82
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พฤษภาคม 2553 รายงานประจําป 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี Faculty of Engineering, Ubon Ratchathani University

รายงานประจําป 2552web.eng.ubu.ac.th/~personnel/faculty_data/annual report2552.pdf · ดอกบัวหลวงบนแท นฐานสามช

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธาน ี พฤษภาคม 2553

รายงานประจําป 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Faculty of Engineering, Ubon Ratchathani University

คํานํา รายงานประจําป 2552 ฉบับนี้ สรุปสถานการณ นโยบาย แผน การปฏิบัติ และผลงานของคณะ

วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ทั้งนี้ กิจกรรมการศึกษา และภารกิจของบุคลากร ถือตามปการศึกษา (มิถุนายน 2552 ถึง พฤษภาคม 2553) สวนงบประมาณ รายรับ รายจาย ถือตามปงบประมาณ (ตุลาคม 2551 – กันยายน 2552) ในรอบปที่ผานมา คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ยางกาวเขาสูปที่ 20 จํานวนผูเลือกสมัครลดลง แตจํานวนผูยืนยันสิทธิ์สูงขึ้น โดยเฉพาะผูที่มีผลการเรียนดี นักศึกษาใหมระดับปริญญาตรีจึงยังคงเปนไปตามเปาหมาย ไดเริ่มหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม และหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมไฟฟา ครบรอบเวลาที่จะตองปรับปรุงทุกหลักสูตร ซึ่งประจวบกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาบังคับใช มีการปรับปรุงกระบวนวางแผน ทํางาน และบริหารจัดการ โดยพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสําหรับงานตาง ๆ อาทิ (e-office & e-document) งานสารบรรณ งานการเงิน และบัญชี ระบบแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส (QMS) แบบสะสม และรายงานผลปฏิบัติงาน (e-

port folio) มีการปรับปรุงแผนยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร (พ.ศ.2549-2560) ใหสอดคลองกับปรัชญา วิสัยทัศน และพันธกิจปรับปรุงของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี แผนยุทธศาสตรสํานักงานการอุดมศึกษา ระยะที่ 2 ปรับปรุงเนื้อหาเรื่องการบริหารความเสี่ยง มีคณะกรรมการตาง ๆ เปนกลไกสําคัญใหการดําเนินงาน มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล อาทิ กรรมการบริหารกลยุทธ วิชาการ บัณฑิตศึกษา วิจัยฯ (ERB) ประกันคุณภาพ จัดการความรู ทั้งไดใชการจัดการความรูเปนกลไกพัฒนาการเรียนรูของบุคลากร และองคกร จํานวนบัณฑิตปริญญาตรียังคงเดิม แตอัตราการไดงานทําตรงสาขาในเวลากําหนดเปนไปตามเกณฑ แมจะอยูในหวงวิกฤติเศรษฐกิจ จํานวนมหาบัณฑิตเพิ่มขึ้น เริ่มมีดุษฎีบัณฑิต กิจกรรมนักศึกษายังคงรักษาผลงานที่สรางชื่อเสียงระดับประเทศอยางตอเนื่อง อาทิ โครงงานวิศวกรรมปฐพี คอนกรีตมวลเบา คอนกรีตกําลังสูง รถประหยัดพลังงาน โครงงานโซลาแสงอาทิตยเพื่อการพัฒนาชนบท และหุนยนต ยังคงมุงใหบุคลากรเกิดสํานึกสาธารณะ ทํางานและอยูรวมกันอยางมีความสุข มีวัฒนธรรมองคกรที่เปนแบบอยางได ริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใหม อาทิ คายเยาวชนบุตรหลานบุคลากรในภาคฤดูรอน ที่ปรึกษาภาคประชาชน นิเทศนักศึกษาทุนทุกประเภท ปฐมนิเทศผูปกครองนักศึกษา ความรวมมือกับ Japan International Cooperation Agency (JICA) ในการฝกอบรมอาจารย ความรวมมือกับ Japan Oversea Development Agency - JODC ในการจัดบรรยายพิเศษ โดยผูทรงคุณวุฒิจากญี่ปุน การเรียนภาษาญี่ปุน ฝกงานระยะสั้น และพบปะผูประกอบการชาวญี่ปุน ใหแกนักศึกษาชั้นปสุดทาย

ทามกลางการปรับเปลี่ยนระบบราชการ และกฎระเบียบตาง ๆ กอปรกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งใหม งบประมาณที่ลดลง คาใชจายที่สูงขึ้น ทําใหคณะฯ เริ่มวางแผนปองกัน หรือรับปญหาในการบริหารจัดการในอนาคต โดยเฉพาะกิจกรรมที่สรางรายไดใหแกองคกร โดยใชความรูความเชี่ยวชาญของบุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ขอขอบคุณ บุคลากร นักศึกษา บัณฑิต และผูเกี่ยวของอื่น ๆ ทุกทาน ภาควิชา และหนวยงาน ที่ปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถ และอนุเคราะหขอมูลเพื่อจัดทํารายงานประจําป คณะวิศวกรรมศาสตร มีพันธะสัญญากับประชาคมวาจะสามารถรวมกันฝาวิกฤติไปไดดวยดี

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เลขที่ 85 ถนนสถลมารค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

โทรศัพท 045 353 300 โทรสาร 045 353 333 http://www.eng.ubu.ac.th

สารบาญ

เร่ือง หนา

ท่ัวไป 1

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 1

คณะวิศวกรรมศาสตร 4

แผนยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 5

ผูบริหารและโครงสรางการบริหาร 9

ผูทรงคุณวุฒิ ท่ีปรึกษาภายนอก และท่ีปรึกษาภาคประชาชน 10

การจัดการองคกรและการบริหารงาน 11

งบประมาณ 12

ครุภัณฑ 14

บุคลากร 15

จํานวนบุคลากร 16

การพัฒนาบุคลากร 17

หลักสูตร การจัดการ 19

หลักสูตร และการจัดการศึกษา 19

นักศึกษา และบัณฑิต 21

นักศึกษา 21

บัณฑิต 25

กิจการนักศึกษา 27

ทุนการศึกษา 28

การประกันคุณภาพการศึกษา 29

บริการสารสนเทศทางวิศวกรรม 36

วิจัย บริการวิชาการ และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 38

โครงการวิจัย บริการวิชาการ และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 38

ผลงานวิจัย และตีพิมพ 43

เกียรติยศ และรางวัล 52

ทําเนียบบุคลากร 54

ภาคผนวก กิจกรรม ประจําปการศึกษา 2552 60

1

มหาวทิยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดตั้งเมื่อปพุทธศักราช 2530 โดยจัดตั้งเปนวิทยาลัยอุบลราชธานี สังกัด

มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยเริ่มตนกอสรางดวยงบประมาณ 16 ลานบาท ในป 2531 กอสรางอาคารหลังแรกคือ อาคารเอนกประสงค ตอมาในป พุทธศักราช 2533 รัฐบาลไดมีมติยกฐานะวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนลําดับที่ 19 สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2533 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 กรกฎาคม 2533 สภามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดแตงตั้งรองศาสตราจารย สมจิตต ยอดเศรณี ดํารงตําแหนงอธิการบดีเปนคนแรก มหาวิทยาลัยในระยะเริ่มกอต้ังประกอบดวยสี่คณะและหนึ่งสถาบัน คือ คณะวิทยาศาสตร คณะเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะเภสัชศาสตร และสถาบันภาษาและวัฒนธรรม นับแตบัดนั้นมหาวิทยาลัยเจริญกาวหนาขึ้นโดยลําดับ ภายหลังในป พ.ศ. 2542 ไดมีการปรับสถาบันภาษาและวัฒนธรรมเปนคณะศิลปศาสตร ในป พ.ศ.2540 ไดกอต้ังคณะบริหารศาสตร พ.ศ.2546 กอต้ังโครงการจัดตั้งวิทยาลัยแพทยศาสตรและสาธารณสุข พ.ศ.2547 กอต้ังคณะศิลปประยุกตและการออกแบบ โครงการจัดตั้งคณะนิติศาสตรและรัฐศาสตร และป พ.ศ.2549 จัดตั้งคณะรัฐศาสตรโดยแยกจากคณะนิติศาสตร ปจจุบันมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มี 10 คณะ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีพ้ืนที่ประมาณ 5,117 ไร เฉพาะเขตการศึกษามีพ้ืนที่ประมาณ 450 ไร (รูปที่ 1) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต้ังอยูเลขที่ 85 ถนนสถลมารค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 โทรศัพท 045 353000 โทรสาร 045

353001 เวบไซท http://www.ubu.ac.th

รูปท่ี 1 ท่ีต้ังมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สัญลักษณมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนรูปเจดียทรงลานชาง หมายถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภายในมี

ดอกบัวหลวงบนแทนฐานสามชั้น เสนทั้งสามเปรียบเสมือนแมน้ําสายสําคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (แมน้ําโขง แมน้ําชี และแมน้ํามูน) ดอกบัวเหนือน้ําพรอมจะเบงบานใหมหาชนชื่นชมความดีงาม กลีบดอกดานลางสองกลีบ หมายถึง คุณธรรมและปญญาเปนเปลือกหุมสถาบัน ดอกตูมสามกลีบ หมายถึง พระรัตนตรัย ขอบเสนสีน้ําเงิน หมายถึง ความมั่นคงแข็งแรง สีพ้ืนเหลืองสดเปนสีประจํามหาวิทยาลัย สวนสัญลักษณของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีลักษณะเปนสากล คือ ประกอบดวยสัญลักษณของมหาวิทยาลัยลอมรอบดวยเฟองสีเหลือง บนพื้นสีแดง

2

เลือดหมู ซึ่งเปนสีสากลของคณะวิศวกรรมศาสตร ภายในเฟองและเหนือสัญลักษณมหาวิทยาลัย มีคําวา “คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี” และ “FACULTY OF ENGINEERING UBON RATCHATHANI UNIVERSITY” (รูปที่ 2)

รูปท่ี 2 สัญลักษณของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และสัญลักษณคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ตนไมประจํามหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคือตนกันเกรา ช่ือสามัญ Anon,Tembusu ช่ือทางวิทยาศาสตร Fagraea

fragrans Roxb. อยูในวงศ LOGANIACEAE ช่ืออื่น กันเกรา (ภาคกลาง) ตะมะซู ตํามูซู (ภาคใต และมลายู) ตาเตรา (ภาคตะวันออก และเขมร) ตําเสา หรือทําเสา (ภาคใต) มันปลา (ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) เปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูงประมาณ 10-30 เมตร เปลือกนอกลําตนหยาบหนา สีน้ําตาล หรือเทาปนดํา แตกเปนรองลึกไมเปนระเบียบ ใบเดี่ยวเรียงตรงขามกัน แผนใบรี กวาง 2 - 4 เซนติเมตร ยาว 6 – 12 เซนติเมตร เนื้อใบหนา หลังใบสีเขียวเขมเปนมัน ออกดอกเปนชอตามงามใบใกลปลายกิ่ง ยาว 5 - 10 เซนติเมตร เมื่อเริ่มบานกลีบดอกสีขาว แลวเปลี่ยนเปนสีเหลืองมีกลิ่นหอมอยูราวหนึ่งสัปดาห ออกดอกระหวางเดือนเมษายน-มิถุนายน มีผลระหวางเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม ผลกลมสดสีสมอมเหลือง เมื่อแกจะเปลี่ยนเปนสีแดงเลือดนก รสขม มีเมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก ขยายพันธุ โดยเพาะเมล็ด หรือปกชํา ชอบแสงแดดจัด ขึ้นไดในแทบทุกสภาพดิน โดยเฉพาะ ในปาเบญจพรรณ ตามที่ลุม ช้ืนหรือใกลแหลงน้ําในภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง มีขึ้นทั่วไปในปาดิบช้ืน และปาพรุในภาคใต มีสรรพคุณสมุนไพร และเปนยาอายุวัฒนะ คติไทยเชื่อวา ไมกันเกราสื่อความหมายถึงเครื่องปองกันภัยอันตรายตาง ๆ

และทําใหเสาเรือนมั่นคง เปนไมยืนตนชนิดหนึ่งพบมากในบริเวณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (รูปที่ 3)

รูปท่ี 3 กันเกรา ไมสัญลักษณประจํามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ที่ประชุมรวมสภามหาวิทยาลัย กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย และผูทรงคุณวุฒิ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2551

กําหนดแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีระหวางป พ.ศ. 2551-2560 ประกอบดวย ปณิธาน “พัฒนาความรู มุงสูปญญา พรอมคุณคาคุณธรรม” ปรัชญา “มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สรางสติและปญญาแกสังคม บนพื้นฐานความพอเพียง” วิสัยทัศน “เปนมหาวิทยาลัยแหงคุณภาพ ที่เนนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตและประชาชนบนฐานภูมิปญญาอีสานใต และอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง” พันธกิจสี่ดาน คือ 1) ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ

3

มาตรฐานในระดับสากล มีคุณธรรมนําความรู คิดเปน ทําเปน และดํารงชีวิตบนพื้นฐานพอเพียง 2) วิจัย และสรางนวัตกรรมเพื่อใหเกิดองคความรูใหม และผลงานสรางสรรค ที่สามารถนําไปประยุกตใชไดอยางมีความสุข และพอเพียง

3) บริการวิชาการแกสังคมเพื่อชีวิตที่ดีของประชาชน และสรางมูลคาเพิ่มในกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน และอุตสาหกรรมทองถิ่นอีสานใต และอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง เพื่อกอใหเกิดทักษะเพียงพอตอการพัฒนาตนเอง และประเทศชาติ 4) ทํานุบํารุง ฟนฟู ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่น และภูมิภาคอื่นเพื่อใหเกิดการเรียนรู รับรู และรักษาไวภายใตบริบทโลกาภิวัตน ยุทธศาสตร 6 ดาน คือ 1) พัฒนาอาจารยและบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมตอการพัฒนามหาวิทยาลัยในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว (เปนยุทธศาสตรใหม ประกอบดวย 1.1 ปรับความคิดของอาจารยและบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาอุดมศึกษาตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 - 2560 1.2 จัดทําแผนพัฒนาอาจารยและบุคลากร1.3 พัฒนาคุณภาพผูบริหาร อาจารยและบุคลากร 1.4 ธํารงรักษา และพัฒนาอาจารย และบุคลากรอยางตอเนื่องเพื่อใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และมีความสุขในการทํางาน เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม) 2)

พัฒนานักศึกษาใหเกิดทักษะ มีเครื่องมือ มีความรูในทฤษฎีพ้ืนฐานและสามารถนําความรูไปคิดแกปญหาในพื้นที่ไดจริง(2.1 พัฒนากระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2.2 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และความพอเพียงในกระบวนการเรียนรู 2.3 การบริหารกิจกรรมนักศึกษานอกหลักสูตร2.4 สนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรูอยางมีสวนรวมของนักศึกษา 2.5 บูรณาการงานวิจัย งานบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเขาสูกระบวนการจัดการเรียนรูเพื่อสรางบัณฑิต 2.6 พัฒนาหลักสูตรที่สอดคลองกับความตองการของสังคมและการพัฒนาประเทศ 2.7 รับนักศึกษาใหมที่มีคุณภาพ และจํานวนตามเปาหมาย 2.8 จัดหาทรัพยากรและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู 2.9 การบริหารสวัสดิการและสวัสดิภาพนักศึกษา) 3) สงเสริมการวิจัยและสรางนวัตกรรม เพื่อใหเกิดองคความรูใหมและผลงานสรางสรรค ที่สามารถนําไปใชเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนในทองถิ่น และประเทศใหอยูไดอยางมีความสุข (3.1

จัดทําแผนแมบทการวิจัยตามปรัชญา และวิสัยทัศนของ มหาวิทยาลัย 3.2 กําหนดโครงสรางและระบบการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน สงเสริมการวิจัย 3.3. สรางเสริมความแข็งแกรงของนักวิจัย หรือกลุมวิจัย 3.4. สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อตอบสนองความตองการของทองถิ่น และภูมิภาคลุมน้ําโขง โดยเนนการมีสวนรวมของภาคประชาชน 3.5

สงเสริมและสนับสนุนการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน) 4. เสริมสรางความเปนเลิศทางดานฐานขอมูล องคความรู และผูรูในอีสานใตและอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงเพื่อการบริการวิชาการแกชุมชนและสรางคุณคาและมูลคาเพิ่มใหกับมหาวิทยาลัยผานการเรียนรูรวมกับชุมชน (4.1 สงเสริมใหมีการศึกษาพื้นที่เปาหมายเพื่อนํามาจัดสรางเปนฐานขอมูล

องคความรูเพื่อนําไปใชประโยชน 4.2 การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานบริการวิชาการ 4.3 การสรางเครือขายความรวมมือทางวิชาการกับชุมชนเพื่อใหบริการวิชาการ 4.4 ใหบริการวิชาการที่ตรงใจผูรับบริการ และตอบสนองความตองการของทองถิ่น 4.5 สงเสริมใหเกิดการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการวิจัยและการเรียนการสอน 4.6 เผยแพรองคความรู เพื่อพัฒนาชุมชนใหรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของโลก) 5) สงเสริม ทํานุบํารุงและฟนฟูรูปแบบ และความคิดทางศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่น และชาต ิโดยการซึมซับเขาสูวิถีการดํารงชีวิตเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงภายใตความหลากหลายทางวัฒนธรรม (5.1 สงเสริมการศึกษา และการจัดกิจกรรมที่เนนการสืบสืบสานวัฒนธรรม ที่เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของชุมชนในอีสานใต และอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงโดยมีกระบวนการที่ตอเนื่องจนเกิดการสรางองคความรูและมีการเผยแพร โดยใหนักศึกษา และบุคลากรมีสวนรวมกับชุมชน 5.2 สงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาระบบฐานขอมูลดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 5.3 สรางเสริมความแข็งแกรงของกลุมกิจกรรม และบุคลากรดานศิลปวัฒนธรรม 5.4 ศึกษาศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของภูมิภาคอื่นใหเกิดการเรียนรู รับรู และรักษาไว ภายใตการเปลี่ยนแปลงของโลก) 6) บริหารดวยหลักธรรมาภิบาลเพื่อพัฒนาองคกรและบุคลากรใหมีคุณภาพและมีความสุข (6.1 พัฒนาองคกรและระบบบริหารเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ 6.2 ปรับโครงสราง

4

องคกร รวมทั้งกฎ ระเบียบตางๆ ใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต 6.3 พัฒนาสถาบันสูองคกรแหงการเรียนรู โดยเนนการสื่อสารทั้งภายใน และภายนอกใหเปนที่รับรูอยางทั่วถึง) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เดิมเปนภาควิชาวิศวกรรมศาสตร สังกัดวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดเปดดําเนินการรับนักศึกษารุนแรกในปการศึกษา 2531 ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ตอมาในป พ.ศ. 2533 ถูกยกฐานะเปนคณะวิศวกรรมศาสตร พรอม ๆ กับเมื่อวิทยาลัยอุบลราชธานี ถูกยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีตามประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2533 ประกอบดวย หนึ่งสํานักงานเลขานุการ และสี่ภาควิชา คือ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมเคมี และวิศวกรรมอุตสาหการ ตอมาไดจัดตั้ง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส(2540) และเปลี่ยนช่ือภาควิชาวิศวกรรมเกษตรเปนภาควิชาวิศวกรรมโยธา(2545) โดยมีรองศาสตราจารย อุทิศ หิมะคุณ เปนคณบดีผูกอต้ัง (พ.ศ. 2533 – 2537) คณะวิศวกรรมศาสตร ต้ังอยูในพื้นที่การศึกษาของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประกอบดวย อาคารเรียน

หองปฏิบัติการ รวม 7 หลัง คือ อาคาร CLB-1 และอาคาร EN-1 ถึง EN-6 อาคารดังกลาวประกอบดวยพ้ืนที่ใชสอย ไดแก หองเรียน หองปฏิบัติการ โรงประลอง หองสมุดและบริการสารสนเทศ หองพักอาจารย สํานักงาน และอื่น ๆ รวมพื้นที่ใชสอย 30,855 ตารางเมตร (รูปที่ 4 และตารางที่ 1 ตามลําดับ)

รูปท่ี 4 อาคารเรียน หองปฏิบัติการ และสํานักงานคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

5

ตารางที่ 1 พื้นที่ใชสอยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

พื้นท่ีใชสอย (ตารางเมตร) อาคาร

EN-1 EN-2 EN-3 EN-4 EN-5 EN-6 CLB-1 รวม

สรางเมื่อ พ.ศ. 2531 2532 2532 2533 2537 2546 2534 -

1. จํานวนชั้น 1 1/2 1 1/2 1 1/2 1 1/2 3 6 3 -

2. หองเรียน - - - 82 988 2,991 1,248 5,309

3. สารสนเทศ 160 - - - - 1,329 - 1,489

4. คอมพิวเตอร - - 140 47 - 500 - 687

5. หองปฏิบัติการ 950 997 709 1,135 1,856 850 252 6,749

6. หองพักอาจารย 198 53 615 43 148 1,590 356 3,003

7. สํานักงาน - - - - - 955 - 955

8. หองประชุม - - 58 - - 1,338 - 1,396

9. วัสดุหรือเคร่ืองมือ 8 53 - 14 - - - 75

10. หองปฏิบัติการเคมี 177 517 - - - - 694

11. หองน้ําและอื่นๆ 51 52 35 35 51 1,260 180 1,664

12. ทางเดินและที่วาง 276 239 573 84 562 6,065 1,037 8,836

รวม 1,820 1,911 2,130 1,440 3,605 16,876 3,073 30,855

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ ปรัชญาคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สรางสติและปญญาแกสังคมบนพื้นฐานความพอเพียง ปณิธานคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จะเปนสติปญญาของสังคม ที่เอื้ออํานวยใหสังคมแกปญหาและพัฒนาไปอยางสมดุลและยั่งยืน โดยการพัฒนาความเปนเลิศทางวิชาการเพื่อการบริหารจัดการเทคโนโลยี ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม อยางมีประสิทธิภาพและประหยัด วิสัยทัศนคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จะเปนกําลังหลักในการศึกษา วิจัยและพัฒนางานดานวิศวกรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปาประสงคคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คือ จํานวนและคุณภาพของบัณฑิต จํานวนงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และการถายทอดเทคโนโลยี จํานวนความรวมมือกับองคกรอื่น ๆ ในภูมิภาคเพิ่มขึ้น

แผนยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ีเดิม คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. มี และใชแผนยุทธศาตร โดยปรับปรุงแผนยุทธศาสตรเดิม ประกอบกับการ

ระดมความคิด และการทํา SWOT ของประชาคมคณะวิศวกรรมศาสตรในการสัมมนาอาจารยและบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ในป 2546 ซึ่งเปนชวงเวลาพรอม ๆ กับการจัดทําคูมือประกันคุณภาพ และรายงานการประเมิน

6

ตนเอง การตรวจประเมินประกันคุณภาพภายใน และการตรวจประเมินคุณภาพจากภายนอก ภายหลังจึงไดมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรระยะยาว (พ.ศ. 2549-2560) ในป พ.ศ. 2550 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีไดจัดทําแผนยุทธศาสตรใหม สําหรับชวงเวลา 10 ป (พ.ศ. 2551 – 2560) ใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 และกรอบแผนพัฒนาอุดมศึกษา ฉบับที่ 2 โดยปรับปรุง ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ และยุทธศาสตร แผนยุทธศาสตรของคณะวิศวกรรมศาสตร จึงไดปรับปรุงอีกครั้งหนึ่ง อยางไรก็ตาม ไดคงเคาเดิมไว เพื่อใหทราบความเปนมาในระดับมหภาค และความตอเนื่อง โดยเฉพาะ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ซึ่งเริ่มใชในป พ.ศ. 2549 ดังนั้น เนื้อหาที่เพิ่มเติมขึ้น ประกอบดวย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

ยุทธศาสตรการพัฒนายุทธศาสตรพ้ืนที่ อันไดแกจังหวัด และกลุมจังหวัด ยุทธศาสตรของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2551 – 2565 และไดเพิ่มเติมเนื้อหาอันเกี่ยวแกการบริหารจัดการความเสี่ยง และธรรมาภิบาล ไดแสดงการกระจายรายจายในกิจกรรม และโครงงานตาง ๆ สูดัชนีช้ีวัดความสําเร็จ ตามองคประกอบในกระบวนประกันคุณภาพ

ในปการศึกษา 2549 คณะวิศวกรรมศาสตร ไดแตงตั้งคณะกรรมการแผนกลยุทธ และบริหารทรัพยากร คณะวิศวกรรมศาสตร ตามคําสั่งที่ 24/2550 เพื่อวิเคราะห และกําหนดแผนกลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ยุทธศาสตรของ สกอ. มิติในการประเมินผลปฏิบัติราชการของ กพร. ยุทธศาสตรชาติ ยุทธศาสตรละรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 พรอม ๆ กับไดปรับปรุงยุทธศาสตร 5 ขอ ใหเปน 7 ขอ เพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานของ สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องคกรมหาชน (สมศ.) คือ 1) คุณภาพบัณฑิต 2) งานวิจัยและงานสรางสรรค 3) การบริการวิชาการ 4) การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 5) การพัฒนาสถาบันและบุคลากร 6) หลักสูตรและการเรียนการสอน และ 7) การประกันคุณภาพ ทั้งนี้ มี กลยุทธ เปาประสงค ตัวช้ีวัด เปาหมาย และมาตรการ (ตารางที่ 2)

7

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กับ องคประกอบของ สมศ. สกอ. กพร. และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

สกอ. กพร.

ยุทธศาสตรชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ..และ สมศ.

รัฐธรรมนูญ 2550

1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ (0-1-1)*

1. มิ ติ ด า นประสิทธิผลตามยุทธศาสตร

1. เพิ่มศักยภาพในการแข งขั นของประเทศ

1. คุณภาพบัณฑิต 1.การบริหารราชการแผนดิน

มาตรา 78 (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่น เพื่อใหการจัดทําและการใหบริการสาธารณะเปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิ ภาพ โปรงใส และตรวจสอบได โดยคํานึงถึงการมีสวนรวมของประชาชน ฯลฯ

2. การเรียนการสอน (4-5-4)*

2. มิ ติ ด า น

ประสิ ทธิ ภ าพ

ของการปฏิบัติ

ราชการ

2. เสริมสรางการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ

2. งานวิจัยและงานสรางสรรค

2. ศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม

มาตรา80 (3) ฯลฯ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม จัดใหมีแผนการศึกษาแหงชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติ จัดใหมีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาใหกาวหนาทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก รวมทั้งปลูกฝงใหผูเรียนมีจิตสํานึกของความเปนไทย มีระเบียบวินัย คํานึงถึงประโยชนสวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ฯลฯ

3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (0-2-0)*

3. มิติดาน

ประสิ ทธิ ภ าพ

ของการปฏิบัติ

ราชการ

3. การพัฒนาสังคม

การแกไขปญหาความยากจน และยกระดับคุณภาพชีวิต

3. การบริการวิชาการ

3.ศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม

มาตรา 80 (5) ฯลฯ สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลปวิทยาการแขนงตาง ๆ และเผยแพรขอมูลผลการศึกษาวิจัยที่ไดรับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยจากรัฐ ฯลฯ

4. การวิจัย (1-2-2)* 4. มิติดานการ

พัฒนาองคการ

4.ความมั่นคงของ

ชาติ การ

ตางประเทศ การ

อํ า น ว ย ค ว า ม

ยุติธรรม

4. การทํานุบํารุงศิ ล ป ะ แ ล ะวัฒนธรรม

4.ศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม

มาตรา 80 (6) ฯลฯ ฯสงเสริมและสนับสนุนความรูรักสามัคคีและการเรียนรู ปลูกจิตสํานึก และเผยแพรศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจนคานิยมอันดีงามและภูมิปญญาทองถิ่น ฯลฯ

8

ตารางที่ 2 (ตอ) สกอ. กพร.

ยุทธศาสตรชาติ คณะ

วิศวกรรมศาสตร ม.อบ..และ สมศ.

รัฐธรรมนูญ 2550

5. การบริการทางวิชาการแกสังคม (1-1-3)*

-

5.การบริหารการ

จัดการประเทศ

5. การพัฒนาส ถ า บั น แ ล ะบุคลากร

5. ดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน มาตรา 86 (1) ฯลฯ สงเสริมใหมีการพัฒนาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมดานตาง ๆ โดยจัดใหมีกฎหมายเฉพาะเพื่อการนี้ จัดงบประมาณสนับสนุนการศึกษา คนควา วิจัย และใหมีสถาบันการศึกษาและพัฒนา จัดใหมีการใชประโยชนจากผลการศึกษาและพั ฒ น า ก า ร ถ า ย ท อ ด เ ท ค โ น โ ล ยี ที่ มีประสิทธิภาพ และการพัฒนาบุคลากรที่เ หมาะสม รวมทั้ ง เ ผยแพร คว ามรู ด านวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหม และสนั บ ส นุ น ใ ห ป ร ะ ช า ช น ใ ช ห ลั ก ด า นวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ฯลฯ

6. การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (0-1-2)*

- - 6. หลักสูตรและการเรียนการสอน

6.. ดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน มาตรา 86 (2) ฯลฯ สงเสริมการประดิษฐหรือการคนคิดเพื่อใหเกิดความรูใหม รักษาและพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นและภูมิปญญาไทย รวมทั้งใหความคุมครองทรัพยสินทางปญญา

ฯลฯ

7. การบริหาร และการจัดการ (1-5-3)*

- - 7. การประกันคุณภาพ

7. ดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน

มาตรา 86 (3) สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใชประโยชนจากพลังงานทดแทนซึ่ ง ไ ด จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ เ ป น คุ ณ ต อสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่องและเปนระบบ ฯลฯ

8. การเงินและงบประมาณ (0-2-0)*

- - - -

9. ระบบ และก ล ไ ก ป ร ะ กั นคุณภาพ (0-2-1)*

- - - -

หมายเหต ุ(*) ปจจัยนําเขา-กระบวนการ-ผลผลิต

9

ผูบริหาร และโครงสรางการบริหาร

รองศาสตราจารย ดร.สถาพร โภคา - คณบดี

อาจารยตะวันฉาย โพธิ์หอม

รองคณบดีฝายบริหารและประกันคุณภาพ

ผศ.ดร.สุขอังคณา ลี

รองคณบดีฝายวิชาการ

ผศ.เจริญ ชุมมวล

รองคณบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ

ผศ.ดร.นท แสงเทียน

รองคณบดฝีายวางแผนและสารสนเทศ

ผศ.ดร.อดุลย จรรยาเลิศอดุลย

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ

ผศ.ดร.นุชสรา เกรียงกรกฏ รองคณบดีฝายบัณฑิตศึกษา

ผศ.ดร.ธนรัฐ ศรีวีระกุล

หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

ดร.ประสิทธิ์ นครราช

หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

ผศ.ดร.นลิน เพียรทอง

หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย

หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมโยธา

ผศ.ดร.ไพรัตน แกวสาร

หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมเคม ี

นายธีระพงษ วงศบุญ

เลขานุการคณะ

รูปท่ี 5 ผูบริหารคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

10

ผูทรงคุณวุฒิ ท่ีปรึกษาภายนอก และที่ปรึกษาภาคประชาชน เพื่อใหสอดคลองกับกระบวนผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ การมีสวนรวมของผูใชบัณฑิต และภาคประชาชน และ

เปนไปตามกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดมีคําสั่งที่ 28/2551 (23 เมษายน 2551) คําสั่งที่ 40/2551 (30 พฤษภาคม 2551) และ คําสั่งที่ 28/2551 (12 มิถุนายน 2551) แตงตั้งที่ปรึกษาภาคประชาชน ดังนี้

1. ดร. วิโรจน มโนภิโมกข 2. นายปริญญา ศุภศร ี

3. นายโกวิทย ประสิทธิดํารงค 4. นายเล็ก ธัญนิพัทธ 5. นางรุงทิวา ทับหนองฮี 6. นางสาวสุนันทา ทัดจันทร โดยจัดทําเปนโครงการที่ปรึกษา และการมีสวนรวมจากภายนอกในการดําเนินการและบริหารจัดการคณะ

วิศวกรรมศาสตร ม.อบ ทั้งนี้ ที่ปรึกษาฯ ดังกลาว ไดมีสวนรวมหลายหลายรูปแบบกับคณะวิศวกรรมศาสตร อาทิ ใหขอคิดเห็นเสนอแนะในแผนยุทธศาสตรของคณะวิศวกรรมศาสตร รวมสัมมนาบุคลากรเปนที่ปรึกษา และรวมในงานบริการวิชาการ และกิจกรรมอื่น ๆ ของคณะฯ นอกจากนี้ ยังมีที่ปรึกษาภาคประชาชนที่คณะฯ เชิญใหมีสวนรวมเปนครั้งคราว หรือในรูปแบบอื่น ๆ อาทิ การอบรม หรือสัมมนาบุคลากร กระบวนสอบคัดเลือกนักศึกษา ปฐมนิเทศผูปกครองนักศึกษา การสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต การปรับปรุงหลักสูตร ประสานความรวมมือ และสนับสนุนในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ หรือระดับนานาชาต ิ

ทั้งนี้ คณะฯ จักไดประสานความรวมมือ กับที่ปรึกษาภาคประชาชนเหลานี้มากขึ้น โดยเนนการมีสวนรวมทุก

กระบวนการบริหารจัดการ ตามปฏิทินการศึกษา การประชุมสัมมนาความรวมมืออยางเต็มรูปแบบ และการนําเอาขอคิดเห็นเสนอแนะไปปฏิบัติ หรือปรับปรุงแกไขการดเนินงาน ตลอดจนแผนยุทธศาสตรของคณะวิศวกรรมศาสตร

11

การจัดการองคกรและการบริหารงาน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประกอบดวยหาภาควิชา และสํานักงานคณบดี

มีโครงสรางองคกร และการบริหารจัดการ (ปรับปรุงเมื่อ 1 ตุลาคม 2551-รูปที่ 6)

รูปท่ี 6 โครงสรางการบริหารคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

12

งบประมาณและครุภัณฑ

ปงบประมาณ 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร ไดจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานในดานตางๆ ตามภารกิจของคณะวิศวกรรมศาสตร จากเงินงบประมาณแผนดินและเงินงบประมาณเงินรายได ดังนี้

ตารางที่ 3 งบประมาณแผนดินจําแนกตามหมวดรายจาย ระหวางปงบประมาณ 2547 - 2552

ปงบประมาณ งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน รวม 2547 11,047,700 8,053,400 14,450,000 2,397,000 35,948,100

เพิ่มลด* - - - - -

2548 11,142,200 8,565,900 12,000,000 3,959,080 35,667,180

เพิ่มลด* 0.86 5.98 -20.42 39.46 0.78

2549 12,370,200 9,428,951 7,265,116 5,097,400 34,161,667

เพิ่มลด* 11.02 10.08 -39.46 28.75 4.22 2550 12,854,300 10,411,500 8,141,500 7,073,400 38,480,700

เพิ่มลด* 3.91 10.42 12.06 38.76 12.64 2551 18,839,480 10,511,700 7,000,000 8,459,100 44,810,280

เพิ่มลด* 46.56 0.96 -14.02 19.59 16.45 2552 23,554,320 9,099,000 6,020,000 9,273,500 47,946,820

เพิ่มลด* 25.03 -13.44 -14.00 9.63 7.00

รวมงบประมาณ 89,808,200 56,070,451 54,876,616 36,259,480 237,014,747

หมายเหต ุ(*) เพิ่มลดเปรียบเทียบกับปกอนหนานี้

ตารางที่ 4 งบประมาณจําแนกตามแผนงาน ระหวางปงบประมาณ 2547 – 2552

แผนงาน ปงบประมาณ

จัดการศึกษา วิจัย บริการวิชาการ ทํานุบํารุงฯ รวม

2547 33,551,100 2,010,000 200,000 187,000 35,948,100

เพิ่มลด - - - - -

2548 31,708,100 3,120,680 722,400 116,000 35,667,180

เพิ่มลด -5.49 55.26 261.20 -37.97 0.78 2549 29,064,267 2,953,600 1,470,000 673,800 34,161,667

เพิ่มลด 8.34 -5.35 103.49 480.86 -4.22 2550 31,407,300 3,778,400 2,368,800 926,200 34,161,667

เพิ่มลด 8.06 27.93 61.14 37.46 12.64 2551 36,351,180 6,102,400 1,760,000 596,700 44,810,280

เพิ่มลด 15.74 61.51 -25.70 -35.58 16.45 2552 38,673,320 5,529,500 3,278,800 465,200 47,946,820

เพิ่มลด* 6.39 -9.39 86.30 -22.04 7.00

รวมงบประมาณ 200,755,267 23,494,580 9,800,000 2,964,900 237,014,747

หมายเหต ุ(*) เพิ่มลดเปรียบเทียบกับปกอนหนานี้

13

ตารางที่ 5 เงินรายได และเงินกองทุนสงเสริมการผลิตบัณฑิตคณะวิศวกรรมศาสตร ระหวางปงบประมาณ 2547 - 2552

ปงบประมาณ

เงินรายได

เงินกองทุน

สงเสริมการผลิตบัณฑิต รวม

2547 2,835,623 16,027,338 18,862,961

เพิ่มลด - - -

2548 2,620,957 11,071,625 13,692,582

เพิ่มลด -76.28 -44.76 -38.49

2549 2,374,505 9,059,048 11,433,553

เพิ่มลด -9.40 -18.18 27.58

2550 3,532,000 7,749,850 11,281,850

เพิ่มลด 48.75 -14.45 34.29

2551 5,719,338 16,113,763 21,833,101

เพิ่มลด 61.93 107.92 169.85

2552 8,154,660 15,994,150 24,148,810

เพิ่มลด 42.58 -0.74 41.84

รวมงบประมาณ 25,237,083 76,014,774 101,252,857

หมายเหต ุ(*) เพิ่มลดเปรียบเทียบกับปกอนหนานี้

ตารางที่ 6 รายจาย จําแนกตามหมวดรายจาย ประจําปงบประมาณ 2547 – 2552

ปงบประมาณ งบประมาณ เงินรายได เงินกองทุน รวม

2547 8,150,799 2,704,918 11,437,471 22,293,188

เพิ่มลด - - - -

2548 8,677,257 1,912,036 14,281,682 24,870,975

เพิ่มลด -21.46 -41.47 19.92 10.36

2549 8,684,799 1,653,825 7,795,043 18,133,667

เพิ่มลด 0.09 -13.50 -45.42 -27.09

2550 38,533,801 1,966,288 9,557,832 50,057,921

เพิ่มลด 343.69 18.89 22.61 176.05

2551 47,407,848 2,731,140 11,978,147 62,117,135

เพิ่มลด 23.03 38.90 25.32 24.09

2552 47,929,500 11,850,110 4,224,344 64,003,954

เพิ่มลด 1.10 333.89 -64.73 270.26

รวมรายจาย 159,384,004 22,818,317 59,274,519 241,476,840

หมายเหต ุ(*) เพิ่มลดเปรียบเทียบกับปกอนหนานี้

14

ครุภัณฑ ระหวางป 2547 – 2552 งบประมาณคาครุภัณฑการศึกษา และครุภัณฑประจําอาคารเรียนของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ลดลง ในปงบประมาณ พ.ศ.2552 ไดรับครุภัณฑทางการศึกษา 16 รายการ ครุภัณฑประจําอาคารเรียน 2 รายการ รวมมูลคา 6,020,000 บาท (ตารางที่ 7)

ตารางที่ 7 ครุภัณฑคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552

ลําดับ รายการครุภัณฑ จํานวน หนวย ราคา

ตอหนวย

ราคา บาท

1. ครุภัณฑการศึกษา 4,870,000

1.1 เครื่องบันทึกขอมูลอุณหภูมิ (Temperature data logger) 1 ชุด 250,000 250,000

1.2 เครื่องวัดพลังงานไฟฟา (Clamp meter) 2 เครื่อง 40,000 80,000

1.3 เครื่องวัดและบันทึกความเร็วลม (Velocity data logger) 2 เครื่อง 80,000 160,000

1.4 เลื่อยคันชักไฟฟา 1 เครื่อง 50,000 50,000

1.5 เครื่องเชื่อมไฟฟาระบบอินเวอรเตอร กระแส 10-130 แอมป 1 เครื่อง 15,000 15,000

1.6 ชุดอุปกรณสําหรับการสาธิตและทดลองเรื่อง "ไฮโดรสแตติกส และคุณสมบัติของของไหล" (HYDROSTATICS & PROPERTIER OF FLUDIS)

1 ชุด 900,000 900,000

1.7 เครื่องวัดพลังงานแสงอาทิตยชนิดพกพาได(Pyranometer) 1 เครื่อง 100,000 100,000

1.8 เครื่องวัดและบันทึกขอมูลความชื้น (Humidity data logger) 2 เครื่อง 80,000 160,000

1.9 เครื่องช่ังน้ําหนัก (Digital scale) 2 เครื่อง 40,000 80,000

1.10 ปมสูญญากาศ (Vacuum pump) 1 เครื่อง 30,000 30,000

1.11 โปรแกรมและอุปกรณประกอบการเรียน วิชาการศึกษาการทํางาน

10 ชุด 30,000 300,000

1.12 เครื่องตัดไฟเบอร (Cut off machine) ขนาด 16 นิ้ว 1 เครื่อง 25,000 25,000

1.13 เครื่องตัดเหล็กแผนแบบใชแรงคน (เทาเหยียบกด) 1 เครื่อง 200,000 200,000

1.14 เครื่องตัดเหล็กแผนแบบใชแรงคน (เทาเหยียบกด) 1 เครื่อง 5,000 5,000

1.15 เครื่องไสตั้งพื้นแนวนอน 1 เครื่อง 200,000 200,000

1.16 เครื่องเจียรไนไฟฟาแบบมือถือ พรอมหินเจียร 1 เครื่อง 5,000 5,000

1.17 ชุดเครื่องมือวิเคราะหปริมาณแกส 1 ชุด 1,000,000 1,000,000

1.18 ชุดปฏิบัติการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 1 ชุด 1,310,000 1,310,000

2. ครุภัณฑประจําอาคารเรียน 1,150,000

2.1 ชุดระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนระบบ E-Learning ทางวิศวกรรม

1 ชุด 1,000,000 1,000,000

2.2 อุปกรณกระจายสัญญาณ (Swith Hub) 15 ชุด 15,000 150.000

รวม 6,020,000

15

บุคลากร จํานวนบุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร ในปการศึกษา 2552 แสดงในตารางที่ 8 – 11

ตารางที่ 8 จํานวนบุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร จําแนกตามสถานภาพ ประจําป 2552 ขาราชการ และพนักงาน ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราว

ภาควิชา อาจารย

สายสนับสนุน

รวม หอง

ปฏิบัติการ

บริหารธุรการ

รวม อาจารย สาย

สนับสนุน รวม

รวม

วิศวกรรมโยธา 16 1 17 - 1 1 - 3 3 21

วิศวกรรมเเครื่องกล 17 4 21 1 - 1 - 2 2 24

วิศวกรรมไฟฟาฯ 15 3 18 - - - - 3 3 21

วิศวกรรมเคมี 9 - 9 - - - - 4 4 13

วิศวกรรมอุตสาหการ 18 5 23 2 1 3 1 3 4 30

สํานักงานเลขานุการ - 18 18 - 8 8 - 15 15 41

รวม (2552) 75 31 106 3 10 13 1 30 31 150

รวม (2551) 74 33 108 1 12 13 1 26 27 147

เพิ่ม(ลด) 1 (2) (2) 2 (2) - - 4 4 3

รอยละ 1.35 (6.06) (0.93) 200.00 (16.67) - - 15.38 14.81 2.04

หมายเหตุ จํานวน และรอยละเพิ่มลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้

ตารางที่ 9 จํานวนอาจารย คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2538-2552 (จําแนกตามคุณวุฒิ ) ป

การศึกษา คุณวุฒ ิ

ตรี เพิ่ม(ลด)

รอยละ โท เพิ่ม(ลด)

รอยละ เอก เพิ่ม(ลด)

รอยละ รวม เพิ่ม(ลด)

รอยละ

2538 19 - - 15 - - 1 - - 35 - - 2539 25 6 31.6 19 4 26.7 1 0 0.0 45 10 28.6 2540 36 11 44.0 23 4 21.1 1 0 0.0 60 15 33.3 2541 40 4 11.1 24 1 4.3 2 1 100.0 66 6 10.0 2542 37 (3) (7.5) 29 5 20.8 2 0 0.0 68 2 3.0 2543 32 (5) (13.5) 33 4 13.8 3 1 50.0 68 0 0.0 2544 23 (9) (28.1) 33 0 0.0 8 5 166.7 64 (4) (5.9) 2545 14 (9) (39.1) 36 3 9.1 17 9 112.5 67 3 4.7 2546 7 (7) (50.0) 39 3 8.3 23 6 35.3 69 2 3.0 2547 4 (3) (42.9) 43 4 10.3 24 1 4.3 71 2 2.9 2548 3 (1) (25.0) 41 (2) (4.7) 29 5 20.8 73 2 2.8 2549 3 - - 42 1 2.4 31 2 6.9 76 3 4.1 2550 3 - - 35 (7) (16.7) 37 6 19.4 75 (1) (1.3) 2551 3 - - 30 (5) (14.3) 42 5 13.5 75 0 0.0 2552 4 1 33.3 31 1 3.3 40 (2) (4.8) 75 0 0.0

