลํ่าสูงขอใหคํามั่นวาจะยังคงเปนผูนําในอุตสาหกรรม พรอมกับการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ อีกท้ังจะใหความสําคัญในการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับธุรกิจ ท้ังนี้เพ่ือประโยชนตอผูมีสวนไดเสียทุกฝาย และUPOIC ในฐานะผูผลิตและจําหนายน้ํามันปาลมดิบซึ่งเปนอุตสาหกรรมตนน้ําใหแกบริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ก็จะยังคงเปนสวนสําคัญในการเสริมสรางและสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจใหแกกลุมลํ่าสูงตอไป

Page 8: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

สารจากประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ

5

สุดทายนี้ในนามตัวแทนคณะกรรมการบริษัท ผูบริหาร และพนักงาน ขอขอบพระคุณผูถือหุน ลูกคา คูคา ท่ีสนับสนุนบริษัทดวยดี และบริษัทจะมุงมั่นท่ีจะพัฒนาองคกร และบุคลากร ใหพรอมท่ีจะนําพาองคกรใหประสบความสําเร็จตามเปาหมาย นายวัง ตา เลียง นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ

Page 9: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

6

คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระ ดังตอไปนี้

นายธีระ วิภูชนิน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ดร.วิลาศ สินสวัสด์ิ กรรมการตรวจสอบ นายวศิน ปจจักขะภัติ กรรมการตรวจสอบ นายยุทธ ศักด์ิเดชยนต เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

ในป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาท่ีตามขอบเขตการปฏิบัติงาน หนาท่ี และความรับผิดชอบตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมถึงความรับผิดชอบท่ีไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ โดยบริษัทมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทั้งส้ิน 4 ครั้ง สรุปสาระสําคัญไดดังนี้

1. อนุมัติงบการเงินรายไตรมาสและสอบทานงบการเงินประจําป ซึ่งรวมถึงการเปดเผยขอมูลในงบการเงินของบริษัทเพ่ือนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณารับทราบวางบการเงินไดแสดงฐานะการเงินของบริษัทอยางถูกตองครบถวน และจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรองโดยท่ัวไป รวมท้ังมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอ ถูกตองและครบถวน ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

2. พิจารณารายงานผลการตรวจสอบและขอเสนอแนะของผูตรวจสอบภายใน ในเรื่องระบบการควบคุมภายใน บริษัทซึ่งไดปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามแผนการตรวจสอบประจําปและนําเสนอตอฝายบริหาร เพ่ือพิจารณาปรับปรุงและแกไขตามความเหมาะสม โดยในป 2552 สรุปไดวา บริษทัมีระบบการควบคุมภายในในสวนสําคัญท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิผล มีการกํากับดูแลกิจการท่ีมีความโปรงใส ไมพบขอบกพรองท่ีเปนสาระสําคัญ

3. ประชุมรวมกับผูบริหาร ผูสอบบัญชีภายนอก และผูตรวจสอบภายใน เพ่ือใหขอเสนอแนะท่ีมีประโยชนตอการบริหารงาน โดยฝายบริหารไดทําการปรับปรุงแกไขขั้นตอนการปฏิบัติงานตามขอเสนอแนะอยางเหมาะสม ทําใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงการกําหนดแผนงานตรวจสอบภายในประจําป 2552

นอกจากนี้ ในป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบยังไดมีการประชุมกับผูสอบบัญชีภายนอก โดยไมมีผูบริหารเขารวมประชุมดวย จํานวน 1 ครั้ง ซึ่งผูบริหารมีการเปดเผยขอมูลตอผูสอบบัญชีภายนอกอยางครบถวนและไมพบขอบกพรองใดๆ

4. ประชุมรวมกับผูบริหาร และผูสอบบัญชีภายนอกในประเด็นมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมท่ีจะมีผลบังคับใช และการเตรียมความพรอมของบริษัท

5. พิจารณารายการในแบบสํารวจเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ ท่ีบริษัทยังไมไดนํามาปฏิบัติตามหลักการกํากับท่ีดีของกิจการ รวมถึงพิจารณารางนโยบายการกํากับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจของบริษัท เพ่ือเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาใหความเห็นชอบ

6. พิจารณารางหลักเกณฑและวิธีการเปดเผยขอมูลสวนไดเสียของกรรมการ ผูบริหาร และบุคคลท่ีมีความเกี่ยวของ เพ่ือเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาใหความเห็นชอบ

7. รายงานผลการประชุมและผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบตอคณะกรรมการบริษัท

8. นําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพ่ือขออนุมัติท่ีประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 เพ่ือแตงตั้งผูสอบบัญชีจากบริษัทสํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทสําหรับป 2553 ตอไป พรอมกับเสนอคาสอบบัญชีสําหรับป 2553

9. พิจารณาแบบประเมินตนเองเรื่องการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดี (Corporate Government Self Assessment) เพ่ือเปนเครื่องมือใหบริษัทใชเปนการภายในในการพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดี

Page 10: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

7

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา ผูบริหารของบริษัทไดปฏิบัติงานภายใตระบบการควบคุมภายในที่ดี ไมพบวามีการละเมิดกฎหมายหรือขอบังคับตางๆ ซึ่งบริษัทตองพึงปฏิบัติ

นายธีระ วิภูชนิน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 25 กุมภาพันธ 2553

Page 11: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน

8

คณะกรรมการบริษัทไดพิจารณางบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และขอมูลท่ีปรากฏในรายงานประจําปแลว เห็นวา งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใชนโยบายบัญชีท่ีเหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวังและประมาณการที่ดีท่ีสุดในการจัดทํา รวมท้ังมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีการดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพ่ือใหมั่นใจไดวาการบันทึกขอมูลทางบัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอท่ีจะรักษาไวซึ่งทรัพยสินและเพื่อปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการดําเนินการท่ีผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ

ท้ังนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเปนผูรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน รวมถึงกระบวนการตางๆ ใหมีการจัดทําอยางถูกตองตามมาตรฐานทางบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป และมีการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส

ในการดําเนินงานของบริษัทในรอบป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลว เห็นวาคณะกรรมการตลอดจนผูบริหาร มีความมุงมั่นในการปฏิบัติหนาท่ีเพ่ือใหบรรลุเปาหมายขององคกร ไดใหความสําคัญอยางยิ่งตอการดําเนินงานภายใตระบบการควบคุมภายในท่ีดี มีการบริหารความเส่ียงท่ีเหมาะสม มีระบบสารสนเทศการส่ือสารขอมูลสนับสนุนการกํากับดูแลกิจการท่ีมีประสิทธิผล โดยปราศจากการละเมิดกฎหมายหรือขอบังคับตางๆ ท่ีเปนสาระสําคัญซึ่งบริษัทตองพึงปฏิบัติ กลาวคือ ระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยูในระดับท่ีนาพอใจ และสามารถสรางความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลตอความเชื่อถือไดของงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจําปและแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) แลว

นายวัง ตา เลียง นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ

Page 12: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

9

บริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการท่ีดี อันเปนปจจัยในการเสริมสรางใหองคกรดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส ซื่อสัตยสุจริต และปฏิบัติตอผูมีสวนไดสวนเสียอยางเทาเทียมกัน มีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ โดยมีเปาหมายใหธุรกิจเติบโตอยางมีเสถียรภาพ จึงไดมีการกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการเพ่ือใหเปนหลักในการดําเนินธุรกิจ นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทมีเนื้อหาครอบคลุมและสอดคลองกับหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งไดแก 1) สิทธิของผูถือหุนและการปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 2) บทบาทของผูมีสวนไดเสีย 3) การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 4) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบ กําหนดแผนปฏิบัติและมาตรการติดตาม เพ่ือใหมีการปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย และใหคําแนะนําเพ่ือปรับปรุงนโยบายดังกลาวตามความเหมาะสม

1. สิทธิของผูถือหุนและการปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

จัดใหมีการประชุมสามัญประจําปผูถือหุนภายในส่ีเดือนนับแตวันส้ินสุดของรอบปบัญชีของบริษัท เพ่ือพิจารณารายงานประจําปของคณะกรรมการ ซึ่งแสดงถึงผลการดําเนินการของบริษัทในรอบปท่ีผานมา งบดุลและงบกําไรขาดทุน การจายเงินปนผลและจัดสรรเงินไวเปนทุนสํารองตามกฎหมาย การเลือกต้ังกรรมการแทนกรรมการท่ีออกตามวาระรวมถึงคาตอบแทนกรรมการ แตงตั้งผูสอบบัญชีและกําหนดคาตอบแทน

จัดใหมีการประชุมวิสามัญผูถือหุนตามท่ีคณะกรรมการเห็นสมควร หรือผูถือหุนรวมกันนับจํานวนหุนไดไมนอยกวาหนึ่งในหาของจํานวนหุนท่ีจําหนายไดท้ังหมด หรือผูถือหุนไมนอยกวาย่ีสิบหาคน ซึ่งมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนหุนท่ีจําหนายไดท้ังหมดจะเขาชื่อกันทําหนังสือขอใหคณะกรรมการเรียกประชุมผูถือหุน ท้ังนี้ตองระบุชื่อผูถือหุนดังกลาวและเหตุผลในการที่ขอใหเรียกประชุมไวใหชัดเจนในหนังสือดังกลาว โดยคณะกรรมการตองจัดการประชุมผูถือหุนภายใน 1 เดือน นับแตวันท่ีไดรับหนังสือจากผูถือหุน

ในการเรียกประชุมผูถือหุน บริษัทจะตองจัดทําเปนหนังสือนัดประชุม ระบุสถานท่ี วัน เวลา ระเบียบวาระการ

ประชุม และเรื่องท่ีจะเสนอตอท่ีประชุม พรอมดวยรายละเอียดตามสมควร โดยระบุวาเปนเรื่องท่ีจะเสนอเพ่ือทราบ เพ่ืออนุมัติ หรือเพ่ือพิจารณา รวมท้ังความเห็นของคณะกรรมการในเรื่องดังกลาว และจัดสงใหผูถือหุนและนายทะเบียนทราบไมนอยกวา 14 วันกอนวันประชุม

จัดสงหนังสือมอบฉันทะในรูปแบบที่ผูถือหุนสามารถระบุความเห็นในการลงคะแนนเสียงได พรอมกับหนังสือเชิญ

ประชุม โดยระบุเอกสารท่ีตองใชในการมอบฉันทะและขั้นตอนในการเขารวมประชุมอยางชัดเจน ผูถือหุนท่ีไมสามารถเขารวมประชุม แตประสงคจะใชสิทธิออกเสียงอาจมอบฉันทะใหบุคคลอื่นเขารวมประชุมและออกเสียงแทนตน หรือจะมอบฉันทะใหกรรมการอิสระของบริษัทก็ได

ในการประชุมผูถือหุนตองมีผูถือหุนและผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน (ถามี) มาประชุมไมนอยกวาย่ีสิบหาคน และ

ตองมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนหุนท่ีจําหนายไดท้ังหมดจึงจะครบเปนองคประชุม โดย

Page 13: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

10

มีประธานกรรมการทําหนาท่ีเปนประธานที่ประชุม และจะดําเนินการประชุมใหเปนไปตามลําดับระเบียบวาระท่ีกําหนดไวในหนังสือเชิญประชุม

การใชบัตรลงคะแนนเสียงจะใชในกรณีท่ีมีผูถือหุนทานใด ลงคะแนนเสียงไมเห็นดวย หรืองดออกเสียงในวาระ

ท่ัวไป และใชในวาระสําคัญ เชน การแตงตั้งกรรมการ การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน การทํารายการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพย การแกไขหนังสือบริคณฑสนธิ และขอบังคับ เปนตน

เปดโอกาสใหผูถือหุนสวนนอยเสนอเร่ืองเพ่ือบรรจุเปนวาระการประชุมเปนการลวงหนา และเสนอชื่อบุคคลที่มี

คุณสมบัติเหมาะสมเขาดํารงตํารงตําแหนงกรรมการ โดยใหมีการเผยแพรหลักเกณฑดังกลาวผานทางเว็บไซตของบริษัท หรือสงเปนจดหมายอิเลคโทรนิคสมาท่ี [email protected]

เปดโอกาสใหผูถือหุนสงคําถามท่ีเกี่ยวของกับวาระการประชุมถึงกรรมการลวงหนากอนวันประชุม โดยสงผาน

ทาง Website ของบริษัท หรือสงเปนจดหมายอิเลคโทรนิคสมาท่ี [email protected]

จัดใหมีการเผยแพรเอกสารการประชุมตางๆ พรอมหนังสือเชิญประชุม ผานทางเว็บไซตของบริษัท อยางนอย 30 วัน กอนวันประชุม เพ่ือใหผูถือหุนสามารถศึกษาขอมูลประกอบการประชุมลวงหนา

บันทึกประเด็นสําคัญท่ีผูถือหุนซักถามพรอมท้ังคําชี้แจงของคณะกรรมการ รวมท้ังบันทึกจํานวนเสียงของผูถือ

หุนท่ีเห็นชอบ ไมเห็นชอบ และงดออกเสียงไวอยางชัดเจน ในรายงานการประชุม บริษัทมีการเผยแพรรางรายงานการประชุมผูถือหุนไวในเว็บไซตของบริษัทภายใน 14 วันนับจากวันประชุมเสร็จส้ิน เพ่ือใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบความถูกตอง และใชสิทธิคัดคานไดหากจําเปน โดยไมตองรอถึงการประชุมครั้งตอไป

2. สิทธิของผูมีสวนไดเสีย

บริษัทมีนโยบายรักษาสิทธิและผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ไมวาจะเปน พนักงาน หรือ ผูถือหุน เจาหนี้ ลูกคา คูคา คูแขง ชุมชนและสังคม แตเนื่องจากความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียอาจแตกตางกัน ดังนั้นบริษัทจะพิจารณาถึงสิทธิตามกฎหมายที่แตละกลุมพึงไดรับอยางละเอียดรอบคอบ และดูแลใหมั่นใจวาสิทธิดังกลาวไดรับความคุมครองและปฏิบัติดวยความระมัดระวัง โดยไดกําหนดแนวทางการตอบสนองความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย ไวเปนหัวขอเฉพาะในจรรยาบรรณทางธุรกิจของบรษิัท

กลไกในการแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนของผูมีสวนไดเสีย

2.1 การเปดโอกาสใหผูมีสวนไดเสียแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน

ผูมีสวนไดเสียคนใดมีความประสงคจะติดตอกับคณะกรรมการบริษัท โดยตรงโดยไมผานผูบริหารของบริษัท เพ่ือแสดงความคิดเห็นตางๆ เกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจรวมท้ังการแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนตางๆ เชน

Page 14: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

11

รายงานทางการเงินท่ีไมถูกตอง การกระทําผิดกฎหมายหรือจรรยาบรรณ หรือระบบการควบคุมภายในท่ีบกพรอง เปนตน โดยใหสงไปยังคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท โดยตรงดังนี้:-

• สงทางไปรษณีย : นายธีระ วิภูชนิน

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) 64 ชั้น 1 ซ. บางนา-ตราด 25 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260

• สงทาง E-MAIL ADDRESS : [email protected]

2.2 การคุมครองผูแจงเบาะแสหรือขอเรียกรอง

ผูมีสวนไดเสียท่ีแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนตาม 2.1 ขางตนไมตองเปดเผยชื่อแตอยางใด

2.3 การดําเนินการหลังจากมผูีแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน

ใหคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ดําเนินการตรวจสอบขอมูลหรือขอเท็จจริงตามท่ีมีผูแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนตาม 2.1 ขางตนแลวนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทไดรับทราบภายใน 30 วันนับจากวันท่ีไดรับแจง

2.4 มาตรการแกไขและชดเชยคาเสียหาย

ในกรณีท่ีผูมีสวนไดเสียไดรับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิตามกฎหมายโดยบริษัท คณะกรรมการจะรีบแกไขขอบกพรอง หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยมิชักชา รวมท้ังหามาตรการปองกันมิใหเกิดเหตุการณดังกลาวขึ้นอีก และจะพิจารณาชดเชยคาเสียหายใหผูถูกละเมิดตามกฎหมายอยางเหมาะสม

3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บริษัทใหความสําคัญกับการเปดเผยขอมูลอยางเหมาะสมเพ่ือใหผูถือหุนใชประกอบการตัดสินใจลงทุน รวมถึงการตัดสินใจใชสิทธิออกเสียงในการประชุมผูถือหุน และมีการประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการเปดเผยขอมูลเปนระยะๆ โดยไดมีการเปดเผยขอมูลและดําเนินการในเรื่องตางๆดังนี้

เปดเผยขอมูลดังตอไปนี้ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษไว และมีการปรับปรุงขอมูลในเว็บไซดของบริษัทใหเปนปจจุบันเปนระยะๆ

Page 15: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

12

o นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

o จรรยาบรรณธุรกิจ

o โครงสรางผูถือหุน

o โครงสรางคณะกรรมการ

o วิสัยทัศน/ภารกิจ

o นโยบายส่ิงแวดลอม

o รายงานประจําป

o แบบ 56-1 (เฉพาะภาษาไทย)

o งบการเงิน

o หนังสือเชิญประชุมผูถือหุน พรอมเอกสารในการประชุม

o รายงานการประชุมผูถือหุน

o ขาวท่ีบริษัทเผยแพร

จัดสงรายงานขอมูลประจํางวด อาทิเชน งบการเงิน แบบ 56-1 และรายงายประจําป ตอตลาดหลักทรัพยฯ และ ก.ล.ต. อยางถูกตอง ครบถวน ภายในเวลาท่ีกําหนด

มีการรายงานขาวเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงที่สําคัญและอาจมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอราคาหลักทรัพยตามขอบังคับของตลาดหลักทรัพยฯ

คณะกรรมการบริษัท เปนผูรับผิดชอบตองบการเงินและรายงานทางการเงิน ซึ่งลงนามโดยประธานกรรมการ และกรรมการผูจัดการตามท่ีปรากฏในรายงานประจําป และแบบ 56-1 ซึ่งไดจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีท่ีเหมาะสมกับธุรกิจและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งมีผูสอบบัญชีอิสระเปนผูตรวจสอบจะตองไดรับการสอบทานจากคณะกรรมการตรวจสอบเพ่ือใหมั่นใจวามีการเปดเผยขอมูลท่ีสําคัญอยางเพียงพอ

ใหกรรมการบริหาร ทําหนาท่ีติดตอส่ือสารกับผูลงทุน ท้ังท่ีเปนบุคคลและสถาบัน ผูถือหุน นักวิเคราะหและภาครัฐท่ีเกี่ยวของ โดยติดตอขอขอมูลบริษัทไดท่ีโทรศัพท 02-361 8959-87 หรือโทรสาร 02-361 8988-9 หรือจดหมายอิเลคโทรนิคส [email protected] หรือผานทางเว็บไซตบริษัท

Page 16: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

13

4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

4.1 คณะกรรมการบริษัท

4.1.1 โครงสรางคณะกรรมการ องคประกอบของคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย จํานวนกรรมการไมนอยกวา 5 คน โดยมีจํานวนกรรมการอิสระอยางนอย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด แตตองไมนอยกวา 3 คน

4.1.2 หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

1. มีสวนรวมในการตัดสินใจ หรือใหความเห็นชอบในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ เปาหมาย ความเส่ียง แผนงาน และงบประมาณของบริษัท

2. ควบคุมกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจ เพ่ือบรรลุถึงเปาหมายและเพ่ิมความมั่งคั่งแกผูถือหุน

3. กําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และสงเสริมใหทุกคนในองคกรปฏิบัติตามนโยบายที่กําหนด รวมถึงการประเมินผลการปฏิบัติ และทบทวนนโยบายดังกลาวอยางนอยปละ 1 ครั้ง

4. กําหนดจรรยาบรรณธุรกิจ โดยใหครอบคลุมผูปฏิบัติท้ังในระดับกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน และสงเสริมใหทุกคนในองคกรปฏิบัติตามนโยบายที่กําหนด รวมถึงกําหนดมาตรการติดตามการปฏิบัติ และ การประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติเปนประจํา

5. จัดใหมีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการการบริหารความเส่ียง รวมท้ังมีการติดตามการดําเนินการในเรื่องดังกลาวอยางสม่ําเสมอ

6. แตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยตางๆ รวมถึงการกําหนดบทบาทหนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดยอยนั้นๆ

7. จัดใหมีการส่ือสารอยางชัดเจนตอบทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกําหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหา ฝายบริหาร และพนักงาน

8. รับผิดชอบตอการเปดเผยฐานะการเงินของบริษัทในรายงานงบการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในรายงานประจําป และแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ56-1) รวมถึงการเปดเผยขอมูลและสาระสนเทศตางๆใหเปนไปตามกฎหมาย และหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ

9. กําหนดแนวทางสําหรับการพิจารณาความเหมาะสมของการทํารายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน

10. จัดใหมีการประชุมคณะกรรมการอยางนอยสามเดือนตอครั้ง และการประชุมผูถือหุนอยางนอยปละคร้ัง 11. หนาท่ีและความรับผิดชอบอื่นท่ีกําหนดโดยกฎหมายและมติท่ีประชุมผูถือหุน

4.1.3 เลขานุการบริษัท

บริษัทจัดใหมีเลขานุการบริษัท ตามมาตรา 89/15 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2551 โดยมีหนาท่ีและความรับผิดชอบดังนี้

Page 17: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

14

1. จัดทําและเก็บเอกสารดังตอไปนี้

ทะเบียนกรรมการ

หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ และผูถือหุน

รายงานการประชุมคณะกรรมการ และผูถือหุน

รายงานประจําปของบริษัท 2. ติดตามใหมีการนํามติท่ีประชุมคณะกรรมการ/ผูถือหุน ไปปฏิบัติ 3. เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียท่ีรายงานโดยกรรมการ หรือผูบริหาร และจัดสงสําเนาใหแกประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบภายใน 7 วันทําการนับจากท่ีไดรับรายงานดังกลาว 4. ใหคําแนะนําแกกรรมการเกี่ยวกับขอกฎหมาย และระเบียบปฏิบัติตางๆท่ีเกี่ยวของรวมถึงการกํากับดูแล ใหบริษัท คณะกรรมการ และฝายจัดการปฏิบัติตามอยางถูกตอง 5. ดูแลใหมีการเปดเผยขอมูลและรายงานสารสนเทศตามระเบียบปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย และ สํานักงาน กลต. รวมถึงกฎหมายตางๆท่ีเกี่ยวของ 6. ติดตอประสานงานกับหนวยงานกํากับดูแลท่ีเกี่ยวของ 7. ดําเนินการอื่นตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย และ/หรือ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศ กําหนด

4.1.4 กระบวนการสรรหากรรมการ

คณะกรรมการสรรหา ทําหนาท่ีเสนอชื่อบุคคลท่ีเหมาะสม เพ่ือใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาแตงตั้งหรือเสนอท่ีประชุมผูถือหุนเลือกต้ังตามหลักเกณฑท่ีกําหนดในขอบังคับของบริษัท คณะกรรมการสรรหาดําเนินการสรรหา ประเมิน เลือกสรร และเสนอชื่อผูท่ีผานการพิจารณาตอคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาถึงประสบการณท่ีสําคัญสําหรับการทําหนาท่ีของคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนพิจารณาถึงความสามารถที่จะชวยใหการดําเนินการของคณะกรรมการเปนไปอยางรอบคอบรัดกุมย่ิงขึ้น ความสามารถในการตัดสินใจทางธุรกิจอยางมีเหตุผล ความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ ความเปนผูนํา รวมท้ังความชํานาญในวิชาชีพ ความซื่อสัตย ตลอดจนคุณสมบัติสวนบุคคลอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสม 4.1.5 ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริษัทอาจดํารงตําแหนงกรรมการบริหาร หรือเปนกรรมการที่ไมไดทําหนาท่ีบริหาร สําหรับตําแหนงประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผูจัดการจะตองไมเปนบุคคลเดียวกัน เพ่ือใหมีการแบงแยกหนาท่ีใหอยางชัดเจน

4.1.6 คุณสมบัติของกรรมการอิสระ คณะกรรมการไดกําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไวดังนี้ (ก) ถือหุนไมเกินรอยละ 0.5 ของจํานวนหุนท่ีมีสิทธิออกเสียงท้ังหมดของนิติบุคคลท่ีเกี่ยวของ ท้ังนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูท่ีเกี่ยวของของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย (ข) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ท่ีปรึกษาท่ีไดเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของนิติบุคคลท่ีเกี่ยวของ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันท่ีย่ืนคําขออนุญาตตอสํานักงาน

Page 18: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

15

(ค) ไมเปนบุคคลท่ีมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะท่ีเปน บิดามารดา คูสมรส พ่ีนอง และบุตร รวมท้ังคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลท่ีจะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย (ง) ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับนิติบุคคลท่ีเกี่ยวของ ในลักษณะท่ีอาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมท้ังไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ หรือผูบริหาร ของผูท่ีมีความสัมพันธทางธุรกิจกับนิติบุคคลที่เกี่ยวของเวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันท่ีย่ืนคําขออนุญาตตอสํานักงาน

“ความสัมพันธทางธุรกิจ” รวมถึงการทํารายการทางการคาท่ีกระทําเปนปกติเพ่ือประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ําประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอ่ืนทํานองเดียวกัน ซึ่งเปนผลใหผูขออนุญาตหรือคูสัญญามีภาระหน้ีท่ีตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ต้ังแตรอยละ 3ของสินทรัพยท่ีมีตัวตนสุทธิของผูขออนุญาตหรือต้ังแตย่ีสิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา ท้ังนี้ การคํานวณภาระหนี้ดังกลาวใหเปนไปตามวิธีการคํานวณมูลคาของรายการท่ีเกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนวาดวยหลักเกณฑในการทํารายการท่ีเกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แตในการพิจารณาภาระหนี้ดังกลาว ใหนับรวมภาระหนี้ท่ีเกิดขึ้นในระหวางหนึ่งปกอนวันท่ีมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (จ) ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของนิติบุคคลที่เกี่ยวของ และไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของนิติบุคคลท่ีเกี่ยวของสังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันท่ีย่ืนคําขออนุญาตตอสํานักงาน (ฉ) ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนท่ีปรึกษากฎหมายหรือท่ีปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากนิติบุคคลที่เกี่ยวของ ท้ังนี้ ในกรณีท่ีผูใหบริการทางวิชาชีพเปนนิติบุคคล ใหรวมถึงการเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการ ของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันท่ีย่ืนคําขออนุญาตตอสํานักงาน (ช) ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพ่ือเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูท่ีเกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท (ซ) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบรษิัท

อยางไรก็ตาม คณะกรรมการไดกําหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไวเขมกวาขอกําหนดของสํานักงาน ก.ล.ต. โดยกําหนดใหกรรมการอิสระถือหุนบริษัทไดไมเกินรอยละ 0.5 ขอความในขอ 4.1.6 นิติบุคคลที่เกี่ยวของหมายถึงบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน หรือนิติบุคคลท่ีอาจมีความขัดแยง

Page 19: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

16

4.1.7 วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการบริษัท ตามขอบังคับของบริษัท ขอ 12 ในการประชุมสามัญประจําปผูถือหุนทุกคร้ัง ใหมีการเลือกต้ังกรรมการชุดใหมท้ังคณะ 4.1.8 การดํารงตําแหนงกรรมการที่บริษัทอ่ืนของกรรมการบริษัท เพ่ือใหกรรมการแตละทานสามารถที่จะมีเวลาในการทําหนาท่ีไดอยางเต็มท่ี บริษัทจึงคํานึงถึงจํานวนบริษัทท่ีกรรมการดํารงตําแหนง โดยกําหนดจํานวนบริษัทจดทะเบียนสูงสุดท่ีประธานกรรมการ และกรรมการ จะดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นไดดังนี้

ประธานกรรมการ ใหดํารงตําแหนงไดเพียง 1 บริษัท (ยกเวนในกรณีท่ีเปนประธานกรรมการบริษัทท่ีอยูในกลุมเดียวกัน)

กรรมการบริษัท ใหดํารงตําแหนงไดไมเกิน 5 บริษัท ท้ังนี้ บริษัทไมมีขอจํากัดสําหรับกรรมการท่ีไปดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทท่ีไมไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ อ่ืน

4.1.9 การดํารงตําแหนงกรรมการที่บริษัทอ่ืนของผูบริหารระดับสูง ผูบริหารระดับสูง สามารถจะไปดํารงตําแหนงกรรมการหรือผูบริหารในบริษัทยอย บริษัทรวม กิจการท่ีควบคุมรวมกัน หรือบริษัทท่ีเกี่ยวของกันในกลุมบริษัทได ในกรณีท่ีเปนการดํารงตําแหนงในบริษัทอ่ืนนอกเหนือจากกลุมบริษัทดังกลาวแลวจะตองไดรับการอนุมัติจากกรรมการผูจัดการ

4.2 คณะกรรมการชุดยอยตางๆ 4.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ

องคประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการอิสระอยางนอย 3 คน โดยมีกรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คนมีความรูความสามารถทางดานบัญชีและการเงิน ประธานกรรมการตรวจสอบตองไมเปนบุคคลคนเดียวกับประธานกรรมการบริษัท วาระการดํารงตําแหนง 3 ป ภายใตเง่ือนไขวา ตองไดรับการเลือกต้ังกลับเขาเปนกรรมการบริษัทในการเลือกต้ังกรรมการแตละป

หนาท่ีและความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้งโยกยาย เลิกจางงานหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพ่ือทําหนาท่ีเปนผูสอบบัญชีของบริษัท และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง

Page 20: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

17

5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการท่ีอาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ท้ังนี้ เพ่ือใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้

(6.1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนท่ีเชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท (6.2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (6.3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท (6.4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี (6.5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน (6.6) จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน (6.7) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาท่ีตามกฎบัตร (charter) (6.8) รายการอื่นท่ีเห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนท่ัวไปควรทราบภายใตขอบเขตหนาท่ีและความรับผิดชอบท่ีไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

