262
วารสารวิจัยทางการศึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Journal of Educational Research Faculty of Education, Srinakharinwirot University ปที8 ฉบับที1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 เจาของ : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาระการออก : ราย 6 เดือน ปการศึกษาละ 2 ฉบับ (ตุลาคมมกราคม, กุมภาพันธ กรกฏาคม) จํานวนฉบับละ : 200 เลม พิมพที: สํานักงานคณบดี คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วัตถุประสงค : เพื่อเปนสื่อกลางการเผยแพรผลงานวิจัย บทความวิชาการ พัฒนาทางสหสาขาวิชา เชน ศึกษาศาสตร สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เปนการบูรณาการนโยบายทางการศึกษา การเรียนการสอนและ บริการวิชาการแกชุมชน เปนตน วารสารฯ รับตีพิมพบทความวิจัย และบทความวิชาการ โดยที่บทความดังกลาวจะ ตองไมเคยเสนอ หรือกําลังเสนอตีพิมพในวารสารวิชาการใดมากอน คณะกรรมการที่ปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.ประพันธศิริ สุเสารัจ คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศาสตราจารย ดร.อารี สัณฉวี ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศาสตราจารย ดร.เสริมศักดิวิศาลาภรณ ราชบัณฑิตสถาน รองศาสตราจารย ดร. คมเพชร ฉัตรศุภกุล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ดร.รุงทิวา แยมรุรองคณบดีฝายวิชาการคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บรรณาธิการ รองศาสตราจารย ดร.สิริมา ภิญโญอนันตพงษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กองบรรณาธิการ ศาสตราจารยศรียา นิยมธรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย ดร.มนตรี แยมกสิกร มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย ดร.ฉลอง ทับศรี มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย ดร.ศิษฎธวัช มั่นเศรษฐวิทย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา รองศาสตราจารย ดร.รสสุคนธ มกรมณี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รองศาสตราจารย ดร.สมาน อัศวภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี รองศาสตราจารย ดร.ชวนชัย เชื้อสาธุชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รองศาสตราจารย ดร.สุนีย เหมะประสิทธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

ก วารสารวิชาการศึกษาศาสตร : ปที่ 12 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2554

วารสารวิจัยทางการศึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Journal of Educational Research Faculty of Education, Srinakharinwirot University ปที่ 8 ฉบับที ่1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

เจาของ : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วาระการออก : ราย 6 เดือน ปการศึกษาละ 2 ฉบับ (ตุลาคม–มกราคม, กุมภาพันธ–กรกฏาคม) จํานวนฉบับละ : 200 เลม พิมพท่ี : สํานักงานคณบดี คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วัตถุประสงค : เพื่อเปนส่ือกลางการเผยแพรผลงานวิจัย บทความวิชาการ พัฒนาทางสหสาขาวิชา เชน ศึกษาศาสตร สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เปนการบูรณาการนโยบายทางการศึกษา การเรียนการสอนและบริการวิชาการแกชุมชน เปนตน วารสารฯ รับตีพิมพบทความวิจัย และบทความวิชาการ โดยท่ีบทความดังกลาวจะ ตองไมเคยเสนอ หรือกําลังเสนอตีพิมพในวารสารวิชาการใดมากอน

คณะกรรมการท่ีปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.ประพันธศิริ สุเสารัจ คณบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศาสตราจารย ดร.อารี สัณฉวี ขาราชการบาํนาญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศาสตราจารย ดร.เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ ราชบัณฑิตสถาน รองศาสตราจารย ดร. คมเพชร ฉัตรศุภกุล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ดร.รุงทิวา แยมรุง รองคณบดีฝายวิชาการคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

บรรณาธิการ รองศาสตราจารย ดร.สิริมา ภญิโญอนันตพงษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

กองบรรณาธิการ ศาสตราจารยศรียา นิยมธรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย ดร.มนตรี แยมกสิกร มหาวิทยาลัยบรูพา รองศาสตราจารย ดร.ฉลอง ทับศรี มหาวิทยาลัยบรูพา รองศาสตราจารย ดร.ศิษฎธวชั มั่นเศรษฐวิทย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา รองศาสตราจารย ดร.รสสุคนธ มกรมณ ี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รองศาสตราจารย ดร.สมาน อัศวภูม ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุลราชธานี รองศาสตราจารย ดร.ชวนชัย เชื้อสาธุชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุลราชธานี ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมชาย วรกิจเกษมสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รองศาสตราจารย ดร.สุนีย เหมะประสิทธิ ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 2: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