หมายเหตุ จํานวน และรอยละเพิ่มลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้

16

ตารางที่ 10 จํานวนอาจารย คณะวิศวกรรมศาสตร จําแนกตามตําแหนงทางวิชาการระหวางปการศึกษา 2538-2552

คุณวุฒ ิปการศึกษา

ผศ. เพิ่ม

(ลด) รอยละ รศ. เพิ่ม

(ลด) รอยละ ศ. เพิ่ม

(ลด) รอยละ รวม เพิ่ม

(ลด) รอยละ

2538 - - - 1 1 - - 2539 - - - 1 1 0 0.0 2540 1 1 100.0 - (1) (100.0) 1 1 100.0 2 1 100.0 2541 1 0 0.0 - 0 100.0 1 0 0.0 2 0 0.0 2542 1 0 0.0 - 0 100.0 1 0 0.0 2 0 0.0 2543 2 1 100.0 - 0 100.0 1 0 0.0 3 1 50.0 2544 2 0 0.0 - 0 100.0 1 0 0.0 3 0 0.0 2545 5 3 150.0 - 0 100.0 1 0 0.0 6 3 100.0 2546 12 7 140.0 1 1 100.0 1 0 0.0 14 8 133.3 2547 22 10 83.3 1 0 0.0 1 0 0.0 24 10 71.4 2548 25 3 13.6 2 1 100.0 1 0 0.0 28 4 16.7 2549 33 8 32.0 3 1 50.0 1 0 0.0 37 9 32.1 2550 35 2 6.1 3 0 0.0 1 0 0.0 39 2 5.4 2551 34 (1) (2.9) 3 0 0.0 1 0 0.0 38 (1) (2.6) 2552 35 1 2.9 3 0 0.0 1 0 0.0 39 1 2.6

หมายเหตุ จํานวน และรอยละเพิ่มลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้

ตารางที่ 11 ตารางแสดงจํานวนบุคลากรสายสนับสนุน ปการศึกษา 2538 – 2552 (จําแนกตามคุณวุฒิ )

คุณวุฒ ิ

ปการศึกษา ตํากวาปริญญาตรี

เพิ่ม(ลด)

รอยละ ปริญญาตรี

เพิ่ม(ลด)

รอยละ ปริญญาโท

เพิ่ม(ลด)

รอยละ รวม เพิ่ม(ลด)

รอยละ

2538 25 13 38 - - 2539 29 14 43 5 13.2 2540 33 1 100.0 18 (1) (100.0) 1 1 100.0 52 9 20.9 2541 38 5 15.2 24 0 100.0 1 0 0.0 63 11 21.2 2542 38 0 0.0 23 0 100.0 1 0 0.0 62 (1) (1.6) 2543 32 (6) (15.8) 29 0 100.0 1 0 0.0 62 0 0.0 2544 27 (5) (15.6) 36 0 100.0 1 0 0.0 64 2 3.2 2545 30 3 11.1 42 0 100.0 4 3 300.0 76 12 18.8 2546 30 0 0.0 40 1 100.0 5 1 25.0 75 (1) (1.3) 2547 32 2 6.7 35 (5) (12.5) 7 2 40.0 74 (1) (1.3) 2548 31 (1) (3.1) 35 0 0.0 6 (1) (14.3) 72 (2) (2.7) 2549 25 (6) (19.4) 38 3 8.6 8 2 33.3 71 (1) (1.4) 2550 25 0 0.0 39 1 2.6 8 0 0.0 72 1 1.4 2551 25 0 0.0 35 (4) (10.3) 12 4 50.0 72 0 0.0 2552 27 2 8.0 33 (2) (5.7) 11 (1) (8) 71 (1) (1.4)

หมายเหตุ จํานวน และรอยละเพิ่มลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้

17

การพัฒนาบุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร ไดพัฒนายกระดับคุณภาพมาตรฐานของบุคลากร ทั้งวิชาการ และทักษะการทํางาน โดยสงเสริมสนับสนุนใหบุคลากร ลาศึกษาตอทั้งใน และตางประเทศ เดินทางไปรวมงานวิจัย ประชุมวิชาการ สัมมนา ฝกอบรม ดูงาน และลาเพื่อเพิ่มพูนความรูทางวิชาการ (ตารางที่ 12)

ตารางที่ 12 บุคลากรที่อยูระหวางการพัฒนายกระดับคุณภาพมาตรฐาน

ลําดับ ช่ือ – สกุล แหลงทุน

(ระดับ) สาขา

ปที่เริ่มไดรับทุน

1 นางสาวจรวยพร แสนทวีสุข กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาเอก)

วัสดุศาสตร 2546

2 นายนันทวัฒน วีระยุทธ สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (ปริญญาโท ถึงเอก)

Engineering Control 2546

3 นางสาวรัชดา โสภาคะยัง กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาเอก) Thermo-Fluid 2547

4 นายสุชิน ไตรรงคจิตเหมาะ สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (ปริญญาเอก)

Biomedical System Engineering 2548

5 นางสาวอารยา โพธิสรณ ทกระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาเอก)

Nanotechnology 2548

6 นายกันตภณ แกวทิพย* กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาตรี ถึงเอก)

Electrical Engineering 2548

7 นายอิทธิศักดิ์ เภาโพธิ์ กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาโท-เอก)

วิศวกรรมเคมี 2548

8 นางสาวกิตติมา ศิลปษา กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาเอก)

วิศวกรรมอุตสาหการ 2548

9 นายธรรมรส รักธรรม* กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาตรี ถึงเอก)

วิศวกรรมไฟฟา (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส)

2549

10 นายกสิณ รังสิกรรมพุม* กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาโท – เอก)

วิศวกรรมอุตสาหการ 2549

11 นางสาวอัจฉริยา นาวัลย* กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาโท – เอก)

วิศวกรรมเคม ี 2549

12 นายสันห โอฬารพิริยะกุล สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (ปริญญาเอก)

Nanotechnology 2549

18

ตารางที่ 12 บุคลากรที่อยูระหวางการพัฒนายกระดับคุณภาพมาตรฐาน (ตอ)

ลําดับ ช่ือ – สกุล แหลงทุน

(ระดับ) สาขา

ปที่เริ่มไดรับทุน

13 นายอภินันท นามเขต สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (ปริญญาเอก)

Thermo-Fluid 2549

14 นายปฏิญญา สมานุหัตถ กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาเอก)

Engineering Control 2549

15 นายวิรพันธ สีหานาม สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (ปริญญาเอก)

Energy 2549

16 นางสาวณัฐยา พูนสุวรรณ กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาเอก)

วิศวกรรมเคม ี(Process & Dynamic)

2550

17 นางสาวบงกช บุญเพ็ชร กระทรวงวิทยาศาสตร (ปริญญาเอก)

Energy 2550

18 นายอธิพงศ สุริยา ทุนพัฒนาขาราชการ ก.พ. (ปริญญาเอก)

วิศวกรรมสารสนเทศ

2550

19

หลักสูตรและการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาของทุกภาควิชา สอดคลองกับเกณฑในการรับรองหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการ

อุดมศึกษา หรือสภาวิศวกร (ตารางที่ 13 และตารางที่ 14)

ตารางที่ 13 หลักสูตรและสาขาวิชาระดับปริญญาตรี หลักสูตร สาขา

วิศวกรรมเครื่องกล 1. กลศาสตร การออกแบบเครื่องจักรกล และวิศวกรรมยานยนต 2. อุณหพลศาสตร และพลังงาน 3. วิศวกรรมควบคุม และระบบอัตโนมัติ

4. การประยุกตกลศาสตรของไหล และความรอน

วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 1. วิศวกรรมไฟฟากําลัง 2. วิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร 3. วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 4. วิศวกรรมคอมพิวเตอร

วิศวกรรมอุตสาหการ 1. การวิจัยการดําเนินงาน 2. การจัดการงานอุตสาหกรรม วางแผน จัดการ และควบคุมการผลิต

3. โลหะวิทยาและวัสดุศาสตร การผลิตและปรับปรุงคุณสมบัติวัสด ุ

4. วิศวกรรมการผลิต การควบคุมการทํางานโดยอัตโนมัติ

วิศวกรรมโยธา 1. วิศวกรรมสํารวจ

2 วิศวกรรมทาง และวิศวกรรมขนสง 3. วิศวกรรมทรัพยากรน้ํา (ชลศาสตรและอุทกวิทยา) 4. วิศวกรรมเทคนิคธรณี 5. วิศวกรรมโครงสราง และวัสดุ 6. บริหารจัดการงานกอสราง และเทคโนโลยีในการกอสราง

วิศวกรรมเคมีและชีวภาพ 1. กระบวนการทางเคมีและอุตสาหกรรมเคมี 2. การจัดการและเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม

3. เทคโนโลยีชีวภาพ

4. วัสดุศาสตร (โพลีเมอร) หมายเหต ุ

1) สภาวิศวกร ไดรับรองหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ทั้ง 5 หลักสูตร 6 สาขาโดยลําดับ ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกล (ต้ังแตป พ.ศ. 2534) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟา แขนงไฟฟากําลัง และอิเล็กทรอนิกส (ต้ังแต พ.ศ.2537) หลักสูตรวิศวกรรมอุตสาหการ (ต้ังแตพ.ศ. 2541) หลักสูตรวิศวกรรมโยธา (ต้ังแต พ.ศ. 2542) และหลักสูตรวิศวกรรมเคมี (ต้ังแตพ.ศ. 2545)

2) เปดหลักสูตรวิศวกรรมสิ่งแวดลอม สังกัดภาควิชาวิศวกรรมเคมี เริ่มรับนักศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2552

20

ตารางที่ 14 หลักสูตรและสาขาวิชาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตร สาขา

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

1. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

2. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

3. สาขาวิศวกรรมโยธา 4. สาขาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

ดุษฎีบัณฑิต 1. สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม

มหาบัณฑิต

1. สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม

2. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

3. สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

4. สาขาวิศวกรรมโยธา 5. สาขาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

21

นักศึกษา และบัณฑิต สถิติจํานวนนักศึกษา จําแนกตามภาควิชาหรือหลักสูตร วิธีรับเขา ทั้งระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา แสดง

ในตารางที่ 15 ถึง ตารางที่ 18 สถิติบัณฑิต แสดงในตารางที่ 19 ถึง ตารางที่ 22

ตารางที่ 15ก จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีตามวิธีรับเขา ของคณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2531-2552

วิธีรับเขา เพิ่ม – ลด ปการศึกษา

Entrance โควตา โครงการพิเศษ โควตากีฬา รวม

จํานวน รอยละ

2531 30 - - - 30 30 -

2532 40 - - - 40 10 33.33

2533 79 - - - 79 39 97.50

2534 80 - - - 80 1 1.27

2535 38 40 - - 78 (2) (2.50) 2536 78 72 - - 150 72 92.31

2537 87 69 - - 156 6 4

2538 78 74 - - 152 (4) (2.56) 2539 73 70 - - 143 (9) (5.92) 2540 82 125 - - 207 64 44.76

2541 83 116 97 - 296 89 43.00

2542 64 113 114 3 294 (2) (0.68) 2543 91 116 134 - 341 47 15.99 2544 95 141 158 - 394 53 15.54

2545 108 118 113 2 341 (53) (13.45) 2546 111 126 103 1 341 0 - 2547 131 244 129 1 505 164 48.09

2548 319 91 52 1 463 (42) (8.32) 2549 120 340 43 2 505 42 9.07

2550 207 406 39 4 656 151 29.90 2551 243 634 76 7 960 304 146.34 2552 194 432 121 - 747 (213) (22.19)

22

ตารางที่ 15ข จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีเขาเรียนคณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2531 – 2552

จํานวนนักศึกษา เพิ่ม-ลด

(คิดจากจํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนจริง) ปการศึกษา

(1) แผนการรับ

(2) จํานวนรับเขา

(3) ลงทะเบียนจริง

รอยละ (3)/(1)

จํานวน รอยละ

2531 40 30 30 75 30 - 2532 40 40 40 100 10 33.33 2533 80 79 79 98.75 39 97.50

2534 80 80 80 100 1 1.27

2535 80 78 78 97.5 (2) (2.50) 2536 160 150 150 93.75 72 92.31 2537 160 156 156 97.5 6 4.00

2538 160 152 160 95 4 2.56

2539 160 143 149 89.4 (11) (6.88) 2540 200 207 207 103.5 58 38.93 2541* 250 296 296 118.4 89 43.00

2542** 400 294 294 73.5 (2) (0.68) 2543 400 341 341 85.25 47 15.99 2544 400 394 394 98.5 53 15.54

2545 400 341 341 85.25 (53) (13.45) 2546 400 341 341 85.25 0 - 2547 400 505 318 79.5 (23) (6.74) 2548 400 463 378 94.5 60 18.87

2549 525 511 495 94.29 117 30.95

2550 590 656 617 104.58 122 24.65

2551 680 960 559 82.20 (58) (9.40)

2552 680 747 608 89.41 49 8.77

หมายเหตุ 1) รายละเอียดการเพิ่ม-ลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้ 2) * เริ่มรับโครงการพิเศษ 50 คน 3) **เริ่มรับโครงการพิเศษเพิ่มเปน 200 คน ปจจุบัน ขยายจํานวนรับนักศึกษาภาคปกติ และลดจํานวน

นักศึกษาโครงการพิเศษเหลือ ประมาณ 30-50 คน ตอป

23

ตารางที่ 16 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี (จําแนกตามภาควิชาและรหัสป) รหัสและชั้นป

46 47 48 49 50 51 52 ภาควิชา ป 7 ป 6 ป 5 ป 4 ป 3 ป 2 ป 1

รวม

ป 1 (ยังไมแยกสาขา) - - - - 2 1 639 639

วิศวกรรมเครื่องกล - 2 9 41 129 114 - 295

วิศวกรรมอุตสาหการ 1 2 16 96 145 117 - 377

วิศวกรรมไฟฟาฯ 4 - 6 58 111 126 - 305

วิศวกรรมโยธา - 4 6 18 79 107 - 214

วิศวกรรมเคมี 1 - 4 44 44 51 - 144

รวม 6 8 41 257 510 516 639 1,977

หมายเหตุ ขอมูล ณ วันที ่3 พฤษภาคม 2553

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดเปดรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 8 หลักสูตร 4 สาขาวิชา โดยในปการศึกษา 2546 ไดเปดรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมเปนปแรก ปการศึกษา 2547 เปดสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ปการศึกษา 2548 เปดสาขาวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมอุตสาหการ ตามลําดับ และในปการศึกษา 2552 ไดเปดรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสทั้งหลักสูตรมหาบัณฑิตและปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ตารางที่ 17 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2546 - 2552

รหัสและชั้นป 48 49 50 51 52 ภาควิชา ป 5 ป 4 ป 3 ป 2 ป 1

รวม

วิศวกรรมสิ่งแวดลอม 1 2 5 20 9 37

วิศวกรรมเครื่องกล 1 5 4 10 7 27

วิศวกรรมโยธา 8 4 13 4 5 34

วิศวกรรมอุตสาหการ 1 15 9 3 16 44

วิศวกรรมไฟฟาฯ 0 0 0 0 11 11

รวม 11 26 31 37 48 153

หมายเหตุ ขอมูล ณ วันที ่27 เมษายน 2553

24

ตารางที่ 18 จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2546 – 2552

รหัสและชั้นป 48 49 50 51 52 ภาควิชา ป 5 ป 4 ป 3 ป 2 ป 1

รวม

วิศวกรรมสิ่งแวดลอม 2 1 2 1 4 10

วิศวกรรมเครื่องกล 1 2 3 5 3 14

วิศวกรรมโยธา 2 0 4 0 0 6

วิศวกรรมอุตสาหการ 1 1 2 5 5 14

วิศวกรรมไฟฟาฯ 0 0 0 0 1 1

รวม 6 4 11 11 13 45

หมายเหตุ ขอมูล ณ วันที ่27 เมษายน 2553

ตารางที่ 19 ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จําแนกตามสาขา สาขาวิชาวิศวกรรม เพิ่ม – ลด

รุน ป

การศึกษา เครื่องกล อุตสาหการ ไฟฟาฯ โยธา เคมี จํานวน

จํานวน รอยละ

รุนที่ 1,2 2535 29 - - - - 29 29 - รุนที่ 3 2536 40 - - - - 40 11 37.93

รุนที่ 4 2537 31 - - - - 31 (9) (22.50) รุนที่ 5 2538 30 30 - - - 60 29 93.55

รุนที่ 6 2539 39 23 23 - - 85 25 41.67

รุนที่ 7 2540 49 53 34 - - 136 51 60.00

รุนที่ 8 2541 59 34 53 - - 146 10 7.35

รุนที่ 9 2542 52 29 47 - - 128 (18) (12.33) รุนที่ 10 2543 53 56 44 37 - 190 62 48.44

รุนที่ 11 2544 34 52 65 40 - 191 1 0.53

รุนที่ 12 2545 21 30 53 33 - 137 (54) (28.27) รุนที่ 13 2546 40 35 64 20 - 159 22 16.06

รุนที่ 14 2547 36 67 65 24 - 192 33 20.75 รุนที่ 15 2548 34 79 37 24 18 192 0 - รุนที่ 16 2549 43 60 39 13 15 170 (22) (11.46) รุนที่ 17 2550 37 54 44 20 17 172 2 1.18

รุนที่ 18 2551 58 71 42 20 17 208 36 20.93

รวม 685 673 610 231 67 2,266

หมายเหตุ จํานวน และรอยละ ที่เพิ่มลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้

25

ตารางที่ 20 สถิติผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จําแนกตามสาขา ป

การศึกษา ChE

เพิ่ม (ลด)

รอยละ

ME เพิ่ม (ลด)

รอยละ

CE เพิ่ม (ลด)

รอยละ

IE เพิ่ม (ลด)

รอยละ

รวม เพิ่ม (ลด)

รอยละ

2547 5 - - - - - - - - - - - 5 - -

2548 10 5 100 1 1 - - - - - - - 11 6 120

2549 20 10 100 4 3 300 - - - 2 2 - 26 15 136.4

2550 1 (19) (95) 4 0 - 2 2 - 2 0 - 9 (17) (65.4)

2551 6 5 500 5 1 25 7 5 250 6 4 200 24 15 166.7

รวม 42 - - 14 - - 9 - - 10 - - 75 - -

หมายเหตุ จํานวน และรอยละ ที่เพิ่มลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้

ตารางที่ 21 สถิติผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จําแนกตามสาขา ป

การศึกษา ChE

เพิ่ม (ลด)

รอยละ

ME เพิ่ม (ลด)

รอยละ

CE เพิ่ม (ลด)

รอยละ

IE เพิ่ม (ลด)

รอยละ

รวม เพิ่ม (ลด)

รอยละ

2547 - - - - - - - - - - - - - - - 2548 - - - - - - - - - - - - - - - 2549 - - - - - - - - - - - - - - - 2550 - - - - - - - - - 2 2 - 2 2 -

2551 - - - - - - - - - 4 2 100 4 2 100

รวม - - - - - - - - - 6 - - 6 - -

หมายเหตุ จํานวน และรอยละ ที่เพิ่มลด เปรียบเทียบกับปการศึกษากอนหนานี้

บัณฑิตเกียรตินิยม

ตารางที่ 22 บัณฑิตเกียรตินิยม คณะวิศวกรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2551

ลําดับ ช่ือ – สกุล สาขา

เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง 1 นางสาวปนัดดา ดานสุวรรณ วิศวกรรมเคมีและชีวภาพ 2 นางสาวสมุนรัตน ริยาพันธ วิศวกรรมเคมีและชีวภาพ 3 นายครรชิต ธงไชย วิศวกรรมเครื่องกล 4 นายธรากร จันลาภา วิศวกรรมเครื่องกล 5 นายสนธยา ราชูโส วิศวกรรมเครื่องกล 6 นายธวัชชัย โคตรสมบัติ วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 7 นายหนาว ออนวาที วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 8 นางสาวกนกวรรณ สิงหะ วิศวกรรมอุตสาหการ 9 นายวีระชาติ เวชกามา วิศวกรรมอุตสาหการ

26

ตารางที่ 22 บัณฑิตเกียรตินิยม คณะวิศวกรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2551 (ตอ)

ลําดับ ช่ือ – สกุล สาขา

เกียรตินิยมอันดับสอง 1 นายเอกลักษณ จันทะบุดศรี วิศวกรรมเครื่องกล 2 นายนิกร จิตวิขาม วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3 นายปยะพงศ แสงมณี วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 4 นายอิสระพงค ศรีพลาย วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 5 นางสาวบุญมี โกษาแสง วิศวกรรมอุตสาหการ 6 นายปรัชญา กิตติธนวรรณ วิศวกรรมอุตสาหการ 7 นางสาวเยาวลักษณ บุญตา วิศวกรรมอุตสาหการ 8 นายรังสรรค ไชยเชษฐ วิศวกรรมอุตสาหการ

27

กิจการนักศึกษา ในปการศึกษา 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร มีกิจกรรมสนับสนุนการศึกษา บําเพ็ญประโยชน เพิ่มพูนความรู เสริมสรางทักษะวิชาชีพ และประสบการณสังคม แกนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร เพื่อใหนักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และมนุษยสัมพันธ มีกิจกรรม ดังนี้

ตารางที่ 23 กิจกรรมนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ ช่ือโครงการ/กิจกรรมนักศึกษา ผูรับผิดชอบ ระยะเวลา สถานที่

1 เขารวมประชุมสมาชิก สนวท. สโมสรนักศึกษา ม.ค.-ส.ค.52 ตามมติที่ประชุม

2 แขงขันรถประหยัดเชื้อเพลิง ชุมนุมเครื่องกล พ.ย.51-ก.พ.52 ฝายจัดการแขงขันกําหนด

3 แขงขันหุนยนต TPA ROBOT ชุมนุมนักประดิษฐ ต.ค.51-พ.ค.52 ฝายจัดการแขงขันกําหนด

4 แขงขันหุนยนต UBU ROBOCON ชุมนุมนักประดิษฐ 28-30 พ.ย.51 ฝายจัดการแขงขันกําหนด 5 คายเยาวชนนักอิเลก็ทรอนิกสรุนเยาว (E-Camp) ชุมนุมไฟฟาฯ 13-18 ต.ค.51 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 6 พี่นองพบปะบําเพญ็ประโยชน สโมสรนักศึกษา 22 พ.ค.-21 มิ.ย.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 7 ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม คณะวิศวกรรมศาสตร งานกิจการนักศึกษา 22 พ.ค.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 8 กิจกรรมวันไหวครู ภาควิชาตาง ๆ 11 มิ.ย.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 9 รวมกิจกรรมประเพณีลอยกระทง สโมสรนักศึกษา 10-13 พ.ย.51 มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี

10 กิจกรรมวันสถาปนา ม.อบ.. งานกิจการพิเศษ 30 ก.ค.52 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 11 รวมกิจกรรมวันตลาดนัดหลักสูตร ม.อบ.. งานกิจการพิเศษ ม.ค.-ส.ค.52 ตามที่ สกอ.กําหนด

12 กิจกรรมเปดโลกวิชาการ งานวิชาการ 8-9 พ.ย.51 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 13 วันเชิดชูเกียรติและรับปริญญาบัตร งานกิจการพิเศษ 1-21 ธ.ค.51 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 14 เลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษา งานกิจการพิเศษ 30 ก.ค.51 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 15 ปฐมนิเทศนักศึกษาฝกงาน งานกิจการพิเศษ 13 มี.ค.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 16 นิเทศนักศึกษาฝกงาน งานกิจการพิเศษ 20 เม.ย.-25 พ.ค.52 จังหวัดในเขตอีสานใต 17 ทุนสนับสนุนนักศึกษากิจกรรมดีเดน สโมสรนักศึกษา 22 พ.ย.-18 ธ.ค.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 18 รณรงคไมสูบบุหร่ีในที่สาธารณะ สโมสรนักศึกษา 27-30 ก.ค.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 19 อนุรักษและสงเสริมการไหวในหองเรียน กิจการนักศึกษา มิ.ย.-ก.ค.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 20 อนุรักษการบริโภคอาหารพื้นเมือง สโมสรนักศึกษา 1 ก.ย.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 21 นิเทศนักศึกษาทุนคณะวิศวกรรมศาสตร กิจการนักศึกษา 6-8 พ.ค.52 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 22 อนุรักษประเพณีรดน้ําดําหัว กิจการนักศึกษา 9 เม.ย.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 23 รวมแขงขันกีฬาเกียรสัมพันธ คร้ังที่ 25 สโมสรนักศึกษา 31 ต.ค.-2 พ.ย.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 24 ปฐมนิเทศสโมสรนักศึกษา ประจําป 2550 กิจการนักศึกษา 27 ม.ค.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 25 กิจกรรมตอนรับนองใหมสูจังหวัด 2552 ม.อบ.. 31 พ.ค.52 วัดหนองปาพง

26 อบรมคอมพิวเตอรใหนักศึกษา งานวิชาการ 27-28 มิ.ย.52 คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. 27 ศึกษาดูงานประจําป ภาควิชา ต.ค.52-มี.ค.52 เขตภาคกลางและภาคตะวันออก

28

ทุนการศึกษา ปการศึกษา 2548-2552 คณะวิศวกรรมศาสตรมีทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี จากเงินงบประมาณแผนดิน เงินรายไดคณะวิศวกรรมศาสตร และแหลงทุนภายนอกอื่น ๆ (ตารางที่ 24)

ตารางที่ 24 ทุนการศึกษา จําแนกตามแหลงทุน ระหวางปการศึกษา 2548-2552 จํานวนทุนตามปการศึกษา ลําดับ แหลง หรือชื่อทุน

2548 2549 2550 2551 2552 1 มูลนิธินักเรียนที่ขาดแคลนในพระบรมราชินูปถัมภ 4 - 2 2 4 2 ทุนการศึกษากองทุนพระบรมราชินี - - - - 1 3 เฉลิมราชกุมารี (สมเด็จพระเทพฯ) - - 1 1 2 4 นักเรียนในพระราชานุเคราะหสมเด็จพระเทพฯ - - 2 2 3 5 ทุนการศึกษาพระบรมราชานุเคราะห - - - - 1 6 เหรียญรางวัลเรียนดี ว.ส.ท. - 2 2 1 1 7 มูลนิธิสมเด็จพระสงัฆราช - - - - 1 8 มูลนิธิจุมภฎ-พันธทิพย 6 6 5 5 4 9 บริษัท ทีเอส เทค (ประเทศไทย) จํากัด - 4 4 5 5 10 บริษัท อีซูซุเทคนิคลัเซ็นเตอรเอเชยี จํากัด - - - 1 1 11 มูลนิธิกลุมอีซูซุ 3 3 3 3 3 12 มูลนิธิเบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) 2 2 2 2 1 13 มูลนิธิทาคาฮาชิ - - 1 2 3 14 มูลนิธิซีเมนตไทย 1 1 1 1 1 15 กรุงไทยการไฟฟา - 2 2 2 2 16 เครือเจริญโภคภัณฑ (CP) 1 1 2 2 4 17 บริษัทไทยบริดจสโตน 16 14 14 14 14 18 ปตท. ประจําป 2552 - - - - 22 19 มูลนิธิหอการคาไทยอเมริกันในประเทศไทย 1 2 4 4 5 20 บริษัทคาโออินดัสเตรียลฯ - - - 1 1 21 เอสโซ สมโภชกรุงรัตนโกสินทร 200 ป - - 1 1 2 22 เทสโก โลตัส บูรณาการเรียนรูกับการทํางานเพื่อนิสิตนักศึกษา - - 1 1 3 23 กลุมบริษัทพรีไซซ 2 2 1 2 2 24 บริษัทโซนี่ ดีไวซ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด - - - 2 1 25 มูลนิธิแองโกล-ไทย - - - 6 6 26 ทุนการศึกษาสมาคมอีสานแหงรัฐอิลินอยสสหรัฐอเมริกา - - - 2 - 27 ทุนการศึกษาธนาคารไทยพาณิตย - - - 1 1 28 นายประจักษ-นางสาลี ่ คนตรง - - 1 - 2 29 มัสกาตีมูลนิธิ - - 1 1 1 30 Dr. and Mrs Pendleton - - - 1 - 31 มูลนิธิวัตไกรฤกษ 1 1 1 1 - 32 โครงการเขียนเรียงความสําหรับเด็กและเยาวชน 2 2 2 - - 33 ทุนสงเสริมการศึกษา 33 21 23 25 29 34 ทุนคาอาหารกลางวัน - - 2 - - 35 โรงงานยาสูบ - - 1 - - 36 บริษัทฮิตาชิโกลบอล - 2 2 - - 37 ทุนการศึกษาคิงฟชเชอร (เดวิด เกียง) - 1 2 1 -

รวมทุนการศึกษาในแตละป 72 66 83 96 106

29

การประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ไดมีการประกันคุณภาพการศึกษา ต้ังแตป พ.ศ. 2541 เปนตนมาโดยการประยุกตระบบ

TQM (Total Quality Management) หลัก 5ส. เปนพื้นฐาน และหลักการของพุทธศาสนา คืออิทธิบาทสี่(ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) ในการทํางาน ทั้งนี้ ไดมีการกําหนดมาตรฐานการทํางานในสวนตางๆรวม 9 องคประกอบ (ตามเกณฑทบวงมหาวิทยาลัย) และมีการวางนโยบายสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษารวม 6 นโยบาย

องคประกอบคุณภาพ 9 องคประกอบคือ 1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค 2) การเรียนการสอน 3) กิจกรรมพัฒนาการศึกษา 4) การวิจัย 5) การบริการวิชาการแกสังคม 6) การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 7) การบริหารและจัดการ 8)

การเงินและงบประมาณ และ 9) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (ตามเกณฑทบวงมหาวิทยาลัยหรือสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา) และนโยบายสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา 6 ดาน ประกอบดวย 1) นโยบายดานการเรียนการสอนและพัฒนานักศึกษา 2) นโยบายดานการวิจัย 3) นโยบายดานการใหบริการทางวิชาการ 4) นโยบายดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 5) นโยบายดานการบริหาร และ 6) นโยบายดานการประกันคุณภาพการศึกษา

ภายหลังไดปรับมาเปน 7 องคประกอบเพื่อใหสอดคลองกับสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน)-สมศ. คือ 1) ผลิตบัณฑิต 2) งานวิจัยและงานสรางสรรค 3) การบริการวิชาการ 4) การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 5) การพัฒนาสถาบันและบุคลากร 6) หลักสูตรและการเรียนการสอน และ 7) การประกันคุณภาพ

ในปการศึกษา 2549 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดใชเกณฑมาตรฐานและตัวบงช้ีของ สมศ. โดยแบงเกณฑมาตรฐาน 7 มาตรฐาน และไดจัดทําคูมือการประกันคุณภาพการศึกษา (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2551) และรายงานการประเมินตนเอง SAR (Self Assessment Report) ประจําปการศึกษา 2551 ไดถูกตรวจประเมินฯ ระหวางวันที่ 18-19 มิถุนายน 2552 ไดคะแนน 2.78 (ระดับดีมาก-ตารางที่ 25)

รูปท่ี 7 ตรวจประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในคณะวิศวกรรมศาสตรและมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ประจําปการศึกษา 2551

30

ตารางที่ 25 คะแนนประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2551

ตัวบงชี ้ รายการ คะแนน

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วตัถุประสงคและแผนการดําเนินงาน (ใชรอบปงบประมาณ) 3.00

1.1 การกําหนดปรัชญาหรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนการดําเนินงาน และมีการกําหนดตัวบงชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนใหครบทุกภารกิจ(ระดับ)

3

1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กําหนด 3

1.3 การบรรลุเปาหมายตามแผนปฏิบัติราชการ ที่สะทอนเอกลักษณและจุดเนน รวมทั้งวัตถุประสงคเฉพาะตาม พรบ. ของสถาบันอุดมศึกษา 3

1.3.1 รอยละของนักเรียนที่ยืนยันสิทธิ์ระบบรับตรงที่เรียกสัมภาษณในปการศึกษานั้น 3

1.3.2 รอยละของจํานวนนักศึกษาที่มาจากครอบครัวที่ยากจนตอจํานวนนักศึกษาแรกเขาทั้งหมดในปการศึกษานั้น

3

1.3.3 จํานวนโครงการและ/หรือจํานวนเงินโครงการบริการวิชาการ วิจัย และทํานบุํารุงเพื่อทองถิ่น ชมุชน และสังคมในปการศึกษานั้น 3

องคประกอบท่ี 2 การเรียนการสอน 3.00

2.1 มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร 3

2.1.1 รอยละของหลักสูตรที่ไดมาตรฐานตอหลักสูตรทั้งหมด 3

2.1.2 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาโทที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาโททั้งหมด 3

2.1.3 รอยละของบทความจากวิทยานิพนธปริญญาเอกที่ตีพิมพเผยแพรตอจํานวนวิทยานิพนธปริญญาเอกทั้งหมด 3

2.1.4 รอยละเฉลีย่ของบณัฑิตระดับปริญญาตรีที่ผานการสอบใบประกอบวิชาชีพ 3

2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสาํคัญ / ประสิทธิภาพของการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคญั 3

2.2.1 คาใชจายทั้งหมดที่ใชในระบบหองสมุด คอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศตอนักศึกษาเต็มเวลา 2

2.2.2 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู 3

2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ซึ่งบุคคล องคกรหรือชุมชนภายนอกมีสวนรวม 3

2.4 จํานวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจาํนวนอาจารยประจํา 2

2.5 สัดสวนของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจํา 2

2.6 สัดสวนของอาจารยที่ดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารยและศาสตราจารย 1

2.7 มีกระบวนการสงเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย 3

2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนใหอาจารยประจําทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 2

2.9 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป (นับเฉพาะปริญญาตรี) 3

2.9.1 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดทํางานตรงสาขาที่สําเร็จการศึกษา (นับเฉพาะปริญญาตรี) 3

2.10 รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดเงินเดือนเริ่มตนเปนไปตามเกณฑ (นับเฉพาะปริญญาตรี) 2

2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการและผูใชบัณฑิต (นับเฉพาะปริญญาตรี) 3

2.12

รอยละของนักศึกษาและศิษยเกาที่สําเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมา ที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติหรือนานาชาติ (นับซ้ําไดหากนักศึกษาหรือศิษยเกาผูนั้นไดรับรางวัลหรือการประกาศเกียรติคุณหลายคร้ัง)

3

31

ตารางที่ 25 คะแนนประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2551 (ตอ) ตัวบงชี ้ รายการ คะแนน

2.13 รอยละของอาจารยประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติเปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่ทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 2

องคประกอบท่ี 3 พัฒนานักศึกษา 3.00

3.1 มีการจัดบริการแกนักศึกษาและศิษยเกา 3

3.2 มีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค 3

3.2.1 รอยละของนักศึกษาที่เขารวมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาตอจํานวนนักศึกษา 3

องคประกอบท่ี 4 การวิจัย 2.86

4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยและงานสรางสรรค 3

4.2 มีระบบบริหารจัดการความรูจากงานวิจัยและงานสรางสรรค 3

4.3 เงินสนับสนุนงานวจิัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอจํานวนอาจารยประจํา 3

4.3.1 รอยละของอาจารยประจําไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายในสถาบันตออาจารยประจํา 3

4.3.2 รอยละของอาจารยประจําไดรับทุนทําวิจัยหรืองานสรางสรรคจากภายนอกสถาบันตออาจารยประจํา 2

4.4

รอยละของงานวิจยัและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการจดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและในระดับนานาชาติตอจํานวนอาจารยประจํา (ไมนับซ้ํา)

3

4.5 รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจํา

3

องคประกอบท่ี 5 บริการวิชาการ 2.67

5.1 มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแกสังคมตามเปาหมายของสถาบัน 2

5.1.1 มีการนําความรูและประสบการณจากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย (ระดับ)

3

5.2

รอยละของอาจารยประจําที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการแกสังคม เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ตอ อาจารยประจํา (ไมนับซ้ํา)

3

5.3 รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติ ตอ อาจารยประจํา

3

5.3.1 คาใชจายและมูลคาของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมตออาจารยประจํา 3

5.4 รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ 2

องคประกอบท่ี 6 ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 2.67

6.1 มีระบบและกลไกในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 3

6.1.1 รอยละของกิจกรรมในการอนุรักษ พัฒนา และ สรางเสริมเอกลักษณศิลปะและวัฒนธรรมตอจํานวนนักศึกษา 2

6.1.2 รอยละของคาใชจายและมูลคาที่ใชในการอนุรักษ พัฒนาและสรางเสริมเอกลักษณ ศิลปะและวัฒนธรรมตองบดําเนินการ 3

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและจัดการ 3.00

7.1 สภาสถาบันใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและสามารถผลักดันสถาบันใหแขงขันไดในระดับสากล

3

7.2 ภาวะผูนําของผูบริหารทุกระดับของสถาบัน 3

7.3 มีการพัฒนาสถาบันสูองคการเรียนรู 3

32

ตารางที่ 25 คะแนนประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ประจําปการศึกษา 2551 (ตอ) ตัวบงชี ้ รายการ คะแนน

7.4 มีระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนาและธํารงรักษาไวใหบุคลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

3

7.4.1 รอยละของอาจารยประจําที่เขารวมประชุมวิชาการ และ/หรือนําเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ

3

7.4.2 งบประมาณสําหรับการพัฒนาคณาจารยทั้งในประเทศและตางประเทศตออาจารยประจํา 3

7.4.3 รอยละของบคุลากรประจําสายสนับสนุนที่ไดรับการพัฒนาความรูและทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ

3

7.5 ศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอนและการวิจัย 3

7.6 ระดับความสําเร็จในการเปดโอกาสใหบุคคลภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา 3

7.7 รอยละของอาจารยประจําที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ (นับซ้ําไดหากไดรับหลายรางวัล และสามารถนับรวมอาจารยประจําที่ลาศึกษาตอไดดวย)

3

7.8 มีการนําระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา 3

7.9 ระดับความสําเร็จของการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายของระดับองคกรสูระดับบุคคล 3

7.9.2 ระดับความสําเร็จของรอยละเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการใหบริการ 3

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ 2.60

8.1 มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะหคาใชจาย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ 3

8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันรวมกัน 3

8.2.1 สินทรัพยถาวรตอจํานวนนักศึกษา (บาทตอคน) 3

8.2.2 คาใชจายทั้งหมดตอจํานวนนักศึกษา (รอยละของเกณฑปกติ) 2

8.2.3 รอยละของเงินเหลอืจายสุทธิตองบดําเนินการ 2

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคณุภาพ 3.00

9.1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา 3

9.2 มีระบบและกลไกการใหความรูและทักษะดานการประกันคุณภาพแกนักศึกษา 3

9.3 ระดับความสําเร็จของการประกันคุณภาพภายใน 3

รวม 2.78

33

ตารางที่ 26 ขอเดนและขอเสนอแนะจากผลตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในคณะวิศวกรรมศาสตร องคประกอบ ขอเดน จุดออน / ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินงาน

1. มีแผนยุทธศาสตรทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่ชัดเจน เปนระบบ และทุกฝายมีสวนรวม ซึ่งสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรมหาวิทยาลัย

2. มีการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป 2551 และดําเนินกิจกรรมสําเร็จตามแผนที่กําหนด

3. มีการกําหนดอัตลักษณของคณะที่สอดคลองกับปรัชญา ปณิธานของมหาวิทยาลัย

จุดออน

1. ยังไมไดแยกปรัชญาและปณิธานออกจากกันใหชัดเจน

2. คณะเลือกกําหนดการบรรลุเปาหมายเพียงบางแผนงานทําใหภาพความสําเร็จไมชัดเจน

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. ควรทบทวนปรับปรุงแผนยุทธศาสตรระยะยาวเปนระยะๆ

เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายชาติและมหาวิทยาลัยที่ปรับเปลี่ยนไป

2. ควรแยกปรัชญาและปณิธานออกจากกันใหชัดเจน 3. ควรกําหนดการบรรลุเปาหมายใหครบทั้งแผนปฏิบัติงาน

ประจําป 4. ควรเพิ่มจํานวนผูรับผิดชอบในการจัดกิจกรรม/โครงการที่

สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรและขอรับทุนสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกใหมากขึ้น

2. การเรียนการสอน

1. มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตรที่ดีและเขมแข็ง

2. มี ก า รส ง เ ส ริ มก า รตี พิ มพ เ ผ ยแพร ผล ง านจ ากวิทยานิพนธระดับปริญญาโทและเอกไดดีมาก

3. มีการใหบุคคล องคการหรือชุมชนภายนอกเขามามีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนอยางจริงจังและตอเนื่อง

4. อาจารยใหความสําคัญตอการเชื่อมโยงระหวางการเรียนการสอนกับการวิจัยและการบริการวิชาการ

5. ทุกหลักสูตร(ระดับปริญญาตรี) ไดจัดใหนักศึกษาได รับประสบการณโดยตรงจากการฝกงาน เพื่อเตรียมการสูอาชีพ

6. คณาจารยมีคุณวุฒิสูงและกระตือรือรนใหความรวมมือในการทํางานและพัฒนาดานการเรียนการสอน

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. ควรมีระบบและกลไกกระตุนและสงเสริมใหคณาจารยสราง

ผลงานเพื่อขอตําแหนงทางวิชาการที่สูงขึ้น 2. ควรกระตุนและสงเสริมใหคณาจารยทําวิจัยเพื่อพัฒนาการ

เรียนการสอนใหมากขึ้น 3. ควรเสริมดานทรัพยากรสนับสนุนการจัดการเรียนรูให

สมบูรณขึ้น 4. ควรปรับปรุงสัดสวนของอาจารยกับนกัศึกษาใหไดตาม

เกณฑมาตรฐาน

3. พัฒนานักศึกษา

1. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษามีจํานวนมาก มีคุณภาพและมีความหลากหลาย ทําใหนักศึกษาและศิษยเกาไดรับรางวัลจากการประกวดในระดับชาติเปนประจําทุกป

2. มีกิจกรรมและความสัมพันธระหวางศิษยเกาและนักศึกษาปจจุบันและคณะที่เขมแข็ง

จุดออน

1. การจัดเก็บเอกสารกิจกรรมการพัฒนานักศึกษายังไมเปนระบบ เนื่องจากอาจารยผูรับผิดชอบเปนผูจัดเก็บผลงาน อาจทําใหการจัดเตรียมเอกสารประกอบการประเมินไมครบถวนสมบูรณ

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. ควรเพิ่มกิจกรรมเพื่อพัฒนาหรือสรางความพรอมใหกับ

นักศึกษาใหม เพื่อลดอัตราการตกออก

2. ควรพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสารกิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

34

ตารางที่ 26 ขอเดนและขอเสนอแนะจากผลตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในคณะวิศวกรรมศาสตร (ตอ) องคประกอบ ขอเดน จุดออน / ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 4. การวิจัย 1. คณะมีทรัพยากรบุคคลและสถานที่เอื้อตอการวิจัย

2. คณะมีระบบและกลไกในการสนับสนุนและเผยแพรงานวิจัยที่ดีและชัดเจน ตลอดจนมีการดําเนินการที่ตอเนื่อง

3. บุคลากรมีศักยภาพในการหางบประมาณสําหรับการวิจัย

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. คณะมีผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติ หากคณะมี

การพัฒนาอัตลักษณงานวิจัย พรอมจัดทําแผนแมบทงานวิจัยของคณะ ซึ่งจะทําใหงานวิจัยของคณะมีความโดดเดน ชัดเจนในภูมิภาค

2. คณะควรมีการปรับปรุงหองปฏิบัติการทางเคมีใหมีความปลอดภัยพื้นฐานตามที่หองปฏิบัติการควรมี เชน ตูดูดควัน อางน้ํากระเบื้องทนกรด หองเตรียมสารเคมี ชั้นวางของ และหองอาบน้ํา ฯลฯ และมีจํานวนเครื่องมือใหเพียงพอกับงานวิจัย โดยเฉพาะระดับบัณฑิตศึกษา

3. คณะควรประเมิน impact ของผลงานวิจัยทุกดาน โดยเฉพาะสวนที่เกี่ยวของกับภูมิภาค เพื่อความสอดคลองกับปรัชญาของคณะและมหาวิทยาลัย

4. คณะควรรวบรวมและสังเคราะหองคความรูจากงานวิจัยเพื่อสามารถนําไปใชประโยชนไดงายในเชิงบูรณาการ

5. บริการวิชาการ

1. คณะมีทรัพยากรบุคคลและสถานที่เอื้อตอการบริการวิชาการ

2. คณะมีระบบฐานขอมูลความเชี่ยวชาญของบุคลากร กอปรกับมหาวิทยาลัยมีเครือขายหนวยงานที่สงเสริมและสนับสนุนการบริการวิชาการ เชน อุทยานวิทยาศาสตร UBI ITAP

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. คณะควรมีการกระตุนใหนําความรูดานบริการวิชาการมา

พัฒนาสูการเรียนการสอนและการวิจัย เพื่อนําไปสูนวัตกรรมองคความรูใหม และสามารถนําไปใชประโยชนตอไป