ในป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมท้ังหมด 4 ครั้ง สามารถประมวลจํานวนครั้งในการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทานไดดังนี้

4.2.2 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน องคประกอบของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวยสมาชิกสวนใหญท่ีเปนกรรมการอิสระ โดยมีประธานกรรมการกําหนดคาตอบแทนเปนกรรมการอิสระ และไมเปนบุคคลคนเดียวกับประธานกรรมการบริษัท วาระการดํารงตําแหนง 3 ป ภายใตเง่ือนไขวา ตองไดรับการเลือกต้ังกลับเขาเปนกรรมการบริษัทในการเลือกต้ังกรรมการแตละป

รายชื่อ ตําแหนง วาระการดํารง

ตําแหนง จํานวนคร้ังในการเขารวมประชุม

1. นายธีระ วิภูชนิน ประธานกรรมการตรวจสอบ

2551-2554 4/4

2. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ กรรมการอิสระ 2551-2554 4/4 3. นายวศิน ปจจักขะภัติ กรรมการอิสระ 2551-2554 4/4

Page 21: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

18

หนาท่ีและความรับผิดชอบของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน 1. กําหนดนโยบายและแนวทางในการกําหนดคาตอบแทนของกรรมการ กรรมการบริหาร และกรรมการ

ผูจัดการ พรอมท้ังนําเสนอตอท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัทและ/หรือท่ีประชุมผูถือหุนพิจารณาและอนุมัติ

2. กระทําการอื่นใดท่ีเกี่ยวของกับคาตอบแทนตามที่ไดรับมอบหมายใหกระทําการจากคณะกรรมการบริษัท

ในป 2552 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทนไดมีการประชุมท้ังหมด 2 ครั้ง สามารถประมวลจํานวนคร้ังในการเขารวมประชุมของกรรมการกําหนดคาตอบแทนแตละทานไดดังนี้

4.2.3 คณะกรรมการสรรหา องคประกอบของคณะกรรมการสรรหา ประกอบดวยสมาชิกสวนใหญท่ีเปนกรรมการอิสระ โดยมีประธานกรรมการสรรหาเปนกรรมการอิสระ และไมเปนบุคคลคนเดียวกับประธานกรรมการบริษัท วาระการดํารงตําแหนง 3 ป ภายใตเง่ือนไขวา ตองไดรับการเลือกต้ังกลับเขาเปนกรรมการบริษัทในการเลือกต้ังกรรมการแตละป หนาท่ีและความรับผิดชอบของคณะกรรมการกําหนดสรรหา 1. กําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาใหเปนไปตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบของ

คณะกรรมการที่คณะกรรมการกําหนดไว 2. พิจารณาสรรหาและเสนอชื่อบุคคลท่ีเหมาะสมท่ีจะมาดํารงตําแหนงกรรมการใหคณะกรรมการพิจารณา 3. พิจารณาสรรหาและเสนอชื่อบุคคลท่ีเหมาะสมท่ีจะมาดํารงตําแหนงผูบริหารระดับสูง โดยเฉพาะ

กรรมการผูจัดการ

ในป 2552 คณะกรรมการสรรหาไดมีการประชุมท้ังหมด 1 ครั้ง สามารถประมวลจํานวนคร้ังในการเขารวมประชุมของกรรมการสรรหาแตละทานไดดังนี้

รายชื่อ ตําแหนง วาระการดํารง

ตําแหนง จํานวนคร้ังในการเขารวมประชุม

1. นายธีระ วิภูชนิน ประธานกรรมการกําหนดคาตอบแทน

2551-2554 2/2

2. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ กรรมการอิสระ 2551-2554 2/2 3. นายวศิน ปจจักขะภัติ กรรมการอิสระ 2551-2554 2/2 4. นายวัง ชาง ยิง กรรมการ 2551-2554 2/2

Page 22: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

19

4.3 การประชุมคณะกรรมการ

บริษัทกําหนดใหมีการประชุมคณะกรรมการไตรมาสละ 1 ครั้งเปนอยางนอย หรือประธานกรรมการจะพิจารณาเห็นสมควรเรียกประชุมเปนวาระพิเศษเพ่ิมเติมตามความจําเปน โดยจะมีการกําหนดตารางการประชุมลวงหนาเปนรายป และแจงใหกรรมการแตละทานไดรับทราบกําหนดการดังกลาวในเดือนพฤศจิกายนของทุกป

เลขานุการบริษัทจะเปนผูเสนอวาระการประชุมท่ัวไปท่ีตองปฏิบัติตามกฎหมาย หรือระเบียบตางๆท่ีเกี่ยวของ สวนวาระที่นอกเหนือจากวาระดังกลาว ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการจะรวมกันพิจารณา ท้ังนี้กรรมการแตละทานสามารถเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุมได โดยสงวาระท่ีตองการเสนอผานทางเลขานุการบริษัทกอนวันประชุมลวงหนา 14 วัน เลขานุการบริษัทจะเปนผูรวบรวมวาระที่เสนอดังกลาวใหประธานกรรมการพิจารณากอนบรรจุเปนวาระการประชุม

บริษัทจะจัดสงเอกสารท่ีใชประกอบวาระการประชุมคณะกรรมการ พรอมหนังสือเชิญประชุม โดยระบุอยางชัดเจนวาเปนเรื่องท่ีจะเสนอเพ่ือทราบ เพ่ืออนุมัติ หรือเพ่ือพิจารณา แลวแตกรณีใหแกกรรมการทุกทานกอนการประชุมไมนอยกวา 7 วัน ท้ังนี้ เพ่ือใหกรรมการแตละทานไดมีเวลาศึกษาขอมูลกอนการประชุม ในระหวางการประชุม ประธานคณะกรรมการจะสนับสนุนใหมีการพิจารณาประเด็นตางๆ โดยจัดสรรเวลาอยางเพียงพอแกผูบริหารท่ีเกี่ยวของในการนําเสนอรายละเอียด เพ่ือใหกรรมการแตละทานสามารถสอบถามขอมูลเพ่ิมเติม รวมถึงการจัดสรรเวลาใหกรรมการสามารถอภิปรายปญหาสําคัญอยางเพียงพอ

ในป 2552 คณะกรรมการมีการประชุมตามวาระปกติ 4 ครั้ง สามารถประมวลจํานวนครั้งในการเขารวมประชุมของกรรมการบริษัทแตละทานไดดังนี้

รายชื่อ ตําแหนง วาระการดํารง

ตําแหนง จํานวนคร้ังในการเขารวมประชุม

1. นายธีระ วิภูชนิน กรรมการอิสระ 2551-2554 1/1 2. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ กรรมการอิสระ 2551-2554 1/1 3. นายวศิน ปจจักขะภัติ กรรมการอิสระ 2551-2554 1/1 4. นายวัง ชาง ยิง กรรมการ 2551-2554 1/1

รายชื่อ วาระการ การเขารวมประชุม (คร้ัง)

ดํารงตําแหนง วาระปกติ วาระพิเศษ รวม 1. นายวัง ตา เลียง 2552-2553 3 - 3 2. นายธีระ วิภูชนิน 2552-2553 4 - 4 3. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ 2552-2553 4 - 4 4. นายวศิน ปจจักขะภัติ 2552-2553 4 - 4 5. นายวัง ชาง ยิง 2552-2553 4 - 4 6. นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย 2552-2553 4 - 4 7. นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ 2552-2553 4 - 4 8. นางสาวปยธิดา สุขจันทร 2552-2553 4 - 4

Page 23: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

20

รายงานการประชุมไดมีการจัดทําเปนลายลักษณอักษร โดยมีการระบุ วันเวลาเริ่ม-เวลาเลิกประชุม ชื่อกรรมการที่เขาประชุมและกรรมการที่ขาดประชุม สรุปสาระสําคัญของเรื่องท่ีเสนอรวมถึงประเด็นท่ีมีการอภิปรายและขอสังเกตของกรรมการ มติคณะกรรมการและความเห็นของกรรมการที่ไมเห็นดวย ชื่อผูจดรายงาน และ ผูรับรองรายงาน และหลังจากท่ีผานการรับรองจากท่ีประชุมแลว เลขานุการบริษัทจะเปนผูจัดเก็บ เพ่ือใหพรอมสําหรับการตรวจสอบโดยผูท่ีเกี่ยวของ

กรรมการที่ไมใชผูบริหาร มีประชุมกันเองตามความจําเปนโดยไมมีฝายจัดการรวมอยูดวย ท้ังนี้เพ่ืออภิปรายปญหาตางๆเกี่ยวกับการจัดการท่ีมีประเด็นท่ีนาสนใจ และจะตองมีการแจงผลการประชุมใหกรรมการผูจัดการไดรับทราบ โดยในป 2552 กรรมการท่ีไมใชผูบริหาร มีโอกาสไดประชุมกันเองโดยไมมีกรรมการบริหารรวมอยูดวยจํานวน 1 ครั้ง

4.4 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ

กําหนดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการดวยตนเอง ตามแบบการประเมินของศูนยพัฒนาการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน โดยไดมีการประเมินผลการปฏิบัติงานปละ 1 ครั้ง ในเดือนกุมภาพันธของทุกป และใหกรรมการแตละทานนําสงแบบประเมินท่ีเลขานุการบริษัท เพ่ือรวบรวมผลการประเมินและแจงคณะกรรมการไดรับทราบ เพ่ือกําหนดแนวทางปรับปรุงในการทํางานตอไป

4.5 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารระดับสูง 1. คาตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน เปนผูทําหนาท่ีพิจารณาหลักเกณฑและรูปแบบในการจายคาตอบแทน กรรมการ และนําเสนอคณะกรรมการบริษัท เพ่ือขออนุมัติจากท่ีประชุมผูถือหุน ท้ังนี้ คาตอบแทนกรรมการ จะพิจารณาจากประสบการณ ภาระหนาท่ี ขอบเขตของบทบาทและความรับผิดชอบ โดยเปรียบเทียบกับ บริษัทอ่ืนท่ีอยูในอุตสาหกรรมเดียวกัน และจะใชผลการสํารวจการจายคาตอบแทนของบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยฯเปนเกณฑ ในการเปรียบเทียบในแตละป ท้ังนี้เพ่ือใหคาตอบแทนดังกลาวเพียงพอท่ีจะจูงใจและรักษากรรมการที่มีคุณภาพตามท่ีบริษัทตองการ

คาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอยตางๆ (บาท)

จํานวน 2551 2552

คาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท 8 4,380,000 4,476,000 คาตอบแทนของคณะกรรมการตรวจสอบ 3 1,548,000 1,668,000

นอกจากคาตอบแทนที่เปนตัวเงินแลว กรรมการตางประเทศท่ีมาเขารวมประชุมจะไดรับ คาต๋ัวเครื่องบิน คาท่ีพักและอาหาร รวมถึงกรมธรรมประกันความรับผิดของกรรมการและผูบริหาร เพ่ือคุมครองความเส่ียง ของกรรมการและผูบริหารในการปฏิบัติหนาท่ีใหบริษัท แตท้ังนี้จะไมใหความคุมครองในกรณีกระทําการโดย จงใจ หรือประมาทเลินเลออยางรายแรง หรือทุจริต

Page 24: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

21

2. คาตอบแทนผูบริหารระดับสูง คาตอบแทนผูบริหารระดับสูง จะเปนไปตามหลักเกณฑและนโยบายที่คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน กําหนดในแตละครั้ง ซึ่งสอดคลองกับความรูความสามารถและผลการดําเนินงานของบริษัท โดย คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเปนผูพิจารณา และนําเสนอจํานวนคาตอบแทนที่เหมาะสมตอ คณะกรรมการเพ่ือพิจารณาอนุมัติ ในป 2552 กรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ และผูบริหารระดับสูง ไดรวมกันกําหนดคาเปาหมายของตัววัดผลการดําเนินงานหลัก (Key Performance Indicators : KPIs) เพ่ือนํามาใชในการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ และผูบริหารระดับสูง ท้ังนี้ คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทนไดกําหนดใหนําผลการประเมินดังกลาวมาพิจารณาคาตอบแทน คาตอบแทนของผูบริหารระดับสูง (บาท) จํานวน 2551 2552

ผูบริหารระดับสูง 8 13,667,585 13,618,414 นอกเหนือจากเงินเดือนและโบนัส ผูบริหารระดับสูงจะไดรับคาตอบแทนอื่น ไดแก รถประจําตําแหนง บานพักพนักงาน คาประกันสุขภาพ คาประกันอุบัติเหตุ และคาใชจายอื่นท่ีเกี่ยวของ ท้ังนี้กรรมการผูจัดการและกรรมการบริหารจะไมไดรับคาตอบแทนอื่นๆ นอกจากน้ัน กรรมการบางทานท่ีไปดํารงตําแหนงเปนกรรมการและผูบริหารของบริษัทยอย จะไมไดรับ คาตอบแทนจากบริษัทยอย

4.6 การพัฒนากรรมการและผูบริหาร

บริษัทจัดใหมีการปฐมนิเทศสําหรับกรรมการใหม โดยจัดใหเย่ียมชมโรงงานโดยผูบริหารระดับสูง เพ่ือดูกระบวนการผลิตสินคาของบริษัท รวมถึงการแนะนําถึงลักษณะธุรกิจและภาพรวมการดําเนินธุรกิจของบริษัท และบริษัทยอย นอกจากนี้ยังจัดใหมีเอกสารดังตอไปนี้ สงมอบใหกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งใหม 1. คูมือกรรมการบริษัทจดทะเบียน ซึ่งมีหัวขอตางๆ ท่ีสําคัญ ไดแก บทบาทและหนาท่ีความรับผิดชอบ ขอหามการกระทําของกรรมการบริษัทตามกฎหมายท่ีเกี่ยวของ รวมทั้งบทบาทหนาท่ีของคณะกรรมการชุดยอยตางๆ 2. นโยบายการกํากับกิจการท่ีดี และจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัท 3. หนังสือบริคณหสนธิและขอบังคับของบริษัท 4. รายงานประจําป และแบบ 56-1 ฉบับลาสุด

นอกจากนี้บริษัทยังมีนโยบายในการสงเสริมใหกรรมการเขารับการอบรมหรือเขารวมกิจกรรมเพื่อเปนการเพ่ิมพูนความรูดานตางๆท่ีเกี่ยวของกับบทบาทหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายท้ังในฐานะกรรมการและกรรมการชุดยอยชุดตางๆเปนประจํา โดยเฉพาะการเขาอบรม DCP ของสมาคมกรรมการไทย เพ่ือสงเสริมให

Page 25: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

22

กรรมการบริษัทมีความรู ความเขาใจ ในกฎเกณฑ และขอกําหนดตางๆ ในการเปนกรรมการของบริษัทจดทะเบียน

4.7 จริยธรรมธุรกิจ

บริษัทตระหนักดีวาการปฏิบัติตามจริยธรรมของผูบริหารและพนักงานทุกคน เปนส่ิงจําเปนตอความม่ันคงและความสําเร็จขององคกรในระยะยาว

บริษัทเชื่อมั่นวาการมีหลักปฏิบัติเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการเสริมสรางและยกระดับการกํากับดูแลกิจการท่ีดี บริษัทจึงไดมีการปรับปรุงจริยธรรมธุรกิจ เพ่ือใหเหมาะสมกับสภาพธุรกิจในปจจุบัน โดยถือเปนการประมวลความประพฤติในทางที่ดีงาม และไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท พรอมท้ังประกาศใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทไดรับทราบ และไดจัดใหมีกระบวนการติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวอยางเครงครัดและตอเนื่อง

4.8 ความขัดแยงทางผลประโยชน

4.8.1 มาตรการการปองกันการใชขอมูลภายในของบริษัท

เพ่ือปองกันไมให กรรมการ และ ผูบริหาร นําขอมูลภายในของบริษัทไปใชเพ่ือประโยชนสวนตนและเปดเผยขอมูลแกบุคคลภายนอก บริษัทจึงไดกําหนดหลักเกณฑไวดังนี้

กําหนดใหผูบริหารรายงานการถือครองหลักทรัพยของบริษัท และรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยของบริษัท ตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทําการนับจากวันท่ีซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน และสงสําเนารายงานดังกลาวใหกับเลขานุการบริษัท รวมถึงใหผูบริหารรายงานการถือหลักทรัพยของบริษัทตอคณะกรรมการทุกไตรมาส ท้ังนี้ใหรวมถึงการปฎิบัติตามบทบัญญัติกฎหมายท่ีจะมีการแกไขเปล่ียนแปลงในอนาคตดวย (ถามี) คําวา “ผูบริหาร” หมายถึง กรรมการ ผูจัดการหรือผูดํารงตําแหนงระดับบริหารส่ีรายแรกนับตอจากกรรมการผูจัดการลงมา ผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทาผูบริหารรายที่ส่ีทุกรายและใหหมายความรวมถึงผูดํารงตําแหนงระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินท่ีเปนระดับผูจัดการฝายขึ้นไปหรือเทียบเทาซึ่งมีหนาท่ีตองจัดทําและสงรายงานการถือครองหลักทรัพยของบริษัท ท้ังในนามของตนเอง คูสมรสและบุตรท่ียังไมบรรลุนิติภาวะตอ ก.ล.ต.

หามไมใหกรรมการ ผูบริหาร ผูจัดการและพนักงานท่ีไดรับทราบขอมูลภายในของบริษัท เปดเผยขอมูลภายในดังกลาวแกบุคคลภายนอกหรือบุคคลท่ีไมมีหนาท่ีเกี่ยวของ และหามไมใหซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท ในชวง 1 เดือนกอนงบการเงินของบริษัทจะเผยแพรตอสาธารณชน

หามมิใหกรรมการ ผูบริหาร ผูจัดการและพนักงานใชขอมูลภายในของบริษัทท่ียังไมไดเปดเผยตอประชาชนอันเปนสาระสําคัญตอการเปล่ียนแปลงราคาหลักทรัพยของบริษัท ไปใชเพ่ือแสวงหาประโยชนสวน

Page 26: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

23

ตน และ/หรือ ชักชวนผูอ่ืนใหซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท หากฝาฝนขอกําหนดดังกลาวขางตน บริษัทจะดําเนินการตามกฎหมายและลงโทษแกผูกระทําความผิด

ในกรณีท่ีกรรมการ ผูบริหาร ผูจัดการและพนักงานกระทําการอันเปนความผิดอาญาตามกฎหมาย

วาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยโดยเจตนา บริษัทจะดําเนินการลงโทษอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยางรวมกันดังตอไปนี้

o ตัดเงินเดือนคาจางหรือคาตอบแทนและผลประโยชนอ่ืนใดที่ไดรับ o ใหออก ไลออก หรือปลดออกจากการเปน กรรมการ ผูบริหาร ผูจัดการหรือพนักงานโดย

ถือวาจงใจกอใหเกิดความเสียหายแกบริษัท ถาผูกระทําความผิดเปนกรรมการบริษัท ใหนําเสนอท่ีประชุมผูถือหุนเปนผูพิจารณาลงโทษ

o แจงการกระทําความผิดตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และหรือ ก.ล.ต. o แจงความดําเนินคดีตามกฎหมาย o ดําเนินการอื่นใดตามมติของคณะกรรมการบริษัท หรือท่ีประชุมผูถือหุนของบริษัท

4.8.2 การอนุมัติรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชน ในกรณีท่ีกรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลอื่น มีการตกลงเขาทํารายการท่ีเกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจจะมีความขัดแยงทางผลประโยชน และรายการเกี่ยวกับการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยท่ีสําคัญของกรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่เกี่ยวของกัน ตามความหมายที่กําหนดตามประกาศของ ก.ล.ต.และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่ใชบังคับอยูในขณะทํารายการดังกลาว โดยจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการตามท่ีประกาศดังกลาวกําหนดในเรื่องนั้นๆ โดยเครงครัด โดยบริษัท ไดกําหนดมาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการดังกลาวดังนี้ (1) หามไมใหบุคคลท่ีมีสวนไดเสียหรือท่ีอาจจะมีความขัดแยงทางผลประโยชนอนุมัติรายการท่ีเกี่ยวของกับตนได (2) การกําหนดราคาหรือคาตอบแทนจะตองเปนไปตามปกติทางธุรกิจและเงื่อนไขทางการคาท่ัวไปโดยคํานึงถึงผลประโยชนของบริษัท เปนสําคัญ (3) คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหความเห็นกอนทํารายการดังกลาว ถาคณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการใหความเห็นในเรื่องหรือรายการใด บริษัทจะตองจัดใหผูเชี่ยวชาญอิสระเปนผูใหความเห็นตอคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อประกอบการพิจารณากล่ันกรอง กอนจะนําเสนอคณะกรรมการบริษัท และท่ีประชุมผูถือหุนเพ่ือพิจารณาอนุมัติ อยางไรก็ตาม เพ่ือใหธุรกรรมตางๆสามารถดําเนินไปไดตามปกติ คณะกรรมการไดอนุมัติในหลักการใหผูบริหารสามารถทํารายการระหวางกันท่ีเกิดขึ้นเฉพาะบริษัทกับบริษัทยอย หากธุรกรรมเหลานั้นเขาลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังตอไปนี้

1. เปนขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับวิญูชนจะพึงกระทํากับคูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอรองทางการคาท่ีปราศจากอิทธิพลในการท่ีตนมีลักษณะเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลท่ีมีความเกี่ยวของ

Page 27: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

24

2. เปนรายการทดรองจายท่ีสมเหตุสมผลท่ีเกิดจากการดําเนินการตามปกติทางธุรกิจ โดยมีการเรียกเก็บตามท่ีจายจริง

ท้ังนี้ ผูบริหารจะตองรายงานการทําธุรกรรมท่ีมีขนาดเกินกวา 100,000 บาท ใหคณะกรรมการไดรับทราบทุกไตรมาส

(4) บริษัทจะตองเปดเผยการทํารายการดังกลาวตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี ก.ล.ต. และหรือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด

4.8.3 การเปดเผยขอมูลสวนไดเสียของกรรมการ ผูบริหาร และผูเก่ียวของ เพ่ือใหคณะกรรมการสามารถตัดสินใจเพ่ือประโยชนโดยรวมของบริษัท และใหกรรมการ และ ผูบริหาร ท่ีมีรายการหรือธุรกรรมท่ีมีสวนไดเสียท่ีเกี่ยวของกับกิจการของบริษัท ไดปฏิบัติตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ท่ี ทจ. 2/2552 เรื่อง รายงานการมีสวนไดเสียของกรรมการ ผูบริหาร และบุคคลท่ีมีความเกี่ยวของ บริษัทจึงไดกําหนดหลักเกณฑไวดังนี้

กรรมการ ผูบริหาร และผูท่ีเกี่ยวของ มีรายการหรือธุรกรรมท่ีมีสวนไดเสียท่ีเกี่ยวของกับการบริหารจัดการกิจการ ของบริษัทหรือบริษัทยอย ท่ีมีขนาดของรายการมากกวาหรือ เทากับ 1 ลานบาท หรือ 0.03% ของสินทรัพยท่ีมีตัวตนสุทธิ (NTA) ของบริษัทหรือบริษัทยอย แลวแตจํานวนใดจะสูงกวา ใหจัดทํารายงานดังกลาวตามแบบฟอรมท่ีกําหนด และสงมอบใหเลขานุการบริษัท ภายใน 7 วันทําการ นับจากวันท่ีมีรายการเกิดขึ้น ในกรณีท่ีมีรายการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นทุกคร้ัง ใหแจงรายงานการเปล่ียนแปลงดังกลาว ภายใน 7 วันทําการ นับจากวันท่ีมีรายการเปล่ียนแปลงดังกลาวเกิดขึ้น

ใหเลขานุการบริษัทจัดสงสําเนารายงานที่ไดรับตามวรรค 1 ใหประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบภายใน 7 วันทําการ นับแตวันท่ีไดรับรายงานนั้น

กรรมการ และ ผูบริหาร ท่ีมีสวนไดเสียในเรื่องท่ีมีการพิจารณาในที่ประชุม ไมสามารถเขารวมในการพิจารณาและตองออกจากหองประชุม รวมถึงบริษัทจะไมจัดสงเอกสารในเรื่องดังกลาวใหกับกรรมการแลผูบริหารดังกลาว

ใหมีการเปดเผยขอมูลการมีสวนไดเสียในรายงานประจําป และ แบบ 56-1

4.9 การควบคุมและการตรวจสอบภายใน

เพ่ือใหงานตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระ สามารถทําหนาท่ีตรวจสอบไดอยางเต็มท่ี คณะกรรมการตรวจสอบจึงไดพิจารณาใหบริษัทวาจางบุคคลภายนอก ซึ่งเปนบริษัทตรวจสอบบัญชี และอยูในรายชื่อของผูตรวจสอบบัญชีบริษัทในตลาดหลักทรัพยฯ ทําหนาท่ีตรวจสอบภายในของบริษัท ท้ังนี้ เพ่ือใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานและกิจกรรมทางการเงินของบริษัทไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดท่ีเกี่ยวของ (Compliance Controls) โดย

Page 28: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

25

กําหนดใหผูตรวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบเปนประจํารายไตรมาส

4.10 การบริหารความเส่ียง

บริษัทมีนโยบายในการกําหนดใหการบริหารความเส่ียงเปนสวนหนึ่งของการบริหารจัดการ เพ่ือใหวัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัท สามารถปฏิบัติไดบรรลุตามท่ีไดต้ังไว โดยผูบริหารและพนักงานทุกคนในบริษัทเปนเจาของความเสี่ยง และมีหนาท่ีในการประเมินความเส่ียงของแตละหนวยงานและกระบวนการทํางาน ประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมท่ีมีอยู พรอมท้ังนําเสนอแผนงานและวิธีการในการลดความเส่ียง

4.11 แผนสืบทอดงาน

บริษัทมีการวางแผนการสืบทอดงาน โดยการรับพนักงานในตําแหนง Management Trainees เพ่ือพัฒนาความรู ความสามารถ ใหเปนผูบริหารของบริษัทตอไปในอนาคต นอกจากนี้ บริษัทไดใหกําหนดบุคคลดังตอไปนี้ปฏิบัติหนาท่ีแทนกรรมการผูจัดการ ในกรณีท่ีกรรมการผูจัดการไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได 1. นายอําพล สิมะโรจนา ผูชวยกรรมการผูจัดการ เปนผูดูแลและตัดสินใจในเรื่องท่ีเกี่ยวของกับโรงงาน ท้ัง

ของบริษัท และบริษัทยอย 2. น.ส. อัญชลี สืบจันทศิริ กรรมการบริหาร เปนผูดูแลและตัดสินใจในเรื่องอื่นๆ ท้ังของบริษัท และบริษัท

ยอย

Page 29: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขอมูลทั่วไป

26

ขอมูลบริษัท

ชื่อบริษัท : บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) เลขทะเบียนบริษัท : 0107536000404 (เดิมเลขที่ บมจ.114) Home Page : www.upoic.co.th ประเภทธุรกิจ : ทําสวนปาลม และสกัดน้ํามันปาลมดิบและน้ํามันเมล็ดในปาลมดิบ ทุนจดทะเบียน : 324,050,000 บาท จํานวนหุนสามัญท่ีออกจําหนายแลว : 324,050,000 หุน มูลคาท่ีตราไวหุนละ : 1 บาท สํานักงานใหญ : 64 ชั้น 1 ซ. บางนา-ตราด 25 แขวงบางนา

เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท 02-744 1046-8 โทรสาร 02-744 1049

สํานักงานกระบ่ีและโรงงาน : 98 หมู 6 ถนนเหนือคลอง-เขาพนม ตําบลหวยยูง อําเภอเหนือคลอง กระบ่ี 81130 โทรศัพท 075-666 075-80 โทรสาร 075-666 072

สวนปาลมของบริษัท : บริษัทและบริษัทยอยมีพ้ืนท่ีปลูกปาลม 44,354.82 ไร (7,096.77 เฮคเตอร) เปนพ้ืนท่ีปลูกปาลมจริง โดยไมรวมพ้ืนท่ีของ อาคาร, หนองบึง, พ้ืนท่ีสํารอง และพ้ืนท่ีเพาะกลาปาลมน้ํามัน

รายละเอียดของสวน 1. สวนกระบ่ีนอย 7,359.31 ไร (1,177.49 เฮคเตอร) 78 หมู 4 ตําบลกระบ่ีนอย อําเภอเมือง กระบ่ี 2. สวนเขาพนม 5,191.19 ไร (830.59 เฮคเตอร) 38/2 หมู 8 ตําบลเขาพนม อําเภอเขาพนม กระบ่ี 3. สวนเขาเขน 3,032.25 ไร (485.16 เฮคเตอร) ตําบลอาวลึกใต อําเภออาวลึก กระบ่ี 4. สวนบานหมาก 3,840.75 ไร (614.52 เฮคเตอร) 65/1 หมู 6 ตําบลบางสวรรค อําเภอพระแสง สุราษฎรธานี 5. สวนเกาะนอย 3,582.38 ไร (573.18 เฮคเตอร) 904 หมู 2 ตําบลบางสวรรค อําเภอพระแสง สุราษฎรธานี

รวมพ้ืนท่ีปลูกปาลมของบริษัท 23,005.88 ไร (3,680.94 เฮคเตอร)

6. สวนเคียนซา 8,467.44 ไร (1,354.79 เฮคเตอร) เปนท่ีดินสัมปทานของบริษัทยอย

229 หมู 2 ตําบลเคียนซา อําเภอเคียนซา สุราษฎรธานี 7. สวนชัยบุรี 12,881.50 ไร (2,061.04 เฮคเตอร)

เปนท่ีดินสัมปทานของบริษัทยอย 16 หมู 5 ตําบลชัยบุรี อําเภอชัยบุรี สุราษฎรธานี

รวมพ้ืนท่ีปลูกปาลมของบริษัทยอย 21,348.94 ไร (3,415.83 เฮคเตอร)

รวมพ้ืนท่ีปลูกปาลมท้ังหมด 44,354.82 ไร (7,096.77 เฮคเตอร)

Page 30: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขอมูลทั่วไป

27

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ข้ึนไป

1. ชื่อบริษัท : บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด

สํานักงาน : 98 หมู 6 ถนนเหนือคลอง-เขาพนม

ตําบลหวยยูง อําเภอเหนือคลอง กระบ่ี 81130

โทรศัพท 075-666 075-80

โทรสาร 075-622 072

ประเภทธุรกิจ : ถือหุนรอยละ 99.99 ในบริษัท พันธศรี จํากัด

และบริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด ท่ีถือสัมปทานสวนปาลมน้ํามัน มีพ้ืนท่ีสัมปทานรวม 30,600 ไร

ทุนจดทะเบียน : 27,400 หุน (มูลคาท่ีตราไวหุนละ 10,000 บาท)

จํานวนหุนสามัญท่ีบริษัทถืออยู : 27,394 หุน คดิเปนรอยละ 99.98

หมายเหต ุ:

บริษัท พันธศรี จํากัด สํานักงาน : 98 หมู 6 ถนนเหนือคลอง-เขาพนม

ตําบลหวยยูง อําเภอเหนือคลอง กระบ่ี 81130

โทรศัพท 075-666 075-80

โทรสาร 075-666 072

ท่ีต้ังสัมปทาน : ตําบลชัยบุรี กิ่งอําเภอชัยบุรี สุราษฎรธานี

พ้ืนท่ีสัมปทาน : 20,000 ไร

ระยะเวลาการใชประโยชน : ต้ังแตวันท่ี 2 มกราคม 2528 ถึงวันท่ี 1 มกราคม 2558

ทุนจดทะเบียน : 500 หุน (มูลคาท่ีตราไวหุนละ 10,000 บาท)

บริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด สํานักงาน : 98 หมู 6 ถนนเหนือคลอง-เขาพนม

ตําบลหวยยูง อําเภอเหนือคลอง กระบ่ี 81130

โทรศัพท 075-666 075-80

โทรสาร 075-666 072

ท่ีต้ังสัมปทาน : ตําบลเคียนซา และตําบลคามวารี อําเภอเคียนซา สุราษฎรธานี

พ้ืนท่ีสัมปทาน : 10,600 ไร

ระยะเวลาการใชประโยชน : ต้ังแตวันท่ี 9 กรกฎาคม 2527 ถึงวันท่ี 8 กรกฎาคม 2557

ทุนจดทะเบียน : 5,000 หุน (มูลคาท่ีตราไวหุนละ 1,000 บาท)

Page 31: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขอมูลทั่วไป

28

2. ชื่อบริษัท : บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด สํานักงานใหญ : 64 ชั้น 1 ซ. บางนา-ตราด 25 แขวงบางนา

เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท 02-744 1046-8 โทรสาร 02-744 1049

สํานักงานกระบ่ี : 98 หมู 6 ถนนเหนือคลอง-เขาพนม

ตําบลหวยยูง อําเภอเหนือคลอง กระบ่ี 81130

โทรศัพท 075-666 075-80

โทรสาร 075-666 072

ประเภทธุรกิจ : เพาะเมล็ดพันธุปาลม

ทุนจดทะเบียน : 5,000,000 หุน (มูลคาท่ีตราไวหุนละ 10 บาท)

จํานวนหุนสามัญท่ีบริษัทถืออยู : 2,500,000 หุน คิดเปนรอยละ 50.00

Page 32: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท
Page 33: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

30

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) เปนเจาของสวนปาลมซึ่งผลิตน้ํามันปาลมดิบ (CPO) จากทะลายผลปาลมสด (FFB) ของบริษัทและซื้อจากชาวสวนภายนอกที่มีสวนอยูใกลกับโรงสกัดน้ํามันปาลมดิบ (POM) ผลผลิตสวนนอยอื่นๆ คือน้ํามันเมล็ดในปาลมดิบ (PKO) ซึ่งสกัดจากเมล็ดในปาลม (PK) และกากเมล็ดในปาลม (PKC) ซึ่งเปนผลพลอยไดจากการผลิตน้ํามันเมล็ดในปาลมดิบ ซึ่งใชในอุตสาหกรรมอาหารสัตว

บริษัทมีพ้ืนที่สวนปาลมที่มีขนาดใหญท่ีสุดในประเทศไทยโดยมีพ้ืนที่ปลูกปาลมรวม 44,356 ไร (7,097 เฮคเตอร) ในจังหวัดกระบี่และสุราษฎรธานี

บริษัทมีโรงสกัดน้ํามันปาลมดิบซึ่งตั้งอยูท่ีจังหวัดกระบี่สามารถสกัดทะลายผลปาลมสดได 360,000 ตันตอป (60 ตันตอชั่วโมง) และโรงสกัดน้ํามันเมล็ดในปาลมดิบมีกําลังการผลิต 26,500 ตันของเมล็ดในปาลมตอป

รายไดของบริษัทมาจากการขายภายในประเทศจากผลผลิตหลักๆ คือน้ํามันปาลมดิบ น้ํามันเมล็ดในปาลมดิบ และกากเมล็ดในปาลม ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักสําหรับผลิตสินคาตอเนื่องในอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม เชน น้ํามันที่ใชในการปรุงอาหาร อาหารสัตว เนย เนยเทียม สบู แชมพู ผงซักฟอก น้ํายาลางจาน เครื่องสําอาง และผลิตภัณฑอาหารอื่นๆ เชน ขนมและไอศครีม กากเมล็ดในปาลมใชมากในฟารมเปดไกและโรงงานอาหารสัตว

โครงสรางรายได

ผลิตภัณฑ/บริการ ป 2550 ป 2551 ป 2552

ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %

น้ํามันปาลมดิบ 541 84.80 1,098 84.12 692 84.00

น้ํามันเมล็ดในปาลมดิบ 74 11.60 137 10.49 93 11.27

อื่นๆ 23 3.60 70 5.39 38 4.73

รวมมูลคาการจําหนาย 638 100.00 1,305 100.00 823 100.00

หมายเหตุ : การจําหนายผลิตภัณฑขางตนดําเนินการโดย UPOIC

Page 34: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

31

การเปลี่ยนแปลงที่สําคญัในปที่ผานมา มูลคาหุนที่ตราไว (Par Value) : เปลี่ยนแปลงจาก 10 บาทเปน 1 บาท

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2552 คณะกรรมการไดมีมติอนุมัติใหเปล่ียนมูลคาหุนท่ี

ตราไว (Par Value) จากหุนละ 10 บาทเปนหุนละ 1 บาท เพ่ือใหหุนของบริษัทมีสภาพคลองในตลาดหลักทรัพยฯสูงขึ้น

การกํากับดูแลกิจการ : เปลี่ยนแปลงรายชื่อกรรมการที่มีอํานาจลงนามแทนบริษัท

จากการท่ีสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยไดมีหนังสือเวียนเรื่องการปรับปรุงขอกําหนด

เกี่ยวกับกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ โดยหามกรรมการตรวจสอบมีสวนรวมในการบริหารงานของบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2552 คณะกรรมการจึงมีมติใหเปล่ียนแปลงรายชื่อกรรมการซึ่งมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท โดยแยกรายชื่อกรรมการตรวจสอบออก และแกไขหนังสือรบัรอง ขอ 3

การกํากับดูแลกิจการ : เปลี่ยนตําแหนงของนาย วัง ชาง ยิง จากกรรมการบริหาร เปน กรรมการ

จากการท่ีสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยไดมีหนังสือเวียนกําหนดนิยามการเปน

“กรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน” ดังนั้น เมื่อวันท่ี 13 สิงหาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทจึงมีมติเห็นชอบใหเปล่ียนตําแหนงของนาย วัง ชาง ยิง จากรรมการบริหาร เปน กรรมการ

การกํากับดูแลกิจการ : การกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ

บริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการท่ีดี อันเปนปจจัยในการเสริมสรางใหองคกรดําเนินธุรกิจดวยความโปรงใส เปนธรรม และปฏิบัติตอผูมีสวนไดสวนเสียอยางเทาเทียมกัน มีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ โดยมีเปาหมายใหธุรกิจเติบโตอยางย่ังยนื จึงไดมีการกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการเพ่ือใหเปนหลักในการดําเนินธุรกิจ โดยไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการไปเมื่อวันท่ี 13 สิงหาคม 2552

บริษัทตระหนักดีวาการปฏิบัติตามจริยธรรมของผูบริหารและพนักงานทุกคน เปนส่ิงจําเปนตอความมั่นคงและ

ความสําเร็จขององคกรในระยะยาว บริษัทเชื่อมั่นวาการมีหลักปฏิบัติเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการเสริมสรางและยกระดับการกํากับดูแลกิจการท่ีดี บริษัทจึงไดมีการปรับปรุงจริยธรรมธุรกิจ เพ่ือใหเหมาะสมกับสภาพธุรกิจในปจจุบัน โดยถือเปนการประมวลความประพฤติในทางที่ดีงาม และไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันท่ี 13 สิงหาคม 2552 พรอมท้ังประกาศใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทไดรับทราบ และไดจัดใหมีกระบวนการติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวอยางเครงครัดและตอเนื่อง

Page 35: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

32

การผลิต : โครงการผลิตพลังงานไฟฟาจากกาซชีวภาพภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM)

บริษัทไดดําเนินโครงการผลิตพลังงานไฟฟาจากกาซชีวภาพเพ่ือนําไปใชเองภายในโรงงานและจําหนายใหแกการ

ไฟฟาสวนภูมิภาค

Page 36: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ปจจัยเสี่ยง

33

1. สภาพภูมิอากาศ

เนื่องจากวัตถุดิบหลักของบริษัทและบริษัทยอยมาจากผลผลิตทางการเกษตร แนวโนมผลการดําเนินงานของบริษัทและบริษัทยอยยังคงขึ้นอยูกับปจจัยท่ีควบคุมไมได ไดแก สภาพภูมิอากาศ ปริมาณน้ําฝน และผลผลิตของวัตถุดิบท่ีออกสูตลาดในแตละฤดูกาล นอกจากนี้ ในสวนของบริษัทเองยังขึ้นอยูกับปริมาณและราคาผลปาลมสด ซึ่งเปนตนทุนการผลิตหลักของโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบ

2. ราคานํ้ามันปาลมผันผวน

ราคาน้ํามันปาลมดิบรายเดือนโดยเฉลี่ยในป 2552 มีการเคล่ือนไหวในชวงระหวาง 21.48-27.51 บาทตอ

กิโลกรัม และราคาเฉล่ียท้ังปอยูท่ี 24.33 บาทตอกิโลกรัม ลดลงรอยละ 16 จากป 2551 ในปจจุบัน มีความตองการใชน้ํามันปาลมเพ่ือนําไปผลิตเปนพลังงานทดแทน จึงทําใหราคาน้ํามันปโตรเลียมกลายมาเปนอีกปจจัยหนึ่งท่ีมีสวนกําหนดราคาน้ํามันปาลมดวย ซึ่งยิ่งจะทําใหราคาน้ํามันปาลมในปจจุบันมีความผันผวนมากขึ้น อยางไรก็ตาม บริษัทสามารถบรรเทาความเสียหายท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากภาวะความเสี่ยงดังกลาวไดจากการบริหารจัดการสินคาคงคลังท้ังในดานวัตถุดิบและสินคาเพ่ือจําหนายอยางระมัดระวัง และจะตองติดตามตัวเลขท่ีเกี่ยวของกับผลผลิต การสงออก ปริมาณน้ํามันปาลมคงเหลือท้ังในประเทศและตางประเทศ รวมถึงราคาน้ํามันปโตรเลียมในตลาดโลกอยางใกลชิด เพ่ือใชคาดการณราคาและปริมาณผลปาลมสดท่ีจะออกสูตลาดในแตละฤดู

3. จํานวนโรงงานสกัดนํ้ามันปาลมดิบเพิ่มข้ึนอยางตอเน่ือง จํานวนโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบไดเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่อง พรอมๆ กับโรงงานที่มีอยูเดิมก็มีการขยายกําลัง

การผลิต ปจจุบัน โรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบมีจํานวนประมาณ 65 โรง สวนใหญอยูในเขต จังหวัดกระบ่ี สุราษฎรธานี ชุมพร และตรัง มีกําลังการผลิตของโรงงานรวมท้ังส้ินประมาณ 18 ลานตันผลปาลมสดตอป ซึ่งไมสอดคลองกับผลปาลมสดในป 2552 ท่ีมปีริมาณ 8,021,495 ตัน (ลดลงจากป 2551 คิดเปนรอยละ 13.31) จากพ้ืนท่ีเพาะปลูกปาลมท่ีใหผลผลิตแลวท่ีมีอยูประมาณ 2.8 ลานไร ทําใหอัตราการใชกําลังการผลิตโดยรวมของโรงสกัดท้ังหมดอยูประมาณรอยละ 44 สงผลใหมีการแขงขันกันซื้อผลปาลมสดในราคาสูง โดยไมคํานึงถึงคุณภาพเทาท่ีควร

อยางไรก็ตาม การที่บริษัทมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี รวมถึงการมีระบบคุณภาพมาตรฐานตางๆ รองรับ และการเขารวมโครงการประหยัดพลังงาน และมีธุรกิจน้ํามันปาลมท่ีครบวงจรจะเปนปจจัยสําคัญท่ีทําใหบริษัทสามารถควบคุมตนทุนการผลิตได

Page 37: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ปจจัยเสี่ยง

34

4. พื้นท่ีปลูกปาลมสวนหน่ึงเปนพื้นท่ีสัมปทาน

เนื่องจากบริษัทมีพ้ืนท่ีปลูกปาลมน้ํามันท่ีเปนพ้ืนท่ีสัมปทานประมาณ 21,349 ไร คิดเปนรอยละ 48 ของ

พ้ืนท่ีปลูกปาลมท้ังหมดของบริษัท โดยแบงเปนสวนชัยบุรีจํานวน 12,881.50 ไร ซึ่งจะหมดอายุสัมปทานลงในอีก 5 ปขางหนา และสวนเคียนซา 8,467.44 ไร ซึ่งจะหมดอายุสัมปทานลงในอีก 4 ปขางหนา แตสวนเคียนซาไดทับซอนกับท่ีราชพัสดุซึ่งอาจถูกปรับเง่ือนไขการเชา ความเส่ียงท่ีจะเกิดขึ้นในระยะยาวก็คือหากรัฐบาลมีนโยบายไมตออายุสัมปทานสวนปาลมดังกลาว บริษัทจะตองรับซื้อผลปาลมสดจากบุคคลภายนอกในสัดสวนสูงขึ้นเพ่ือทดแทนผลปาลมสดท่ีขาดไปจากพ้ืนท่ีสัมปทานสงผลไปยังตนทุนวัตถุดิบท่ีสูงขึ้น บริษัทคาดวาจากการท่ีบริษัทเปนผูประกอบการรายใหญท่ีมีความสัมพันธท่ีดีกับชาวสวนปาลมบริเวณใกลเคียงและมีการซ้ือผลปาลมจากภายนอกมาอยางตอเนื่องจะทําใหแนวโนมท่ีบริษัทจะประสบปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบลดลง นอกจากนั้น การท่ีบริษัทมีระบบการผลิตท่ีไดรับการปรับปรุงประสิทธิภาพอยูเสมอ จะทําใหบริษัทสามารถควบคุมตนทุนการผลิตได

5. การจําหนายนํ้ามันปาลมดิบใหแกลูกคารายใหญ

ในป 2551 และป 2552 บริษัทมีการจําหนายน้ํามันปาลมดิบ น้ํามันเมล็ดในปาลมดิบ และผลปาลมสดใหกับ

ลูกคารายใหญรายเดียว ซึ่งไดแก บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (LST) คิดเปนสัดสวนรอยละ 87 และรอยละ 92 ตามลําดับ ทําใหอาจเกิดความเส่ียงในดานการพ่ึงพิงลูกคารายใดรายหนึ่งเปนสําคัญ แตเนื่องจาก LST มีความสัมพันธท่ีดีกับบริษัทมาเปนเวลานานและเปนผูถือหุนรายใหญของบริษัท รวมท้ังเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีฐานะการเงินท่ีแข็งแกรง และมีชื่อเสียงเปนท่ียอมรับในอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม บริษัทจึงเชื่อมั่นวาโอกาสความเสี่ยงจากการสูญเสียลูกคารายนี้ไป หรือลูกคารายนี้ประสบปญหาทางการเงินจึงเกิดขึ้นนอย นอกจากนั้น บริษัทยังมีความสามารถในการขายสินคาใหกับลูกคารายอ่ืนไดอีกดวย โดยเฉพาะในปจจุบันน้ํามันปาลมมิไดนํามาใชเพ่ือการบริโภคเพียงอยางเดียว แตยังสามารถนํามาใชเปนพลังงานทดแทนไดอีกดวย ทําใหน้ํามันปาลมเปนท่ีตองการท้ังในตลาดในประเทศและตางประเทศ

Page 38: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

35

ภาพรวมป 2552

พ้ืนท่ีใหผลผลิต ปจจุบันประเทศไทยมีพ้ืนท่ีเพาะปลูกปาลมน้ํามันท่ีใหผลผลิตแลวประมาณ 2.8 ลานไร โดยรอยละ 95 ของพ้ืนท่ีปลูกท้ังหมดอยูในภาคใต ไดแก กระบ่ี สุราษฎรธานี ชุมพร และตรัง แนวโนมพ้ืนท่ีการปลูกปาลมน้ํามันจะขยายอยางตอเนื่องโดยเฉพาะในเขตพื้นท่ีภาคกลาง ภาคเหนือและภาคอีสาน ท้ังนี้เนื่องมาจากการศึกษาทดลองท่ีกรมสงเสริมการเกษตรไดดําเนินการมาเปนเวลา 5 ป ตามโครงการพืชพลังงาน ประกอบกับแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมป 2551-2555 โดยเฉพาะการขยายพื้นท่ีเพาะปลูกปละ 500,000 ไร รวม 2.5 ลานไร รวมถึงโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป (พ.ศ. 2551-2565) โดยเฉพาะการใชน้ํามันปาลมเปนวัตถุดิบหลัก เพ่ือทดแทนการนําเขาพลังงานจากตางประเทศและมุงสงเสริมการใชน้ํามันไบโอดีเซล B3 B5 และพัฒนาถึง B10 ทําใหเกษตรกรผูสนใจริเริ่มปลูกปาลมน้ํามันเพ่ิมมากขึ้นท่ัวทุกภาค ประมาณการไดวาในพ้ืนท่ีภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคอีสาน จะขยายพ้ืนท่ีปลูก 100,000 ไร/ป สวนในพ้ืนท่ีภาคใตและภาคตะวันออกจะขยายพ้ืนท่ีปลูกประมาณปละ 300,000 ไร นอกจากนี้จะมีการปลูกทดแทนเฉพาะพ้ืนท่ีภาคใตอีกประมาณ 20,000 ไร/ป

หากมีการขยายพ้ืนท่ีปลูกเปนเชนนี้จะกอใหเกิดความตองการปจจัยการผลิตและแรงงานเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการสรางงานใหกับเกษตรกรในภาคเหนือและภาคอีสาน ทําใหเกษตรกรมีรายไดเพ่ิมมากขึ้นและลดปญหาการเคล่ือนยายแรงงานระหวางภาคไดดวย นอกจากนี้ความตองการเมล็ดพันธุจะเพ่ิมขึ้นปละ 10 ลานเมล็ด ซึ่งจะทําใหธุรกิจผลิตเมล็ดพันธุมีรายไดเพ่ิมขึ้น

ผลผลิต/ผลผลิตตอไร ในป 2552 ท้ังปริมาณผลปาลมสดและราคาปรับตัวลดลงจากป 2551 โดยผลปาลมสดลดลงจาก

9.2 ลานตันในป 2551 เปน 8.0 ลานตันในป 2552 โดยผลผลิตต่ําสุดอยูในเดือนธันวาคม ท่ี 430,145 ตัน สูงสุดในเดือนมีนาคมท่ี 828,083 ตัน ทําใหการผลิตน้ํามันปาลมดิบท้ังป อยูท่ี 1,345,245 ตัน ลดลงประมาณรอยละ 13 จากป 2551 จากตัวเลขผลผลิตดังกลาวจะเห็นวาอัตราการสกัดน้ํามัน (Oil Extraction Rate : OER) ในป 2552 ของทั้งประเทศโดยเฉล่ียอยูท่ีรอยละ 16.8 ซึ่งอยูในระดับเดียวกับป 2551 โดยมีปริมาณน้ํามันปาลมคงเหลือในรูปน้ํามันปาลมดิบ ณ ส้ินป 2552 จํานวน 137,559 ตัน (ตัวเลขจากกรมการคาภายใน) เมื่อเปรียบเทียบกับ ณ ส้ินป 2551 ท่ี 107,947 ตัน

ที่มา : กรมการคาภายใน

Page 39: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

36

กําลังการผลิต การเพ่ิมขึ้นของจํานวนโรงสกัดน้ํามันปาลมจากประมาณ 43 โรงในป 2542 จนในปจจุบันมีโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบ

ประมาณ 65 โรง มีกําลังการผลิตของโรงงานรวมทั้งส้ินประมาณ 18 ลานตันผลปาลมสดตอปนั้น ยังคงสูงกวาปริมาณผลปาลมสดท่ีออกสูตลาดในป 2552 ท่ี 8 ลานตัน จากพ้ืนท่ีเพาะปลูกท่ีใหผลผลิตแลวท่ีมีอยูประมาณ 2.8 ลานไร จะเห็นวากําลังการผลิตของโรงสกัดน้ํามันปาลมดิบมีมากกวาอุปทานของผลปาลมสดท่ีมีอยูในปจจุบันกวารอยละ 50 ภาวะความไมสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทานดังกลาวสงผลตอเสถียรภาพราคาของน้ํามันปาลมดิบซึ่งเปนอุปสรรคสําคัญตอการแขงขันและการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมของประเทศไทย

สถานการณตลาดและราคา ในป 2552 ราคาน้ํามันปาลมดิบในตลาดโลกโดยเฉลี่ยต่ํากวาป 2551 นับเปนการพักตัว

หลังจากการปรับตัวสูงขึ้นติดตอกันเปนเวลา 3 ป โดยในเดือนมกราคม ราคาน้ํามันปาลมดิบในตลาดลวงหนากําหนดสงมอบเดือนท่ีสามของประเทศมาเลเซีย (Bursa Malaysia Derivatives : 3rd Month) ปดแตะระดับต่ําสุดของปท่ี 1,740 ริงกิตตอตัน และปดแตะระดับสูงสุดของปในเดือนพฤษภาคมท่ี 2,789 ริงกิตตอตัน เฉล่ียแลวท้ังป 2552 ราคาน้ํามันปาลมดิบในตลาดลวงหนากําหนดสงมอบเดือนท่ีสามของประเทศมาเลเซีย อยูท่ีประมาณ 2,232 ริงกิตตอตัน เปรียบเทียบกับ 2,852 ริงกิตตอตันในป 2551 คิดเปนลดลงรอยละ 22

สวนสถานการณดานราคาน้ํามันปาลมดิบในประเทศในป 2552 ราคาเฉล่ียรายเดือนแกวงตัวไมมากนักเมื่อเทียบกับป

2551 โดยแกวงตัวอยูในชวงระหวาง 21.48 – 27.51 บาทตอกิโลกรัม (เทียบกับ 17.02 - 36.26 บาทตอกิโลกรัมในป 2551) ในขณะท่ีราคาเฉล่ียรายเดือนของผลปาลมสดในประเทศเคล่ือนไหวอยูระหวาง 3.14 – 4.70 บาทตอกิโลกรัม (เทียบกับ 2.88 – 6.05 บาทตอกิโลกรัมในป 2551) (ตัวเลขจากกรมการคาภายใน) โดยมีราคาเฉล่ียท้ังปของผลปาลมสดและน้ํามันปาลมดิบท่ี 3.99 และ 24.33 บาทตอกิโลกรัม (เมื่อเปรียบเทียบกับป 2551 ท่ี 4.56 และ 28.96 บาทตอกิโลกรัม ตามลําดับ) ท้ังนี้เนื่องจากอุปสงคตอน้ํามันปโตรเลียมลดลง ทําใหราคาน้ํามันดีเซลโดยเฉล่ียลดลง ความตองการน้ํามันปาลมเพ่ือผลผลิตไบโอดีเซลจึงนอยลงดวย

จากการท่ีราคาน้ํามันปาลมดิบในป 2552 มีความผันผวนนอยลง กรมการคาภายในจึงไมไดมีการปรับเพดานราคาขาย

ปลีกสําหรับน้ํามันปาลมบรรจุขวดในระหวางป โดยยังคงเพดานราคาไวท่ี 38 บาทตอลิตร (รวมภาษีมูลคาเพ่ิม) ในขณะท่ีในป 2550 มีการปรับเพดานราคาดังกลาว 2 ครั้ง และในป 2551 ก็มีการปรับอีก 2 ครั้ง

Page 40: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

37

15.87

15.4 16.52

26.07

18.15

12.95

10.8

17.33

18.28

20.17

16.89

15.77

24.45 28

.96

24.33

14.52

11.90  15

.52

25.09

14.25

11 10.61

15.36

17.21

17.58

14.83

15.73

24.8

28.56

21.96

0

5

10

15

20

25

30

35

2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552

บาท

/ก.ก.

ราคาน้ํามันปาลมดิบขายสงตลาด กทม. เปรียบเทยีบตลาดมาเลเซีย

ราคาน้ํามันปาลมดิบขายสงตลาด กทม. ราคาน้ํามันปาลมดิบตลาดมาเลเซีย

ที่มา : สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร, กรมการคาภายใน

คาดการณปริมาณนํ้ามันปาลมป 2553 ในป 2553 ปริมาณผลปาลมสดมีแนวโนมเพ่ิมขึ้น ท้ังนี้เนื่องจากพ้ืนท่ีปลูกท่ีเก็บเกี่ยวไดเพ่ิมขึ้นและศักยภาพการผลผลิต

ท่ีมีการใชเทคนิคการผลิตท่ีพัฒนาดีขึ้นตามติดมาท้ังการใชสายพันธุ การใชปุย วิธีการปลูกและการดูแลรักษา ทําใหผลผลิตตอไรเพ่ิมสูงขึ้น โดยคาดวาจะมีปริมาณผลปาลมสดรวม 8.8 ลานตันเพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 10 หรือประมาณ 800,000 ตัน ท้ังนี้ผลผลิตจะมีการกระจายคอนขางสม่ําเสมอเฉล่ียเดือนละประมาณ 730,000 ตัน

คุณภาพผลปาลมสดในรูปของอัตราการสกัดน้ํามันปาลมดิบนาจะมีแนวโนมท่ีดีขึ้นอยางตอเนื่อง เนื่องจากปาลมรุนหลัง

ท่ีปลูกในชวง 10 ปท่ีผานมามีอัตราการสกัดสูงกวาปาลมพันธุด้ังเดิม ประกอบกับการปลูก การบํารุงรักษา ท่ีไดมาตรฐานดีกวาเดิมดวย แตในความเปนจริง คุณภาพผลปาลมสดกลับมีคุณภาพโดยรวมลดลงอยูท่ีระดับเพียงรอยละ 16.5-17.0 ในปจจุบัน แทนท่ีจะเปนรอยละ 19.0 ท้ังนี้เนื่องจากผลปาลมสดประมาณรอยละ 80 มีการซื้อขายผานลานเทซึ่งไมมีการควบคุมคุณภาพและมีการบมแยกผลชวงออกจากทะลายเพ่ือคัดแยกจําหนายทํากําไรไดมากขึ้น แตทําใหคุณภาพโดยรวมต่ําลงโดยเฉพาะอัตราการสกัดน้ํามัน และคาความเปนกรดไขมันอิสระของน้ํามันดิบท่ีเพ่ิมขึ้น

อัตราการการสกัดน้ํามันในป 2553 คาดวาจะใกลเคียงหรือนอยกวาป 2552 โดยเคล่ือนไหวอยูระหวางรอยละ 16 - 17

เนื่องจากปาลมปลูกใหมในพ้ืนท่ีภาคเหนือ ภาคอีสานและภาคกลาง ซึ่งมีปริมาณน้ําฝนนอยกวาภาคใต ทําใหทะลายและคุณภาพของผลผลิตอาจไมดีนัก

Page 41: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

38

ผลกระทบจาก AFTA และแนวโนมราคานํ้ามันปาลมป 2553

โดยหลักการ ภาษีนําเขาน้ํามันปาลมภายใตกรอบการคาเสรีอาเซียน (AFTA) จะตองลดลงเหลือรอยละ 5 ต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2546 แตในทางปฏิบัติ การนําเขาดังกลาวสามารถปฏิบัติไดภายใตกฏกติกาและหลักเกณฑซึ่งกําหนดโดยคณะรัฐมนตรี ภายใตการดูแลการนําเขาโดยองคการคลังสินคา ท้ังนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือลดความผันผวนในตลาดน้ํามันปาลมของไทย

จนถึงปจจุบัน การเปดเสรีนําเขาตามเงื่อนไข AFTA มีความลาชามาหลายป โดยในวันท่ี 1 มกราคม 2553 ควรจะเปนวันท่ีถึงกําหนดแนนอนสําหรับการเปดเสรีดังกลาวอยางจริงจัง อยางไรก็ตาม เกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันของไทย ซึ่งเปนผูท่ีไดรับผลกระทบมากท่ีสุด เนื่องจากไมสามารถแขงขันดานตนทุนการผลิตกับประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียได ยังคงเรียกรองใหคณะกรรมการนโยบายปาลมน้ํามันแหงชาติ ซึ่งกํากับดูแลโดยภาครัฐกําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเพ่ือยังคงไวซึ่งความคุมครองอุตสาหกรรมไวในระดับหนึ่ง ไดแก 1. กําหนดปริมาณ และคุณภาพมาตรฐานสําหรับน้ํามันปาลมท่ีนําเขามาเพ่ือการบริโภค 2. กําหนดชวงเวลาที่จะมีการนําเขาในระหวางฤดูกาลท่ีผลผลิตออกสูตลาดปริมาณนอย ไดแก ชวงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม/มกราคม 3. มอบหมายใหองคการคลังสินคา ซึ่งเปนหนวยงานของภาครัฐเปนผูนําเขาแตผูเดียว