2. คณะมีโครงการศูนยเครือขายการใหบริการวิชาการ หากคณะมีการพัฒนาระบบเครือขายการใหบริการรวมกันภายในมหาวิทยาลัย จะทําใหการบริการวิชาการเปนไปอยางครบวงจร

6. ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

1. มีการบูรณาการความรูทางดานวิศวกรรมศาสตรเขากับการทํานุบํารุง

2. มีโครงการและกิจกรรมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่สงผลตอการปลูกฝงและซึมซับวัฒนธรรมอันดีงามสูองคกรโดยเฉพาะนกัศึกษา เชน โครงการอนุรักษและสงเสริมการไหวในหองเรียน

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. คณะควรมีการกระตุนใหนําความรูดานบริการวิชาการมาพัฒนาสูการเรียนการสอนและการวิจัย เพื่อนําไปสูนวัตกรรมองคความรูใหม และสามารถนําไปใชประโยชนตอไป

2. คณะมีโครงการศูนยเครือขายการใหบริการวิชาการ หากคณะมีการพัฒนาระบบเครือขายการใหบริการรวมกันภายในมหาวิทยาลัย จะทําใหการบริการวิชาการเปนไปอยางครบวงจร

7. บริหารและจัดการ

1. ผูบริหารมีความเปนผูนําสูง มีเปาหมายและมุงมั่นในการพัฒนาคณะที่ชัดเจน และไดสรางกลไกการบริหารงานอยางครบถวน ใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ

2. มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับที่ชัดเจน โดยเฉพาะการประเมินผูบริหาร

3. มีระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหารจัดการที่เอื้อใหการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

จุดออน

1. บุคคลภายนอกจากภาคประชาชนยังมีสวนรวมในการบริหารงานนอย ทั้งจํานวนบุคคลและความถี่การมีสวนรวม

2. การจําแนกปจจัยเสี่ยงยังไมมากพอ ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

1. คณะควรใหบุคคลภายนอกจากภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารใหมากขึ้นในทุกดาน โดยทําเปนวาระใหชัดเจน

35

ตารางที่ 26 ขอเดนและขอเสนอแนะจากผลตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในคณะวิศวกรรมศาสตร (ตอ) องคประกอบ ขอเดน จุดออน / ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 2. ควรขยายจํานวนปจจัยความเสีย่งใหมากขึ้น

3. ควรมองระดับความสําเร็จของการบริหารโดยอิงการประเมินตามแบบ ก.พ.ร. เปนหลัก

4. ควรแสดงผลการประเมินผูบริหารแยกออกจากกัน 5. ควรประชาสัมพันธและกระตุนใหบุคลากรทุกคนมีสวนรวม

ในการใชและเสนอแนะการปรับปรุงฐานขอมูลฐานขอมูลเพื่อการจัดการ (MIS) โดยเฉพาะโปรแกรม E-Document

6. ควรมีนโยบายและมาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพนักศึกษามากขึ้น

7. ควรปรับปรุงดานความปลอดภัยและดานความเชื่อถือไดของระบบฐานขอมูลสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ

8. การเงินและงบประมาณ

1. มีแผนกลยุทธทางการเงินที่ชัดเจน สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาคณะ

2. มีระบบฐานขอมูลที่เอื้อตอการตัดสินใจเพื่อการบริหารการเงินและงบประมาณ

3. มีการใชทรัพยากรรวมกันกับหนวยงานภายนอก ทําใหประหยัดงบประมาณได

4. คณะมีรายไดจากการบริการวิชาการและการวิจัย

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. ควรเพิ่มชองทางการสื่อสารเกี่ยวกับสถานะทางการเงินและ

งบประมาณใหบุคลากรรับรูมากยิ่งขึ้น เพื่อสรางความเขาใจและตระหนักในการใหความรวมมือกันประหยัดงบประมาณ เชน การประชุมบุคลากรอยางนอยปละ 2 คร้ัง

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

1. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพเริ่มเปนสวนหนึ่งในวัฒนธรรมการทํางานของคณะ

2. มีนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพที่สราง E-SAR ขึ้น

จุดออน

1. การทําโครงการหรือการบริหารชมรมหรือสโมสรของนักศึกษายังไมไดเขาระบบประกันคุณภาพอยางเต็มตัว

2. บุคลากรบางสวนยังไมมีความเขาใจในตัวบงชี้บางตัวอยางชัดเจน

ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

1. ควรพัฒนาระบบ E-SAR ใหสามารถเขาถึงขอมูลและรายละเอียดไดมากขึ้น โดยมีเปาหมายวาจะไมตองสรางเอกสารที่เปน Hard

2. ควรสรางระบบและกลไกใหนักศึกษาไดเรียนรูและใชระบบการประกันคุณภาพในการบริหารกิจกรรมและสโมสรชมรม และใหความรูทางดานการประกันคุณภาพการศึกษาใหครอบคลุมทุกกลุมนักศึกษา Copy

3. ควรสรางเครือขายการประกันคุณภาพใหนักศึกษาทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย

4. ควรสรางกลไกการถายทอดความเขาใจในตัวบงชี้ตางๆสูระดับบุคคล

36

บริการสารสนเทศทางวิศวกรรม ในปการศึกษา 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปดใหบริการหองบริการสารสนเทศ

ทางวิศวกรรมตั้งแตเวลา 08.30 ถึง 20.00 น (วันธรรมดา) หรือเวลา 16.00 น (วันหยุด) หรือเวลา 24.00 น (ชวงสอบ) ไดจัดสถานที่ เพิ่มจํานวนคอมพิวเตอรเพื่อการสืบคนขอมูลผานระบบอินเตอรเน็ต บริการคอมพิวเตอรที่เช่ือมตอเครือขายไรสาย จัดหา ทรัพยากร (หนังสือ วารสาร อุปกรณ และสื่อการเรียนรูอื่น ๆ) เพิ่มเติม (ตารางที่ 27 ถึงตารางที่ 31)

ตารางที่ 27 หนังสือและวารสารหองสมุด ปการศึกษา 2552

ลําดับ ประเภทหนังสือ/วารสาร/สื่อ จํานวน หนวย 1 คอมพิวเตอรสําหรับสืบคน 2 เครื่อง

2 หนังสือภาษาอังกฤษ 4,672 เลม

3 หนังสือภาษาไทย 7,453 เลม

4 โครงงาน และวิทยานิพนธ 1,129 เลม

5 วารสารภาษาไทย 45 รายช่ือ

6 วารสารภาษาอังกฤษ 21 รายช่ือ

7 แผนซีดี และวีซีดี 737 แผน

8 ชุดซีดีรอม 3 ชุด

9 หนังสือพิมพ 6 ฉบับ

ตารางที่ 28 สถิติการใชบริการหองสมุด ปการศึกษา 2552

ลําดับ รายละเอียด จํานวน หนวย 1 ผูเขาใชบริการ 212,450 คน

2 ผูเขาใชบริการยืม-คืน 8,660 ครั้ง

3 ผูเขาใชบริการตอบคําถามและชวยคนควา 1,835 คน

4 ผูเขาใชบริการจอง 40 ครั้ง

5 ผูเขาใชบริการหองศึกษากลุมยอย 1,742 คน

6 ผูเขาใชบริการหองฉายวีดิทัศน 5,200 คน

7 ผูเขาใชบริการหมากรุก 1,466 คน

37

ตารางที่ 29 หองบริการและอุปกรณคอมพิวเตอร สําหรับการเรียนการสอน ปการศึกษา 2552

ลําดับ หอง หรืออุปกรณ จํานวน หนวย

1 หองบริการคอมพิวเตอรขนาด 75 ที่นั่ง 2 หอง

2 หองบริการคอมพิวเตอรขนาด 48 ที่นั่ง 2 หอง

3 หองบริการสืบคนขอมูล 60 ที่นั่ง 1 หอง

4 คอมพิวเตอร PC Pentium III 866 MHz 116 เครื่อง

5 คอมพิวเตอร DUAL-PC Pentium III 933 MHz 19 เครื่อง

6 คอมพิวเตอร Pentium 4 Core 2 Duo 69 เครื่อง

7 คอมพิวเตอร AMD x 2 109 เครื่อง

8 เครื่องคอมพิวเตอร PowerPC 10 เครื่อง

9 คอมพิวเตอรโนตบุค 3 เครื่อง

10 เครื่องพิมพ Laser ขนาด A3 1 เครื่อง

ตารางที่ 30 จํานวนอุปกรณคอมพิวเตอรสําหรับบริการสํานักงาน ปการศึกษา 2552

ลําดับ รายละเอียด จํานวน หนวย

1 คอมพิวเตอร AMD x 2 10 เครื่อง

2 คอมพิวเตอร P4 10 เครื่อง

3 เครื่องพิมพ Laser ขนาด A3 9 เครื่อง

ตารางที่ 31 อุปกรณคอมพิวเตอรแมขายปการศึกษา 2552

ลําดับ รายละเอียด จํานวน หนวย

1 คอมพิวเตอรแมขาย HP Dual-Pentium III 933 3 เครื่อง

2 คอมพิวเตอร Workstation 1 เครื่อง

3 คอมพิวเตอรแมขาย Xenon 4 เครื่อง

38

วิจัย บริการวิชาการ และทํานุบํารุงศิลปวฒันธรรม

โครงการวิจัย บริการวิชาการ และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประจํางบประมาณ พ.ศ. 2552 มีดังนี้

ตารางที่ 32 โครงการวิจัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552

ลําดับ ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ งบประมาณ (บาท) แหลงทุน

1

การวิเคราะหผลกระทบของสารปนเปอนจากการใชที่ดินตอระบบน้ําใตดินในเขตเมือง : กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี

ผศ.ดร.นท แสงเทียน 169,500 งบประมาณแผนดิน

2 การศึกษาการใชแบบจําลองการไหลเชิงพลศาสตรเพื่อการออกแบบตูอบพลังงานแสงอาทิตย

ผศ.ดร.อดุลย จรรยาเลิศอดุลย 259,600 งบประมาณแผนดิน

3 เทคนิคการประเมินความลาและการฟนฟูสภาพของโครงสรางสะพานเหล็ก Girder Bridge

ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ ขันติยะวิชัย 103,400 งบประมาณแผนดิน

4 การใชคาวิเทชั่นกระตุนปฏิกิริยาเพื่อพฒันาวิธีการสังเคราะหไบโอดีเซลแบบตอเนื่อง

ผศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง 576,800 งบประมาณแผนดิน

5 พฤติกรรมและการออกแบบตอคานคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปสําหรับระบบการกอสรางแบบอุตสาหกรรม

ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย 285,000 งบประมาณแผนดิน

6 แบบจําลองการพังทลายของตลิ่งริมแมน้ํามูลชวงอําเภอเมืองอุบลราชธานี

ผศ.ดร.กอปร ศรีนาวิน 295,000 งบประมาณแผนดิน

7 การศึกษาสัดสวนการใชพลังงานในชีวิตประจําวันของพื้นที่ชนบท (กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธนี)

อ.ทรงสุภา พุมชุมพล 394,700 งบประมาณแผนดิน

8

การพัฒนาอัลกอริทึมและระบบสนับสนุนการตัดสินใจสําหรับการเลือกสถานที่ตั้งและเสนทางการขนสงวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล

ดร.ระพีพันธ ปตาคะโส 174,900 งบประมาณแผนดิน

9 คุณลักษณะสเปรยและการเผาไหมของเชื้อเพลิงผสมดีเซล-ไบโอดีเซล

ผศ.ประชาสันติ ไตรยสุทธิ์ 375,800 งบประมาณแผนดิน

10 การพัฒนาระบบการทําความเย็นแบบอีเจ็คเตอรเพื่อการปรับยุกตใชในระบบปรับอากาศ

ผศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง 138,800 งบประมาณแผนดิน

11 เทคโนโลยีอิฐบล็อกประสานเพื่อการสรางที่อยูอาศัยของชุมชน

ผศ.อิทธิพงศ พันธนิกุล 284,900 งบประมาณแผนดิน

12 การพัฒนาปารติเกิลบอรดจากวัสดุเหลือใชทางการเกษตร

ผศ.ดร.อําไพศักดิ์ ทีบุญมา 429,700 งบประมาณแผนดิน

13 เคร่ืองอบแหงภายใตความดันต่ํากวาความดันบรรยากาศใชงานรวมกับรังสีอินฟาเรด

ผศ.ดร.พิสิษฐ เตชะรุงไพศาล 297,200 งบประมาณแผนดิน

14 โครงการชุด "การพัฒนากระบวนการสีขาวและกระบวนการตรวจสอบคุณภาพขาว"

ดร.สุขอังคณา ลี 1,051,900 งบประมาณแผนดิน

15 โครงการชุด "คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูลาสําหรับอุตสาหกรรมกอสรางไทย"

ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย 692,300 งบประมาณแผนดิน

39

ตารางที่ 32 โครงการวิจัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ งบประมาณ (บาท) แหลงทุน

16 กําลังรับน้ําหนักบรรทุกโกงเดาะของเสาปลายแหลม

ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย 60,000 สกว

17 การประเมินอายุการใชงานของคานเหล็กที่เสริมกําลังดวยคารบอนไพเบอร

ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ ขันติยวิชัย 129,000 สกว

18 การศึกษาคุณลักษณะของลําพุงความเร็วสูงใน condensed media

ดร.อนิรุตน มัทธุจักร 180,000 สกว

19

การออกแบบและพัฒนาวงจรทรานสคอนดัคเตอรที่สามารถปรับคาขยายดวยวิธีทางอเิล็คทรอนิกส สรางเปนวงจรรวมดวยซีมอสเทคโนโลยี

ดร.ขนิษฐา แกวแดง 180,000 สกว

20 การสงถายยาหรือวัคซีนผานผิวหนังโดยใชเจ็ทความเร็วสูง

ผศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง 400,000 สกว

21

การพัฒนาระบบคอมพิวเตอรแบบพกพาสําหรับการแสดงและวิเคราะหผลสัญญาณคลื่นสมองแบบหลายชองสัญญาณ

ดร.ศุภฤกษ จันทรจิตต 160,000

สํานักงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แหงชาติ

22

การพัฒนาซอฟทแวรเพื่อการคํานวณคาดัชนีสมรรถนะของสายสงสําหรับในการประเมินสมรรถนะของระบบสายสงไฟฟา

ดร.คมสันต ดาโรจน 150,000 การไฟฟาฝายผลิตแหง

ประเทศไทย

23 การพัฒนากังหันกระแสน้ําความเร็วต่ํา เพื่อผลิตกระแสไฟฟาขนาด 200 วัตต

ผศ.ดร.อําไพศักดิ์ ทีบุญมา 181,800 การไฟฟาฝายผลิตแหง

ประเทศไทย

24

การออกแบบและสรางระบบควบคุมเพื่อขับเคลื่อนอิเล็กโทรดของเตาหลอมแบบอรคโดยใชไมโครคอนโทรเลอร

อ.ประชา คําภักด ี 85,000 สกว

25

การลดพลาสติกจากขบวนการผลิตกระสอบสานพลาติก กรณีศึกษา: บริษัทสีมา คอนเทนเนอรแบ็ก จํากัด

ผศ.ดร.อําไพศักดิ์ ทีบุญมา 85,000 สกว

26 การพัฒนาเครื่องลางถังน้ําดื่มขนาด 20 ลิตร ผศ.อิศว ปทมธรรมกุล 85,000 สกว

27

การพัฒนากระบวนการทางการคํานวณใหมสําหรับการตรวจหาการชักและบริเวณที่เกี่ยวของกับการชักเพื่อชวยในการประเมินและวินิจฉัยโรคลมชัก

ดร.ศุภฤกษ จันทรจิตต 160,000 สกว

28

ระบบจัดการแบบสอบถามผานเครือขายอินเตอรเน็ต กรณีศึกษา : คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ผศ.ดร.นุชสรา เกรียงกรกฎ 20,000 เงินรายได ม.อบ.

29 การศึกษาและพัฒนาโปรแกรมสําหรับจัดการปญหาตัดแบงพัสดุแบบหนึ่งมิติดวยวิธีฮิวริสติก

ผศ.ดร.ปรีชา เกรียงกรกฎ 45,000 เงินรายได ม.อบ.

30 การศึกษาการใชกาซ LPGเปนเชื้อเพลงิรวมในเคร่ืองยนตดีเซล

อาจารยนิรันดร หันไชยุงวา 45,000 เงินรายได ม.อบ.

31 การบําบัดน้ําทิ้งโรงงานขนมจีนและความเปนไปไดของการผลิตเอธานอลดวยระบบยีสตเซลลตรึง

ดร.สุมนา สิริพัฒนากุล 45,000 เงินรายได ม.อบ.

40

ตารางที่ 32 โครงการวิจัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ งบประมาณ (บาท) แหลงทุน

32

ปจจัยที่มีผลตอการจัดการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ ในคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ผศ.ดร.สุขอังคณา ลี 19,500 เงินรายได ม.อบ.

33 การพัฒนาระบบติดตามขอมูลดานงานวิจัยผานเครือขายอินเตอรเนต็

นายธิติกานต บุญแข็ง 37,000 เงินรายได ม.อบ.

รวม 7,596,800

ตารางที่ 33 โครงการบริการวิชาการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552

ลําดับ ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ งบประมาณ

(บาท) แหลงทุน

1 การเสริมสรางประสิทธิภาพการใชน้ําทางการเกษตร ดร.วัลยา วิริยเสนกลุ 132,600 งบประมาณแผนดิน

2 โครงการอบรมการพัฒนาฐานขอมูลเพือ่การเพิ่มผลผลิตในธุรกิจขนาดกลางและยอม คร้ังที่ 3

ดร.ระพีพันธ ปตาคะโส 63,800 งบประมาณแผนดิน

3

การอบรมสัมมาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง “การจําลองแบบระบบการผลิตและการบริการ โดยการใช ARENA software”

ดร.ตะวันฉาย โพธิห์อม 57,300 งบประมาณแผนดิน

4

การอบรมสัมมาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง “การออกแบบชิ้นสวนเครื่องจักรกล โดยการใช CAD/CAM/CAE software”

ผศ.เจริญ ชุมมวล 59,000 งบประมาณแผนดิน

5

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนโปรแกรมควบคุมหุนยนตและเซนเซอรดวยไมโครคอนโทรลเลอร”

นายผดุง กิจแสวง 90,100 งบประมาณแผนดิน

6 การควบคุมดวยระบบ SCADA รศ.อุทัย สุขสิงห 48,000 งบประมาณแผนดิน

7 ความปลอดภัยการใชไฟฟาและวิธีการบํารุงรักษาเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน

นายอุทัย สุขสิงห 129,400 งบประมาณแผนดิน

8 เทคนิคการเลือกอุปกรณอยางประหยัดและความปลอดภัยในการใชไฟฟา

นายราเชนทร บุญทัน 93,700 งบประมาณแผนดิน

9 เทคนิคการออกแบบและซอมบํารุงระบบควบคุมมอเตอรของประปาหมูบานและชุมชน

นายราเชนทร บุญทัน 77,500 งบประมาณแผนดิน

10 หมอไฟฟารุนเยาว นายราเชนทร บุญทัน 59,000 งบประมาณแผนดิน

11 สัปดาหวิจัยและเทคโนโลยีเพื่อชุมชน นายธิติกานต บุญแข็ง 199,400 งบประมาณแผนดิน

12 เทคนิคการเขยีนขอเสนอโครงการวิจัยใหสัมฤทธิ์ผล นายธิติกานต บุญแข็ง 77,900 งบประมาณแผนดิน

13 การอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การอบรม GIS เบื้องตนเพื่อการสํารวจทางวิศวกรรม”

ผศ.อิศว ปทมธรรมกุล 83,700 งบประมาณแผนดิน

14 การอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง “การอบรม GIS เบื้องตนสําหรับผูสอนวิชาภูมิศาสตรในสถานศึกษาระดับ มัธยมจังหวัดอุบลราชธานี”

ผศ.อิศว ปทมธรรมกุล 83,700 งบประมาณแผนดิน

41

ตารางที่ 33 โครงการบริการวิชาการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ งบประมาณ

(บาท) แหลงทุน

15 สูงวัยก็ไฉไลไดในดวยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร อ.รุจิรา อาชวานันทกุล 78,000 งบประมาณแผนดิน

16 นายชางชุมชน ซอมและประกอบคอมพิวเตอร อ.รุจิรา อาชวานันทกุล 81,900 งบประมาณแผนดิน

17 นายชางโรงเรียน ดูแลและแกไขระบบคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต

อ.รุจิรา อาชวานันทกุล 47,400 งบประมาณแผนดิน

18

สรางเครือขายและเผยแพรขอมูลดานสิ่งแวดลอมและของเสียอันตราย ของศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการจัดการสิ่งแวดลอมและของเสยีอันตราย (ศูนยเครือขายมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี)

ผศ.ดร.อดุลย จรรยาเลิศอดุลย 145,100 งบประมาณแผนดิน

19 โครงการคอมพิวเตอรและ IT สัญจร ผศ.ดร.มงคล ปุษยตานนท 86,300 งบประมาณแผนดิน

20 การจัดการขยะมูลฝอยระดับครัวเรือนเพื่อลดปญหาสิ่งแวดลอม

ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ วังไพศาล 81,000 งบประมาณแผนดิน

21 ฝกอบรมชางไฟฟาและใหความรูเกี่ยวกับไฟฟาภายในชุมชน

นายนินาท พลเดช 88,000 งบประมาณแผนดิน

22 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการประดิษฐหุนยนต” นายสมนึก เวียนวฒันชัย 104,100 งบประมาณแผนดิน

23

การอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การจัดทําระบบแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพยสินดวยระบบ GIS ระดับองคการบริหารสวนตําบล”

ผศ.ฤกษชัย ศรีวรมาศ 100,000 งบประมาณแผนดิน

24

งานเครื่องมือกลและงานเชื่อมโลหะสําหรับ นักเรียนในระดับมัธยมตน และมัธยมปลายที่เตรียมเขาศึกษาตอในระดับอาชีวศึกษา หรือในระดับอุดมศึกษา คร้ังที่ 1

นายอรุณ อุนไธสง 93,300 งบประมาณแผนดิน

25 แนวทางและเทคนคิการพัฒนาการสอนชางอุตสาหกรรม คร้ังที่ 3

นายเขษมศักดิ์ สงสอน 60,500 งบประมาณแผนดิน

26 เทคนิคการใชงานและการซอมบํารุงรักษาเคร่ืองจักรกลการเกษตรสําหรับชุมชน คร้ังที่ 4

นายเขษมศักดิ์ สงสอน 62,400 งบประมาณแผนดิน

27 เทคโนโลยีการเชื่อมโลหะสําหรับบุคลากรชุมชน คร้ังที่ 7

นายเขษมศักดิ์ สงสอน 70,400 งบประมาณแผนดิน

28 โครงการถายทอดเทคโนโลยีเคร่ืองจักรกลการเกษตรสําหรับเกษตรกร

นายไพบูลย เสถียรรัมย 87,000 งบประมาณแผนดิน

29 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประยุกตใชวิธีทางสถิติเพื่อการควบคมุคุณภาพ