อยางไรก็ตาม ภายใตขอผูกพันดานการเปดการคาเสรีและชวงเวลาท่ีเหมาะสมในการบังคบัใช การเปดเสรีนําเขาตามเง่ือนไข AFTA ควรจะตองบังคับใชอยางเต็มรูปแบบภายในป 2553 โดยมีเง่ือนไขและขอจํากัดนอยท่ีสุด ภายใต AFTA ประเทศไทยจึงจําเปนตองแขงขันโดยตรงกับมาเลเซียและอินโดนีเซีย ซึ่งเปนประเทศเพ่ือนบานท่ีปลูกปาลมน้ํามันและสงออกเปนจํานวนมาก โครงสรางการปลูกปาลมน้ํามันในประเทศทั้งสองสวนใหญเปนเอกชนรายใหญประมาณรอยละ 80-90 ทําใหตนทุนการผลิตของประเทศท้ังสองอยูในระดับต่ํา เนื่องจากพ้ืนท่ีเพาะปลูกสวนใหญมีการประหยัดตอขนาด ในขณะท่ีโครงสรางการปลูกปาลมน้ํามันของไทยกลับเปนไปในทิศทางตรงกันขาม กลาวคือ พ้ืนท่ีปลูกปาลมน้ํามันของเอกชนไทยสวนใหญเปนเอกชนรายยอยทําใหตนทุนการผลิตสูง แตการเปดเสรี AFTA ทําใหจําเปนตองลดราคาเพ่ือรองรับการแขงขันเปนผลใหราคาผลปาลมสดและน้ํามันปาลมมีแนวโนมลดต่ําลง ซึ่งหากไมมีการแทรกแซงจากภาครัฐ บริษัทคาดวาผลปาลมสดจะอยูท่ีระดับราคาเฉล่ีย 3.00-3.50 บาท / กิโลกรัม และนํ้ามันปาลมดิบนาจะอยูท่ีระดับ 20-22 บาท / กิโลกรัม

ในระยะยาว บริษัทยังตระหนักถึงความมีศักยภาพของ AFTA ในการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมของไทยใหเติบโต

อยางยั่งยืน ซึ่งจะเปนการสนับสนุนใหผูประกอบการที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมสามารถแขงขันกันไดอยางเต็มท่ีและบนพ้ืนฐานเดียวกัน การลักลอบนําเขาน้ํามันจากชายแดนก็จะหมดไปโดยทันที นอกจากนั้น ยังทําใหการเล่ียงภาษีมูลคาเพ่ิมก็จะลดลงไปดวย ดังนั้น บริษัทจึงมองเห็นถึงประโยชนโดยรวมที่จะเกิดขึ้นจากการเปดเสรีดังกลาว เนื่องมาจากการเคล่ือนไหวอยางเสรีของท้ังวัตถุดิบและสินคา นอกจากนั้น AFTA ยังสามารถเพ่ิมโอกาสในการพัฒนาและการตอยอดไปสูอุตสาหกรรมปลายน้ําท่ีใชเทคโนโลยีระดับสูง ซึ่งเปนโครงการลงทุนขนาดใหญเพ่ือการประหยัดตอขนาด โดยเฉพาะอุตสาหกรรมไบโอเคมีคอล และไบโอดีเซล

Page 42: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

39

แนวโนมความตองการไบโอดีเซล

2551 2552 2553 2554 2555

B2 B3 B5

ความตองการ B100 (ลานลิตร/วัน) 1.16 1.33 2.07 3.02 3.40 ความตองการน้ํามันปาลมดิบ (CPO) (ลานตัน/ป) 0.39 0.45 0.68 1.02 1.06 ที่มา : กระทรวงพลังงาน

ภาวะความสมดุลของอุปสงคและอุปทานของ CPO ในป 2552 ของประเทศไทย

อุปทาน (‘000 ตนั) อุปสงค (‘000 ตนั)

ปริมาณคงเหลือตนงวด 108 การบริโภคภายในประเทศ 718 ผลผลิต 1,345 การผลิตไบโอดีเซล 450 นําเขา -0- สงออก CPO 67 สงออก refined olein

(ในรูป CPO) 80

ปริมาณคงเหลือปลายงวด 138 รวมทั้งหมด 1,453 รวมทั้งหมด 1,453

ภาวะความสมดุลของอุปสงคและอุปทานของ CPO ในป 2553(F) เปรียบเทียบไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย

(‘000 ตัน) ไทย* มาเลเซีย อินโดนีเซีย

ปริมาณคงเหลือตนงวด 138 1,950 1,750 ผลผลิต 1,452 18,000 22,400 นําเขา 200 650 40 สงออก 100 16,030 17,000 การบริโภคภายในประเทศ (+ไบโอดีเซล) 1,550 2,670 5,340 ปริมาณคงเหลือปลายงวด 140 1,900 1,850

อัตราการใชเมื่อเทียบกับสตอค 8.5% 10.2% 8.2%

* ขอมูลประมาณการจากบริษัท

Page 43: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

40

แนวโนมการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรม

1. ไบโอดีเซล นโยบายภาครัฐท่ีผลักดันเรื่องพลังงานทดแทนสืบเนื่องมาจากกระแสเรื่องการอนุรักษส่ิงแวดลอม เพ่ือลดภาวะโลกรอน

ซึ่งจะใหความสําคัญกับผลิตภัณฑชีวภาพมากกวาผลิตภัณฑจากปโตรเคมี ไบโอดีเซลจึงถูกนํามาเปนแหลงพลังงานทางเลือกทดแทนนํ้ามันดีเซลและมีบทบาทสําคัญในปจจุบัน จากการท่ีประเทศไทยในฐานะประเทศเกษตรกรรม ซึ่งสามารถผลิตอาหารบริโภคในประเทศไดเพียงพอและปจจุบันยังมีอุปทานสวนเกินเหลือพอท่ีจะสงออก จึงมีความไดเปรียบในการพัฒนาพืชพลังงาน อยางไรก็ตาม ในชวงเวลาที่ราคาน้ํามันปโตรเลียมมีความผันผวนอยางมากดังเชนในป 2551 อาจทําใหเกิดความไมแนนอนในการบริหารจัดการความเส่ียงท่ีเกิดขึ้นกับตนทุนการผลิตพลังงานทดแทนดังกลาว

นอกจากนั้น การนําพืชอาหารมาผลิตพลังงานทดแทน อาจตองมีแนวนโยบายในการปกปองอุตสาหกรรมอาหารควบคู

กันไปดวย หรืออาจมีมาตรการเสริมเพ่ือแยกใหชัดเจนระหวางพืชท่ีจะปลูกเพ่ือเปนอาหารและพืชท่ีปลูกเพ่ือนําไปผลิตพลังงานทดแทน มิฉะนั้น โครงสรางราคาของอุตสาหกรรมผลิตอาหารอาจจะถูกกระทบ ดังเชน ในประเทศสหรัฐอเมริกาท่ีมีการนําขาวโพดไปผลิตเอทานอลจํานวนมากจนทําใหขาวโพดราคาสูง เนื่องจากเกษตรกรสามารถเลือกขายขาวโพดใหกับโรงงานเอทานอลในราคาท่ีดีกวาได

ในป 2551 กระทรวงพลังงานไดบังคับใหบริษัทผูคาน้ํามันทุกแหงจําหนายน้ํามันไบโอดีเซล B2 (คือเติมไบโอดีเซล

B100 ผสมเขาไปในน้ํามันดีเซลรอยละ 2) แทนการจําหนายน้ํามันดีเซลในสถานีบริการน้ํามันท่ัวประเทศตั้งแตวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2551 ในขณะท่ีแผนการจําหนายน้ํามันไบโอดีเซล B3 และ B5 ถูกกําหนดไวในป 2553 และ 2554 ตามลําดับ กรณีดังกลาวจะทําใหเกิดความตองการไบโอดีเซล B100 วันละประมาณ 3 ลานลิตร หรือคิดเปนปริมาณน้ํามันปาลมดิบถึงปละ 1 ลานตันในป 2554 จากปจจุบันท่ีมีความตองการนํ้ามันปาลมดิบปละ 300,000-400,000 ตันเพ่ือนําไปผลิตน้ํามันไบโอดีเซล B2 การบังคับใหมีการจําหนาย B5 ในป 2554 จะตองสอดคลองกับการขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกปาลมน้ํามัน ซึ่งตามแผนพัฒนาปาลมน้ํามันป 2551-2555 กระทรวงเกษตรฯ กําหนดงบประมาณไวท่ี 9,500 ลานบาท เพ่ือขยายพ้ืนท่ีปลูกปาลมอีกจํานวน 2.5 ลานไร โดยเปนการเปล่ียนเปนปาลมพันธุดีในพ้ืนท่ีนาราง ท้ิงราง สวนผลไมท่ีใหผลตอบแทนต่ํา ปาเส่ือมโทรม พ้ืนท่ีดินเปร้ียว และพ้ืนท่ีปลูกยางในท่ีลุม และเมื่อรวมกับพ้ืนท่ีเดิมอีก 3 ลานไร จะทําใหไทยมีพ้ืนท่ีปลูกปาลมท้ังส้ินประมาณ 5.5 ลานไร ซึ่งคาดวาจะไดผลผลิตปาลมน้ํามันประมาณ 9 ลานตัน เพ่ือรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมไบโอดีเซล B5

อยางไรก็ตาม ขอจํากัดท่ีสําคัญในการนําน้ํามันปาลมมาผลิตไบโอดีเซลอยูท่ีปริมาณและราคาของน้ํามันปาลม ซึ่งหากราคาของน้ํามันปาลมดิบทรงตัวอยูในระดับสูงอยางตอเนื่อง อาจกอใหเกิดปญหาตามมาไดแก

1. ผูผลิตไบโอดีเซล B100 จะหยุดการผลิต

2. การท่ีตนทุนของไบโอดีเซลอยูในระดับสูงจะไมสอดคลองกับแนวทางการสงเสริมการใชพลังงานทดแทน รวมถึงตนทุนการผลิตน้ํามันปาลมเพ่ือการบริโภคก็จะสูงขึ้นดวย ซึ่งจะสงผลกระทบตอเนื่องไปยังอุตสาหกรรมอาหาร

3. หากไมเปดตลาดการคาเสรี AFTA ราคาน้ํามันปาลมดิบในประเทศที่สูงขึ้น จะสรางแรงจูงใจใหเกิดการลักลอบ

นําเขาน้ํามันปาลมจากตางประเทศ 4. เกิดอุปสรรคในการจําหนายไบโอดีเซล B3 ซึ่งไดประกาศเปนกฏหมายมีผลใชบังคับไปแลว

Page 44: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

41

2. อุตสาหกรรมการผลิตเมล็ดพันธุและตนกลาปาลมนํ้ามัน เมื่อราคาผลปาลมสดมีความคงท่ีในระดับสูงเปนท่ีพอใจของเกษตรกรผูปลูกปาลมแลว ยังเปนแรงจูงใจใหพวกเขาหันมา

สนใจในแนวทางการเพ่ิมผลผลิต/ไรใหมากขึ้น ท้ังการเลือกพันธุดี การใชปุย การอนุรักษดินและน้ํา ตลอดจนการเก็บเกี่ยวท่ีไดมาตรฐาน นอกจากนั้นจะมีการขยายพ้ืนท่ีปลูกปาลม และจะมีการปลูกปาลมทดแทนยางพารามากขึ้นในอนาคต

การผลิตเมล็ดพันธุดีและตนกลาปาลมน้ํามันพันธุดี เปนอุตสาหกรรมตนน้ําท่ีตองใหความสําคัญเปนอันดับตนๆ ในการกําหนดประสิทธิภาพของผลผลิตปาลมน้ํามัน เนื่องจากการใชเมล็ดพันธุดี นอกจากจะใหผลผลิตตอไรท่ีสูงแลวยังใหปริมาณน้ํามันตอทะลายปาลมท่ีสูงขึ้นดวย อันจะมีผลทําใหไดผลผลิตเพ่ิมขึ้นรอยละ 40 เมื่อเปรียบเทียบกับการเพาะปลูกท่ีใชพันธุคุณภาพไมดี ปจจุบันมีพ้ืนท่ีปลูกปาลมน้ํามันประมาณ 400,000 ไรท่ีปลูกดวยพันธุคุณภาพไมดีอาจเนื่องมาจากการผลิตเมล็ดพันธุและตนกลาพันธุท่ีมีคุณภาพในประเทศยังมีไมเพียงพอกับความตองการ และท่ีผานมา ราคาผลปาลมสดทรงตัวในระดับสูง ประกอบกับนโยบายภาครัฐท่ีสนับสนุนใหเพ่ิมพ้ืนท่ีปลูกปาลม เกษตรกรหลายพื้นท่ีจึงใหความสนใจในการปลูกปาลมน้ํามันกันอยางแพรหลาย และเริ่มกระจายตัวออกไปยังจังหวัดอ่ืนนอกเหนือจากภาคใต จึงมีแนวโนมท่ีจะเกิดปญหาการขาดแคลนพันธุปาลมน้ํามันตามมา ภาคเอกชนจึงหันมาผลิตเมล็ดพันธุและตนกลาปาลมออกมาจําหนายมากข้ึน เนื่องจากหนวยงานของรัฐไมสามารถผลิตกลาพันธุสนองความตองการของเกษตรกรไดเพียงพอ ท้ังนี้ การวิจัยและพัฒนาพันธุปาลมท่ีดีตองอาศัยเวลาไมนอยกวา 30 ป เพ่ือดูผลผลิตท่ีไดตลอดอายุของตนปาลมกอนโคนเพ่ือปลูกทดแทน (Replanting)

3. การใชประโยชนจากวัสดุที่เหลือใชและของเสียของโรงงานอุตสาหกรรมนํ้ามัน ปาลม

อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมเปนอุตสาหกรรมท่ีกอใหเกิดวัสดุท่ีเหลือจากกระบวนการผลิตมากกวารอยละ 60 ของวัตถุท่ีปอนเขาสูกระบวนการผลิตท้ังหมด ผลกระทบทางส่ิงแวดลอมท่ีเกิดขึ้นมีสาเหตุจากกระบวนการสกัดน้ํามัน เนื่องจากกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมมีการใชน้ําในปริมาณมากสงผลใหเกิดน้ําเสียท่ีมีภาวะความสกปรกของสารอินทรียสูง นอกจากนี้ กระบวนการผลิตยังกอใหเกิดของเหลือใชในรูปของแข็ง ไดแก ทะลายปาลมเปลา (Empty Fruit Bunch) เสนใยปาลม

(Fiber) กะลาปาลม (Shell) และกากตะกอน (Decanter Cake) ดังนั้น การใชประโยชนจากเศษวัสดุจากปาลมเหลานี้ ซึ่งเปนแหลง

พลังงานชีวมวลที่สําคัญจึงเปนวิธีการท่ีสามารถเพ่ิมรายได และในขณะเดียวกันยังเปนการชวยลดมลพิษท่ีเกิดขึ้นตอส่ิงแวดลอมอีกดวย ทางภาครัฐ ไดแก กระทรวงพลังงาน จึงไดเขามามีสวนสนับสนุนโดยการกําหนดมาตรการตางๆ เชน การสงเสริมดานเทคนิคและเงินทุนในการนําระบบกาซชีวภาพ (Biogas) เขามาใชในโรงงาน และการปรับปรุงใชประโยชนจากวัสดุท่ีเหลือจาก

กระบวนการผลิตเพ่ือเปนเชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) เพ่ือนําไปผลิตกระแสไฟฟาสําหรับใชในโรงงานเอง หรือสามารถจําหนาย

กระแสไฟฟานั้นใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาค ซึ่งเปนการเพ่ิมรายไดใหแกโรงงานสกัดน้ํามันปาลมอีกทางหน่ึง ขณะนี้ ท้ังระบบกาซชวีภาพและระบบเชื้อเพลิงชีวมวลถูกนํามาใชในโรงงานสกัดน้ํามันปาลมหลายแหง และมีแนวโนมท่ีจะเพิ่มขึ้นในอนาคต โดยเปนการใชเศษวัสดุจากปาลมมาเปนแหลงเชื้อเพลิงในหมอไอน้ําทดแทนการใชน้ํามันปโตรเลียม

นอกจากนั้น ปจจุบันมีการต่ืนตัวในเรื่องการพยายามลดภาวะเรือนกระจก ซึ่งกาซเรือนกระจกเปนตนเหตุของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ถึงแมวาประเทศไทยไมมีพันธกรณีท่ีจะตองลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด แตประเทศไทยก็เปนแหลงหนึ่งท่ีประเทศอุตสาหกรรมจะมาดําเนินโครงการลดกาซเรือนกระจกรวมดวย เพ่ือหวังจะไดรับสวนแบงในรูปของคารบอนเครดิตท่ีไดจากโครงการภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ซึ่งเรียกวา Certified Emissions Reduction หรือ CER มีหนวยวัดเปนตันของกาซคารบอนไดออกไซดท่ีลดได (1 CER = 1 ton CO2 equivalent) และในขณะนี้มีโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบจํานวนหนึ่งสนใจเขารวมโครงการดังกลาว

Page 45: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

42

4. การตอยอดของอุตสาหกรรมนํ้ามันปาลม ปาลมน้ํามันเปนพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญท่ีควรไดรับการวิจัยพัฒนาอยางครบวงจร เริ่มตั้งแตการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว

การรักษาคุณภาพ การสกัด การใชประโยชนในอุตสาหกรรมตอเนื่อง การเพ่ิมมูลคาในผลิตภัณฑน้ํามันปาลมในรูปแบบตางๆ การพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑจากน้ํามันปาลมใหเปนผลิตภัณฑเคมีภัณฑพ้ืนฐาน (Oleochemical Industry) จะเห็นวา ปาลม

น้ํามันสามารถพัฒนาการใชประโยชนไปในรูปแบบที่หลากหลายและสามารถเพิ่มมูลคาในผลิตภัณฑน้ํามันปาลมในรูปแบบตางๆ จากท่ีไดอธิบายไปแลวขางตน อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมยังมีศักยภาพสูงทางดานการใชประโยชนพลังงานท่ีไดจาก

เชื้อเพลิงชีวมวลและกาซชีวภาพ จึงจัดเปนอุตสาหกรรมประเภทหนึ่งท่ีเปนแหลงทางเลือกในดานพลังงานทดแทน โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาวะปจจุบันท่ีราคาน้ํามันปโตรเลียมอยูในระดับสูง ดังนั้น เพ่ือท่ีจะเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจ และเพ่ือสรางความมั่นใจในการเปนแหลงพลังงานทางเลือก อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมจึงจําเปนท่ีจะตองมีมาตรการท่ีเหมาะสมเพ่ือสามารถรองรับการพัฒนาประสิทธิภาพไปสูการปรับปรุงจัดการทางดานพลังงานและส่ิงแวดลอมในลําดับตอไป ในขณะที่ทางภาครัฐก็ตองสนับสนุนโครงการปลูกปาลมน้ํามันเพ่ือเปนพลังงานทดแทนอยางเรงดวน ท้ังนี้ต้ังแตเดือนกุมภาพันธ 2551 ภาครัฐไดกําหนดบังคับใชน้ํามันไบโอดีเซล B2 และในป 2553 และ 2554 ก็จะบังคับใชน้ํามันไบโอดีเซล B3 และ B5 ตามลําดับ ดังนั้น

คาดวาในอนาคต ความตองการใชน้ํามันปาลมดิบจะเพ่ิมขึ้นมากถึงปละ 2,000,000-3,000,000 ตัน นอกจากนั้น อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมยังสามารถตอยอดไปสูอุตสาหกรรมการแปรรูปขั้นสูงดวยกระบวนการไบโอรีไฟนารี (Bio-refinery) เพ่ือผลิตเยื่อ

กระดาษ เย่ือไม และสรางสารต้ังตนอื่นๆ สําหรับอุตสาหกรรมตอเนื่องท่ีจะเกิดตามมาในภายหลัง

Page 46: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

43

สภาพการแขงขันภายในอุตสาหกรรม

จากที่ไดกลาวไปแลวขางตน ปจจุบัน ประเทศไทยยังมีปญหาเรื่องผลปาลมสดท่ีไมพอเพียงเมื่อเทียบกับกําลังการผลิตของโรงสกัดน้ํามันปาลมท้ัง 65 โรงงาน นับวาเปนปจจัยสําคัญท่ีทําใหเกิดการแขงขันกันซื้อผลปาลมสดจากเกษตรกรเพ่ือลดตนทุนการผลิตตอหนวยใหมากท่ีสุด ทําใหบางครั้งไมไดใหความสําคัญของคุณภาพวัตถุดิบเทาท่ีควร นอกจากนี้ ยังมีปจจัยท่ีควบคุมไมได เชน สภาพดินฟาอากาศ อันจะสงผลโดยตรงตอปริมาณผลปาลมสดท่ีจะออกสูตลาดในแตละฤดูกาล อีกท้ังปจจัยภายนอก ไดแก ราคาตลาดโลก ราคาน้ํามันพืชชนิดอ่ืนท่ีทดแทนกันได รวมถึงราคาน้ํามันปโตรเลียมก็มีบทบาทสําคัญในการกําหนดราคาน้ํามันปาลมดิบภายในประเทศเชนเดียวกัน

ในอดีต ความผันผวนของราคานํ้ามันปโตรเลียม รวมถึงนโยบายการแทรกแซงของภาครัฐ โดยเฉพาะในชวง 1 - 2 ปท่ี

ผานมา ไดสงผลกระทบอยางมากตอโครงสรางราคาน้ํามันปาลมดิบของไทย ทําใหยากตอการคาดการณทิศทาง

แมวาในปจจุบันอุปทานสวนเกินของน้ํามันปาลมท่ีเหลือจากการบริโภค-อุปโภคขั้นพ้ืนฐานในประเทศเริ่มมีมากข้ึนจากเดิมมีสวนเกินประมาณ 300,000 ตัน เปน 600,000 ตัน แตการผันผวนของปริมาณและราคาน้ํามันปาลม ยังคงเปนปญหาและอุปสรรคสําคัญในการทําใหตลาดมีดุลยภาพพรอมสําหรับการพัฒนาในลําดับตอไป

การเปดเสรี AFTA นั้นจะเปนเครื่องมือในการบรรเทาภาวะความผันผวนของตลาดน้ํามันปาลมในประเทศไดในระยะยาว บริษัทยังตระหนักถึงความมีศักยภาพของ AFTA ในการพัฒนาอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมของไทยใหเติบโตอยางยั่งยืน เนื่องจาก AFTA สามารถเพ่ิมโอกาสในการพัฒนาและการตอยอดไปสูอุตสาหกรรมปลายน้ําท่ีใชเทคโนโลยีระดับสูง ซึ่งเปนโครงการลงทุนขนาดใหญเพ่ือการประหยัดตอขนาด โดยเฉพาะอุตสาหกรรมไบโอเคมีคอล และไบโอดีเซล

Page 47: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

44

สถานการณนํ้ามันปาลมของประเทศไทยป 2552

(ที่มา : กรมการคาภายใน)

ปริมาณนํ้ามันปาลมดิบที่ผลิตได (’000 ตัน)

0

20

40

60

80

100

120

140

160

180

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

2550 2551 2552

2550 2551 2552

ปริมาณนํ้ามันปาลมคงเหลือในระบบ(’000 ตัน)

0

20

40

60

80

100

120

140

160

180

200

220

240

Page 48: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

45

0

10

20

30

40

50

60

70

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

2550 2551 2552

ปริมาณการสงออกน้ํามันปาลม (’000 ตัน)

ราคานํ้ามันปาลมดิบในประเทศ

(บาท/กิโลกรัม)

0

5

10

15

20

25

30

35

40

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.2550 2551 2552

Page 49: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

46

ภาพรวมทางดานการปฏิบัติงาน

การผลิต : 1. โครงการผลิตกาซชีวภาพ บริษัท สหอุตสาหกรรมนํ้ามันปาลม จํากัด (มหาชน) ไดดําเนินโครงการผลิตพลังงานไฟฟาจากกาซชีวภาพเพ่ือนําไปใชเองภายในโรงงานและจําหนายใหแกการไฟฟาสวนภูมิภาค โดยโครงการดังกลาวเปนโครงการภายใตกลไกการพัฒนาท่ีสะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ขององคการสหประชาชาติ ซึ่งเปนระบบการผลิตกาซมีเทนจากการยอยสลายน้ําท้ิงจากกระบวนการผลิตโรงงานสกัดน้ํามันปาลมโดยเชื้อจุลินทรียเพ่ือนําไปเปนเชื้อเพลิงผลิตพลังงานไฟฟาและเปนการลดมลภาวะดวการลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจกสูชั้นบรรยากาศ ท้ังนี้ โครงการดังกลาวเริ่มดําเนินการในเดือนตุลาคม 2552 โดยมีกําลังการผลิตไฟฟาท่ี 2 เมกะวัตต ในป 2552 บริษัทไดขายไฟฟาใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาคไปแลว 614,819 กิโลวัตต-ชม. คิดเปนจํานวนเงิน 2.2 ลานบาท 2. บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด -- บริษัทในเครือท่ีผลิตเมล็ดพันธุปาลมนํ้ามันท่ีดีท่ีสุดสายพันธุหน่ึง บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด เปนบริษัทท่ีเกิดจากการรวมทุนระหวาง บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ปาลมเอลิท จัดต้ังขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2549 ท้ังนี้ ในป 2552 ซีหราดซึ่งเปนบรรษัทการพัฒนาการเกษตรของรัฐบาลฝรั่งเศสไดรวมกับบริษัท โซฟโปรเทออล จัดต้ังบริษัทในเครือขึ้น ชื่อวา ปาลมเอลิท ซึ่งใชความชํานาญการจากซีหราดในการรวบรวมและนําผลการวิจัยจากเครือขายและสถานีการทดลองในประเทศตางๆมาใชประโยชน

เมล็ดพันธุ CIRAD® ผลิตโดยสมาชิกในเครือขายมาอยางยาวนาน ในประเทศเบนิน ไอโวรี่โคสท เคเมอรูน และ ประเทศอิน

โดเนเชีย อยางไรก็ตาม เพ่ือประกันไดวาสามารถผลิตเมล็ดพันธุไดอยางเพียงพอตอความตองการตลอดเวลา จึงมีการจัดต้ังแปลงพอแมพันธุขึ้นอีกในประเทศโคลัมเบีย ประเทศอีเควดอร และประเทศไทยโดยบริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด ไดนําพอแมพันธุท่ีไดรับการคัดเลือกมาอยางยาวนานจากแปลงทดสอบจากแหลงตางๆในเครือขายมาปลูกในจังหวัดกระบ่ี ต้ังแตป พ.ศ. 2550 ดังนั้น ภายใตความเชื่อมั่นถึงคุณลักษณะของสายพันธุ และการรับประกันวิธีการผลิตท่ีไดมาตรฐาน บริษัทสามารถผลิตและจําหนายเมล็ดพันธุไดในป พ.ศ. 2555

ดานสังคมและสิ่งแวดลอม : 3. บริษัท สหอุตสาหกรรมนํ้ามันปาลม จํากัด (มหาชน) ไดรับการรับรองภายใตระบบมาตรฐานตางๆ บริษัทไดดําเนินการปรับปรุงมาอยางตอเนื่องท้ังในดานคุณภาพการผลิต ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การจัดการส่ิงแวดลอม ตลอดจนความรับผิดชอบตอสังคม จนไดรับการรับรองในระบบมาตรฐาน ไอเอสโอ 9001 ไอเอสโอ 14001 โอซาส 18001 ซีเอสอาร โคเชอร และฮาลาล จากผูใหการรับรองท่ีมีชื่อเสียง ไดแก เอสจีเอส และ ทุฟ ซุด นอกจากนี้ ยังอยูในระหวางขอการรับรองในระบบ ทรท. 8001 อีกดวย

Page 50: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

47

การรับรองครอบคลุมเกือบทุกกระบวนการ เริ่มจากการผลิตเมล็ดพันธุ การผลิตตนกลา การเตรียมพ้ืนท่ีปลูก การปลูก การบํารุงรักษาสวนปาลม การเก็บเกี่ยวและการขนสงผลผลิต การผลิตน้ํามันปาลมและน้ํามันเมล็ดใน การผลิตกาซชีวภาพและการผลิตพลังงานไฟฟาเพ่ือจําหนาย โดยเฉพาะเปนผูประกอบการรายแรกของประเทศไทยท่ีไดรับการรับรองระบบมาตรฐานเหลานี้ในการจัดการสวนปาลมน้ํามัน 4. บริษัท สหอุตสาหกรรมนํ้ามันปาลม จํากัด (มหาชน) เขาเปนสมาชิกการผลิตนํ้ามันปาลมอยางยั่งยืน บริษัทเขาเปนสมาชิกสามัญการผลิตน้ํามันปาลมอยางยั่งยืน ต้ังแตป พ.ศ. 2551 และมีความมุงมั่นท่ีจะขอการรับรองเปนผูผลิตน้ํามันปาลมอยางย่ังยืนภายในอนาคตอันใกลนี้ การผลิตน้ํามันปาลมอยางย่ังยืนนี้จะเปนระบบมาตรฐานในระดับสากลท่ีกําหนดเนื้อหาและหลักเกณฑเพ่ือไมไหการผลิตมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมหรือผูท่ีเกี่ยวของในระดับตางๆ ตลอดจนมีประสิทธิภาพในแงของเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังสงเสริมการใชทรัพยากรอยางชาญฉลาด การใชแรงงานอยางเปนธรรม การออกแบบกระบวนการผลิตอยางมีประสิทธิภาพและเปนบรรทัดฐานท่ีเปนรูปธรรมในการนําไปพัฒนาใหเกิดความย่ังยืนตอไป

Page 51: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

48

ภาพรวมทางดานการเงิน

คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

1. ผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานของสวน จากการท่ีบริษัทมีโครงการปลูกปาลมทดแทน ซึ่งเริ่มโครงการมาตั้งแตป 2544 จนมาถึงป 2552 คิดเปนรอยละ 45.60 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด โดยมีพ้ืนท่ีท่ีใหผลผลิตแลวคิดเปนรอยละ 69.68 ของพ้ืนท่ี ท่ีมีการปลูกปาลมปาลมทดแทน ซึ่งจะสงผลกระทบตอผลผลิตปาลมสดท่ีจะได เนื่องจากตนปาลมท่ีปลูกใหมจะเริ่มใหผลผลิตเมื่อมีอายุ 2.5 ป และใหผลผลิตเต็มท่ีเมื่อมีอายุ 7 ปขึ้นไป นอกจากนี้ ตนปาลมท่ีสวนเคียนซาและสวนชัยบุรี ซึ่งคิดเปนรอยละ 51.87 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด มีอายุเฉล่ีย 20 ป มีผลใหผลผลิตปาลมสดรวมของบริษัทในป 2552 ลดลงจากป 2551 ในอัตรารอยละ 18.20 ประกอบกับในป 2551 เปนปท่ีปาลมใหผลผลิตท่ีดีท่ีสุดในรอบเกือบ 10 ป ในปจจุบันบริษัทไดนําเขาเมล็ดพันธุปาลม CIRAD® ซึ่งเปนเมล็ดพันธุปาลมท่ีมีคุณภาพอยูในอันดับตนๆ ของโลกในดานการใหผลผลิตตอไรและอัตราการสกัดน้ํามันท่ีสูง นอกจากบริษัทจะเพาะตนกลาไวใชในการปลูกปาลมทดแทนแลว ยังมีการจําหนายตนกลาใหแกเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันดวย เพ่ือสงเสริมใหมีการปลูกปาลมน้ํามันพันธุดี อยางไรก็ตาม ปญหาจากการท่ีบริษัทไดรับใบอนุญาตเพ่ือนําเขาเมล็ดพันธุปาลม ลาชา โดยไดรับเมื่อเดือนกุมภาพันธ 2552 ทําใหไมสามารถนําเขาเมล็ดพันธุปาลมทันกับการปลูกปาลมทดแทน ในป 2552 และยังเสียโอกาสในการขายเมล็ดพันธุอีกดวย ผลการดําเนินงานของโรงสกัด จากเหตุผลท่ีไดอธิบายไปกอนหนานี้ (ดูรายละเอียดในหัวขอ “ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน : สถานการณตลาดและ

ราคา”) สงผลกระทบตอปริมาณซื้อผลปาลมสดลดลงถึงรอยละ 40.75 ถึงแมวาราคาเฉล่ียซื้อในป 2552 จะลดลงจากป 2551

รอยละ 19.53 ซึ่งมีผลใหปริมาณผลปาลมสดท่ีเขาสูกระบวนการผลิตลดลงจากป 2551 รอยละ 27.05 โดยมีสัดสวนการซื้อผลปาลมสดจากภายนอกและผลผลิตจากสวนของบริษัทในป 2552 คิดเปนรอยละ 34.06 และ 65.94 ของผลปาลมสดท่ีใชในการผลิตท้ังหมด ในขณะท่ีป 2551 สัดสวนคิดเปนรอยละ 41.63 และ 58.37 สิทธิพิเศษตามบัตรสงเสริมเลขที่ 1817/2539 ลงวันท่ี 11 ธันวาคม 2539 ซึ่งบริษัทไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทนุสําหรับกําไรจากการผลิตน้ํามันเมล็ดในปาลมดิบนั้น หมดอายุลงในเดือนมีนาคม 2549 อยางไรก็ตามบริษัทยังคงไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรท่ีไดตามบัตรสงเสริมนี้ในอัตรารอยละ 50 ของอัตราปกติจนถึงป 2554 สิทธิพิเศษตามบัตรสงเสริมเลขท่ี 1043(2)/2548 ลงวันท่ี 18 มกราคม 2548 สําหรับกิจการสกัดน้ํามันปาลมดิบและเมล็ดในปาลมอบแหงขนาด 15 ตันตอชั่วโมง ซึ่งไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิท่ีไดจากการประกอบกิจการท่ีไดรับการสงเสริมรวมกันไมเกินรอยละ 100 ของเงินลงทุนไมรวมคาท่ีดินและเงินทุนหมุนเวียน มีกําหนดระยะเวลา 8 ป นับจากวันเริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น (วันท่ี 7 มกราคม 2552)

Page 52: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

49

สิทธิพิเศษตามบัตรสงเสริมการลงทุนเลขที่ 2245(9)/2550 ลงวันท่ี 18 ธันวาคม 2550 สําหรับกิจการผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพ ซึ่งไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิท่ีไดจากการประกอบกิจการท่ีไดรับการสงเสริม มีกําหนดระยะเวลา 8 ป นับแตวันท่ีเริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ ซึ่งบริษัทยังไมไดเริ่มใชสิทธิพิเศษดังกลาว สิทธิพิเศษตามบัตรสงเสริมการลงทุนเลขที่ 1262(2)/2550 ลงวันท่ี 13 มีนาคม 2550 สําหรับกิจการผลิตเมล็ดพันธุปาลม ซึ่งไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิท่ีไดจากการประกอบกิจการท่ีไดรับการสงเสริม มีกําหนดระยะเวลา 8 ป นับแตวันท่ีเริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ ซึ่งกิจการท่ีควบคุมรวมกัน ยังไมไดเริ่มใชสิทธิพิเศษดังกลาว รายไดจากการขาย บริษัทและบริษัทยอย มีรายไดจากการขายสําหรับป 2552 ลดลงจากป 2551 จํานวน 481.66 ลานบาท คิดเปนรอยละ 36.90 โดยมีผลมาจากรายไดจากการขายน้ํามันปาลมดิบและน้ํามันเมล็ดในปาลม ซึ่งมีสัดสวนการขายรวมกัน ถึงรอยละ 95.24 ของรายไดจากการขายท้ังหมด ลดลงถึงรอยละ 37.00 และ 32.40 ตามลําดับ โดยมีราคาขายถัวเฉล่ียตอกก. ลดลงรอยละ 17.97 และ 39.53 ตามลําดับ ประกอบกับปริมาณการขายน้ํามันปาลมดิบท่ี ลดลงรอยละ 23.19 เนื่องจากปริมาณผลปาลมสดท่ีเขาสูกระบวนการผลิตลดลงดังท่ีไดกลาวไวขางตน รายไดอ่ืนๆ บริษัทและบริษัทยอย มีรายไดอ่ืนสําหรับป 2552 ลดลงจากป 2551 จํานวน 4.02 ลานบาท คิดเปนรอยละ 14.65 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก

• รายไดจากการขายเศษน้ํามันของบริษัท ลดลง 5.25 ลานบาท

• บริษัทมีการโอนกลับคาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ เพ่ิมขึ้น 3.41 ลานบาท

• รายไดดอกเบ้ียรับของบริษัทลดลง 3.44 ลานบาท เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในป 2552 ตํ่ากวาป 2551

ตนทุนขายและคาใชจายในการขายและบริหาร

• บริษัทและบริษัทยอย มีอัตราสวนตนทุนขายรอยละ 66.26 เมื่อเปรียบเทียบกับยอดขาย ซึ่งเพ่ิมขึ้นจากอัตรารอยละ 57.87 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2551 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก ราคาขายถัวเฉล่ียตอกก.ของน้ํามันปาลมดิบและน้ํามันเมล็ดในปาลม ลดลงรอยละ 17.97 และ 39.53 ตามลําดับ

• คาใชจายในการขาย ลดลงถึง 14.53 ลานบาท การลดลงดังกลาวสาเหตุสวนใหญ มาจากคาขนสงท่ีลดลง ซึ่งสอดคลองกับปริมาณขายที่ลดลง

• คาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ ลดลง 5.00 ลานบาท เนื่องจาก ในป 2551 ราคาตลาดมีการปรับตัวลดลงอยางตอเนื่องและรุนแรงตั้งแตไตรมาสที่ 3 สงผลใหตนทุนสินคาคงเหลือ ณ ส้ินป 2551 มีราคาสูงกวาราคาตลาด ในขณะท่ีป 2552 มิไดมีเหตุการณดังกลาว บริษัทจึงมีการบันทึกคาเผื่อการลดลงของสินคาคงเหลือดังกลาวลดลง

• ขาดทุนจากการตัดจําหนายท่ีดิน อาคารและอุปกรณ ลดลง 18.27 ลานบาท เนื่องจากในป 2551 มีการทําลายเมล็ดพันธุปาลมท่ีไมงอก ซึ่งบริษัทไดนําเขามาเพ่ือขายในป 2550 แตปรากฏวาราคายางในปนั้นสูงมาก จนทําใหชาวสวน

Page 53: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

50

หันไปปลูกยางมากกวาปาลม สงผลใหปริมาณเมล็ดพันธุในตลาดเกินความตองการ ทําใหเมล็ดพันธุท่ีนําเขามาไมสามารถผานกระบวนการผลิตไดตามกําหนด

กําไร จากเหตุผลดังกลาวขางตน ทําใหบริษัทและบริษัทยอย มีกําไรจากการดําเนินงานลดลง จํานวน 236.12 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 51.26 ในขณะท่ี อัตรากําไรจากการดําเนินงานเปรียบเทียบกับยอดขาย ลดลงจากรอยละ 35.29 ในป 2551 เปนรอยละ 27.26 ในป 2552 นอกจากนี้ อัตรากําไรสุทธิเปรียบเทียบกับรายไดรวม ลดลงจากรอยละ 24.88 ในป 2551 เปนรอยละ 20.20 ในป 2552 โดยบริษัทและบริษัทยอย มีกําไรสุทธิลดลง 160.46 ลานบาท คิดเปนลดลง รอยละ 48.40 กําไรตอหุนในป 2552 เทากับ 0.53 บาท ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับในป 2551 ท่ีมีกําไรตอหุนเทากับ 1.02 บาท อัตราผลตอบแทนตอผูถือหุน จากเหตุผลดังกลาวขางตน ท่ีสงผลใหกําไรสุทธิของป 2552 ลดลง จึงทําใหอัตราผลตอบแทนตอผูถือหุน ลดลงจากรอยละ 33.62 ในป 2551 เปนรอยละ 18.39 ในป 2552

2. ฐานะทางการเงิน สินทรัพย

ในป 2552 บริษัทและบริษัทยอย มีสินทรัพยท้ังหมด 1,024.21 ลานบาท ลดลงจาก 1,077.46 ลานบาท คิดเปนลดลงรอยละ 4.94 โดยมีอัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยรวม ลดลงจากรอยละ 30.77 ในป 2551 เปนรอยละ 16.70 ในป 2552 สาเหตุหลักมาจากรายการเปล่ียนแปลงสินทรัพยท่ีสําคัญ ดังนี้:

• เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลดลง 67.92 ลานบาท เนื่องมาจากรายไดจากการขาย ในป 2552 ลดลงจากป 2551

• ลูกหนี้การคา-กิจการท่ีเกี่ยวของกัน เพ่ิมขึ้น 17.80 ลานบาท เนื่องจากในชวงปลายป 2551 ราคาผลปาลมสดตกต่ํา ทําใหรัฐบาลเขาแทรกแซงราคา โดยรับซื้อน้ํามันปาลมดิบในราคาท่ีสูงกวาราคาตลาด เพ่ือชวยเหลือเกษตรกร มีผลใหราคาน้ํามันปาลมดิบในชวงเวลาดังกลาวเกิดความผันผวน ปริมาณการขายน้ํามันปาลมดิบใหแกบริษัทท่ีเกี่ยวของกันในชวงปลายป 2551 จึงลดลง

• ลูกหนี้การคา-กิจการท่ีไมเกี่ยวของกัน ลดลงถึง 18.17 ลานบาท เนื่องจากในป 2552 สัญญาซื้อขายของบริษัทกับบริษัทท่ีไมเกี่ยวของกันรายหนึ่งไดส้ินสุดลง

• สินคาคงเหลือ ลดลง 37.20 ลานบาท เนื่องจากน้ํามันปาลมดิบในชวงปลายป 2551 มีราคาตกต่ํา บริษัทจึงชะลอการขายน้ํามันออกไปดังท่ีไดกลาวไปแลว ทําใหสินคาคงเหลือในป 2551 มีจํานวนสูงกวาป 2552

• ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ เพ่ิมขึ้น 40.45 ลานบาท จากการลงทุนในเครื่องจักรเพ่ือขยายกําลังการผลิตของโรงงาน

• สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เพ่ิมขึ้น 2.96 ลานบาท เนื่องจากเงินมัดจําจากการซื้อเคร่ืองจักรเพ่ิมขึ้น

Page 54: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

51

3. แหลงที่มาของเงินทุน โครงสรางของเงินทุน บริษัทและบริษัทยอย มีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนในป 2552 เทากับ 0.10 เทา เพ่ิมขึ้นจากป 2551 ซึ่งเทากับ 0.09 เพียงเล็กนอย โดยโครงสรางเงินทุนยังคงมาจากสวนของผูถือหุนของบริษัท ซึ่งมาจากผลการดําเนินงานของบรษิัทในแตละป สวนของผูถือหุน บริษัทและบริษัทยอย มีสวนของผูถือหุน ลดลงจากป 2551 จํานวนเงิน 55.76 ลานบาท เนื่องมาจาก

• กําไรสุทธิสําหรับป 2552 จํานวน 171.07 ลานบาท

• เงินปนผลจายสําหรับผลการดําเนินงานในไตรมาส 4 สําหรับป 2551 และเงินปนผลจายระหวางกาลสําหรับผลการดําเนินงานงวด 9 เดือน สําหรับป 2552 จํานวนท้ังส้ิน 226.83 ลานบาท

หน้ีสิน บริษัทและบริษัทยอย มีหนี้สินท้ังหมด 93.81 ลานบาท ซึ่งเปนหนี้สินหมุนเวียน 73.34 ลานบาท และหนี้สินไมหมุนเวียน 20.47 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจากป 2551 จํานวน 2.52 ลานบาท คิดเปนรอยละ 2.76 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจาก

• เจาหนี้การคา เพ่ิมขึ้น 2.09 ลานบาท เนื่องจาก ในป 2551 มีการชะลอซ้ือผลปาลมสดจากบุคคลภายนอก เนื่องจากการเขาแทรกแซงราคาน้ํามันปาลมดิบของรัฐบาลในชวงปลายป

• ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย ลดลง 0.91 ลานบาท เนื่องจากกําไรสุทธิของป 2552 ตํ่ากวาป 2551

• คาใชจายคางจาย ลดลง 2.02 ลานบาท สาเหตุสวนใหญมาจาก โบนัสคางจายท่ีลดลง

• เจาหนี้คาซื้อเคร่ืองจักร เพ่ิมขึ้น 3.38 ลานบาท ซึ่งเกิดจากการลงทุนในเคร่ืองจักรตามโครงการขยายกําลังการผลิตเพ่ิมขึ้น

สภาพคลองของบริษัท กระแสเงินสด สําหรับกระแสเงินสดของป 2552 บริษัทและบริษัทยอย มีเงินสดคงเหลือ 70.09 ลานบาท ลดลงจากชวงเวลาเดียวกันของป 2551 ท่ีมีอยูจํานวน 138.02 ลานบาท โดยมีสาเหตุหลักดังนี้

• เงินสดท่ีไดมาจากกิจกรรมดําเนินงานของป 2552 จํานวน 279.23 ลานบาท ลดลงจากป 2551 เปนจํานวนเงิน 151.45 ลานบาท เน่ืองมาจากผลประกอบการที่ลดลง ในขณะท่ีเงินสดหมุนเวียนเพ่ิมขึ้นจากการท่ีสินคาคงเหลือลดลงเปนจํานวนเงิน 51.47 ลานบาท

• เงินสดท่ีใชไปในกิจกรรมลงทุนของป 2552 จํานวน 120.32 ลานบาท เปรียบเทียบกับป 2551 ท่ีใชไป 178.62 ลานบาท สาเหตุหลักมาจาก บริษัทมีเงินสดท่ีจายไปสําหรับการซื้อท่ีดิน อาคารอุปกรณ และซอฟแวรลดลง

• เงินสดท่ีใชไปในกิจกรรมจัดหาเงินของป 2552 จํานวน 226.83 ลานบาท เปนเงินปนผลจายสําหรับผลการดําเนินงานในไตรมาส 4 สําหรับป 2551 จํานวนเงิน 129.62 ลานบาท และเงินปนผลจายระหวางกาลของงวด 9 เดือน สําหรับป 2552 จํานวนเงิน 97.21 ลานบาท

Page 55: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

52

จากกระแสเงินสดท่ีไดมา/ใชไป จากกิจกรรมดังกลาวขางตน ทําใหในป 2552 บริษัทและบริษัทยอย มีเงินสดลดลง

67.92 ลานบาท ในขณะท่ีป 2551 มีเงินสดลดลง 39.58 ลานบาท นอกจากนั้นบริษัทและบริษัทยอย ยังมีเงินสดคงเหลือมาจากป 2551 จํานวน 138.02 ลานบาท รวมเปนเงินสดท้ังหมด ณ 31 ธันวาคม 2552 จาํนวนเงิน 70.09 ลานบาท อัตราสวนทางการเงิน

• อัตราสวนสินทรัพยหมุนเวียนตอหนี้สินหมุนเวียนเทากับ 1.96 เทา ในป 2552 ตํ่ากวาเมื่อเปรียบเทียบกับป 2551 ซึ่งเทากับ 3.41 เทา เนื่องมาจากเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลดลงถึง 67.92 ลานบาท ซึ่งมีผลมาจากรายไดจากการขาย ในป 2552 ลดลงจากป 2551 ประกอบกับสินคาคงเหลือ ของป 2552 ตํ่ากวา ของป 2551 อีก 37.20 ลานบาท ในขณะท่ีมีหนี้สินหมุนเวียนเพ่ิมขึ้นจาก การซ้ือเครื่องจักรตามโครงการขยายกําลังการผลิตเพียง 3.38 ลานบาท

• ทํานองเดียวกัน จากการท่ีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด และสินคาคงเหลือ ในป 2552 ลดลงจากป 2551 ดวยเหตุผลดังกลาวขางตนทําให ในป 2552 อัตราสวนสินทรัพยสภาพคลองหมุนเร็วตอหนี้สินหมุนเวียนเทากับ 1.59 เทา ตํ่ากวาเมื่อเปรียบเทียบกับ ป 2551 ซึ่งเทากับ 2.50 เทา

• อัตราสวนกระแสเงินสดรับสุทธิจากการดําเนินงานตอหนี้สินหมุนเวียนเทากับ 3.81 เทา ในป 2552 ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับป 2551 ซึ่งเทากับ 6.08 เทา โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลงของกําไรจากการดําเนินงาน

4. รายจายลงทุน

โดยสวนใหญรายจายลงทุนของบริษัทจะเปนการปรับปรุงและเพ่ิมประสิทธิภาพของเครื่องจักร และโครงการการปลูกปาลมทดแทน ซึ่งโครงการการปลูกปาลมทดแทนนั้นจะเปนโครงการที่ตอเนื่อง และมีระยะเวลายาวถึง 10 ป บริษัทไดเริ่มโครงการดังกลาวตั้งแตป 2544 และมีการปลูกปาลมทดแทนปละ ประมาณ 450 เฮกตาร ตนปาลมท่ีปลูกใหมจะเริ่มใหผลผลิตเมื่อมีอายุ 2.5 ป และใหผลผลิตเต็มท่ีเมื่อมีอายุ 7 ปขึ้นไป

Page 56: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

คําอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ

53

ปจจัยและอิทธิพลที่อาจมีผลตอผลการดําเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต

ปจจัยท่ีมีผลกระทบตอผลการดําเนินงานในอนาคตคือ ปริมาณผลผลิต ราคาผลปาลมสด ปริมาณน้ํามันปาลมท่ีนํามาใชกับไบโอดีเซล การเพ่ิมขึ้นของโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบ โครงการปลูกปาลมทดแทนในสวนปาลม รวมถึงนโยบายของรัฐบาลในการแทรกแซงราคาน้ํามันปาลมดิบ เมื่อราคาผลปาลมสดตกตํ่า ท้ังนี้เพ่ือชวยเหลือเกษตรกรชาวสวนปาลม

ปจจัยสําคัญท่ีมีผลตอการดําเนินงานของบริษัทในอนาคต นอกเหนือจากปจจัยทางธรรมชาติและการแทรกแซงราคาของภาครัฐแลว ในป 2553 การเปดตลาดนําเขาน้ํามันปาลมภายใตกรอบเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2553 จะทําใหภาษีนําเขาน้ํามันปาลมของประเทศไทยจะตองลดลงเหลือรอยละ 5 ทันที ดังนั้น ประเทศไทยจึงจําเปนตองแขงขันโดยตรงกับมาเลเซียและอินโดนีเซีย ซึ่งเปนประเทศเพ่ือนบานท่ีปลูกปาลมน้ํามันและสงออกรายใหญของโลก มีตนทุนการผลิตอยูในระดับต่ํา การเปดเสรี AFTA ทําใหจําเปนตองลดราคาเพื่อรองรับการแขงขันเปนผลใหราคาผลปาลมสดและน้ํามันปาลมมีแนวโนมลดต่ําลง ซึ่งจะสงผลกระทบตอความสามารถในการทํากําไร

นอกจากนี้ ปจจุบันปาลมน้ํามันยังจะมีบทบาทสําคัญในการใชผลิตไบโอดีเซล ซึ่งหากผสมนํ้ามันปาลมกับน้ํามันดีเซลในสัดสวนท่ีเหมาะสม สามารถลดปริมาณการใชน้ํามันดีเซลลงได โดยคาดวาไบโอดีเซลจะเปนแหลงพลังงานทดแทนท่ีสําคัญในอนาคต และการกําหนดนโยบายของรัฐบาลในเรื่องการนําเขาและสงออกน้ํามันปาลม ก็มีแนวโนมท่ีจะสงผลกระทบตอภาวะอุตสาหกรรมน้ํามันปาลมเชนเดียวกัน

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี

1) คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee)

บริษัท บริษัทยอย และบริษัทท่ีเกี่ยวของกัน ไดใชบริการสอบบัญชีจากสํานักงานสอบบัญชีเดียวกัน โดยมีการจายคาตอบแทนใหแกสํานักงานสอบบัญชีดังกลาว ในรอบปบัญชีดังนี้

ป 2552 ป 2553 คาสอบบัญชีของบริษัท 900,000 บาท 900,000 บาท คาสอบบัญชีของบริษัทยอย 1 บริษัท 60,000 บาท 60,000 บาท คาสอบบัญชีของบริษัทท่ีเกี่ยวของกัน 245,000 บาท 280,000 บาท รวม 1,205,000 บาท 1,240,000 บาท

2) คาบริการอื่น (Non-audit fee)

นอกจากคาสอบบัญชีแลว บริษัทยังไดมีการจายคาตอบแทนการตรวจสอบรายการนําเขาเครื่องจักรและรายงานผลการดําเนินงานท่ีไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลจาก BOI ดังนี้ ป 2552 ป 2553 คาตรวจสอบโครงการ BOI -0- บาท 100,000 บาท

Page 57: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

54

ผูถือหุน

ณ วันท่ี 30 พฤศจิกายน 2552 บริษัทมีผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรกดังนี้

ลําดับ ชื่อผูถือหุน รอยละของจํานวนหุนสามัญ

ท้ังหมดท่ีออกและเรียกชําระแลว

1 บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)* 69.96

2 บริษัท วัฒนโชติ จํากัด 6.86

3 นายสมเกียรติ พีตกานนท 2.05 4 บริษัท กรุงเทพประกันภัย จํากัด (มหาชน) 1.86

5 นายธรรมนูญ สหดิษฐดํารงค 1.23

6 บริษัท วัฒนโสภณพนิช จํากัด 1.12

7 นายบุญเสริม คุมวงศเพชร 0.80 8 บริษัท กรีนสปอต จํากัด 0.73 9 นายดุษฎี ธนิสสรานนท 0.72

10 นายชวลิต เชาว 0.71 ท่ีมา : บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

* บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เปนผูผลิตและจัดจําหนายผลิตภัณฑน้ํามันพืช, เนยเทียมและไขมันพืชผสม

โครงสรางผูถือหุน ท่ีถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป ณ วันท่ี 13 มีนาคม 2552 มีดังนี้

ลําดับ ชื่อผูถือหุน รอยละของจํานวนหุนสามัญ

ท้ังหมดท่ีออกและเรียกชําระแลว

1 บริษัท ลํ่าสูง โฮลดิ้ง จํากัด 42.11

2 HAP SENG CONSOLIDATED BERHAD 20.00

3 CIMB-GK SECURITIES PTE LTD 11.02 ท่ีมา : บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด

Page 58: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

55

คณะกรรมการและผูบริหาร

1. โครงสรางกรรมการบริษัทประกอบดวยคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอยท้ังหมด 4 ชุดคือ

คณะกรรมการ/

คณะกรรมการชุดยอย รายชื่อกรรมการ

1. คณะกรรมการบริษัท 1. นายวัง ตา เลียง 2. นายธีระ วิภูชนิน 3. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ 4. นายวศิน ปจจักขะภัติ 5. นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย 6. นายวัง ชาง ยิง 7. นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ 8. นางสาวปยธิดา สุขจันทร 9. นายยุทธ ศักด์ิเดชยนต

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร เลขานุการบริษัท

2. คณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายธีระ วิภูชนิน 2. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ 3. นายวศิน ปจจักขะภัติ

กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

3. คณะกรรมการสรรหา 1. นายธีระ วิภูชนิน 2. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ 3. นายวศิน ปจจักขะภัติ 4. นายวัง ชาง ยิง

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ

4. คณะกรรมการกําหนด คาตอบแทน

1. นายธีระ วิภูชนิน 2. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ 3. นายวศิน ปจจักขะภัติ 4. นายวัง ชาง ยิง

กรรมการอิสระและประธานกรรมการกําหนดคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ

ขอบเขตอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดยอยตางๆ สามารถดูไดท่ีหัวขอ รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดี ขอ 4.2

กรรมการตรวจสอบท่ีมีความรู และประสบการณในการสอบทานงบการเงิน ไดแก

กรรมการตรรจสอบ ประสบการณในการสอบทานงบการเงิน

นายธีระ วิภูชนิน (ประธานกรรมการตรวจสอบ)

เคยดํารงตําแหนงรองกรรมการผูจัดการ, ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (2540-2546)

Page 59: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

56

2. การสรรหากรรมการและผูบริหาร

คณะกรรมการสรรหาทําหนาท่ีในการพิจารณาสรรหาบุคคลท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมจะเปนกรรมการ แทนกรรมการท่ีจะครบกําหนดวาระในเดือนเมษายน 2553 นี้ ท้ังนี้ รวมถึงการพิจารณาการเสนอชื่อบุคคลโดยผูถือหุน เพ่ือพิจารณาเขารับการเลือกต้ังเปนกรรมการลวงหนา ภายใตหลักเกณฑท่ีกําหนดไว จากน้ันไดนําเสนอรายชื่อใหคณะกรรมการของบริษัทเพ่ือพิจารณากอนนําเสนอใหท่ีประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ ท้ังนี้คุณสมบัติของกรรมการและผูบริหารตองมีลักษณะไมตองหามตามประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ นอกจากนั้นตองเปนผูท่ีมีความรู ความสามารถ และประสบการณท่ีจะเปนประโยชนตอบริษัท คุณสมบัติของกรรมการอิสระ ดูไดท่ีหัวขอ รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดี ขอ 4.1.6 ตามขอบังคับของบริษัทแลว ไมมีการกําหนดจํานวนกรรมการที่มาจากผูถือหุนรายใหญแตละกลุม แตใหสิทธิการแตงตั้งกรรมการ โดยวิธีท่ีผูถือหุนสามารถแบงคะแนนเสียงของตนในการเลือกต้ังกรรมการเพ่ือใหผูใดมากนอยเพียงใดก็ได (Cumulative Voting)

3. จํานวนคร้ังของการประชุมคณะกรรมการและจํานวนคร้ังท่ีกรรมการแตละทานเขารวมประชุมคณะ กรรมการบริษัท

ในป 2552 คณะกรรมการมีการประชุมรวมท้ังส้ิน 4 ครั้ง โดยมีกรรมการแตละทานเขารวมประชุม

ดังนี้

รายชื่อคณะกรรมการ จํานวนคร้ังท่ีเขารวมประชุม

1. นายวัง ตา เลียง 3/4 2. นายธีระ วิภูชนิน 4/4 3. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ 4/4 4. นายวศิน ปจจักขะภัติ 4/4 5. นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย 4/4 6. นายวัง ชาง ยิง 4/4 7. นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ 4/4 8. นางสาวปยธิดา สุขจันทร 4/4

Page 60: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

57

4. รายชื่อและตําแหนงของผูบริหาร

รายชื่อผูบริหาร ตําแหนง

1. นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย กรรมการผูจัดการ 2. นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ กรรมการบริหาร 3. นางสาวปยธิดา สุขจันทร กรรมการบริหาร 4. นายอําพล สิมะโรจนา ผูชวยกรรมการผูจัดการ 5. นางยุพดี โอภาสพิมลธรรม ผูจัดการฝายขายและประกันคุณภาพ

6. นายชัยรัตน ยาอีด ผูจัดการฝายโรงงาน 7. นายสมคิด รองรัตน ผูจัดการฝายสวน 8. นายศรุต ชลธาร ผูจัดการฝายพัฒนาธุรกิจ

5. ประวัติคณะกรรมการและผูบริหาร

1. นายวัง ตา เลียง

ประธานกรรมการ อายุ 83 ป คุณวุฒิทางการศึกษา Bachelor of Science Degree, University of California at Berkeley, U.S.A. สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ี

จํานวนบริษัทจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง - ประธานกรรมการ 2 บริษัท - กรรมการ -0- บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร เปนบิดานายวัง ชาง ยิง

ประสบการณ ประธานกรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ลํ่าสูง โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท น้ํามันพืชกรุงเทพ จํากัด ประธานและ Group Managing Director of The Lam Soon Group for Singapore, Malaysia and

Thailand Independent Director of G.K. Goh Holdings Limited, a public listed company in Singapore ประธาน/รองประธาน Singapore Manufacturers’ Association รองประธาน The Public Service Commission of Singapore

หมายเหต ุ: ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 61: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

58

2. นายธีระ วิภูชนิน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ อายุ 61 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี บริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร

มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ี จํานวนบริษัทจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง

- ประธานกรรมการ 1 บริษัท - กรรมการ 5 บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท พรีเชียส ชิพปง จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สยามแม็คโคร จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทเงินทุน กรุงเทพธนาทร จํากัด (มหาชน) ประธานคณะกรรมการ บริษัท อินเตอรไฮด จํากัด (มหาชน) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการเตรียมจัดต้ังบริษัท ทศท, กสท, ปตท, ทอท รองกรรมการผูจัดการ ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย

3. ดร. วิลาศ สินสวัสดิ์

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ อายุ 66 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ประเทศอังกฤษ สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีจํานวนบริษัทจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง

- ประธานกรรมการ -0- บริษัท - กรรมการ 1 บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ี

ประสบการณ กรรมการ บริษัท โชติชลิต จํากัด กรรมการ บริษัท ซี.เอส. แคปปตอล จํากัด

หมายเหต ุ: ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 62: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

59

4. นายวศิน ปจจักขะภัติ

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ อายุ 56 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีจํานวนบริษัทจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง

- ประธานกรรมการ -0- บริษัท - กรรมการ 1 บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

กรรมการ บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด กรรมการ บริษัท พันธศรี จํากัด กรรมการ บริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด

5. นายสมชัย จงสวัสดิ์ชัย กรรมการผูจัดการ อายุ 52 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี สาขาบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประกาศนียบัตร DCP รุนท่ี 36/2003 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

สัดสวนการถือหุนในบริษัท รอยละ 0.14 จํานวนบริษัทจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง

- ประธานกรรมการ -0- บริษัท - กรรมการ 2 บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

กรรมการผูจัดการ บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการผูจัดการ บริษัท อาหารสากล จํากัด (มหาชน) กรรมการผูจัดการ บริษัท ยูเนี่ยนฟรอสท จํากัด กรรมการ บริษัท ลํ่าสูง โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท น้ํามันพืชกรุงเทพ จํากัด กรรมการ บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด กรรมการ บริษัท พันธศรี จํากัด กรรมการ บริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด กรรมการ บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด

หมายเหต ุ: ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 63: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

60

กรรมการและผูจัดการท่ัวไป บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากดั (มหาชน) นายกสมาคมโรงกล่ันน้ํามันปาลม กรรมการ บริษัท เรกคิทท แอนดโคลแมน (ประเทศไทย) จํากัด

6. นายวัง ชาง ยิง กรรมการ อายุ 49 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี กฎหมาย (เกียรตินิยม), Oxford University ประเทศอังกฤษ สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีจํานวนบริษัทจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง

- ประธานกรรมการ -0- บริษัท - กรรมการ 2 บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร เปนบุตรชายนายวัง ตา เลียง ประสบการณ

กรรมการบริหาร บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จาํกัด (มหาชน) ประธานกรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท อาหารสากล จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ยูเนี่ยนฟรอสท จํากัด กรรมการ บริษัท ลํ่าสูง โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท น้ํามันพืชกรุงเทพ จํากัด กรรมการบริหาร บริษัท ลํ่าสูง (มาเลเซีย) เบอรฮารด กรรมการบริหาร บริษัท ลํ่าสูง สิงคโปร จํากัด กรรมการ Jurong Cement Limited (บริษัทมหาชนจดทะเบียนในประเทศสิงคโปร)

7. นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ กรรมการบริหาร อายุ 51 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประกาศนียบัตร DCP รุนท่ี 36/2003 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีจํานวนบริษัทจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง

- ประธานกรรมการ -0- บริษัท - กรรมการ 2 บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ี

หมายเหตุ : ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 64: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

61

ประสบการณ

เลขานุการบริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จาํกัด (มหาชน) ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท อาหารสากล จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ยูเนี่ยนฟรอสท จํากัด กรรมการ บริษัท ลํ่าสูง โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท น้ํามันพืชกรุงเทพ จํากัด กรรมการ บริษัท ดีทีเอสแอล (ประเทศไทย) จํากัด กรรมการ บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด กรรมการ บริษัท พันธศรี จํากัด กรรมการ บริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด กรรมการ บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด

8. นางสาวปยธิดา สุขจันทร กรรมการบริหาร อายุ 41 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาโท สาขาพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตรการเงิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประกาศนียบัตร DCP รุนท่ี 36/2003 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีจํานวนบริษทัจดทะเบียนท่ีดํารงตําแหนง

- ประธานกรรมการ -0- บริษัท - กรรมการ 1 บริษัท

ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

ผูชวยฝายบริหารและผูจัดการแผนกวิเคราะห บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท อาหารสากล จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ยูเนี่ยนฟรอสท จํากัด กรรมการ บริษัท น้ํามันพืชกรุงเทพ จํากัด กรรมการ บริษัท ดีทีเอสแอล (ประเทศไทย) จํากัด กรรมการ บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด กรรมการ บริษัท พันธศรี จํากัด กรรมการ บริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด กรรมการ บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด ผูชวยผูอํานวยการฝายวิเคราะหหลักทรัพย บริษัทหลักทรัพย คาเธยแคปปตอล จํากัด หมายเหต ุ: ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 65: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

62

9. นายยุทธ ศักดิ์เดชยนต เลขานุการบริษัทและเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ อายุ 69 ป คุณวุฒิทางการศึกษา สังคมวิทยามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา

เนติบัณฑิตไทย นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สัดสวนการถือหุนในบริษัท รอยละ 0.07 ความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

ทนายความ สํานักงานสัก กอแสงเรือง

10. นายอําพล สิมะโรจนา ผูชวยกรรมการผูจัดการ อายุ 53 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประกาศนียบัตร DCP รุนท่ี 37/2003 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

กรรมการบริหาร บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จาํกัด (มหาชน) ผูจัดการฝายโรงงาน บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท อาหารสากล จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ยูเนี่ยนฟรอสท จํากัด กรรมการ บริษัท ลํ่าสูง โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท ดีทีเอสแอล จํากัด ผูจัดการสวน Melting บริษัท สยามอาซาฮีเทคโนกลาส จํากัด ผูชวยผูจัดการฝายผลิต บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด

11. นางยุพดี โอภาสพิมลธรรม ผูจัดการฝายขายและประกันคุณภาพ อายุ 56 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาตรี วทบ. เคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สัดสวนการถือหุนในบริษัท รอยละ 0.01

หมายเหต ุ: ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 66: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

63

ความสัมพันธทางครอบครัว

ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

นักเคมี บริษัท เอสจีเอส ฟารอิสต จํากัด

12. นายชัยรัตน ยาอีด ผูจัดการผายโรงงานสกัดน้ํามันปาลม อายุ 39 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาโท : วศม. (วิศวกรรมอุตสาหการ) ม.ธรรมศาสตร

ปริญญาตรี : วทบ. (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร) ม.เกษตรศาสตร สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

ผูจัดการฝายผลิต บริษัท กรีนสปอต จํากัด โรงงานสุราษฎรธานี. ผูจัดการฝายวางแผนการผลิตและโลจิสติกส บริษัท มาจอเรตต (ประเทศไทย) จํากัด ผูจัดการแผนกผลิต บริษัท พัลส โปรดักชั่น (ประเทศไทย) จํากัด วิศวกรการผลิต กลุมธุรกิจบรรจุภัณฑ เครือซิเมนตไทย เจาหนาท่ีควบคุมคุณภาพ บริษัทไทย คิว พี จํากัด

13. นายสมคิด รองรัตน ผูจัดการฝายสวน อายุ 59 ป คุณวุฒิทางการศึกษา ปริญญาโท เศรษฐศาสตรเกษตร (เกียรตินิยม), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ปริญญาตรี เกษตรศาสตร (ปฐพีวิทยา), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีความสัมพันธทางครอบครัว

ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

ผูจัดการสวนกระบ่ี บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) อาจารย วิทยาลัยคณาสวัสด์ิ

หมายเหตุ : ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 67: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

64

14. นายศรุต ชลธาร ผูจัดการฝายพัฒนาธุรกิจ อายุ 48 ป คุณวุฒิทางการศึกษา พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

วทบ. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สัดสวนการถือหุนในบริษัท ไมม ีความสัมพันธทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร ไมม ีประสบการณ

ผูจัดการสวน บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน)

หมายเหต ุ: ประสบการณในปจจุบัน ประสบการณในอดีต

Page 68: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

65

6. จํานวนหุนสามัญท่ีกรรมการและผูบริหารของบริษัทถืออยูในปท่ีผานมา

กรรมการและผูบริหาร จํานวนหุนทีถ่ือ

ณ 31 ธันวาคม 2551 จํานวนหุนทีถ่ือ เพิ่มข้ึน

(ลดลง)ในระหวางรอบปบญัช ีจํานวนหุนทีถ่ือ

ณ 31 ธันวาคม 2552

1 นายวัง ตา เลียง - - - 2. นายธีระ วิภูชนิน - - - 3. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ - - - 4. นายวศิน ปจจักขะภัติ - - - 5. นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย 46,900 - 46,900 6. นายวัง ชาง ยิง - - - 7. นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ - - - 8. นางสาวปยธิดา สุขจันทร - - - 9. นายยุทธ ศักด์ิเดชยนต 22,900 - 22,900 10. นายอําพล สิมะโรจนา - - - 11. นางยุพดี โอภาสพิมลธรรม 3,000 - 3,000 12. นายชัยรัตน ยาอีด - - - 13. นายสมคิด รองรัตน - - - 14. นายศรุต ชลธาร - - -

7. คาตอบแทนของคณะกรรมการและผูบริหารของบริษัท

คาตอบแทนท่ีเปนตัวเงิน - คาตอบแทนของกรรมการจํานวน 8 ทาน เปนจํานวนเงินรวมท้ังส้ิน 6,144,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

รายชื่อกรรมการ

คาธรรมเนียมกรรมการป 2552

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ

1. นายวัง ตา เลียง 2. นายธีระ วิภูชนิน 3. ดร. วิลาศ สินสวัสด์ิ 4. นายวศิน ปจจักขะภัติ 5. นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย 6. นายวัง ชาง ยิง 7. นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ 8. นางสาวปยธิดา สุขจันทร

ประธานกรรมการ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

792,000 540,000 540,000 540,000 516,000 516,000 516,000 516,000

556,000 556,000 556,000

- คาตอบแทนกรรมการของบริษัทท่ีเขาไปดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทยอย - ไมมี -

Page 69: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

66

- คาตอบแทนรวมของผูบริหารบริษัทจํานวน 8 ทาน โดยไดรับคาตอบแทนเปนเงินเดือนและโบนัสเปน

จํานวนเงินท้ังส้ิน 13,618,414 บาท

หมายเหตุ : คาตอบแทนผูบริหารบริษัทไดรวมคาตอบแทนของกรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ และ ผูจัดการฝาย 4 รายแรกตอจากกรรมการผูจัดการลงมา รวมถึงผูบริหารรายท่ี 4 ทุกราย (ตามคํานิยามท่ี กําหนดโดยสํานักงาน กลต.)

คาตอบแทนอื่น บริษัทไมมีการจายคาตอบแทนอื่น ยกเวนคาต๋ัวเคร่ืองบิน และท่ีพัก สําหรับกรรมการบริหารท่ีเปนชาวตางประเทศท่ีมาประชุม สวนผูบริหารท่ีไมใชกรรมการบริหารจะมีรถประจําตําแหนง คาใชจายเกี่ยวกับรถประจําตําแหนง คาประกันสุขภาพ และคาประกันอุบัติเหตุ และการทํากรมธรรมประกันความรับผิดสําหรับกรรมการทั้งคณะและผูบริหาร สําหรับเงินสมทบกองทุนสํารองเล้ียงชีพนั้น ผูบริหารไดรับสิทธิในอัตราเดียวกับพนักงานอื่นๆ คือรอยละ 5 ของเงินเดือน ยกเวนกรรมการบริหาร ซึ่งไมไดรับเงินสมทบดังกลาว 8. กรรมการและผูบริหารของบริษัทท่ีดํารงตําแหนงเปนกรรมการและผูบริหารของบริษัทยอย

และบริษัทท่ีเกี่ยวของกัน

ชื่อ บริษัท

บริษัททีเ่กี่ยวของกัน บริษัทยอย

LST UFC บ.พันธศรี วิวัฒน จก.

บ.พันธศรี จก.

บ.ประจักษ วิวัฒน จก.

1 นายวัง ตา เลียง X X

2 นายวัง ชาง ยิง / // X

3 นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย // // // / / /

4 นางสาวอัญชลี สืบจันทศิริ // // // / / /

5 นางสาวปยธิดา สุขจันทร // / / / /

หมายเหตุ X หมายถึง ประธานกรรมการ / หมายถึง กรรมการ // หมายถึง กรรมการบริหาร LST หมายถึง บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

UFC หมายถึง บริษัท อาหารสากล จํากัด (มหาชน)

Page 70: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

67

9. การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลผูบริหารในการใชขอมูลภายในเพื่อเปนประโยชนสวนตนดังนี้ 1. ใหความรูแกกรรมการและผูบริหารเกี่ยวกับหนาท่ีท่ีตองรายงานการถือครองหลักทรัพยของตน คูสมรส และบุตรท่ียังไมบรรลุนิติภาวะ และบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 และตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2. ใหผูบริหารของบริษัทรายงานการถือครองหลักทรัพยตอคณะกรรมการของบริษัททุกไตรมาสท่ีมีการประชุมคณะกรรมการ 3. แจงใหผูบริหารท่ีไดรับทราบขอมูลภายในที่มีสาระสําคัญ มิใหเปดเผยขอมูลดังกลาวแกผูอ่ืน รวมถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับหลักทรัพยของบริษัทและบทกําหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 ท่ีผูบริหารจะไดรับหากมีการฝาฝน 4. หามมิใหผูบริหารมีการซ้ือขายหลักทรัพยของบริษัทในชวง 1 เดือนกอนท่ีงบการเงินจะเผยแพรตอสาธารณะชน บริษัทไดกําหนด มาตรการการปองกันการใชขอมูลภายในของบริษัท รวมถึงบทลงโทษกรณีท่ีมีการฝาฝน ไวในนโยบายการกํากับกิจการ ซึ่งสามารถดูไดท่ี หัวขอ รายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดีขอ 4.8.1 10. การควบคุมภายใน

บริษัทใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายใน เนื่องจากเห็นวาระบบการควบคุมภายในเปนกลไกสําคัญท่ีชวยลดความเส่ียงทางธุรกิจ สรางความเชื่อมั่นในการบริหารงานแกผูบริหาร และชวยใหบริษัทดําเนินธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว รวมท้ังชวยรักษาผลประโยชนและเงินลงทุนของผูถือหุน ชวยใหรายงานทางการเงินและรายงานดานการปฏิบัติงานของบริษัทมีความถูกตองนาเชื่อถือ ปกปองทรัพยสินของบริษัทไมใหสูญหายหรือรั่วไหล และชวยใหบุคลากรของบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับท่ีเกี่ยวของ

บริษัทไดมีการวาจางสํานักงาน ดร. วิรัช แอนด แอสโซซิเอทสเปนผูตรวจสอบภายในของบริษัท ซึ่ง

ไดกําหนดใหมีการจัดทําแผนการตรวจสอบทุกไตรมาส เพ่ือประเมินประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน และสรางระบบการควบคุมภายในที่ดีแกบริษัทเพ่ือใหเกิดระบบการควบคุมภายในท่ีมีประสิทธิผล และปฏิบัติตามอยางสม่ําเสมอ

ในการประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 1/2553 เมื่อวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2553 โดยมีกรรมการอิสระและ

กรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมดวยจํานวน 3 ทาน คณะกรรมการไดมีการสอบทานระบบการควบคุมภายในโดยใชแบบประเมินซึ่งประเมินโดยฝายบริหาร และสอบทานโดยคณะกรรมการตรวจสอบแลวสรุปไดวา จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทในดานตางๆ 5 สวน คือ องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความเส่ียง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการส่ือสารขอมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในเรื่องดังกลาวอยางเพียงพอ

Page 71: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ผูถือหุนและการจัดการ

68

นอกจากนั้นการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญและบริษัทยอย บริษัทไดมีรายงานไวในหมายเหตุ

ประกอบงบการเงินของผูสอบบัญชีขอ 6 แลวเชนกัน รวมถึงการปฏิบัติตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่องการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการจึงเห็นวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน ในเรื่องดังกลาวนี้อยางเพียงพอ

สําหรับการควบคุมภายในในหัวขออ่ืนของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดมี

การสอบทานกับสํานักงาน ดร.วิรัช แอนด แอสโซซิเอทส ซึ่งเปนผูตรวจสอบภายในของบริษัทและไดมีการรายงานใหคณะกรรมการรับทราบในทุกไตรมาส คณะกรรมการจึงมีความเห็นวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเชนกัน

สําหรับบริษัทยอยนั้น ทรัพยสินสวนใหญเปนสวนปาลมซึ่งดูแลและควบคุมโดยฝายบริหารของ

บริษัท

นโยบายจายเงินปนผล

ต้ังแตป 2536 เปนตนไป บริษัทมีนโยบายการจายเงินปนผลในอัตราประมาณรอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได ท้ังนี้ยอมขึ้นกับภาวะเศรษฐกิจและการใชจายเพ่ือการลงทุนเปนหลัก

ท่ีประชุมคณะกรรมการครั้งท่ี 1/2553 เมื่อวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2553 ไดมีมติเสนอใหจายเงินปนผลสําหรับผลการดําเนินงานงวดวันท่ี 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2552 ในอัตราหุนละ 0.20 บาท ท้ังนี้บริษัทไดมีการจายเงินปนผลระหวางกาลสําหรับผลการดําเนินงานงวด 9 เดือนของป 2552 ไปแลวในอัตราหุนละ 0.30 บาท รวมเปนเงินปนผลสําหรับผลการดําเนินงานของป 2552 หุนละ 0.50 บาท คิดเปนรอยละ 94.3 ของกําไรสุทธิ เปรียบเทียบกับการจายเงินปนผลสําหรับผลการดําเนินงานในป 2551 ในอัตราหุนละ 1.00 บาท คิดเปนรอยละ 96.4 ของกําไรสุทธิ

บริษัทมีการจายเงินปนผลในป 2552 ในอัตรารอยละท่ีตํ่ากวา ป 2551 เนื่องจากผลประกอบการท่ีตํ่ากวา

บริษัทยอยยังไมมีการกําหนดนโยบายการจายเงินปนผล ท้ังนี้ขึ้นอยูกับผลการดําเนินงานและ

กระแสเงินสดของบริษัทยอยนั้นๆ

Page 72: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

บุคคลที่มีผลประโยชนรวมและรายการระหวางกัน

69

รายการระหวางกันกับบคุคลที่มีผลประโยชนรวม ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการดังกลาว ในระหวางป บริษัทมีรายการธุรกิจท่ีสําคัญกับบุคคลหรือกิจการท่ีเกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตาม เง่ือนไขทางการคาและเกณฑตามที่ตกลงรวมกันระหวางบริษัทและบุคคลหรือกิจการท่ีเกี่ยวของกันเหลานั้น ซึ่ง เปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้

(หนวย: ลานบาท)

ชื่อ ความสัมพันธ รายการ งบการเงินเฉพาะ

กิจการ นโยบายการ กําหนดราคา

ความจําเปน

2552 2551

บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

ผูถือหุนรายใหญ

ขายน้ํามันปาลมดิบและเมล็ดในปาลม

752 1,122 ราคาตลาด ณ วันท่ีทําสัญญาขาย

บริษัทมีการพ่ึงพาทางดานธุ ร กิ จ กั บ บ ม จ .ลํ่ า สู ง (ประเทศไทย) ซึ่งเปนโรงงานกล่ันน้ํ ามันปาลมขนาดใหญ ท่ีมีความรูความชํานาญเกี่ยวกับน้ํามันปาลมมากกวา 30 ป ทําใหชวยพัฒนาคุณภาพของน้ํามันปาลมไดเปนอยางดี

ขายผลปาลมสด

3 19 ราคาตลาด เนื่องจากบางชวงฤดูกาลมีปริมาณผลปาลมออกมาเปนจํานวนมาก ไมสามารถผลิตไดทัน จึงจําเปน ตองขายออก นอกจากนั้นบางคร้ังเกิดจากเครื่องจักรอยู ในระหวางการซอมแซม

บริษัท สยาม เอลิทปาลม จํากัด

บริษัทท่ีควบคุมรวมกัน

ซื้อเมล็ดพันธุปาลมน้ํามัน

1 - ราคาตลาด เ นื่ อ ง จ ากบริ ษั ท สย าม เอ ลิทปาลม จํ ากั ด เป นตัวแทนจําหนายเมล็ดพันธุ

ปาลม CIRAD® ในประเทศ

ไทย

สําหรับยอดคงคางระหวางบริษัทและกิจการท่ีเกี่ยวของกัน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สามารถดูรายละเอียดตามท่ีไดเปดเผยในหมายเหตุงบการเงินของบริษัท ขอ 6

Page 73: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

บุคคลที่มีผลประโยชนรวมและรายการระหวางกัน

70

มาตรการหรือข้ันตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน ในป 2552 บริษัทมีการจําหนายน้ํามันปาลมดิบ น้ํามันเมล็ดในปาลม และผลปาลมสดใหแก บมจ.ลํ่าสูง (ประเทศไทย) คิดเปนรอยละ 92.3 ของปริมาณการขายทั้งหมด ซึ่งเปนราคาตลาดและเปนไปตามธุรกิจการคาปกติ ไมมีพันธะผูกพันกันนอกเหนือจากสัญญาการขายน้ํามันปาลมดิบ และเปนไปตามประเพณีของการทําธรุกิจน้ํามันปาลมดิบ นายสมชัย จงสวัสด์ิชัย ซึ่งเปนกรรมการผูจัดการของบริษัทและ บมจ.ลํ่าสูง (ประเทศไทย) เปนผูอนุมัติการขายน้ํามันปาลมดิบใหแกบมจ.ลํ่าสูง (ประเทศไทย) โดยท่ีการขายทุกครั้งจะมีราคาอางอิงกับการขายใหกับลูกคารายอื่นๆ ภายในวันเดียวกัน หรืออยางชาภายในวันรุงขึ้น

แนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต บริษัทไดมีการคาขายกับ บมจ.ลํ่าสูง (ประเทศไทย) กอนท่ี บมจ.ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จะเขามาถือหุนในบริษัทและเปนผูถือหุนรายใหญ ณ ปจจุบัน เนื่องจากบมจ.ลํ่าสูง (ประเทศไทย) เปนหนึ่งในบริษัทท่ีมีการใชน้ํามันปาลมดิบในปริมาณสูง นอกจากนั้นยังมีฐานะการเงินแข็งแกรงและเปนลูกคาท่ีดี ดังนั้นในอนาคตบริษัทก็ยังคงตองมีการขายน้ํามนัปาลมดิบใหแกบมจ.ลํ่าสูง (ประเทศไทย) ในราคาเดียวกับท่ีมีการขายใหกับลูกคารายอ่ืน

Page 74: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ปจจัยอ่ืนที่อาจมีผลกระทบตอการตัดสินใจลงทุน

71

ขอพิพาททางกฎหมาย บริษัทไมมีคดีหรือขอพิพาททางกฎหมายที่มีผลกระทบดานลบตอสินทรัพยของบริษัทหรือบริษัทยอยท่ีมีจํานวนสูงกวารอยละ 5 ของสวนของผูถือหุนของงบการเงินรวม ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 นอกจากสัมปทานที่ดินอําเภอเคียนซาของบริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด ซึ่งบริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด ไดเชาพ้ืนท่ีนี้ทําสวนปาลมน้ํามัน และใหบริษัทเชาสวนปาลมน้ํามันดังกลาวนี้ บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด ไดรับแจงจากสํานักงานธนารักษ จังหวัดสุราษฎรธานี สังกัดกระทรวงการคลังวาท่ีดินนี้เปนท่ีดินราชพัสดุ ซึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของกระทรวงการคลังโดยคําวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกา และไดแจงใหความรวมมือในการทําสัญญาเชามีกําหนดเวลา 3 ป นับแตวันท่ี 1 มกราคม 2544 และใหชําระคาเชาท่ีดินยอนหลังตั้งแตป 2534 ถึงป 2543 เปนจํานวนเงินประมาณ 12 ลานบาท อยางไรก็ตามบริษัทยอยท่ีเกี่ยวของในเรื่องดังกลาว ไดมีการบันทึกการตั้งสํารองคาเชาท่ีดินยอนหลังตั้งแตป 2534 ถึง ป 2550 ท้ังหมดไวในบัญชีแลว

พันธะผูกพันในการออกหุนในอนาคต - ไมมี -

Page 75: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขอมูลเก่ียวกับหุนหรือตั๋วเงิน

72

- ไมมี -

Page 76: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

งบการเงิน

73

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และ กิจการที่ควบคุมรวมกัน รายงาน และ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

Page 77: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอตอผูถือหุนของบริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน)

ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกําไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปล่ียนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากดั (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน และไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ซ่ึงผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา

ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป ซ่ึงกําหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพ่ือใหไดความเชื่อม่ันอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลท่ีขัดตอขอเท็จจริง อันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวธีิการทดสอบหลักฐานประกอบรายการท้ังท่ีเปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีท่ีกิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินท่ีเปนสาระสําคัญ ซ่ึงผูบริหารเปนผูจัดทําข้ึน ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการท่ีนําเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเช่ือวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปท่ีเปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา

ขาพเจาเหน็วา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปส้ินสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน และเฉพาะของบริษทั สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามท่ีควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป

ศิราภรณ เอ้ืออนันตกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพนัธ 2553

Kanokwan.m
Stamp
Page 78: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน

งบดุล

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551

สินทรัพย

สินทรัพยหมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 70,094,178 138,018,132 58,386,836 120,521,786

เงินลงทุนช่ัวคราว - เงินฝากประจํา 6,000,000 - - -

ลูกหนี้การคา

กิจการที่เก่ียวของกัน 6 34,667,654 16,864,027 34,667,654 16,864,027

กิจการที่ไมเก่ียวของกัน 2,221,094 20,387,918 2,221,094 20,387,918

รวมลูกหนี้การคา 7 36,888,748 37,251,945 36,888,748 37,251,945

เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกพนักงาน 540,860 399,539 540,860 399,539

สินคาคงเหลือ - สุทธิ 8 26,978,856 64,175,108 26,797,056 64,175,108

สินทรัพยหมุนเวียนอ่ืน 3,422,011 1,646,375 3,355,796 1,645,599

รวมสินทรัพยหมุนเวียน 143,924,653 241,491,099 125,969,296 223,993,977

สินทรัพยไมหมุนเวียน

เงินลงทุนในบริษัทยอย 9 - - 307,895,303 307,895,303

เงินลงทุนในการรวมคา 10 - - 25,000,000 25,000,000

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ 11 836,900,910 796,447,064 768,606,577 714,881,622

สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ 12 11,425,992 10,515,317 1,284,000 -

คาความนิยมในการรวมกิจการ 27,972,977 27,972,977 - -

สินทรัพยไมหมุนเวียนอ่ืน 3,989,973 1,029,659 3,989,973 1,029,659

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 880,289,852 835,965,017 1,106,775,853 1,048,806,584

รวมสินทรัพย 1,024,214,505 1,077,456,116 1,232,745,149 1,272,800,561

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท)

Page 79: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน

งบดุล (ตอ)

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

หนี้สินหมุนเวียน

เจาหนี้การคา 9,234,257 7,145,521 9,208,057 7,145,521

เงินทดรองจากกิจการที่เก่ียวของกัน 6 3,017 892 269,064,442 257,567,784

หนี้สินหมุนเวียนอ่ืน

ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย 8,723,781 9,633,065 6,695,017 7,355,631

เงินปนผลคางจาย 2,899,892 3,324,221 2,899,892 3,324,221

คาใชจายคางจาย 15,974,841 17,997,101 15,751,955 17,774,601

เจาหนี้คาซื้อเคร่ืองจักร 26,448,573 23,068,905 26,448,573 23,068,905

อ่ืน ๆ 10,058,096 9,651,795 10,039,863 8,863,091

รวมหนี้สินหมุนเวียน 73,342,457 70,821,500 340,107,799 325,099,754

หนี้สินไมหมุนเวียน

สํารองเผื่อคาเชาที่ดิน 13 20,468,000 20,468,000 - -

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน 20,468,000 20,468,000 - -

รวมหนี้สิน 93,810,457 91,289,500 340,107,799 325,099,754

สวนของผูถือหุน

ทุนเรือนหุน

ทุนจดทะเบียน 14

หุนสามัญ 324,050,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท

(31 ธันวาคม 2551: หุนสามัญ 32,405,000 หุน

มูลคาหุนละ 10 บาท) 324,050,000 324,050,000 324,050,000 324,050,000

ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว 14

หุนสามัญ 324,050,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท

(31 ธันวาคม 2551: หุนสามัญ 32,405,000 หุน

มูลคาหุนละ 10 บาท) 324,050,000 324,050,000 324,050,000 324,050,000

สวนเกินมูลคาหุน 321,544,740 321,544,740 321,544,740 321,544,740

กําไรสะสม

จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย 15 60,305,000 60,305,000 32,405,000 32,405,000

ยังไมไดจัดสรร 224,504,308 280,266,876 214,637,610 269,701,067

รวมสวนของผูถือหุน 930,404,048 986,166,616 892,637,350 947,700,807

รวมหนี้สินและสวนของผูถอืหุน 1,024,214,505 1,077,456,116 1,232,745,149 1,272,800,561

- - - -

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

กรรมการ

(หนวย: บาท)

Page 80: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน

งบกําไรขาดทุน

สําหรับปสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุ 2552 2551 2552 2551

รายได

รายไดจากการขาย 823,488,754 1,305,145,439 820,043,804 1,305,145,439

รายไดอ่ืน

เงินปนผลรับ - - 12,327,300 17,806,100

ดอกเบี้ยรับ 1,494,556 4,933,668 1,429,090 4,906,644

โอนกลับคาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ 3,411,616 - 3,420,797 -

กําไรจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ 2,839,498 2,023,323 2,839,498 2,023,323

อ่ืน ๆ 15,661,569 20,468,985 15,661,839 20,468,432

รวมรายได 846,895,993 1,332,571,415 855,722,328 1,350,349,938

คาใชจาย

ตนทุนขาย 545,633,919 755,273,212 550,860,446 763,042,890

คาใชจายในการขาย 28,117,827 42,652,471 28,068,094 42,652,471

คาใชจายในการบริหาร 30,192,365 30,283,944 27,585,210 29,436,577

คาตอบแทนผูบริหาร 18,395,814 19,595,585 18,395,814 19,595,585

คาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ - 4,997,870 - 4,997,870

ขาดทุนจากการตัดจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ 84,804 18,359,408 82,631 18,301,071

คาใชจายอ่ืน 1,630 631,911 1,630 631,911

รวมคาใชจาย 622,426,359 871,794,401 624,993,825 878,658,375

กําไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินไดนิติบุคคล 224,469,634 460,777,014 230,728,503 471,691,563

คาใชจายทางการเงิน - (188,210) (10,705,199) (12,198,652)

กําไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล 224,469,634 460,588,804 220,023,304 459,492,911

ภาษีเงินไดนิติบุคคล 17 (53,399,902) (129,062,981) (48,254,461) (123,474,502)

กําไรสุทธิสําหรับป 171,069,732 331,525,823 171,768,843 336,018,409

กําไรตอหุนข้ันพื้นฐาน 19

กําไรสุทธิ 0.53 1.02 0.53 1.04

จํานวนหุนสามัญถัวเฉล่ียถวงน้ําหนัก (หุน) 324,050,000 324,050,000 324,050,000 324,050,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท)

Page 81: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน

งบกระแสเงินสด

สําหรับปสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552 2551 2552 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน

กําไรสุทธิกอนภาษี 224,469,634 460,588,804 220,023,304 459,492,911

รายการปรับกระทบยอดกําไรสุทธิกอนภาษีเปนเงินสดรับ (จาย)

จากกิจกรรมดําเนินงาน

คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย 68,062,362 57,723,218 54,210,040 43,977,513

คาตัดจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ 84,804 18,359,408 82,631 18,301,071

คาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ (โอนกลับ) (3,411,616) 4,997,870 (3,420,797) 4,997,870

คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย 158,991 - 158,991 -

กําไรจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ (2,839,498) (2,023,323) (2,839,498) (2,023,323)

กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย - (117,750) - (117,750)

เงินปนผลรับ - - (12,327,300) (17,806,100)

คาใชจายดอกเบี้ย - - 10,705,199 12,014,075

กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปล่ียนแปลงใน

สินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน 286,524,677 539,528,227 266,592,570 518,836,267

สินทรัพยดําเนินงาน (เพ่ิมขึ้น) ลดลง

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เก่ียวของกัน (17,803,627) 28,785,444 (17,803,627) 28,785,444

ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเก่ียวของกัน 18,166,824 (17,733,066) 18,166,824 (17,733,066)

เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกพนักงาน (141,321) (136,947) (141,321) (136,947)

สินคาคงเหลือ 51,472,933 (1,586,214) 51,663,914 (1,586,214)

สินทรัพยหมุนเวียนอ่ืน (1,753,225) (952,279) (1,710,197) (944,137)

สินทรัพยไมหมุนเวียนอ่ืน (2,960,314) 8,870,889 (2,960,314) 8,870,889

หนี้สินดําเนินงานเพ่ิมขึ้น (ลดลง)

เจาหนี้การคา 2,088,736 (6,911,295) 2,062,536 (6,911,295)

เงินทดรองจากกิจการที่เก่ียวของกัน 2,125 892 11,700,550 10,199,717

หนี้สินหมุนเวียนอ่ืน (2,036,238) 15,267,642 (1,266,153) 14,473,128

เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 333,560,570 565,133,293 326,304,782 553,853,786

จายดอกเบี้ย - - (10,909,091) (10,000,000)

จายภาษีเงินได (54,331,597) (134,452,168) (48,915,075) (128,820,550)

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 279,228,973 430,681,125 266,480,616 415,033,236

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท)

Page 82: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน

งบกระแสเงินสด (ตอ)

สําหรับปสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552 2551 2552 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

เงินลงทุนช่ัวคราว - เงินฝากประจําเพ่ิมขึ้น (6,000,000) - - -

เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ 3,405,841 2,535,988 3,404,296 2,535,988

ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ (116,117,418) (176,987,458) (115,905,812) (176,549,262)

สินทรัพยไมมีตัวตนเพ่ิมขึ้น (1,605,000) (10,764,200) (1,605,000) -

เงินปนผลรับ - - 12,327,300 17,806,100

เงินสดรับจากการจําหนายเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย - 6,600,000 - 6,600,000

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน (120,316,577) (178,615,670) (101,779,216) (149,607,174)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

จายเงินปนผล (226,836,350) (291,646,012) (226,836,350) (291,646,012)

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (226,836,350) (291,646,012) (226,836,350) (291,646,012)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลงสุทธิ (67,923,954) (39,580,557) (62,134,950) (26,219,950)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป 138,018,132 177,598,689 120,521,786 146,741,736

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป 70,094,178 138,018,132 58,386,836 120,521,786

- - - -

ขอมูลเก่ียวกับกระแสเงินสดเพิ่มเติม:

รายการที่ไมใชเงินสด

โอนตนกลาปาลมเปนสินคาคงเหลือ 10,865,065 14,369,363 10,865,065 14,369,363

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(หนวย: บาท)

Page 83: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขาดทุนที่ยังทุนที่ออก สวนเกิน ไมเกิดขึ้นจริงของ

และชําระแลว มูลคาหุน หลักทรัพยเผื่อขาย จัดสรรแลว ยังไมไดจัดสรร รวมยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 324,050,000 321,544,740 (732,353) 60,305,000 240,384,253 945,551,640 รายได (คาใชจาย) ที่รับรูในสวนของผูถือหุน:เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย สวนที่โอนไปกําไรเนื่องจากการขาย - - 732,353 - - 732,353 รวมรายได (คาใชจาย) ที่รับรูในสวนของผูถือหุน 324,050,000 321,544,740 - 60,305,000 240,384,253 946,283,993 กําไรสุทธิสําหรับป - - - - 331,525,823 331,525,823 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 22) - - - - (291,643,200) (291,643,200) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 324,050,000 321,544,740 - 60,305,000 280,266,876 986,166,616

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 324,050,000 321,544,740 - 60,305,000 280,266,876 986,166,616 กําไรสุทธิสําหรับป - - - - 171,069,732 171,069,732 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 22) - - - - (226,832,300) (226,832,300) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 324,050,000 321,544,740 - 60,305,000 224,504,308 930,404,048

- หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

กําไรสะสม

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกันงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

(หนวย: บาท)งบการเงินรวม

Page 84: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

ขาดทุนที่ยังทุนที่ออก สวนเกิน ไมเกิดขึ้นจริงของ

และชําระแลว มูลคาหุน หลักทรัพยเผื่อขาย จัดสรรแลว ยังไมไดจัดสรร รวมยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 324,050,000 321,544,740 (732,353) 32,405,000 225,325,858 902,593,245 รายได (คาใชจาย) ที่รับรูในสวนของผูถือหุน:เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย สวนที่โอนไปกําไรเนื่องจากการขาย - - 732,353 - - 732,353 รวมรายได (คาใชจาย) ที่รับรูในสวนของผูถือหุน 324,050,000 321,544,740 - 32,405,000 225,325,858 903,325,598 กําไรสุทธิสําหรับป - - - - 336,018,409 336,018,409 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 22) - - - - (291,643,200) (291,643,200) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 324,050,000 321,544,740 - 32,405,000 269,701,067 947,700,807

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 324,050,000 321,544,740 - 32,405,000 269,701,067 947,700,807 กําไรสุทธิสําหรับป - - - - 171,768,843 171,768,843 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 22) - - - - (226,832,300) (226,832,300) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 324,050,000 321,544,740 - 32,405,000 214,637,610 892,637,350

- หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินเฉพาะกิจการ

กําไรสะสม

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกันงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (ตอ)สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

(หนวย: บาท)

Page 85: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

1

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน หมายเหตุประกอบงบการเงนิรวม สําหรับปส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

1. ขอมูลท่ัวไปของบริษัทฯ

บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดต้ังข้ึนเปนบริษัทมหาชนและมีภูมิลําเนาในประเทศไทย บริษัทฯมีบริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ซ่ึงเปนบริษัทท่ี จดทะเบียนจัดต้ังในประเทศไทยเปนบริษัทใหญ ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิตน้ํามันปาลมดิบและนํ้ามันเมล็ดในปาลม โดยมีท่ีอยูตามท่ีจดทะเบียนอยู เลขท่ี 64 ช้ันท่ี 1 ซอยบางนา-ตราด 25 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร

2. เกณฑในการจัดทํางบการเงิน

2.1 งบการเงินนี้จัดทําข้ึนตามมาตรฐานบัญชีท่ีกําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และการแสดงรายการในงบการเงินไดทําข้ึนเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันท่ี 30 มกราคม 2552 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับท่ีบริษัทฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยดังกลาว

งบการเงินนี้ไดจัดทําข้ึนโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอ่ืนในนโยบายการบัญชี

2.2 เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม

ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําข้ึนโดยรวมงบการเงินของบริษัท สหอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม จํากัด (มหาชน) (ซ่ึงตอไปนี้เรียกวา “บริษัทฯ”) บริษัทยอย (ซ่ึงตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน (ซ่ึงตอไปนี้เรียกวา “กิจการท่ีควบคุมรวมกัน”) ดังตอไปนี้

รอยละของสินทรัพย รอยละของรายได ที่รวมอยูใน ที่รวมอยูในรายไดรวม จัดต้ังขึ้นใน อัตรารอยละ สินทรัพยรวม สําหรับปสิ้นสุด

ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ ของการถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม วันที่ 31 ธันวาคม

2552 2551 2552 2551 2552 2551 รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ รอยละ ถือหุนโดยบริษัทฯ บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด เจาของสวนปาลมนํ้ามัน ไทย 100 100 7 8 - - กิจการท่ีควบคุมรวมกัน บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด ผลิตและจําหนายเมล็ด

พันธุปาลมนํ้ามัน ไทย 50 50 2 2 - -

Page 86: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

2

จัดต้ังขึ้น อัตรารอยละ ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ในประเทศ ของการถือหุน (โดยทางออม)

2552 2551 ถือหุนโดยบริษัทยอยของบริษัทฯ รอยละ รอยละ บริษัท ประจักษวิวัฒน จํากัด เจาของสิทธเิขาทําประโยชน

ในเขตปาสงวนแหงชาติ ไทย 100 100

(ถือหุนโดยบริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด รอยละ 100) บริษัท พันธศรี จํากัด เจาของสิทธเิขาทําประโยชน

ในเขตปาสงวนแหงชาติ ไทย 100 100

(ถือหุนโดยบริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด รอยละ 100)

ข) บริษัทฯนํางบการเงินของบริษัทยอยและกิจการท่ีควบคุมรวมกันท้ังหมดมารวมในการจัดทํา งบการเงินรวมต้ังแตวันท่ีไดมา (วันท่ีบริษัทฯมีอํานาจในการควบคุมบริษัทยอยและกิจการท่ีควบคุมรวมกัน) จนถึงวันท่ีบริษัทฯส้ินสุดการควบคุมบริษัทยอยและกิจการท่ีควบคุมรวมกันนั้น

ค) งบการเงินของบริษัทยอยและกิจการท่ีควบคุมรวมกันไดจัดทําข้ึนโดยมีรอบระยะเวลาบญัชีและใชนโยบายการบัญชีท่ีสําคัญเชนเดียวกันกับของบริษัทฯ

ง) ยอดคงคางระหวางบริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกัน รายการคาระหวางกันท่ีมีสาระสําคัญไดถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แลว

จ) ยอดเงินลงทุนในบริษัทยอยในบัญชีของบริษัทฯไดตัดกับสวนของผูถือหุนของบริษัทยอยแลว ผลตางท่ีเหลือไดแสดงแยกตางหากในงบดุลภายใตหัวขอ “คาความนิยมในการรวมกิจการ”

2.3 บริษัทฯไดจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ ซ่ึงแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอย และการรวมคาตามวิธีราคาทุน

3. การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม

ในเดือนมิถุนายน 2552 สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับท่ี 12/2552 เร่ือง การจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีของไทยใหตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ การอางอิงเลขมาตรฐานการบัญชีในงบการเงินนี้ไดถือปฏิบัติตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับดังกลาว

สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับท่ี 86/2551 และฉบับท่ี 16/2552 ใหใชมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีใหมดังตอไปนี้

Page 87: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

3

3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีท่ีมีผลบังคับใชในปปจจุบัน

แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 36 (ปรับปรุง 2550) การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับท่ี 5

(ปรับปรุง 2550) สินทรัพยไมหมุนเวียนท่ีถือไวเพื่อขายและการ

ดําเนินงานท่ียกเลิก แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการบันทึกสิทธิการเชา แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน

มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีขางตนถือปฏิบัติกับงบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่ีเร่ิมในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม 2552 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษัทฯไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับท่ี 5 (ปรับปรุง 2550) และแนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันไมเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ สวนแมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 36 (ปรับปรุง 2550) และแนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการบันทึกสิทธิการเชา ไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปปจจุบัน

3.2 มาตรฐานการบัญชีท่ียังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน

วันท่ีมีผลบังคับใช มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 20 การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล

และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล

1 มกราคม 2555

มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 24 (ปรับปรุง 2550)

การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการท่ีเกี่ยวของกัน

1 มกราคม 2554

มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 40 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน 1 มกราคม 2554

อยางไรก็ตาม กิจการสามารถนํามาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 24 (ปรับปรุง 2550) และมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 40 มาถือปฏิบัติกอนกําหนดได

ฝายบริหารของบริษัทฯไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 20 และมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 40 ไมเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ สวนมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 24 (ปรับปรุง 2550) จะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินสําหรับปท่ีเร่ิมใชมาตรฐานการบัญชีดังกลาว

Page 88: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

4

4. นโยบายการบัญชีท่ีสําคัญ

4.1 การรับรูรายได

รายไดจากการขายสินคารับรูเม่ือบริษัทฯไดโอนความเส่ียงและผลตอบแทนท่ีเปนสาระสําคัญของความเปนเจาของสินคาใหกับผูซ้ือแลว รายไดจากการขายแสดงมูลคาตามราคาในใบกํากับสินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สําหรับสินคาท่ีไดสงมอบหลังจากหักสวนลดแลว

4.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะส้ันท่ีมีสภาพคลองสูง ซ่ึงถึงกําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันท่ีไดมา และไมมีขอจํากัดในการเบิกใช

4.3 ลูกหนี้การคา

ลูกหนี้การคาแสดงตามมูลคาสุทธิท่ีจะไดรับ บริษัทฯบันทึกคาเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดข้ึนจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซ่ึงโดยท่ัวไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงินและการวิเคราะหอายุลูกหนี้

4.4 สินคาคงเหลือ

สินคาสําเร็จรูปและสินคาระหวางผลิตแสดงมูลคาตามราคาทุนถัวเฉล่ียหรือมูลคาสุทธิท่ีจะไดรับแลวแตราคาใดจะตํ่ากวา ราคาทุนดังกลาวหมายถึงตนทุนในการผลิตท้ังหมดรวมทั้งคาโสหุยโรงงานดวย

วัตถุดิบ สารเคมี อะไหลและวัสดุโรงงานแสดงมูลคาตามราคาทุนถัวเฉล่ียหรือมูลคาสุทธิท่ีจะไดรับแลวแตราคาใดจะตํ่ากวาและจะถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการผลิตเม่ือมีการเบิกใช

4.5 เงินลงทุน

เงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคาในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน

4.6 ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ/คาเส่ือมราคาและคาตัดจําหนาย

ท่ีดินแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเผ่ือการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเส่ือมราคาสะสมและคาตัดจําหนาย และคาเผ่ือการดอยคาของสินทรัพย (ถามี)

Page 89: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

5

คาเส่ือมราคาของอาคารและอุปกรณ คํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานโดยประมาณดังนี้

ตนทุนสิทธิการใชประโยชนท่ีดินปาสงวน - ตามอายุสัมปทาน อาคารและส่ิงปลูกสราง - 20 ป เคร่ืองจักรและอุปกรณโรงงาน - 5-10 ป เคร่ืองจักรและอุปกรณสวน - 5-10 ป เคร่ืองตกแตงและติดต้ัง - 5-10 ป ยานพาหนะ - 5 ป

คาเส่ือมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน

ไมมีการคิดคาเส่ือมราคาสําหรับท่ีดินและงานระหวางกอสราง

ตนทุนการพัฒนาสวนปาลมน้ํามันเปนยอดเงินลงทุนในการปลูกตนปาลม ซ่ึงตัดจําหนายตามอายุการใหผลผลิตของตนปาลม (25 ป) หรือตามอายุของสิทธิการใชประโยชนท่ีดินปาสงวนท่ีเหลืออยูแลวแตอยางใดจะตํ่ากวา

คาใชจายท่ีเกี่ยวของกับการปลูกปาลมซอมและปลูกปาลมเพิ่มเติมในพื้นท่ีท่ีมีการเก็บเกี่ยวแลวจะถือเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนท้ังจํานวน

4.7 สินทรัพยไมมีตัวตน

ณ วันท่ีไดมา บริษัทฯจะวัดมูลคาสินทรัพยไมมีตัวตนดวยราคาทุน และภายหลังการรับรูรายการครั้งแรก สินทรัพยไมมีตัวตนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผ่ือการดอยคาสะสม (ถามี) ของสินทรัพยนั้น

บริษัทฯตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจํากัดอยางมีระบบตลอดอายุการใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพยนั้น และจะประเมินการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวเม่ือมีขอบงช้ีวาสินทรัพยนั้นเกิดการดอยคา บริษัทฯจะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหนายและวิธีการตัดจําหนายของสินทรัพยไมมีตัวตนดังกลาวทุกส้ินปเปนอยางนอย คาตัดจําหนายรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน

สินทรัพยไมมีตัวตนท่ีมีอายุการใหประโยชนจํากัดมีดังนี้

อายุการใหประโยชน ลิขสิทธ์ิ - ตามอายุของสัญญาลิขสิทธ์ิท่ีเหลืออยู ณ วนัท่ีไดสิทธิ (ประมาณ 29 ป) คอมพิวเตอรซอฟตแวร - 5 ป

Page 90: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

6

4.8 คาความนิยม

หลังจากรับรูคาความนิยมเร่ิมแรกแลว คาความนิยมแสดงดวยราคาทุนหักคาเผ่ือการดอยคาสะสม บริษัทฯจะทดสอบการดอยคาของคาความนิยมทุกป หรือเม่ือใดก็ตามท่ีมีขอบงช้ีของการดอยคาเกิดข้ึน

เพื่อวัตถุประสงคในการทดสอบการดอยคา บริษัทฯจะปนสวนคาความนิยมท่ีเกิดข้ึนจากการรวมกิจการใหกับหนวยสินทรัพยท่ีกอใหเกิดเงินสด (หรือกลุมของหนวยสินทรัพยท่ีกอใหเกิดเงินสด)ท่ีคาดวาจะไดรับประโยชนเพิ่มข้ึนจากการรวมกิจการ และบริษัทฯจะทําการประเมินมูลคาท่ีคาดวาจะไดรับคืนของหนวยของสินทรัพยท่ีกอใหเกิดเงินสดแตละรายการ (หรือกลุมของหนวยของสินทรัพยท่ีกอใหเกิดเงินสด) หากมูลคาท่ีคาดวาจะไดรับคืนของหนวยของสินทรัพยท่ีกอใหเกิดเงินสดนอยกวามูลคาตามบัญชี บริษัทฯจะรับรูขาดทุนจากการดอยคาในงบกําไรขาดทุน และบริษัทฯไมสามารถกลับบัญชีขาดทุนจากการดอยคาไดในอนาคต

4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการท่ีเก่ียวของกัน

บุคคลหรือกิจการท่ีเกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการท่ีมีอํานาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ

นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการท่ีเกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลซ่ึงมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญกับบริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯ ท่ีมีอํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ

4.10 เงินตราตางประเทศ

รายการท่ีเปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปล่ียน ณ วันท่ีเกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินท่ีเปนตัวเงินซ่ึงอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปล่ียน ณ วันท่ีในงบดุล

กําไรและขาดทุนท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงในอัตราแลกเปล่ียนไดรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน

Page 91: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

7

4.11 การดอยคาของสินทรัพย

ทุกวันท่ีในงบดุล บริษัทฯจะทําการประเมินการดอยคาของท่ีดิน อาคารและอุปกรณหรือสินทรัพยท่ีไมมีตัวตนอ่ืนของบริษัทฯหากมีขอบงช้ีวาสินทรัพยดังกลาวอาจดอยคา และจะทําการประเมินการดอยคาของคาความนิยมเปนรายป บริษัทฯรับรูขาดทุนจากการดอยคาเม่ือมูลคาท่ีคาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยมีมูลคาตํ่ากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ท้ังนี้มูลคาท่ีคาดวาจะไดรับคืนหมายถึงมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการใชสินทรัพยแลวแตราคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชสินทรัพย บริษัทฯประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตท่ีกิจการคาดวาจะไดรับจากสินทรัพยและคํานวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนภาษีท่ีสะทอนถึงการประเมินความเส่ียงในสภาพตลาดปจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเส่ียงซ่ึงเปนลักษณะเฉพาะของสินทรัพยท่ีกําลังพิจารณาอยู ในการประเมินมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย บริษัทฯใชแบบจําลองการประเมินมูลคาท่ีดีท่ีสุดซ่ึงเหมาะสมกับสินทรัพย ซ่ึงสะทอนถึงจํานวนเงินท่ีกิจการสามารถจะไดมาจากการจําหนายสินทรัพยหักดวยตนทุนในการจําหนาย โดยการจําหนายนั้นผูซ้ือกับผูขายมีความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปล่ียนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูท่ีไมมีความเกี่ยวของกัน

บริษัทฯจะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในงบกําไรขาดทุน

4.12 ผลประโยชนพนักงาน

บริษัทฯรับรูเงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสํารองเล้ียงชีพเปนคาใชจายเม่ือเกิดรายการ

4.13 ประมาณการหนี้สิน

บริษัทฯจะบันทึกประมาณการหน้ีสินไวในบัญชีเม่ือภาระผูกพันซ่ึงเปนผลมาจากเหตุการณในอดีตไดเกิดข้ึนแลว และมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวาบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปล้ืองภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเช่ือถือ

4.14 ภาษีเงินได

บริษัทฯบันทึกภาษีเงินไดโดยคํานวณจากกําไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร

Page 92: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

8

5. การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีท่ีสําคัญ

ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจและการประมาณการในเร่ืองท่ีมีความไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้สงผลกระทบตอจํานวนเงินท่ีแสดงในงบการเงินและตอขอมูลท่ีแสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลท่ีเกิดข้ึนจริงอาจแตกตางไปจากจํานวนท่ีประมาณการไว การใชดุลยพินิจและการประมาณการที่สําคัญมีดังนี้

คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้

ในการประมาณคาเผ่ือหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากลูกหนี้แตละราย โดยคํานึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ท่ีคงคางและสภาวะเศรษฐกิจท่ีเปนอยูในขณะน้ัน เปนตน

ท่ีดิน อาคารและอุปกรณและคาเส่ือมราคา

ในการคํานวณคาเส่ือมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจําเปนตองทําการประมาณอายุการใชงานและมูลคาซากเม่ือเลิกใชงานของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใชงานและมูลคาซากใหมหากมีการเปล่ียนแปลงเชนนั้นเกิดข้ึน

นอกจากนี้ฝายบริหารจําเปนตองสอบทานการดอยคาของท่ีดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการดอยคาหากคาดวามูลคาท่ีคาดวาจะไดรับคืนตํ่ากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ในการนี้ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจท่ีเกี่ยวของกับการคาดการณรายไดและคาใชจายในอนาคตซ่ึงเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพยนั้น

คาความนิยม และสินทรัพยไมมีตัวตน

ในการบันทึกและวัดมูลคาของคาความนิยมและสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันท่ีไดมา ตลอดจนการทดสอบการดอยคาในภายหลัง ฝายบริหารจําเปนตองประมาณการกระแสเงินสดท่ีคาดวาจะไดรับในอนาคตจากสินทรัพย หรือ หนวยของสินทรัพยท่ีกอใหเกิดเงินสด รวมท้ังการเลือกอัตราคิดลดท่ีเหมาะสมในการคํานวณหามูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดน้ันๆ

หนี้สินท่ีอาจจะเกิดขึ้น

บริษัทฯมีหนี้สินท่ีอาจจะเกิดข้ึนเกี่ยวกับปญหาท่ีดิน ซ่ึงฝายบริหารไดใชดุลยพินิจในการประเมินผลของหนี้สินท่ีอาจจะเกิดข้ึนแลวและเช่ือม่ันวาจะไมมีความเสียหายเกิดข้ึนจึงไมไดบันทึกประมาณการหนี้สินดังกลาว ณ วันท่ีในงบการเงิน อยางไรก็ตามผลท่ีเกิดข้ึนจริงอาจแตกตางไปจากท่ีไดมีการประมาณการไว

Page 93: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

9

6. รายการธุรกิจกับกิจการท่ีเก่ียวของกัน

ในระหวางป บริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันมีรายการธุรกิจท่ีสําคัญกับบุคคลหรือกิจการท่ีเกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเง่ือนไขทางการคาและเกณฑตามท่ีตกลงกันระหวางบริษัทฯและบริษัทเหลานั้น ซ่ึงเปนไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปไดดังนี้

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการกําหนดราคา

2552 2551 2552 2551 รายการธุรกิจกับบริษัทใหญ: ขายนํ้ามันปาลมดิบและเมล็ดในปาลม 752 1,122 752 1,122 ราคาตลาด ณ วันที่ทําสัญญาขาย ขายผลปาลมสด 3 19 3 19 ราคาตลาด รายการธุรกิจกับบริษัทยอย: (ตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) คาเชาสวนปาลมจาย - - 21 21 คาเชาคงที่ปละ 21 ลานบาท ดอกเบี้ยจาย - - 11 12 MLR – 1.5% ตอป รายการธุรกิจกับกิจการท่ีควบคุมรวมกัน: ซื้อเมล็ดพันธุปาลมนํ้ามัน - - 1 - ราคาตลาด

ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทท่ีเกี่ยวของกัน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี้

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552 2551 2552 2551 ลูกหน้ีการคากิจการที่เก่ียวของกัน บริษัทใหญ บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 34,667,654 16,864,027 34,667,654 16,864,027

เงินทดรองจากกิจการที่เก่ียวของกัน บริษัทใหญ บริษัท ลํ่าสูง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 3,017 892 3,017 892 บริษัทยอย บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด - - 269,061,425 257,566,892

รวมเงินทดรองจากกิจการที่เก่ียวของกัน 3,017 892 269,064,442 257,567,784

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร

ในป 2552 บริษัทฯไดจายเงินเดือน โบนัส คาเบ้ียประชุมและเงินบําเหน็จใหแกกรรมการและผูบริหาร เปนจํานวนเงิน 18 ลานบาท (2551: 20 ลานบาท)

Page 94: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

10

7. ลูกหนี้การคา

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคา ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 แยกตามอายุหนี้ท่ีคงคางนับจากวันท่ีถึงกําหนดชําระไดดังนี้

(หนวย: บาท) อายุหนี้คางชําระ งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552 2551 ลูกหนี้การคา – กิจการท่ีเกี่ยวของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ 31,602,809 16,864,027 คางชําระ ไมเกิน 1 เดือน 3,064,845 -

รวม 34,667,654 16,864,027 ลูกหนี้การคา - กิจการท่ีไมเกี่ยวของกัน ยังไมครบกําหนดชําระ 2,221,094 150,936 คางชําระ ไมเกิน 1 เดือน - 20,236,982

รวม 2,221,094 20,387,918 รวมลูกหนี้การคา 36,888,748 37,251,945

8. สินคาคงเหลือ

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม คาเผ่ือการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ

ราคาทุน ลดราคาทุนลงใหเทากับมูลคาสุทธิที่จะไดรับ สินคาเส่ือมคุณภาพ

สินคาคงเหลือ - สุทธิ

2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 สินคาสําเร็จรูป 13,465,996 50,074,200 - (5,062,166) (666,657) - 12,799,339 45,012,034 งานระหวางทํา 730,536 597,245 - - - - 730,536 597,245 อะไหล วัสดุคงเหลือและอื่นๆ 14,441,633 18,574,588 - - (992,652) (8,759) 13,448,981 18,565,829 รวม 28,638,165 69,246,033 - (5,062,166) (1,659,309) (8,759) 26,978,856 64,175,108 (หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ คาเผ่ือการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ

ราคาทุน ลดราคาทุนลงใหเทากับมูลคาสุทธิที่จะไดรับ สินคาเส่ือมคุณภาพ

สินคาคงเหลือ - สุทธิ

2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 สินคาสําเร็จรูป 13,390,959 50,074,200 - (5,062,166) (657,476) - 12,733,483 45,012,034 งานระหวางทํา 614,592 597,245 - - - - 614,592 597,245 อะไหล วัสดุคงเหลือและอื่นๆ 14,441,633 18,574,588 - - (992,652) (8,759) 13,448,981 18,565,829 รวม 28,447,184 69,246,033 - (5,062,166) (1,650,128) (8,759) 26,797,056 64,175,108

Page 95: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

11

9. เงินลงทุนในบริษัทยอย

เงินลงทุนในบริษัทยอยตามท่ีแสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

(หนวย: บาท)