ผศ.ดร.นลิน เพียรทอง 59,500 งบประมาณแผนดิน

30

การถายทอดความรูดานวิศวกรรมอุตสาหการในการแกปญหาของชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพและลดคาใชจายของธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ผศ.ดร.สมบัติ สินธุเชาวน 112,400 งบประมาณแผนดิน

31 งานเครื่องมือกลชัน้สูงสําหรับ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตรและนักเรียนมัธยมปลายครั้งที่ 1

นายอรุณ อุนไธสง 91,500 งบประมาณแผนดิน

32 การฝกอาชีพชางเชื่อมโลหะดวยลวดเชื่อมหุมฟลักซและแกสสําหรับชุมชน

นายเขษมศักดิ์ สงสอน 91,400 งบประมาณแผนดิน

42

ตารางที่ 33 โครงการบริการวิชาการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ งบประมาณ

(บาท) แหลงทุน

33 โครงการสรางจิตสํานึกและเครือขายรักษพลังงาน ผศ.ดร.มงคล ปุษยตานนท 132,200 งบประมาณแผนดิน

34 การวิเคราะหและประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบื้องตน และการประยุกตใชในงานตางๆ

ดร.ศุภกฤษ จันทรจรัสจิต 60,700 งบประมาณแผนดิน

35 การเผยแพรความรูการผลิตและใชงานไปโอดีเซลโดยโรงงานตนแบบ

ผศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง 142,300 งบประมาณแผนดิน

36 การแผยแพรความรูการนําพลังงงานแสงอาทิตยมาใชประโยชนในชีวิตประจําวัน

ผศ.ดร.พิสิษฐ เตชะรุงไพศาล 148,300 งบประมาณแผนดิน

รวม 3,278,800

ตารางที่ 34 ตารางสรุปจํานวนโครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552

ลําดับ ชื่อโครงการ หัวหนาโครงการ งบประมาณ

(บาท) แหลงทุน

1 โครงการสํารวจและจัดทําผังการใชพื้นที่วัดศรีเจริญ อ.บุณฑริกจ.อุบลราชธานี

ผศ.ดร.สิทธา เจนศริิศักดิ์ 85,000 งบประมาณแผนดิน

2 การประยุกตความรูทางวิศวกรรมในการทํานุบํารุงโบราณสถานและโบราณวัตถุ

นายธิติกานต บุญแข็ง 42,900 งบประมาณแผนดิน

3 โครงการทํานุบํารุงศาสนสถานทองถิ่นในบริเวณใกลเคียง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คร้ังที่ 3

นายประณิธาน สุวรรณธาดา 48,500 งบประมาณแผนดิน

4 ประกวดดนตรีและขับรองเพื่ออนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย

ดร.ระพีพันธ ปตาคะโส 169,500 งบประมาณแผนดิน

5

การศึกษาภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชาวบานหลังการเก็บเกี่ยวขาวในชุมชนรอบ ม.อุบลราชธานี

ดร.วัลยา วิริยเสนกลุ 40,500 งบประมาณแผนดิน

6 เสวนาจริยธรรมสําหรับนักศึกษา ดร.ระพีพันธ ปตาคะโส 78,800 งบประมาณแผนดิน

รวม 465,200

ผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการที่ตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับประเทศ หรือนานาชาติ ผลงานนําเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ ของบุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจําปการศึกษา 2552 แสดงในตารางที่ 35 ถึงตารางที่ 38 ดังนี้

43

ตารางที่ 35 ผลงานตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับประเทศ ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ ผูเขียน ช่ือบทความหรือผลงาน ช่ือวารสาร ปที่พิมพ

1

ชาคริตฬ ไมพันธ สุชาติ ลิ่มกตัญู กิตติศักดิ์ ขันติยวิชัย

ผลของการเสริมกําลังดวยวัสดุโพลิเมอรเสริมเสนใยตอหนวยแรงลาของสะพานชนดิคอมโพสิต

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

2

นัฐวุฒิ ทิพยโยธา เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย สถาพร โภคา วิวัฒน พัวทัศนานนท

แรงยึดเหนี่ยวของเหล็กเสริมในคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูลา

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

3 นิรันดร สมมุติ , สมบัติ สินธุเชาวน วิธีฮิวริสติกGRASPสําหรับปญหาการจัด

เสนทางยานพาหนะ วารสาร มทร.อีสาน

4

ธนารักษ พิทักษา สมบัติ สินธุเชาวน

การศึกษาความเปนไปไดในการลงทุนในโรงบดหรือยอยหินอุตสาหกรรมในจังหวัดอุบลราชธานี

วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ.

5

วิภาดา สนองราษฎร วิภาวี ขําวิจิตร วารินทร ยางเดิม ปริยาภัทร เชาวชาญ

การสกัดผงสีจากเปลือกแกวมังกร วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร ม.

อบ., ปที่ 2 ฉบับที่ 1

6

วิทยา อินทรสอน สุขอังคณา ลี นลิน เพียรทอง สุริยา โชคสวัสดิ์ เจริญ ชุมมวล

การสํารวจการกําจัดแมลงในขาวสารหอมมะลิในอุตสาหกรรมโรงสีขาวของประเทศไทย

วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร ม.

อบ., ปที่ 2 ฉบับที่ 1

7

เจริญ ชุมมวล นลิน เพียรทอง กษิดิ์เดช สิบศิริ

แนวทางการแกปญหาเตาเผาขยะติดเชือ้ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร ม.

อบ., ปที่ 2 ฉบับที่ 1

8

Bongkoj Sookananta The Sensitivity Index and the Differential Evolution Technique Applications on the Determination of FACTS Placement

วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร ม.

อบ., ปที่ 2 ฉบับที่ 1

9

อิทธิพงศ พันธนิกุล ความรอนเฉื่อยของวัสดุกอ กรณีศึกษา บล็อคประสาน อิฐมอญและบล็อคคอนกรีต

การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตรโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 14

10

แกวตา ดียิ่ง นัฐวุฒิ ทิพยโยธา เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย ธนภร ทวีวุฒิ

การศึกษากําลังรับแรงดึงของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูลา

การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตรโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 14

11 ประชา คําภักดี โปรแกรมสื่อการเรียนรูอิเล็กทรอนิกสกําลังดวย

ตนเอง การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

12

กาญจนา พานแกว จิญาภา ศรีภิรมย ธนากร คายหนองสรวง พุทธพร แสงเทียน และนารีรัตน มูลใจ

การผลิตไบโอเอทานอลจากกากมะพราว การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหงประเทศไทยครั้งที่ 18

44

ตารางที่ 35 ผลงานตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับประเทศ ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ ผูเขียน ช่ือบทความหรือผลงาน ช่ือวารสาร ปที่พิมพ

13

Pirat Kaewsarn Wanna Saikaew Surachai Wongcharee

Dried Biosorbent Derived from Banana Peel : A Potential Biosorbent for Removal of Cadmium lons from Aqueous Solution

การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหงประเทศไทยครั้งที่ 18

14

นิกร จิตวิขาม วัชรา บัวเพ็ง ประชา คําภักดี วรการ วงศสายเชื้อ สุริยา โชคสวัสดิ์

การออกแบบและสรางระบบเพื่อขับเคลื่อนแทงอิเล็กโทรดของเตาหลอมแบบอารคโดยใชไมโครคอนโทรลเลอร

การประชุมวิชาการโครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสําหรับนักศึกษาปริญญาตรีระดับชาติ คร้ังที่ 1

15

ธนภร ทวีวุฒิ เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย วิวัฒน พัวทัศนานนท สถาพร โภคา

กําลังแรงดึงแยกและโมดูลัสการแตกราวของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูลา

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

16

ธนภร ทวีวุฒิ ฤกษชัย ศรีวรมาศ ทวีศักดิ์ วังไพศาล กอปร ศรีนาวิน

อิทธิพลของพารามเิตอรในแบบจําลอง NAM การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตรโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 14

17

ฤกษชัย ศรีวรมาศ กฤษณ ศรีวรมาศ ธนภร ทวีวุฒิ ทวีศักดิ์ วังไพศาล

การศึกษาศักยภาพลําน้ําหวยขาวสารเพื่อรองรับปริมาณความตองการน้ําในปจจุบัน

การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตรโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 14

18

มงคล บุญยง วัชรพล วะนะสนธิ์ ประชา คําภักดี วรการ วงศสายเชื้อ และ สุริยา โชคสวัสดิ์.

การออกแบบและสรางเครื่องเหนี่ยวนําความรอนควบคุมดวยไมโครคอนโทรเลอร

การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

19

นุชสรา เกรียงกรกฎ และ ปรีชา เกรียงกรกฎ

ระบบจัดการแบบสอบถามผานเครือขายอินเตอรเน็ต กรณีศึกษา: คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

20

ปรีชา เกรียงกรกฎ และ นุชสรา เกรียงกรกฎ

วิธีฮิวริสติกสําหรับจัดการปญหาตัดแบงพัสดุแบบหนึ่งมิติ

การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

21

วัชรายุทธ ลําดวน และ อดุลย จรรยาเลิศอดุลย

การจําลองลักษณะของการพาความรอนแบบธรรมชาติในน้ํามันความหนืดสูง โดยใชวิธีการคํานวณของไหลเชงิพลศาสตรเปนน้ํามันเชื้อเพลิงในระยะยาว

วารสารวิชาการ ม.อบ.

22

รุงนภา ทับหนองฮี ประกิตติ์ สีหนนทน จิตรตรา เพียภูเขียว และ สมภพ สนองราษฎร

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิระหวางการทําปุยหมักจากขยะอินทรียทีเ่กิดจากการใสแหลงจุลินทรียที่ตางกัน

วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย, ปที่ 10 ฉบับที่ 3

23

กุลเชษฐ เพียรทอง ปรัชญญา มุกดา และ วีระพันธ สีหานาม

การลดลงของสัมประสิทธิ์แรงตานในการวิ่งตามกนของรถบรรทุกเล็ก

วารสารวิชาการ ม.อบ., ปที่ 22 ฉบับที ่

3

24

อดิศักดิ์ บุตรวงษ และ ชวลิต ถิ่นวงศพิทักษ

การศึกษาคุณสมบัติของรอยเชื่อมของเหล็กกลมที่เชื่อมดวยแรงเสียดทาน

วารสารวิชาการ ม.อบ., ปที่ 11 ฉบับที ่

1

45

ตารางที่ 35 ผลงานตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับประเทศ ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ ผูเขียน ช่ือบทความหรือผลงาน ช่ือวารสาร ปที่พิมพ

25

พิสิษฐ เตชะรุงไพศาล ธนกร ลิ้มสุวรรณ ชาคริต โพธิ์งาม และ กุลเชษฐ เพียรทอง

ระบบติดตามดวงอาทิตยสําหรับวัดรังสีแสงอาทิตย

วารสารวิชาการ ม.อบ., ปที่ 11 ฉบับที ่

1

26

ชยานนท แสงมณี กุลเชษฐ เพียรทอง

สมรรถนะของเครือ่งกําเนิดไฟฟาโดยใชกาซชีวมวลและน้ํามันไบโอดีเซลเปนเชือ้เพลงิ

วารสารวิชาการ ม.อบ., ปที่ 11 ฉบับที ่

1

27

อิทธิพล วรพันธ กุลเชษฐ เพยีรทอง และ ประชาสันติ ไตรยสุทธิ์

ผลกระทบของอัตราสวนผสมน้ํามันไบโอดีเซลผสมเอธธานอลตอสมรรถนะการปลอยสารพิษในเครื่องยนตดีเซลหมุนเร็ว

วารสารวิชาการ ม.อบ., ปที่ 11 ฉบับที ่

2

28

นันธพงศ นันทสําเริง ระพีพันธ ปตาคะโส และ บรรชา บุดดาดี

การแกไขปญหาการเลือกสถานที่ตั้งแบบหลายวัตถุประสงคและหลายลําดับขั้น: กรณศีึกษาโรงงานผลิตเอธานอลจากชานออยในภาคตะวันออกเฉยีงเหนอื

วารสารวิจัย มข., ปที่ 10 ฉบับที่ 3

29

อนิรุตต มัธุจักร และ จรินทร เจนจิตต

เตาแกสหุงตมฝนครัวเรือนในประเทศไทยและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพเชิงความรอน

Rangsit University Journal of

Engineering and Technology, ปที่ 14

ฉบับที่ 3

30

สุพัฒนพงษ มัตราช ปกาศิต ฮงทอง และ รัตนา จิระรัตนานนท

การอุดตันของเยื่อกรองแบบนาโนโดยสารละลายโลหะทองแดงและสารอินทรียธรรมชาติ

วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย, ปที่ 12 ฉบับที่ 1

31

ธิติพงษ วงสาโท วีรพงศ โชคชัย มงคล ปุษยตานนท

ระบบประเมินอายขุองผลไมหลังการเก็บเกี่ยว การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟา

คร้ังที่ 31, ปที่ 22 ฉบับที่ 2

ตารางที่ 36 ผลงานตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ ชื่อผูเขียน ชื่อบทความหรือผลงาน ชื่อวารสาร ปที่พิมพ

1 Wuthikorn Saikaew Supatpong Mattaraj Rattana J

Nanofiltration Performance of Lead Solution: Effects of Concentration, Solution pH, and Ionic Strength

The Proceeding of International Conference on Science, Technology, and Innovation for Sustainable Well-Being (STIS WB 2009)

2 Janjarasjitt S, Loparo KA An approach for characterizing coupling in dynamical systems

PHYSICA D-NONLINEAR PHENOMENA , Volume: 237 Issue: 19 Pages: 2482-2486

3 Janjarasjitt S, Ocak H, Loparo KA

Bearing condition diagnosis and prognosis using applied nonlinear dynamical analysis of machine vibration signal

JOURNAL OF SOUND AND VIBRATION , Volume: 317 Issue: 1-2 Pages: 112-126

4 Emberger G, Pfaffenbichler P, Jaensirisak S, et al.

Ideal" decision-making processes for transport planning: A comparison between Europe and South East Asia

TRANSPORT POLICY , Volume: 15 Issue: 6 Special Issue: Sp. Iss. SI Pages: 341-349

5 S.Poonaya, U.Teeboonma, C.Thinvongpitak

Plastic collapse analysis of thin-walled circular tubes subjected to bending

THIN-WALLED STRUCTURES , Volume: 47 Issue: 6-7 Pages: 637-645

46

ตารางที่ 36 ผลงานตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อผูเขียน ชื่อบทความหรือผลงาน ชื่อวารสาร ปที่พิมพ

6 W., Insorn, S., Lee, N., Piantong and A., janyalertadun

Cost Comparison in the Rice Disinfestation between Infrared Radiation Heating Application and Chemical Application : Case Study Rice Milling in Surin Province

International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being ,Thailand

7 Kaewdang K, Kumwachara K, Surakampontorn W

A translinear-based true RMS-to-DC converter using only npn BJTs

AEU-INTERNATIONAL JOURNAL OF ELECTRONICS AND COMMUNICATIONS , Volume: 63 Issue: 6 Pages: 472-477

8 Komson Daroj Reactive Power Dispatch Scheme Evaluation

for Synchronous Based Distributed Generators to Reduce Real Power Loss in Distribution Systems

IEEE International Conference on Sustainable Energy Technologies

9 B., Sookananta Determination of FACTS Placement using Differential Evolution Technique

The second International Conference on Electrical Engineering and Informatics,Malaysia

10 S., Bhokha, N., Sangtian, K., Subsomboon

Infrastructure and the development of Thailand : Past to Future

International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being ,Thailand

11 Suchart Limkatanyu, Kittisak Kuntiyawichai, Enrico Spacone

Response of reinforced concrete piles including soil析ile interaction effects Engineering Structures , Volume 31,

Issue 9

12 R., Pitakaso, K., Pranet, B., Buddadee

A Multi-Objectives Model for Multi-Echeon Lcation Problem :Case Study in Ethanol Plant Location Analysis in Northeastern Thailand

Hamburge International Conference of Logistics, German

ตารางที่ 37 จํานวนผลงานนําเสนอในการประชุมวิชาการ ระดับประเทศ ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ ผูเสนอผลงาน ชื่อผลงาน วัน-เดือน-ป การประชุม

1 ธิติพงษ วงสาโท วีรพงศ โชคชัย มงคล ปุษยตานนท

ระบบประเมินอายขุองผลไมหลังการเก็บเกี่ยว

29-31 ตุลาคม 2551

การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟา คร้ังที่ 31

2

กาญจนา พานแกว จิญาภา ศรีภิรมย ธนากร คายหนองสรวง พุทธพร แสงเทียน และนารีรัตน มูลใจ

การผลิตไบโอเอทานอลจากกากมะพราว 20-21 ตุลาคม 2551

การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหงประเทศไทยคร้ังที่ 18

3

Pirat Kaewsarn Wanna Saikaew Surachai Wongcharee

Dried Biosorbent Derived from Banana Peel : A Potential Biosorbent for Removal of Cadmium lons from Aqueous Solution

20-21 ตุลาคม 2551

การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหงประเทศไทยคร้ังที่ 18

4 ชาคริตฬ ไมพันธ สุชาติ ลิ่มกตัญู กิตติศักดิ์ ขันติยวชิยั

ผลของการเสริมกําลังดวยวัสดุโพลิเมอรเสริมเสนใยตอหนวยแรงลาของสะพานชนิดคอมโพสิต

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

5

นัฐวุฒิ ทิพยโยธา เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย สถาพร โภคา วิวัฒน พัวทัศนานนท

แรงยึดเหนี่ยวของเหล็กเสริมในคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลลูา

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

47

ตารางที่ 37 จํานวนผลงานนําเสนอในการประชุมวิชาการ ระดับประเทศ ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ ผูเสนอผลงาน ชื่อผลงาน วัน-เดือน-ป การประชุม

6 อิทธิพงศ พันธนิกุล ความรอนเฉื่อยของวัสดุกอ กรณีศึกษา

บล็อคประสาน อิฐมอญและบล็อคคอนกรีต

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

7

แกวตา ดียิ่ง นัฐวุฒิ ทิพยโยธา เกรียงศักดิ ์ แกวกุลชัย ธนภร ทวีวุฒิ

การศึกษากําลังรับแรงดึงของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลลูา

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

8

ธนภร ทวีวุฒิ เกรียงศักดิ์ แกวกุลชัย วิวัฒน พัวทัศนานนท สถาพร โภคา

กําลังแรงดึงแยกและโมดูลัสการแตกราวของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูลา

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

9

ธนภร ทวีวุฒิ ฤกษชัย ศรีวรมาศ ทวีศักดิ์ วังไพศาล กอปร ศรีนาวิน

อิทธิพลของพารามเิตอรในแบบจําลอง NAM

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

10

ฤกษชัย ศรีวรมาศ กฤษณ ศรีวรมาศ ธนภร ทวีวุฒิ ทวีศักดิ์ วังไพศาล

การศึกษาศักยภาพลําน้ําหวยขาวสารเพื่อรองรับปริมาณความตองการน้ําในปจจุบัน

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติคร้ังที่ 14

11

นิกร จิตวิขาม วัชรา บัวเพ็ง ประชา คําภักดี วรการ วงศสายเชื้อ สุริยา โชคสวัสดิ์

การออกแบบและสรางระบบเพื่อขับเคลื่อนแทงอเิลก็โทรดของเตาหลอมแบบอารคโดยใชไมโครคอนโทรลเลอร

13-15 พฤษภาคม 2552

การประชุมวิชาการโครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสําหรับนักศึกษาปริญญาตรีระดับชาติ คร้ังที่ 1

12 ประชา คําภักดี โปรแกรมสื่อการเรียนรูอิเล็กทรอนิกส

กําลังดวยตนเอง 28-29 กรกฎาคม 2552

การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

13

มงคล บุญยง วัชรพล วะนะสนธิ์ ประชา คําภักดี วรการ วงศสายเชื้อ และ สุริยา โชคสวัสดิ์.

การออกแบบและสรางเครื่องเหนี่ยวนําความรอนควบคุมดวยไมโครคอนโทรเลอร

28-29 กรกฎาคม 2552

การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

14

นุชสรา เกรียงกรกฎ และ ปรีชา เกรียงกรกฎ

ระบบจัดการแบบสอบถามผานเครือขายอินเตอรเน็ต กรณีศึกษา: คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

28-29 กรกฎาคม 2552

การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

15 ปรีชา เกรียงกรกฎ และ นุชสรา เกรียงกรกฎ

วิธีฮิวริสติกสําหรับจัดการปญหาตัดแบงพัสดุแบบหนึ่งมิติ

28-29 กรกฎาคม 2552

การประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจัย คร้ังที่ 3 (UBRC 3)

48

ตารางที่ 38 จํานวนผลงานที่นําเสนอในการประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ ชื่อผูนําเสนอผลงาน ชื่อผลงาน วัน-เดือน-ปที่นําเสนอ

การประชุม

1

Wuthikorn Saikaew Supatpong Mattaraj Rattana J

Nanofiltration Performance of Lead Solution: Effects of Concentration, Solution pH, and Ionic Strength

23-24 July,2009

The Proceeding of International Conference on Science, Technology, and Innovation for Sustainable Well-Being (STIS WB 2009)

2

W., Insorn, S., Lee, N., Piantong and A., janyalertadun

Cost Comparison in the Rice Disinfestation between Infrared Radiation Heating Application and Chemical Application : Case Study Rice Milling in Surin Province

23-24 July,2009

International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being ,Thailand

3

Komson Daroj Reactive Power Dispatch Scheme Evaluation for Synchronous Based Distributed Generators to Reduce Real Power Loss in Distribution Systems

24-27 November, 2008

IEEE International Conference on Sustainable Energy Technologies, Singapore.

4 B., Sookananta Determination of FACTS

Placement using Differential Evolution Technique

5-7 August, 2009

The second International Conference on Electrical Engineering and Informatics,Malaysia.

5 S., Bhokha, N., Sangtian, K., Subsomboon

Infrastructure and the development of Thailand : Past to Future

23-24 July, 2009

International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being ,Thailand

6 R., Pitakaso, K., Pranet, B., Buddadee

A Multi-Objectives Model for Multi-Echeon Lcation Problem :Case Study in Ethanol Plant Location Analysis in Northeastern Thailand

9-13 September,2009

Hamburge International Conference of Logistics, German.

ตารางที่ 39 แสดงจํานวนผลงานที่รับการอางอิง (Citation) ใน Referred Journal ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ ชื่อ - สกุล ชื่อบทความวิจัยที่ถกูอางอิง ชื่อวารสารที่บทความถูกอางอิงและ

ตีพิมพ วันเดือนปตีพิมพของวารสารที่อางอิง

1 Sriveerakul, T Investigation and improvement of

ejector refrigeration system using computational fluid dynamics technique

APPLIED THERMAL ENGINEERING

Jul-09

2

Sriveerakul, T Performance prediction of steam ejector using computational fluid dynamics: Part 1. Validation of the CFD results

APPLIED THERMAL ENGINEERING

JUN 2009

3 Vangpaisal T Gas transmissivity at the

interface of a geomembrane and the geotextile cover of a partially hydrated geosynthetic clay liner.

GEOSYNTHETICS INTERNATIONAL

FEB 2009

4 Janjarasjitt S Detection and visualization of

tandem repeats in DNA sequences

IEEE TRANSACTIONS ON INFORMATION TECHNOLOGY IN BIOMEDICINE Volume: 13 Issue: 5 Pages: 747-755

Sep 2009

5

Vangpaisal T Investigation of the Effects and Degree of Calcium Exchange on the Atterberge Limits and Swelling of Geosynthetic Clay Liners when Subjected to Wet-Dry Cycles

GEOSYNTHETICS INTERNATIONAL

Feb-09

49

ตารางที่ 39 แสดงจํานวนผลงานที่รับการอางอิง (Citation) ใน Referred Journal ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อ - สกุล ชื่อบทความวิจัยที่ถกูอางอิง ชื่อวารสารที่บทความถูกอางอิงและ

ตีพิมพ วันเดือนปตีพิมพของวารสารที่อางอิง

6

Vangpaisal T Analytical modelling of gas leakage rate through a geosynthetic clay liner-geomembrane composite liner due to a circular defect in the geomembrane

GEOTEXTILES AND GEOMEMBRANES

Apr-09

7 Vangpaisal T Effect of wet-dry cycles and

cation exchange on gas permeability of geosynthetic clay liners

JOURNAL OF GEOTECHNICAL AND GEOENVIRONMENTAL ENGINEERING

NOV 2008

8 Vangpaisal T Laboratory investigation of gas

leakage rate through a GM/GCL composite liner due to a circular defect in the geomembrane

GEOTEXTILES AND GEOMEMBRANES

Feb-09

9 Kaewdang K On the realization of

electronically current-tunable CMOS OTA

CIRCUITS SYSTEMS AND SIGNAL PROCESSING

Feb-09

10

Mattaraj , S Flux decline during nanofiltration of naturally-occurring dissolved organic matter: effects of osmotic pressure, membrane permeability, and cake formation

JOURNAL OF MEMBRANE SCIENCE

MAR 20 2009

11

Mattaraj , S Effects of reverse osmosis isolation on reactivity of naturally occurring dissolved organic matter in physicochemical processes

ENVIRONMENTAL MONITORING AND ASSESSMENT

Jun-09

12

Mattaraj , S Photochemical modification of poly(ether sulfone) and sulfonated poly(sulfone) nanofiltration membranes for control of fouling by natural organic matter

JOURNAL OF APPLIED POLYMER SCIENCE

MAY 5 2009

13 Mattaraj , S Kinetics of membrane flux

decline: The role of natural colloids and mitigation via membrane surface modification

JOURNAL OF MEMBRANE SCIENCE

MAY 15 2009

14

Mattaraj , S Modeling flux decline during nanofiltration of NOM with poly(arylsulfone) membranes modified using UV-assisted graft polymerization

DESALINATION JAN 31 2009

15 Mattaraj , S Factors affecting nanofiltration

performances in natural organic matter rejection and flux decline

JOURNAL OF MEMBRANE SCIENCE

FEB 5 2009

16 Kuntiyawichai K Effect of material uncertainties

on fatigue life calculations of aircraft fuselages: A cohesive element model

COMPUTATIONAL MATERIALS SCIENCE

APR 2009

17 Kaewsarn , P Biosorption of copper(II) from

aqueous solutions by pre-treated biomass of marine algae Padina sp.

DESALINATION Apr-09

18 Kaewsarn , P Removal of heavy metal ions

from wastewater by using biosorbents from marine algae - A cost effective new technology

CHINESE JOURNAL OF CHEMICAL ENGINEERING

OCT 2008

50

ตารางที่ 39 แสดงจํานวนผลงานที่รับการอางอิง (Citation) ใน Referred Journal ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อ - สกุล ชื่อบทความวิจัยที่ถกูอางอิง ชื่อวารสารที่บทความถูกอางอิงและ

ตีพิมพ วันเดือนปตีพิมพของวารสารที่อางอิง

19 Kaewsarn , P Cadmium(II) removal from

aqueous solutions by pre-treated biomass of marine alga Padina sp.

JOURNAL OF ENVIRONMENTAL MANAGEMENT

AUG 2009

20 Kaewkulchai,G Beam Element Formulation and

Solution Procedure for Dynamic Progressive Collapse Analysis

EARTHQUAKE ENGINEERING & STRUCTURAL DYNAMICS

APR 25 2009

21 Kaewkulchai,G Modeling the impact of failed

members for progressive collapse analysis of frame structures

EARTHQUAKE ENGINEERING & STRUCTURAL DYNAMICS

APR 25 2009

22 Pitakaso R A MAX-MIN ant system for

unconstrained multi-level lot-sizing problems

COMPUTERS & MATHEMATICS WITH APPLICATIONS

Jun-09

23 Pitakaso R The development of multi-

objective optimization model for excess bagasse utilization: A case study for Thailand

CHEMICAL ENGINEERING RESEARCH & DESIGN

SEP 2009

24 Pianthong K Supersonic liquid jets: Their

generation and shock wave characteristics

PHYSICAL REVIEW LETTERS FEB 20 2009

25 Pianthong K Pulsed supersonic fuel jets,A

Review of other characteristic and potential for fuel injection

PHYSICAL REVIEW LETTERS FEB 20 2009

26 Pianthong K Dynamic characteristics of

pulsed supersonic fuel sprays PHYSICAL REVIEW LETTERS FEB 20 2009

27

Sriveerakul T Performance prediction of steam ejector using computational fluid dynamics: Part 2. Flow structure of a steam ejector influenced by operating pressures and geometries

INTERNATIONAL JOURNAL OF REFRIGERATION-REVUE INTERNATIONALE DU FROID

SEP 2009

28

Sriveerakul T Experimental studies of a single-effect absorption refrigerator using aqueous lithium-bromide: Effect of operating condition to system performance

INTERNATIONAL JOURNAL OF REFRIGERATION-REVUE INTERNATIONALE DU FROID

SEP 2009

29 Chayong,S Thixoforming 7075 aluminium

alloys INTERNATIONAL JOURNAL OF ADVANCED MANUFACTURING TECHNOLOGY

MAY 2009

30 Chayong,S Thixoforming of normally wrought

aluminium alloys JOURNAL OF ALLOYS AND COMPOUNDS

FEB 20 2009

31

Chayong,S Multistep induction heating regimes for thixoforming 7075 aluminium alloy

MATERIALS SCIENCE AND ENGINEERING A-STRUCTURAL MATERIALS PROPERTIES MICROSTRUCTURE AND PROCESSING

APR 25 2009

32

Janjarasjitt ,S Nonlinear dynamical analysis of the neonatal EEG time series: The relationship between neurodevelopment and complexity

PHYSIOLOGICAL MEASUREMENT

MAY 2009

51

ตารางที่ 39 แสดงจํานวนผลงานที่รับการอางอิง (Citation) ใน Referred Journal ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ ชื่อ - สกุล ชื่อบทความวิจัยที่ถกูอางอิง ชื่อวารสารที่บทความถูกอางอิงและ

ตีพิมพ วันเดือนปตีพิมพของวารสารที่อางอิง

33 Viratjandr C Behaviour of tire shred-sand

mixtures GEOTECHNICAL TESTING JOURNAL

Jan-09

34 Jaensirisak.S Explaining variations in public

acceptability of road pricing schemes

TRANSPORTATION RESEARCH PART A-POLICY AND PRACTICE

MAR 2009

35 Puatatsananon W Nonlinear coupling of

carbonation and chloride diffusion in concrete

COMPUTER-AIDED CIVIL AND INFRASTRUCTURE ENGINEERING

2009

36 Puatatsananon W Reliability analysis in fracture

mechanics using the first-order reliability method and Monte Carlo simulation

CMES-COMPUTER MODELING IN ENGINEERING & SCIENCES

JUN 2009

37 Sanongraj W Mathematical model for

photocatalytic destruction of organic contaminants in air

JOURNAL OF THE AIR & WASTE MANAGEMENT ASSOCIATION

APR 2009

38 Siripattanakul S Atrazine degradation by stable

mixed cultures enriched from agricultural soil and their characterization

JOURNAL OF HAZARDOUS MATERIALS

Sep 2009

39 Teeboonma U Optimization of heat pump fruit

dryers ENERGY CONVERSION AND MANAGEMENT

Sep-09

40 Viratjandr C Limit analysis of submerged

slopes subjected to water drawdown

JOURNAL OF GEOTECHNICAL AND GEOENVIRONMENTAL ENGINEERING Volume: 135 Issue: 3 Pages: 444-448

Mar-09

41 Wongsaichua W Integrated high-speed

intelligent utility tie unit for disbursed/renewable generation facilities

JOURNAL OF POWER ELECTRONICS

JUL 20 2009

42 Pitakaso R Combining population-based and

exact methods for multi-level capacitated lot-sizing problems

NAVAL RESEARCH LOGISTICS Jun-09

52

เกยีรตยิศ และรางวลั บุคลากร บัณฑิต และนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่ไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติ และไดรับรางวัลในโอกาสตาง ๆ ประจําปการศึกษา 2552 แสดงในตารางที่ 40 ถึงตารางที่ 41 ดังนี้

ตารางที่ 40 บุคลากรที่ไดรับรางวัล หรือยกยองเชิดชูเกียรติ ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ รางวัล ชื่อ-สกุล หนวยงานที่มอบรางวัล

1 รางวัล อาจารยที่ปรึกษาดีเดนในผลงานรองชนะเลิศอันดบัที่ 1 ประเภทโครงงาน ระดับอุดมศึกษา

ดร.ประสิทธิ์ นครราช คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลรรชธานี

2 โลหเกียรติคุณและเข็มเชิดชูเกีรยติ จัดสรางโครงการกาซชีวมวลหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก

1. ผศ.ดร.ธนรัฐ ศรีวีระกุล

2. ผศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า กพระราชดําริ

3

รางวัลผลงานวิจัยดีเดน ประเภทตอบสนองตอความตองการชุมชน งานวิจัยเร่ืองการศึกษาความเหมาะสมประยุกตการใชงานพลังงานแสงอาทิตยในการสูบน้ําเพื่อพื้นที่ทํากินทางการรเกษตร

ผศ.ดร.ชวลติ ถิ่นวงศพิทักษ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ตารางที่ 41 ผลงานนักศึกษาท่ีไดรับรางวัล หรือยกยองเชิดชูเกียรติ ประจําปการศึกษา 2552

ลําดับ รางวัล ชื่อ-สกุล

ผูรับผิดชอบ หรือรวมโครงการ วัน เดือน ป ที่รับรางวัล(หนวยงาน

ที่มอบรางวัล)

1

รางวัลชนะเลิศ (เหรียญทอง) 1. นายรณทร จันทกาญจน 2. นายทรงพล โพธิศรี

สมาคมวิ ศ วกรรมสถ านแห ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น พ ร ะ บ ร มราชูปถัมภ (วสท.)

2

รางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 ประเภทความคิดสรางสรรค การแขงขันคอนกรีตมวลเบาชิงแชปมประดับอุดศึกษา คร้ังที่ 3

1. นายวรรณกร อาบสุวรร 2. นายไกรสร เรณู 3. นายอชิชาติ ศรีโสดา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร (วังไกลกังวล)

3

รางวัลชนะเลิศ อันดับ 3 ประ เภทคอนกรีตดัดกํ าลั ง การแขงขันคนกรีตพลังชาง คร้ังที่ 10

1. นายศุภฤกษ จันทรเขต

2. นางสาวเสนหจิตร บุญเสริม

3. นางสาวนวลละออง แสนทวีสุข

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ร ว ม กั บ ร ว ม กั บ บ ริ ษั ท SCG

ซีเมนต จํากัด

4

รางวัลชมเชย การแขงขันพลังงานโซลารเซลลเพื่อชุมชน โครงการ M-150 Ideology 2009

1. นายประยงค วงศไชยา 2. นายอนุวัตร สุขขันธ 3. นายศราวุธ ศรีพันธ 4. นายวัชรศักดิ์ จรัญญา 5. นายวชิระพล สุพะโส 6. นายประยุทธ มูลสาร 7. นางสาวชุลีพร โพธิ์ทอง 8. นส.เกศรินทร แสนสมัคร 9. นายพรชัย บุญยืน

บริษัทโอสถสภา จํากัด

53

ตารางที่ 41 ผลงานนักศึกษาท่ีไดรับรางวัล หรือยกยองเชิดชูเกียรติ ประจําปการศึกษา 2552 (ตอ)

ลําดับ รางวัล ชื่อ-สกุล

ผูรับผิดชอบ หรือรวมโครงการ วัน เดือน ป ที่รับรางวัล(หนวยงาน

ที่มอบรางวัล)

5

เขารอบคัดเลือก 10 ทีม การแขงขันโครงการ Schneider Electric Challgrnge University Initi@tive 2009

1. นายกฤษณชัย ศรีวรรณ

2. นายนิติกร คําวัน

บริษัทชไนเดอร (ไทยแลนด)จํากัด

6

1. รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส และ 2. รางวัลขวัญใจมหาชน (Popular Vote)

1. นายมังกร สีแสด

2. นายพิชยุตม ตรุวรรณ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

7

รางวัลชมเชยผลงานสิ่งประดิษฐระดับอุดมศึกษา เร่ืองระบบจักรยานผลิ ต ไ ฟฟ า ใ น ง า น เ ท ค โน โ ล ยีวิศวกรรม

1. นายธีระยุทธ โสวรรณะ

2. นายปยพงษ ไชยธงรัตน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

8

รางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 ผ ล ง า น ป ร ะ เ ภ ท โ ค ร ง ง า นระดับอุดมศึกษา เร่ือง เคร่ืองตรวจวัดคุณภาพขาวสารโดยใชวิธีการประมวลภาพดิจิตอล ในงานเทคโนโลยีวิศวกรรม

1. นายวราวุธ ทยานสิงห 2. นายชัยศิริ กําเหนิดสังห

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

9

รางวัลชมเชย ผ ล ง า น ป ร ะ เ ภ ท โ ค ร ง ง า นระดับอุดมศึกษา เร่ือง ไมเทานําทางอิเล็กทรอนิกส ในงานเทคโนโลยีวิศวกรรม

1. นายวิโรจน ยาบุษดี 2. นายสุวัฒน สารจันทร

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

10

รางวัลชมเชย ผ ล ง า น ป ร ะ เ ภ ท โ ค ร ง ง า นระดับอุดมศึกษา เร่ือง ระดับวัดป ริม าตรกล อ ง วั สดุ โ ดย ใช ก า รประมวลผลภาพดิจิตอล ในงานเทคโนโลยีวิศวกรรม

1. นายอนุชา ศรีสะอาด

2. นางสาววนิดา แกวบัวขาว

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

11 รางวัลเรียนดี (เหรียญทอง) นางสาวหนึ่งฤทัย ใจฉวะ กองทุนพระบรมโอรสาธิราชสยาม

มุงกฎราชกุมาร

12 รางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 ประเภทเปตองชาย

นายทรงพล เหลากลม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

54

ทําเนียบบุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร

ตารางที่ 42 บุคลากรสังกัดภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

ลําดับ ช่ือ สกุล โทรศัพท E-mail

1 ผศ.ดร.ชวลิต ถ่ินวงศพิทักษ 045 353 309 [email protected], [email protected]

2 ผศ.ดร.กุลเชษฐ เพียรทอง 045 353 309 [email protected]

3 ผศ.ดร.อดุลย จรรยาเลิศอดุลย 045 353 309 [email protected]

4 ผศ.ธนรัฐ ศรีวีระกุล 045 353 309 [email protected]

5 ผศ.บรรชา บุดดาดี 045 353 309 [email protected]

6 ร.ท.สมญา ภูนะยา รน.* 045 353 309 [email protected]

7 ผศ.ดร.อําไพศักดิ ์ทีบุญมา 045 353 309 [email protected], [email protected]

8 นายชาคริต โพธิ์งาม 045 353 309 [email protected]

9 นายนิติกร พรหมดวง 045 353 309 [email protected]

10 ผศ.ประชาสันติ ไตรยสุทธิ์* 045 353 309 prachasanti@hotmail, [email protected]

11 นางสาวรัชดา โสภาคะยัง* - [email protected]

12 นางสาวทรงสุภา พุมชุมพล 045 353 309 [email protected]

13 นางสาวบงกช บุญเพ็ชร* - [email protected]

14 นายนันทวัฒน วีระยุทธ* - [email protected]

15 ดร.อนิรุตต มัทธจุักร 045 353 309 [email protected]

16 นายรัฐพงษ ปฏิกานัง 045 353 309 -

17 นายทองคํา กิริยะ 045 353 393 -

18 นายไพบูลย เสถียรรัมย 045 353 391 -

19 นายภควัต เนาวโสภา 045 353 389 -

20 นายประหยัด สมานมิตร 045 353 308 [email protected]

21 นายสุข ดําพะธิก 045 353 392 -

22 นายสมัคร อินถา 045 353 392 -

23 นางสาวจิรปรียา อกอุน (1) 045 353 308 [email protected]

24 นางสาวอมลวรรณ เรียตะนา (2) 045 353 308 [email protected]

หมายเหตุ * ลาศึกษาตอ (1) ธุรการภาควิชา (2) ธุรการบัณฑิตศึกษา

55

ตารางที่ 43 บุคลากรสังกัดภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

ลําดับ ช่ือ สกุล โทรศัพท E-mail

1 รศ.ทวีคูณ สวรรคตรานนท 045 353 367 [email protected]

2 รศ.อุทัย สุขสิงห 0-4535-3369 [email protected]

3 นายเกรียงศักดิ์ ขุนไชย 0-4535-3300 ตอ 2605

-

4 นายธนกร ล้ิมสุวรรณ* 0-4535-3331 [email protected], [email protected]

5 ผศ.ดร.มงคล ปุษยตานนท 0-4535-3335 [email protected]

6 นางสาวอารยา โพธิสรณ* - [email protected]

7 ดร.บงกช สุขอนันต 045 353 335 [email protected]

8 ดร.ประสิทธิ ์นครราช 045 353 327 [email protected]

9 นายสุชิน ไตรรงคจิตเหมาะ* - [email protected]

10 ดร.ศุภฤกษ จันทรจรัสจิตต 0-4535-3332 [email protected]

11 ดร.คมสันต ดาโรจน 0-4535-3329 [email protected]

12 นายอธิพงศ สุริยา* 0-4535-3300 ตอ 2622

[email protected], [email protected]

13 นายประชา คําภักดี 0-4535-3328 [email protected]

14 ดร.วรการ วงศสายเชื้อ 045 353 300 ตอ 2618 [email protected]

15 ดร.ขนิษฐา แกวแดง 045 353 354 [email protected]

16 นายราเชนทร บุญทัน 045 353 300 ตอ 2604 [email protected]

17 นายผดุง กิจแสวง 045 353 367 [email protected]

18 นายสมนึก เวียนวัฒนชัย 045 353 367 [email protected]

19 นายวิชชุกร อุดมรัตน 045 353 367 [email protected]

20 นายนินาท พลเดช 045 353 367 [email protected]

22 นางสาวไทวัลย กองสิน(1) 045 353 329 [email protected]

23 นางสาวพชรศร กุหลาบหอมน(2) 045 353 354

หมายเหตุ * ลาศึกษาตอ (1) ธุรการภาควิชา (2) ธุรการบัณฑิตศึกษา

ตารางที่ 44 บุคลากรสังกัดภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

ลําดับ ช่ือ สกุล โทรศัพท E-mail

1 ผศ.ดร.นุชสรา เกรียงกรกฏ 045 353 357 [email protected]

2 ผศ.สุริยา โชคสวัสดิ์ 045 353 371 [email protected], [email protected]

56

ตารางที่ 44 บุคลากรสังกัดภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (ตอ)

ลําดับ ช่ือ สกุล โทรศัพท E-mail

3 ผศ.เจริญ ชุมมวล 045 353 379. 310 [email protected]; [email protected]

4 ผศ.อิศว ปทมธรรมกุล 045 353 368 [email protected]

5 นายไท แสงเทียน 045 353 349 [email protected]

6 ผศ.ดร.ปรีชา เกรียงกรกฏ 045 353 357 [email protected]

7 ผศ.ดร.สมบัติ สนิธุเชาวน 045 353 334 [email protected]

8 ผศ.ดร.คณิศร ภูนิคม 045 353 390 [email protected], [email protected]

9 ผศ.ดร.นลิน เพียรทอง 045 353 356 [email protected]

10 ผศ.ดร.สุขอังคณา ลี 045 353 380 [email protected]

11 นางสาวกิตติมา ศิลปษา* 045 353 373 [email protected]

12 นางสาวจรวยพร แสนทวีสุข* 045 353 373 [email protected]

13 นายตะวันฉาย โพธิ์หอม 045 353 379, 381 [email protected]

14 ผศ.ดร.ระพีพันธ ปตาคะโส 045 353 317, 352 [email protected], [email protected]

15 ดร.จริยาภรณ อุนวงษ 045 353 351 [email protected]

16 ดร.ธารชุดา พันธนิกุล 045 353 358 [email protected]

17 นางสาวลออง ผโลดม 045 353 353 [email protected]

18 นายอภิชาติ แสนชัย 045 353 372 [email protected]

19 นายอรุณ อุนไธสง 045 353 388 [email protected]

20 วาที่ ร.ต.กาจบัณฑิต ศรีโท 045 353 387 [email protected]

21 นายอดิศักดิ์ มณีสุข 045 353 387 -

22 นายกฤษฎิ์ จันทราภรณ 045 353 387 [email protected]

23 นายสุนัน จรรยากรณ 045 353 387 -

24 นายกิตติพงษ มุสิกสาร 045 353 387 -

25 นายเกรียงศักดิ์ บุญสง 045 353 372 [email protected]

26 นายเกียรติศักดิ์ พระเนตร 045 353 313 [email protected]

27 นายอมต ยอดคุณ 045 353 378 [email protected]

28 นายพรเทพ สุรมาตย 045 353 378 [email protected]

29 นางสาวรุจิรัตน สิกขา(1) 045 353 307 [email protected]

30 นางสาวลินดา คํามงคุณ(2) 045 353 300 ตอ 2608 [email protected]