บริษัท ทุนเรียกชําระแลว สัดสวนเงินลงทุน ราคาทุน เงินปนผลท่ีบริษัทฯ

รับระหวางป 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 รอยละ รอยละ บริษัท พันธศรีวิวัฒน จํากัด 274 ลานบาท 274 ลานบาท 100 100 307,895,303 307,895,303 12,327,300 17,806,100

รวม 307,895,303 307,895,303 12,327,300 17,806,100

10. เงินลงทุนในการรวมคา

10.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในการรวมคา

เงินลงทุนในการรวมคานี้เปนเงินลงทุนในกิจการ ซ่ึงบริษัทฯและบริษัทอ่ืนควบคุมรวมกัน มีรายละเอียดดังตอไปนี้

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

กิจการท่ีควบคุมรวมกัน ลักษณะธุรกิจ สัดสวนเงินลงทุน ราคาทุน 2552 2551 2552 2551 รอยละ รอยละ

บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด ผลิตและจําหนายเมล็ดพันธุปาลมนํ้ามัน 50 50 25,000,000 25,000,000 รวม 25,000,000 25,000,000

Page 96: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

12

10.2 ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการท่ีควบคุมรวมกัน

บริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด

จํานวนรวมของสวนไดเสียในสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจายท่ีบริษัทฯมีอยูในบริษัท สยามเอลิทปาลม จํากัด โดยคิดตามสัดสวนของการรวมทุนเปนดังนี้

(หนวย: พันบาท) ณ วนัท่ี 31 ธันวาคม 2552 2551 สินทรัพยหมุนเวยีน 13,112 13,548 สินทรัพยไมหมุนเวยีน 10,879 11,047 23,991 24,595 หนี้สินหมุนเวยีน (127) (871) สินทรัพยสุทธิ 23,864 23,724

(หนวย: พันบาท) สําหรับปส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2552 2551 รายได 4,482 23 ตนทุนขาย (3,536) - คาใชจายในการขายและบริหาร (806) (710) กําไร (ขาดทุน) กอนคาใชจายทางการเงิน 140 (687) คาใชจายทางการเงิน - (3) กําไร (ขาดทุน) สุทธิ 140 (690)

Page 97: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

13

11. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ (หนวย: บาท) งบการเงินรวม ตนทุนสิทธิการ ใชที่ดินปาสงวน เครื่องจักร เครื่องตกแตง และการพัฒนา อาคารและ และ และ ที่ดิน สวนปาลมน้ํามัน สิ่งปลูกสราง อุปกรณ ติดตั้ง ยานพาหนะ อื่น ๆ รวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 123,528,648 450,684,037 222,143,898 439,600,181 28,487,676 113,961,989 144,811,622 1,523,218,051 ซื้อเพิ่ม - - - 2,560,476 1,064,844 14,053,182 101,818,584 119,497,086 จําหนาย (35,588) (206,292) (130,566) (3,735,104) (1,413,376) (13,552,085) (1,545) (19,074,556) โอนเขา / (โอนออก) - 55,236,146 8,770,501 80,748,013 26,560 - (155,646,285) (10,865,065) 31 ธันวาคม 2552 123,493,060 505,713,891 230,783,833 519,173,566 28,165,704 114,463,086 90,982,376 1,612,775,516 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสะสม 31 ธันวาคม 2551 - 259,395,542 117,653,361 214,480,998 26,138,527 94,614,611 - 712,283,039 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสําหรับป - 19,997,994 9,856,191 30,390,324 1,234,965 5,888,563 - 67,368,037 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสําหรับสวนที่จําหนาย - (113,028) (130,526) (3,250,626) (1,411,828) (13,517,401) - (18,423,409) 31 ธันวาคม 2552 - 279,280,508 127,379,026 241,620,696 25,961,664 86,985,773 - 761,227,667 คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย 31 ธันวาคม 2551 14,487,948 - - - - - - 14,487,948 บันทึกเพิ่มขึ้นระหวางป 150,330 8,661 - - - - - 158,991 31 ธันวาคม 2552 14,638,278 8,661 - - - - - 14,646,939 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 109,040,700 191,288,495 104,490,537 225,119,183 2,349,149 19,347,378 144,811,622 796,447,064 31 ธันวาคม 2552 108,854,782 226,424,722 103,404,807 277,552,870 2,204,040 27,477,313 90,982,376 836,900,910 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสําหรับป 2551 (54 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 57,474,335 2552 (65 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 67,368,037

Page 98: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

14

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ตนทุนสิทธิการ ใชที่ดินปาสงวน เครื่องจักร เครื่องตกแตง และการพัฒนา อาคารและ และ และ ที่ดิน สวนปาลมน้ํามัน สิ่งปลูกสราง อุปกรณ ติดตั้ง ยานพาหนะ อื่น ๆ รวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 123,528,648 143,826,426 205,324,988 439,600,181 28,487,676 113,961,989 144,373,426 1,199,103,334 ซื้อเพิ่ม - - - 2,560,476 1,064,844 14,053,182 101,606,978 119,285,480 จําหนาย (35,588) (196,986) - (3,735,104) (1,413,376) (13,552,085) - (18,933,139) โอนเขา / (โอนออก) - 55,236,146 8,770,501 80,748,013 26,560 - (155,646,285) (10,865,065) 31 ธันวาคม 2552 123,493,060 198,865,586 214,095,489 519,173,566 28,165,704 114,463,086 90,334,119 1,288,590,610 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสะสม 31 ธันวาคม 2551 - 32,446,328 102,053,300 214,480,998 26,138,527 94,614,611 - 469,733,764 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสําหรับป - 6,693,421 9,681,767 30,390,324 1,234,965 5,888,563 - 53,889,040 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสําหรับสวนที่จําหนาย - (105,855) - (3,250,626) (1,411,828) (13,517,401) - (18,285,710) 31 ธันวาคม 2552 - 39,033,894 111,735,067 241,620,696 25,961,664 86,985,773 - 505,337,094 คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย 31 ธันวาคม 2551 14,487,948 - - - - - - 14,487,948 บันทึกเพิ่มขึ้นระหวางป 150,330 8,661 - - - - - 158,991 31 ธันวาคม 2552 14,638,278 8,661 - - - - - 14,646,939 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 109,040,700 111,380,098 103,271,688 225,119,183 2,349,149 19,347,378 144,373,426 714,881,622 31 ธันวาคม 2552 108,854,782 159,823,031 102,360,422 277,552,870 2,204,040 27,477,313 90,334,119 768,606,577 คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายสําหรับป 2551 (41 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 43,977,513 2552 (52 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 53,889,040

Page 99: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

15

บริษัทฯมีพื้นท่ีใชประโยชนรวมท้ังส้ินประมาณ 23,000 ไร โดยบริษัทฯมีโฉนดท่ีดินและเอกสารแสดงกรรมสิทธ์ิอ่ืนๆ (น.ส. 3ก. และ น.ส. 3) รวมพื้นท่ีประมาณ 10,161 ไร สวนท่ีเหลือบริษัทฯไดรับโอนการครอบครองมาและกําลังอยูในระหวางการดําเนินการใหไดมาซ่ึงเอกสารแสดงสิทธิตามกฎหมาย

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯและบริษัทยอยมีอาคารและอุปกรณจํานวนหนึ่งซ่ึงตัดคาเส่ือมราคาหมดแลวแตยังใชงานอยู ราคาทุนของสินทรัพยดังกลาวมีจํานวนเงินประมาณ 307 ลานบาท (2551: 316 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 294 ลานบาท 2551: 304 ลานบาท)

12. สินทรัพยไมมีตัวตน

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม

ลิขสิทธิ์ โปรแกรมคอมพิวเตอร รวม

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 10,764,200 - 10,764,200 ซื้อเพิ่ม - 1,605,000 1,605,000 31 ธันวาคม 2552 10,764,200 1,605,000 12,369,200 คาตัดจําหนายสะสม 31 ธันวาคม 2551 248,883 - 248,883 คาตัดจําหนายสําหรับป 373,325 321,000 694,325 31 ธันวาคม 2552 622,208 321,000 943,208 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 10,515,317 - 10,515,317 31 ธันวาคม 2552 10,141,992 1,284,000 11,425,992

Page 100: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

16

(หนวย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ โปรแกรมคอมพิวเตอร

ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 - ซ้ือเพิ่ม 1,605,000 31 ธันวาคม 2552 1,605,000 คาตดัจําหนายสะสม 31 ธันวาคม 2551 - คาตัดจําหนายสําหรับป 321,000 31 ธันวาคม 2552 321,000 มูลคาสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 - 31 ธันวาคม 2552 1,284,000

ในเดือนเมษายน 2551 กิจการท่ีควบคุมรวมกันไดจายคาลิขสิทธ์ิในเคร่ืองหมายการคาเพื่อการผลิตและจําหนายเมล็ดพันธุปาลมน้ํามันจํานวน 150,000 ยูโร (ตามสัดสวนการควบคุมรวมกันของ บริษัทฯ) และคารับความชวยเหลือทางเทคนิคจํานวน 50,000 ยูโร (ตามสัดสวนการควบคุมรวมกันของบริษัทฯ) ใหกับผูถือหุนตางประเทศ กิจการท่ีควบคุมรวมกันไดบันทึกรายการดังกลาวในงบดุลภายใต “สินทรัพยไมมีตัวตน”

13. สํารองเผื่อคาเชาท่ีดิน

ในป 2544 บริษัทยอยแหงหนึ่งไดรับแจงจากสํานักงานธนารักษจังหวัดสุราษฎรธานี สังกัดกระทรวงการคลังวา ท่ีดินเนื้อท่ีประมาณ 8,600 ไรท่ีบริษัทยอยไดรับสัมปทานจากกรมปาไมใหเขาทําประโยชนนั้นเปนท่ีดินราชพัสดุซ่ึงเปนกรรมสิทธ์ิของกระทรวงการคลังโดยคําวินิจฉัยของคณะกรรมการกฤษฎีกา และไดแจงใหบริษัทยอยใหความรวมมือในการทําสัญญาเชานับแตวันท่ี 1 มกราคม 2544 และใหชําระคาเชาท่ีดินยอนหลังต้ังแตป 2534 ถึงป 2543 ดวย ปจจุบันบริษัทยอยดังกลาวกําลังอยูระหวางการเจรจากับหนวยราชการท่ีเกี่ยวของ อยางไรก็ตามเพื่อความรอบคอบบริษัทยอยไดบันทึกบัญชีประมาณการหนี้สินดังกลาวท้ังหมดไวในบัญชีแลว

Page 101: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

17

14. ทุนเรือนหุน

เม่ือวันท่ี 28 เมษายน 2552 ท่ีประชุมสามัญผูถือหุนคร้ังท่ี 32 มีมติใหแปลงมูลคาหุนของบริษัทฯ จากเดิมหุนสามัญ 32,405,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท เปนหุนสามัญ 324,050,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท โดยบริษัทฯไดจดทะเบียนการเปล่ียนแปลงมูลคาตราไวของหุนสามัญดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยเม่ือวันท่ี 29 เมษายน 2552

15. สํารองตามกฎหมาย

ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯตองจัดสรรกําไรสุทธิประจําปสวนหนึ่งไวเปนทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําป หักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุน จดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจายเงินปนผลได

16. คาใชจายตามลักษณะ

รายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายท่ีสําคัญดังตอไปนี้

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

2552 2551 2552 2551 เงินเดือนและคาแรงและผลประโยชนอื่นของพนักงาน 139,069,573 144,552,613 139,009,476 144,552,613 คาเสื่อมราคา 47,370,043 39,429,384 47,195,619 37,685,243 คาตัดจําหนาย 20,692,319 18,293,834 7,014,421 6,292,270 ขาดทุนจากการตัดจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ 84,804 18,359,408 82,631 18,301,071 คาขนสง 26,966,964 41,651,057 26,958,585 41,651,057 คาเชาจาย 473,252 458,026 21,734,752 21,719,526 คาซอมแซมและคาบํารุงรักษา 28,143,793 27,638,371 28,143,793 27,638,371 วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป 261,669,231 526,964,146 258,001,977 526,964,146 การเปล่ียนแปลงในสินคาสําเร็จรูปและงานระหวางทํา 36,474,913 (9,909,834) 36,665,894 (9,909,834)

17. ภาษีเงินไดนิติบุคคล

ภาษีเงินไดนิติบุคคลคํานวณข้ึนจากกําไรของสวนงานท่ีไมไดรับสิทธิพิเศษยกเวนภาษีเงินได นิติบุคคลจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนหลังจากบวกกลับดวยคาใชจายท่ีไมอนุญาตใหถือเปนรายจายในการคํานวณภาษี

Page 102: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

18

18. การสงเสริมการลงทุน

บริษัทฯไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สําหรับกิจการสกัดน้ํามันปาลมดิบและเมล็ดในปาลมอบแหงตามกําลังการผลิตท่ีกําหนดไวในบัตรสงเสริม ท้ังนี้ภายใตเง่ือนไขท่ีกําหนดบางประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้:

เลขท่ีบัตรสงเสริม สิทธิประโยชนหลัก 1043(2)/2548 - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิท่ีไดจากการ

ประกอบกิจการท่ีไดรับการสงเสริมรวมกันไมเกินรอยละ 100 ของเงินลงทุนไมรวมคาท่ีดินและทุนหมุนเวียนมีกําหนดเวลา 8 ปนับแตวันเ ร่ิมมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น (วันท่ี 7 มกราคม 2552)

บริษัทฯไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สําหรับกิจการผลิตน้ํามันเมล็ดในปาลมดิบตามกําลังการผลิตท่ีกําหนดไวในบัตรสงเสริม ท้ังนี้ภายใตเง่ือนไขท่ีกําหนดบางประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้:

เลขท่ีบัตรสงเสริม สิทธิประโยชนหลัก 1817/2539 - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิจากกิจการท่ี

ไดรับการสงเสริมเปนระยะเวลา 8 ปนับแตวันเร่ิมมีรายไดจากการประกอบกิจการ ซ่ึงสิทธิพิเศษดังกลาวไดส้ินสุดลงในเดือนมีนาคม 2549

- ไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิท่ีไดรับจากกิจการท่ีไดรับการสงเสริมในอัตรารอยละ 50 ของอัตราปกติมีกําหนด 5 ป นับจากวันท่ีพนกําหนดท่ีไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล

นอกจากนี้ บริษัทฯไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สําหรับกิจการผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพตามกําลังการผลิตท่ีกําหนดไวในบัตรสงเสริม ท้ังนี้ภายใตเง่ือนไขท่ีกําหนด บางประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้:

เลขท่ีบัตรสงเสริม สิทธิประโยชนหลัก 2245(9)/2550 - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิจากกิจการท่ี

ไดรับการสงเสริมเปนระยะเวลา 8 ปนับแตวันเร่ิมมีรายไดจากการประกอบกิจการ ซ่ึงบริษัทฯยังไมไดเร่ิมใชสิทธิพิเศษดังกลาว

Page 103: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

19

กิจการท่ีควบคุมรวมกันไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สําหรับกิจการผลิตเมล็ดพันธุปาลมตามกําลังการผลิตท่ีกําหนดไวในบัตรสงเสริม ท้ังนี้ภายใตเง่ือนไขที่กําหนดบางประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้:

เลขท่ีบัตรสงเสริม สิทธิประโยชนหลัก 1262(2)/2550 - ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิท่ีไดจากการ

ประกอบกิจการท่ีไดรับการสงเสริมรวมกันไมเกินรอยละ 100 ของเงินลงทุนไมรวมคาท่ีดินและทุนหมุนเวียนมีกําหนดเวลา 8 ปนับแตวันเร่ิมมีรายไดจากการประกอบกิจการ ซ่ึงกิจการท่ีควบคุมรวมกันยังไมไดเร่ิมใชสิทธิพิเศษดังกลาว

รายไดของบริษัทฯสําหรับปจําแนกตามกิจการท่ีไดรับการสงเสริมการลงทุนและไมไดรับการสงเสริมการลงทุนสามารถสรุปไดดังนี้

(หนวย: บาท) กิจการทีไ่ดรับการสงเสริม กิจการทีไ่มไดรับการสงเสริม รวม

2552 2551 2552 2551 2552 2551 รายไดจากการขาย 170,426,244

- 649,617,560

1,305,145,439 820,043,804

1,305,145,439

19. กําไรตอหุน

กําไรตอหุนข้ันพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรสุทธิสําหรับปดวยจํานวนถัวเฉล่ียถวงน้ําหนักของ หุนสามัญท่ีออกอยูในระหวางป โดยเทียบเปนหุนมูลคาหุนละ 1 บาท

20. ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน

บริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันดําเนินกิจการใน 3 สวนงานหลักคือ (1) ธุรกิจการทําสวนปาลมน้ํามัน ผลิตน้ํามันปาลมดิบและน้ํามันเมล็ดในปาลมดิบ (2) ผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพ (3) ผลิตและจําหนายเมล็ดพันธุปาลมน้ํามัน ซ่ึงดําเนินธุรกิจสวนใหญในสวนงานทางภูมิศาสตรเดียวคือประเทศไทย ในระหวางป บริษัทฯและกิจการท่ีควบคุมรวมกันไมมีกิจกรรมท่ีเปนสาระสําคัญในสวนงานผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพและสวนงานผลิตและจําหนายเมล็ดพันธุปาลมน้ํามัน ดังนั้นรายได กําไรและสินทรัพยโดยสวนใหญท่ีแสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวของกับสวนงานทางธุรกิจ (1) และสวนงานทางภูมิศาสตรเดียวตามท่ีกลาวไวขางตน

Page 104: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

20

21. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯไดรวมกันจัดต้ังกองทุนสํารองเล้ียงชีพข้ึนตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเล้ียงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯและพนักงานจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรา รอยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเล้ียงชีพนี้บริหารโดย ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) และจะจายใหแกพนักงานเม่ือพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางป 2552 บริษัทฯไดจายเงินสมทบกองทุนเปนจํานวนเงิน 2 ลานบาท (2551: 2 ลานบาท)

22. เงินปนผล

(หนวย: บาท)

เงินปนผล อนุมัติโดย เงินปนผลจาย

เงินปนผลจายตอหุน (โดยเทียบเปนหุนมูลคาหุนละ 1 บาท)

เงินปนผลประจําป สําหรับป 2550 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2551 97,214,400 0.30 เงินปนผลระหวางกาลสําหรับรอบ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ระยะเวลาต้ังแตเดือนมกราคม ถึง ครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ เดือนมิถุนายนของป 2551 6 สิงหาคม 2551 129,619,200 0.40

เงินปนผลระหวางกาลสําหรับรอบ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ระยะเวลาต้ังแตเดือนกรกฎาคม ถึง ครั้งที่ 4/2551 เมื่อวันที่

เดือนกันยายนของป 2551 12 พฤศจิกายน 2551 64,809,600 0.20

รวมเงินปนผลสําหรับป 2551 291,643,200 0.90

เงินปนผลประจําป สําหรับป 2551 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 129,619,200 0.40

เงินปนผลระหวางกาลสําหรับรอบ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ระยะเวลาต้ังแตเดือนมกราคม ถึง ครั้งที่ 3/2552 เมื่อวันที่ เดือนมิถุนายนของป 2552 13 สิงหาคม 2552 64,808,600 0.20

เงินปนผลระหวางกาลสําหรับรอบ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ระยะเวลาต้ังแตเดือนกรกฎาคม ถึง ครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่

เดือนกันยายนของป 2552 12 พฤศจิกายน 2552 32,404,500 0.10

รวมเงินปนผลสําหรับป 2552 226,832,300 0.70

Page 105: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

21

23. ภาระผูกพันและหนี้สินท่ีอาจจะเกิดขึ้น

23.1 ภาระผูกพันเก่ียวกับรายจายฝายทุน

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมีภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุนเกี่ยวกับการซ้ือเคร่ืองจักรและอุปกรณเปนจํานวนเงินประมาณ 1.7 ลานบาท

23.2 ภาระผูกพันเก่ียวกับสัญญาใหบริการระยะยาว

กิจการท่ีควบคุมรวมกันมีภาระผูกพันกับผูถือหุนตางประเทศท่ีจะตองจายคาลิขสิทธ์ิในเคร่ืองหมายการคาเพื่อการผลิตและจําหนายเมล็ดพันธุปาลมน้ํามันเปนรอยละของยอดขายสุทธิรายปของผลิตภัณฑตามท่ีกําหนดไวในสัญญา ท้ังนี้ กิจการท่ีควบคุมรวมกันและผูถือหุนดังกลาวตองปฏิบัติตามเง่ือนไขตางๆ ท่ีระบุไวในสัญญา

23.3 การค้ําประกัน

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมีหนังสือคํ้าประกันซ่ึงออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯเหลืออยูเปนจํานวน 3.3 ลานบาท ซ่ึงเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของ บริษัทฯ

23.4 หนี้สินท่ีอาจเกิดขึ้น

ก) ในป 2547 บริษัทฯไดรับจดหมายเชิญจากสํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เกี่ยวกับปญหาท่ีดินทับซอนกับท่ีดิน ส.ป.ก. โดยไดเขารวมปรึกษาหารือกับสํานักงาน ส.ป.ก. เม่ือวันท่ี 6 ตุลาคม 2547 พรอมกับไดสงมอบเอกสารท่ีเกี่ยวของใหเพื่อการพิจารณาแลว ผลของการพิจารณายังไมสามารถทราบไดในขณะน้ี

ข) เม่ือวันท่ี 11 เมษายน 2551 บริษัทฯไดเขารวมประชุมกับคณะทํางานพิจารณาตรวจสอบทบทวนแนวทางปฏิบัติและการเจรจาเพ่ือนําท่ีดินของผูครอบครองท่ีดินแปลงใหญในเขตปฏิรูปท่ีดินมาจัดใหแกเกษตรกร แตงต้ังโดยคณะกรรมการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อพิจารณาแกไขปญหาท่ีดิน เนื่องจากบริษัทฯมีท่ีดินอยูในเขตปาจําแนกเน้ือท่ีประมาณ 1,210 ไร และเขตปฏิรูปท่ีดินประมาณ 276 ไร โดยท่ีดินในเขตปฏิรูปท่ีดินประมาณ 276 ไร เปนการครอบครองท่ีดินแปลงใหญและครองท่ีดินเกินขนาดตามกฎหมายปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมมาตรา 30 ท่ีดินดังกลาวคิดเปนเนื้อท่ีประมาณรอยละ 6 ของพื้นท่ีใชประโยชนท้ังหมดของบริษัทฯ

เม่ือวันท่ี 29 สิงหาคม 2551 บริษัทฯไดเขาทําบันทึกการเจรจาตกลงการมอบพ้ืนท่ีครอบครองคืน ส.ป.ก. เพื่อนําไปดําเนินการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม สําหรับท่ีดินในเขตปฏิรูปท่ีดิน โดยบริษัทฯขอแสดงเจตนายินยอมให ส.ป.ก. นําท่ีดินเนื้อท่ีประมาณ 80 ไร ไปดําเนินการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม อยางไรก็ตาม เม่ือวันท่ี 17 กันยายน 2552 บริษัทฯไดรับหนังสือจากสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินจังหวัดสุราษฎรธานีแจงใหบริษัทฯออกจากท่ีดินเขตปฏิรูปที่ดินเนื้อท่ีประมาณ 133

Page 106: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

22

ไร พรอมร้ือถอนส่ิงปลูกสรางภายใน 30 วัน นับแตไดรับหนังสือฉบับดังกลาว เนื่องจากบริษัทฯไมมีเอกสารสิทธิในท่ีดินดังกลาว ซ่ึงราคาทุนของท่ีดินและมูลคาสุทธิคงเหลือตามบัญชีของตนทุนการพัฒนาสวนปาลมน้ํามันบนท่ีดินดังกลาวมีจํานวนเงินประมาณ 0.2 ลานบาท บริษัทฯไดบันทึกคาเผ่ือการดอยคาของสินทรัพยสําหรับตนทุนดังกลาวแลวท้ังจํานวน ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552

สวนท่ีดินในเขตปาจําแนก ปจจุบันบริษัทฯกําลังอยูระหวางการเจรจากับหนวยราชการท่ีเกี่ยวของเพื่อหาแนวทางแกไขปญหาสําหรับท่ีดินดังกลาว

ค) ในป 2551 บริษัทยอยไดรับหนังสือแจงจากสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จังหวัด สุราษฎรธานี ใหมาจัดทําบันทึกรับทราบและยินยอมการปฏิบัติตามเง่ือนไขของระเบียบกรมปาไมวาดวยการอนุญาตใหใชประโยชนพื้นท่ีปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2548 พรอมท้ังยื่นคําขออนุญาตเก็บหาของปาตามมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 และชําระเงินคาภาคหลวงในอัตรารอยละ 10 ของราคาตลาดและคาบํารุงปาในอัตรา 2 เทาของคาภาคหลวง เม่ือเก็บเกี่ยวผลปาลมน้ํามันท่ีไดปลูกข้ึน

เม่ือวันท่ี 6 สิงหาคม 2552 บริษัทยอยไดเขาทําบันทึกรับรองยินยอมปฏิบัติตามเง่ือนไขของระเบียบกรมปาไมดังกลาว และเม่ือวันท่ี 18 ธันวาคม 2552 บริษัทยอยไดยื่นคําขอรับใบอนุญาตเก็บหาของปาในเขตปาสงวนแหงชาติแลว ซ่ึงขณะนี้ยังอยูในระหวางการดําเนินการของหนวยราชการท่ีเกี่ยวของ

24. เคร่ืองมือทางการเงิน

24.1 นโยบายการบริหารความเส่ียง

เคร่ืองมือทางการเงินท่ีสําคัญของบริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันตามท่ีนิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 32 “การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับเคร่ืองมือทางการเงิน” ประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา และเงินลงทุน บริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันมีความเส่ียงท่ีเกี่ยวของกับเคร่ืองมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายการบริหารความเส่ียงดังนี้

ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ

บริษัทฯมีความเส่ียงดานการใหสินเช่ือท่ีเกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา ซ่ึงสวนใหญเกิดจากการขายใหกับลูกคาจํานวนนอยราย อยางไรก็ตาม บริษัทฯไมคาดวาจะไดรับความเสียหายท่ีเปนสาระสําคัญจากการเก็บหนี้จากลูกหนี้เหลานั้น เนื่องจากลูกหนี้สวนใหญมีความสามารถในการชําระหนี้

Page 107: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

23

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

บริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันมีความเส่ียงจากอัตราดอกเบ้ียท่ีสําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน อยางไรก็ตาม เนื่องจากเงินฝากสถาบันการเงินมีอัตราดอกเบ้ียท่ีปรับข้ึนลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซ่ึงใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน ความเส่ียงจากอัตราดอกเบ้ียของบริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันจึงอยูในระดับตํ่า ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันมีเงินฝากกับสถาบันการเงินจํานวนประมาณ 76 ลานบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 58 ลานบาท) ซ่ึงมีอัตราดอกเบ้ียรอยละ 0.50 - 1.13 ตอป (งบการเงินเฉพาะกิจการ: รอยละ 0.50 - 1.13 ตอป)

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปล่ียน

บริษัทฯมีความเส่ียงจากอัตราแลกเปล่ียนท่ีสําคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อเครื่องจักรเปนเงินตราตางประเทศ บริษัทฯไดพิจารณาใชนโยบายเนนความสมดุลของรายการรับและรายการจายเงินตราตางประเทศโดยรวมในแตละชวงเวลาและจะทําสัญญาซ้ือขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเปนคร้ังคราวเพื่อลดความเส่ียงจากอัตราแลกเปล่ียนท่ีอาจเกิดข้ึน บริษัทฯไมมีสัญญาซ้ือขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงเหลือ ณ วันท่ีในงบดุล

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินท่ีเปนสกุลเงินตราตางประเทศ ดังนี้

สกุลเงิน สินทรัพยทางการเงิน หน้ีสินทางการเงิน อัตราแลกเปล่ียน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

(ลาน) (ลาน) (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) เหรียญสหรัฐอเมริกา - 0.51 33.5168 ยูโร 0.08 - 47.4583

24.2 มูลคายุติธรรมของเคร่ืองมือทางการเงิน

เนื่องจากเคร่ืองมือทางการเงินสวนใหญของบริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันจัดอยูในประเภทระยะส้ัน บริษัทฯ บริษัทยอย และกิจการท่ีควบคุมรวมกันจึงประมาณมูลคายุติธรรมของเคร่ืองมือทางการเงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีท่ีแสดงในงบดุล

มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินท่ีผูซ้ือและผูขายตกลงแลกเปล่ียนสินทรัพยกันในขณะท่ีท้ังสองฝายมีความรอบรู และเต็มใจในการแลกเปล่ียนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะท่ีไมมีความเก่ียวของกัน วิธีการกําหนดมูลคายุติธรรมข้ึนอยูกับลักษณะของเคร่ืองมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดลาสุด หรือกําหนดข้ึนโดยใชเกณฑการวัดมูลคาท่ีเหมาะสม

Page 108: รายงานประจําป 2552 ของบริษัท · 2017-03-06 · ข อมูลทางการเง ินโดยสร ุปของบร ิษัท

24

25. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนท่ีสําคัญของบริษัทฯคือการจัดใหมีซ่ึงโครงสรางทางการเงินท่ีเหมาะสมและการดํารงไวซ่ึงความสามารถในการดําเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง

ตามงบดุล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2552 กลุมบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 0.10:1 (2551: 0.09:1) และบริษัทฯมีอัตราสวนเทากับ 0.38:1 (2551: 0.34:1)

26. เหตุการณภายหลังวันท่ีในงบการเงิน

เม่ือวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2553 ท่ีประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ไดมีมติอนุมัติเสนอจายเงินปนผลจากผลการดําเนินงานสําหรับรอบระยะเวลาต้ังแตเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมของป 2552 ใหแกผูถือหุนในอัตราหุนละ 0.20 บาท รวมเปนเงินปนผลท้ังส้ินประมาณ 64.81 ลานบาท โดยบริษัทฯจะนําเสนอเพื่อขออนุมัติการจายเงินปนผลดังกลาวในท่ีประชุมสามัญประจําปผูถือหุนของบริษัทฯตอไป

27. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เม่ือวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2553