หมายเหตุ * ลาศึกษาตอ (1) ธุรการภาควิชา (2) ธุรการบัณฑิตศึกษา

57

ตารางที่ 45 บุคลากรสังกัดภาควิชาวิศวกรรมโยธา

ลําดับ ช่ือ สกุล โทรศัพท E-mail

1 ศ.ดร.ประกอบ วิโรจนกูฏ 045 288 399, 045 353 055 -

2 ผศ.ดร.สิทธา เจนศิริศักดิ์ 045 353 336 [email protected]

3 นายนิธิศักดิ์ แกวเสนา 045 353 082 [email protected]

4 นายวีระพันธ ศรีสม 045 353 368 [email protected]

5 ดร.วัลยา วิริยเสนกุล 045 353 347 [email protected], [email protected]

6 รศ.ดร.สถาพร โภคา 045 353 306 [email protected], [email protected]

7 ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ วังไพศาล 045 353 338 [email protected]

8 ผศ.กฤษณ ศรีวรมาศ* 045 353 346 [email protected], [email protected]

9 ผศ.ดร.กอปร ศรีนาวิน 045 353 366 [email protected]

10 ผศ.ดร.นท แสงเทียน 045 353 307, 341 [email protected], [email protected]

11 ผศ.ดร.วิวัฒน พัวทัศนานนท 045 353 348 [email protected]

12 ผศ.ดร.เกรียงศักดิ ์แกวกุลชัย 045 353 340 [email protected]

13 ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ ขันติยวิชัย 045 353 339 [email protected], [email protected]

14 ผศ.อิทธิพงศ พันธนิกุล 045 353 337 [email protected]

15 ผศ.ฤกษชัย ศรีวรมาศ 045 353 369 [email protected], [email protected]

16 ดร.ฉัตรภูมิ วิรัตนจันทร 045 353 355 [email protected]

17 ผศ.ดร.ธนภร ทวีวุฒิ 045 353 375 [email protected]

18 นายสุพัฒ จารุกมล 045 353 398 [email protected]

19 นายสุรพล ไชยชนะ 045 353 397 [email protected]

20 นายนิพัทธ หงษทอง 045 353 396 [email protected]

21 นายเกรียงไกร บุญใส 045 353 396 [email protected]

22 นางวนิดา ยิ่งไพบูลยสุข (1) 045 353 345 [email protected]

23 นางสาวอรศศิร อุตะธีรวิชญ (2) 045 353 370 [email protected]

หมายเหตุ * ลาศึกษาตอ (1) ธุรการภาควิชา (2) ธุรการบัณฑิตศึกษา

58

ตารางที่ 46 บุคลากรสังกัดภาควิชาวิศวกรรมเคมี

ลําดับ ช่ือ สกุล โทรศัพท E-mail

1 ผศ.ดร.ไพรัตน แกวสาร 045 353 361 [email protected]

2 ผศ.ดร.สุพัฒนพงศ มัตราช 045 353 344 [email protected]

3 ผศ.ดร.วิภาดา สนองราษฎร 045 353 360 [email protected]

4 ผศ.ดร.สมภพ สนองราษฎร 045 353 362 [email protected]

5 ผศ.พุทธพร แสงเทียน 045 353 363 [email protected]

6 ดร.กรรณิกา รัตนพงศเลขา 045 353 361 [email protected]

7 ดร.สุมนา สิริพัฒนากุล 045 353 359 [email protected]

8 นางสาวณัฐยา พูนสุวรรณ* 045 353 361 [email protected]

9 ดร.จักรกฤษณ อัมพุช 045 353 361 [email protected]

10 นายสุรชัย วงศชารี 045 353 385 [email protected]

11 นายเอกรัฐ ศรีออน 045 353 385 [email protected]

12 นางสาวกาญจนา พานแกว 045 353 385 [email protected] 13 นางสุมาลี จันทนะชาติ (1) 045 353 343 [email protected] 14 นางสาวจิราธร แสนทวีสุข (2) 045 353 342 [email protected]

หมายเหตุ * ลาศึกษาตอ (1) ธุรการภาควิชา (2) ธุรการบัณฑิตศึกษา

ตารางที่ 47 บุคลากรสังกัดสํานักงานเลขานุการ

ลําดับ ช่ือ – สกุล งาน โทรศัพท E-mail

1 ธีระพงษ วงศบุญ เลขานุการคณะฯ 045 353 322 [email protected]

2 สุนิสา กิจแสวง การเจาหนาที่ 045 353 301 [email protected]

3 ลัพธวรรณ วงศบุญ รองหัวหนาสํานักงานเลขานุการ และการเงิน

045 353 303 [email protected], [email protected]

4 เพลินพิศ สกุลพงษ 045 353 303 [email protected]

5 สมพร เกษอรุณศรี การเงิน

045 353 305 [email protected]

6 สุมาลินี จิตรสายไหม

หนวยพัฒนาระบบขอมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

045 353 305 [email protected]

7 วัชราภรณ จันทรกาญจน ประกันคุณภาพ 045 353 381 [email protected]

8 ปาริชาติ สุรมาตย 045 353 304 [email protected]

9 ยุพิน ทองไทย นโยบายและแผน

045 353 304 [email protected]

59

ตารางที่ 46 บุคลากรสังกัดสํานักงานเลขานุการ (ตอ)

ลําดับ ช่ือ – สกุล งาน โทรศัพท E-mail

10 รุจิรา โชคสวัสดิ์ 045 353 301 [email protected]

11 เฉลิมพร แสนทวีสุข 045 353 300 [email protected]

12 สมใจ อรรคฮาต 045 353 301 [email protected]

13 แสวง กุคํารักษ

สารบรรณ

045 353 301 -

14 สมชาย อรรคฮาต 045 353 302 [email protected]

15 วิลาวัลย ซึมเมฆ 045 353 302 [email protected]

16 ผสม สุคนนท

พัสดุ

045 353 302 [email protected]

17 ประจันบาน ออนสนิท 045 353 313 [email protected]

18 ณรงคฤทธิ์ มาจันทร

บริการคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย 045 353 313 [email protected]

19 สยุมพร บุญไชย บริการสารสนเทศทางวิศวกรรม

045 353 314 [email protected]

20 ไตรภพ มั่นคง เทคโนโลยีทางการศึกษา 045 353 369 -

21 ประณิธาน สุวรรณธาดา ผลิตเอกสาร 045 353 369 -

22 ธิติกานต บุญแข็ง 045 353 319 [email protected]

23 อรอนงค วงศชมภู สงเสริมการวิจัย

045 353 319 [email protected]

24 ปาริชาติ แสนทวีสุข บัณฑิตศึกษา 045 353 320 [email protected]

25 กองภพ โคตรภัทร ยานพาหนะ 045 353 302 -

26 อนันต รักษาผล 045 353 315 [email protected]

27 คอยจิตร นครราช พัฒนาวิชาการ

045 353 315 [email protected]

28 ดวงมณี สิทธิธรรม 045 353 316 [email protected]

29 เฉลิมชัย ไชยกาล กิจการนักศึกษา

045 353 316 -

30 ทัชพงศ สิทธิจนัทร 045353 365 -

31 สนั่น จรรยากรณ 045 353 365 [email protected]

32 สมร พัฒนพันธ

ซอมบํารุง

045 353 365 [email protected]

33 ทองใบ ศุภกร - -

34 สีนวล แกวสิงห - -

35 สมพงษ จําปาพันธ - -

36 โอภาส ทะวงษา

ภูมิทัศน

- -

60

ภาคผนวก กิจกรรมคณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2552

11 มิถุนายน 2552 นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ทุกสาขาวชิา จัดพิธีไหวครู

25 มิถุนายน 2552 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส จัดปฐมนเิทศนักศึกษาใหม(ช้ันปที่ 2)ของภาควิชา

18-19 มิถุนายน 2552 คณะกรรมการตรวจประเมนิคุณภาพภายใน ประจําปการศึกษา 2551 นําโดย รศ.ณรงค อยูถนอม ตรวจประเมนิการประกันคณุภาพของคณะวิศวกรรมศาสตร

26 มิถุนายน 2552 สํานักงานเลขานุการ จัดปฐมนิเทศบุคลากรใหม

61

1 6 -1 7 ก ร ก ฎ า ค ม 2552 หนวยสนับสนุนการวิจัยฯ จัดโครงการบริการวิชาการ “เทคนิคการเขียนเสนอโครงการวิจัยใหสัมฤทธิ์ผล”

16 กรกฎาคม 2552 ผูบริหารและบุคลากร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ศึกษาดูงานดานแนวนโยบายและแผนการดําเนินงานของคณะวิศวกรรมศาสตร

21 กรกฎาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร จัดกิจกรรมนักศึกษาพบอาจารยที่ปรึกษา

22 กรกฎาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร ตอนรับผูแทนจาก Japan Overseas Development Corporation :JODC ในการหารือและจัดทําความตกลงในการอบรมพัฒนานักศึกษาหลักสูตร “Getting to Know Japan”

62

24 กรกฎาคม 2552 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา เชิญวิทยากรจากภาคเอกชนบรรยายพิเศษ เร่ือง “นวัตกรรมดานคอนกรีตและปูนซีเมนต”

28 กรกฎาคม 2552 สํานักงานเลขานุการ จัดกิจกรรมสอนการใชโปรแกรมรับสงเอกสาร Easy document

5 สิงหาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร จัดอบรมเรื่อง “การประยุกตความรูทางวิศวกรรมในการทํานุบํารุงโบราณและโบราณวัตถุ”

5 สิงหาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร ตอนรับผูแทนจาก Japan Overseas Development Corporation :JODC ในการหารือรายละเอียดการอบรมพัฒนานักศึกษาหลักสูตร “Getting to Know Japan”

63

6 สิงหาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร ตอนรับนักศึกษาจากประเทศเกาหลีใตในการศึกษาดูงานระบบการเรียนการสอนสาขาวิศวกรรมศาสตร

10 สิงหาคม 2552 สํานักงานเลขานุการ จัดกิจกรรม 5 ส.

14 สิ ง ห า ค ม 2552 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จัดบรรยายพิเศษสําหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมเครื่องกล เร่ือง “ระบบของเครื่องปรับอากาศ”

18 สิงหาคม 2552 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ จัดโครงการอบรมเรื่อง “การปองกันอัคคีภัย”

64

19 สิงหาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร ตอนรับ รศ.ดร.เอกชัย แสงอินทร คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2551

20-21 สิงหาคม2552 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จัดโครงการบริการวิชาการ เร่ือง “การเสริมสรางประสิทธิภาพการใชน้ําทางการเกษตร รุนที่2”

20 สิ ง ห า ค ม 2552 ศูนยฝกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีทางวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร จัดบริการทางวิชาการเร่ือง “การประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการวิเคราะหและออกแบบโครงสราง รุนที่ 2”

2 7 สิ งหาคม 2 5 5 2 คณะวิศวกรรมศาสตร รวมกับ Japan Overseas Development Corporation :JODC และบริษัท Thai

Toyo Densan จํากัด เปดการอบรมพัฒนานักศึกษาหลักสูตร “Getting to Know Japan”

65

27 สิงหาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตรจัดอบรมการปรับปรุงบุคลิกภาพและแนะแนวเทคนิคการสมัครงานแกนักศึกษา

2 8 สิ งหาคม 2 5 5 2 ภาควิชาวิศวกรรมโยธาจัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ จาก CPAC เร่ือง Technology concrete

สิ ง ห า ค ม 2 5 5 2สํานักงานเลขานุการ คณะวิศวกรรมศาสตร จัดโครงการสงเสริมสุขภาพโดยการเตนแอโรบิค

12 สิงหาคม 2552 คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร นํานักศึกษาและบุคลากรรวมพิธีจุดเทียนชัยถวายพระพรสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 2552

66

1 กันยายน 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร จัดทําบุญประจําปเพื่ออุทิศสวนกุศลแด รศ.อุทิศ หิมะคุณ คณบดีผูกอตั้ง นักศึกษาและบุคลากรที่เสียชีวิต

11-14 กันยายน 2552 คณะวิศวกรรมศาสตรรวมกับ บริษัท บริดจสโตน จํากัด จัดคายสานฝน บริดจสโตน 2552

14 กันยายน 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร ใหการตอนรับ ศาสตราจารย ดร.Slack ผูเชี่ยวชาญดานปฐพีจากสหรัฐอเมริกา ในการถายทอดประสบการณดานการวิจัยแกคณาจารยของคณะ

17 กันยายน 2552 รวมงานมุทิตาจิตผูเกษียณอายุราชการ รศ.ดร.วรพงษ สุริยภัทร(คณะเกษตรศาสตร) และ อ.อรุณี ยี่ทอง(คณะศิลปศาสตร)

67

18 กันยายน 2552 ภาควิชาวิศวกรรมโยธาจัดบรรยายพิเศษแกนักศึกษา เร่ือง “คอนกรีตพรุนและGEOPOLYMER”

18 กันยายน 2552 ศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการการจัดการสิ่งแวดลอมของเสียอันตราย ศูนยเครือขาย มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดสัมมนาทางวิชาการ เร่ือง “ของเสียอันตรายที่เกิดจากกระบวนการผลิต กรณีศึกษา การกลั่นทินเนอรใชแลว”

18 กันยายน 2552 นักศึกษาสาขาวิศวกรรมไฟฟา รับรางวัล M150 IDEOLOGY 2009

14 ตุลาคม 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร ตอนรับนักเรียนคายวิชาการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2552

68

12-16 ตุลาคม 2552 คายนักอิเล็กทรอนิกสรุนเยาว (e- CAMP) 2552

13 พฤศจิกายน 2552 บริษัท อีซูซุ มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด รับสมัครงาน

23 พฤศจิกายน 2552 สอบสัมภาษณนักศึกษาโควตา

25 พฤศจิกายน 2552 บริษัท อีซูซุ (ประเทศไทย) จํากัด มอบทุนการศึกษาและรับสมัครงาน

25 พฤศจิกายน 2552

69

หนวยกาชาดจังหวัดอุบลราชธานีใชสถานที่ คณะวิศวกรรมศาสตร รับบริจาคโลหิต

25 พฤศจิกายน 2552 คณะวิศวกรรมศาสตร จัดกิจกรรม KM เร่ือง “การจัดทําเว็บเพจอยางงาย”

26 พฤศจิกายน 2552 ตอนรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เยี่ยมชมการจัดการเรียนการสอนสาขาวิศวกรรมศาสตร

3 ธันวาคม 2552 ใหความอนุเคราะหชมรมพุทธศาสน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจัดกิจกรรมถวายสังฆทานวันพอแหงชาติ

16 ธันวาคม 2552 เจาหนาที่ จาก IRPUS สัมภาษณนักศึกษาเพื่อคัดเลือกโครงการและสนับสนุนทุนวิจัย

70

22 ธันวาคม 2552 นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร รับทุนการศึกษาจากการปโตรเลียมแหงประเทศไทย

11 ธันวาคม 2552 ผศ.ดร.แสวง วัชระธนกิจ คณะเภสัช-ศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มอบทุนการศึกษาแกนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร

21 ธันวาคม 2552 แสดงความยินดีกับบัณฑิตวิศวกรรมศาสตรเนื่องในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจําปการศึกษา 2551

8 มกราคม 2553 กิจกรรมทําบุญเลี้ยงพระ แขงขันกีฬา และปใหม 2553

14-15 มกราคม 2553

71

ศูนยฝกอบรมและถายทอดเทคโนโลยีทางวิศวกรรมจัดอบรมเรื่อง “การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก”

14 มกราคม 2553 บริษัท TS Tech จํากัด รับสมัครงาน

18-20 มกราคม 2553 คณะวิศวกรรมศาสตร จัดบริการทางวิชาการตามโครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารไทย ประจําป 2553

19 มกราคม 2553 คณะวิศวกรรมศาสตรจัดอบรมเรื่องกรอบคุณวุฒิมาตรฐานระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2552(TQF) แกคณาจารยของคณะ

20 มกราคม 2553 สํานักงานเลขานุการ จัดถายทอดความรูเร่ืองการใชโปรแกรมการเงินแกบุคลากรสายสนับสนุน

72

22-23 มกราคม2553 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี จัดบรรยายพิเศษแกนักศึกษา เร่ือง Six Sigma สําหรับใชในโรงงานอุตสาหกรรม

22 มกราคม 2553 บริษัท ไพโอเนียร (ประเทศไทย) จํากัด รับสมัครงาน

2 กุมภาพันธ 2553 สํานักงานเลขานุการ จัดอบรมถายทอดความรูเร่ือง “การจัดทําแบบสอบถามและการวิเคราะหขอมูลเพื่อการพัฒนาหนวยงาน”

5 กุมภาพันธ 2553 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จัดบรรยายพิเศษโดย อ.ยอดเยี่ยม เทพธรานนท ผูทรงคุณวุฒิดานสถาปตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม

73

9 กุมภาพันธ 2553 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จัดบรรยายพิเศษเรื่อง “การจัดการและเทคนิคการกอสราง” โดย คุณปริญญา ศุภศรี

9 กุมภาพันธ 2553 การเลือกตั้งนายกสโมสรนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร

11 กุมภาพันธ 2553 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลจัดพิธีทําบุญเลี้ยงพระ

16 กุมภาพันธ 2553 นักศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมีและชีวภาพ นําเสนอการจัดทําโครงงานนักศึกษา

16 กุมภาพันธ 2553

74

งานกิจการนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตรจัดอบรมระเบียบราชการที่เกี่ยวของกับการทํากิจกรรม แกคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร

23กุมภาพันธ 2553 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา จัดอบรมการใชโปรแกรมไมโครซอฟทโปรเจคแกนักศึกษาสาขาวิศวกรรมโยธา โดย ผศ.ดร.วชรภูมิ เบญจโอฬาร

25 กุมภาพันธ 2553 เจาหนาที่ จาก Japan Overseas Development Corporation :JODC สัมภาษณผูบริหารคณะเพื่อติดตามประเมินผลโครงการรอบรมพัฒนานักศึกษาหลักสูตร “Getting to Know Japan”

25 กุมภาพันธ 2553 ผูบริหาร Japan Overseas Development Corporation :JODC รวมพิธีปดการอบรมและมอบประกาศนียบัตรพัฒนานักศึกษาหลักสูตร “Getting to Know Japan” แกนักศึกษาที่ผานการอบรม

25 กุมภาพันธ 2553 บริษัท สหวิริยาโอเอ สตีล รับสมัครงาน

75

1 0 -1 2 กุ ม ภ าพั น ธ 2553 คณะวิศวกรรมศาสตร จัดงานวันเทคโนโลยีทางวิศวกรรม ประจําป 2553 (EN TECH DAY 2010)

2 มีนาคม 2553 คณะวิศวกรรมศาสตร ตอนรับผูบริหารและเจาหนาที่ บริษัท สยามคอมเพรสเซอรอุตสาหกรรม จํากัด

4 -5 มี น าคม 2 5 5 3 คณะวิศวกรรมศาสตรจัดอบรมเรื่อง ISOTS ระบบบริหารคุณภาพอุตสาหกรรมยานยนต

4 มี น า ค ม 2 5 5 3 ผูบริหารและบุคลากรคณะนิติศาสตรศึกษาดูงานระบบประกันคุณภาพ

5 มีนาคม 2553 คณะ

76

วิศวกรรมศาสตรจัด อบรมหลักสูตร “ศิลปะการบริหารงานสําหรับผูบริหาร” วิทยากรโดย อ.จุลชัย จุลเจือ

1 7 มี น า ค ม 2 5 5 3 สํานักงานเลขานุการ จัดสัมมนาบุคลากรสายสนับสนุน

24-25 มีนาคม 2553 คณะวิศวกรรมศาสตร จัดประชุมวิชาการสิ่งแวดลอมแหงชาติ และ ประชุม Asian-Pacific Regional

conference on Practical Environmental Technologies (APRC) 2010 ณ โรงแรมสุนีย แกรนด แอนด คอนเวนชั่น จ.อุบลราชธานี

2 เมษายน 2553 คณะวิศวกรรมศาสตรจัดประชุมเตรียมความพรอมจัดคายสะพานสานฝนเยาวชนนักประดิษฐ ป 2553

7 เมษายน 2553 กิจกรรมรดน้ําดําหัวและประเพณีสงกรานต 2553

77

1-8 พฤษภาคม 2553 คณะวิศวกรรมศาสตร เปนฝายดําเนินการจัดการแขงขันกีฬาวายน้ํา และบาสเก็ตบอล ในกีฬาบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาครั้งที่ 29 ประจําป 2553 “กันเกราเกมส”

12-14 พฤษภาคม 2553 คณะวิศวกรรมศาสตรเปนเจาภาพจัดการประชุมวิศวกรรมโยธาแหงชาติ คร้ังที่ 15 ประจําป 2553 ณ โรงแรมสุนีย แกรนด แอนด คอนเวนชั่น จ.อุบลราชธานี

12 พฤษภาคม 2553 คณะวิศวกรรมศาสตร สอบสัมภาษณนักศึกษาในระบบ Admission และจัดกิจกรรมแนะนํานักเรียนและผูปกครองในการเรียนตอที่ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

18-19 พฤษภาคม 2553 สัมมนาอาจารย ผูบริหาร ที่ปรึกษาภาคประชาชนและครูแนะแนวในเขตพื้นที่บริการ ณ โรงแรมแกงสะพือ ริเวอรไซด อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี

78

24 พฤษภาคม 2553 จัดปฐมนิเทศผูปกครองของนักศึกษาใหม คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2553

26 พฤษภาคม 2553 ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2553

29 พฤษภาคม 2553 นักศึกษาใหม คณะวิศวกรรมศาสตร รวมกิจกรรมตอนรับนองใหมสู มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในกิจกรรมเดินสูวัดหนองปาพง

79

ที่ปรึกษา

รศ.ดร.สถาพร โภคา คณบดีคณะวศิวกรรมศาสตร

ผศ.ดร.นท แสงเทียน รองคณบดีฝายบริหาร

ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ วังไพศาล รองคณบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ

ผศ.ดร.สุขอังคณา ลี รองคณบดีฝายวิชาการ

ผศ.ดร.อดุลย จรรยาเลิศอดุลย รองคณบดีฝายกิจการนักศกึษาและกจิการพิเศษ

อาจารยตะวันฉาย โพธิ์หอม รองคณบดีฝายประกันคุณภาพ

ผศ.ดร.นุชสรา เกรียงกรกฎ รองคณบดีฝายบัณฑิตศึกษา

รวบรวม วิเคราะห และเรียบเรียง

นางปาริชาติ สุรมาตย

แหลงขอมูล

สํานักงานเลขานุการ คณะวศิวกรรมศาสตร

หนวยงานที่รับผิดชอบ

งานนโยบายและแผน คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

เลขที่ 85 ถนนสถลมารค อําเภอวารินชาํราบ จังหวัดอุบลราชธาน ี34190

โทรศัพท 045 353 300 โทรสาร 045 353 333

http://www.eng.ubu.ac.th