ข  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ดร.อรรณพ โพธิสุข มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.วรวุฒิ สุภาพ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.ณัลลิกา โตจินดา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.สุวิมล กฤชคฤหาสน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผูทรงคุณวุฒปิระเมินบทความลงวารสารวิจัยทางการศึกษา ศาสตราจารย ดร.ผดุง อารยะวิญู มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต รองศาสตราจารย ดร.คมเพชร ฉัตรศุภกุล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย ดร.ดารณี ศักด์ิศิริผล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย ดร.ธีรพล เทพหัสดิน ณ อยุธยา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง รองศาสตราจารย ดร.บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารย ดร.รสสุคนธ มกรมณ ี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รองศาสตราจารย ดร.สมชาย ชูชาติ 80/876 ม.5 ต.บางเมืองใหม อ.เมือง จ.สมุทรปราการ รองศาสตราจารย ดร.สมาน อัศวภูม ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุลราชธานี รองศาสตราจารย ดร.สุทธิวรรณ พีรศักด์ิโสภณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย ดร.สุนีย เหมะประสิทธิ ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองศาสตราจารย ดร.อัจฉรา วัฒนาณรงค 77 ซ.97 ถ.จรัลสนิทวงศ แขวงบางพลัด เขตบางพลัด

กรุงเทพฯ 10700 รองศาสตราจารย ดร.อารี พันธมณ ี มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รองศาสตราจารยเฉลียวศรี พบิูลชล 9 ซอยนาคนิวาส 37 แยก 1-2 ถนนนาคนิวาส แขวง

ลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 รองศาสตราจารยชวนชัย เชื้อสาธุชน สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี รองศาสตราจารยนิภา ศรีไพโรจน มหาวิทยาลัยศรีปทุม รองศาสตราจารย ดร.บุญเรียง ขจรศิลป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รองศาสตราจารย ดร.สิริมา ภิญโญอนันตพงษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิศมัย รัตนโรจนสกุล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศิริพันธ ศรีวันยงค มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อดิศักด์ิ สิงหสีใจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ดร.ฉวีวรรณ เศวตมาลย 4 ซอยออนทามระ 32 ถนนสุทธิสาร ดินแดง

กรุงเทพฯ 10400 ดร.ชนิดา ตังเดชะหิรัญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.ปณณวิชญ ใบกุหลาบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพบิูลสงคราม ดร.ปยรัตน ดรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 3: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 ค

ดร.ไพรัช วงศยุทธไกร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.ราชันย บญุธิมา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดร.ศุภลักษณ สินธนา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดร.อรรณพ โพธิสุข มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผูประสานงาน นางสาวอรวรานันท คิดประเสริฐ

สํานักงาน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 สุขมุวิท 23 เขตวฒันา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2649-5000 ตอ 15509 โทรสาร : 0-2260-0124 ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส: [email protected] ผูสนใจสามารถคนหาไดใน http://edu.swu.ac.th/

Page 4: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

ง  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

บรรณาธิการแถลง การวิจัยทางการศึกษา ถือไดวาเปนแนวทางสําคัญในการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทย เพราะการวิจัยเปนกระบวนการแสวงหาความรูท่ีเปนระบบเพื่อใหไดมาซึ่งองคความรู นวัตกรรมท่ีสามารนําไปใชในการวางแผนปฏิบัติ ปรับปรุงการทํางานใหมีประสิทธิภาพ การวิจัยเปนงานสรางสรรคท่ีผานการคิดคนศึกษาคนความาอยางลึกซึ้ง ผลท่ีไดจากการวิจัยนําไปสูการสรางและพัฒนาการสรางปญญา อีกท้ังเปนการเปดโลกทัศนใหมและขยายพรมแดนของความรูท่ีสามารถนําไปประยุกตใชได ท้ังในเชิงวิชาการและเชิงนโยบาย การพัฒนานวัตกรรมดานการวิจัยและกระบวนการเรียนรูท่ีกอใหเกิดปญญาถือเปนพันธกิจหลักของคณะศึกษาศาสตร ท่ีสงเสริมและพัฒนาคุณภาพงานวิจัยทางการศึกษาใหกาวสูระดับสากล วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ฉบับท่ี 1 เดือน กันยายน 2556 ไดพิมพเผยแพรเปน ปท่ี 8 เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหคณาจารย นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา นักวิชาการท่ีปฏิบัติงานดานการศึกษาตลอดจนนิสิตนักศึกษาในสถาบันอื่นไดมีโอกาสเผยแพรผลงานวิจัย กองบรรณาธิการขอขอบพระคุณผูเขียนบทความทุกทานท่ีสงบทความมาใหพิจารณาลงตีพิมพ ผูทรงคุณวุฒิในการพิจารณาบทความท่ีไดตรวจ และใหขอคิดเห็นในการปรับปรุงแกไขบทความใหมีความถูกตอง และทันสมัยตามหลักวิชาการ และขอขอบคุณคณะกรรมการที่ปรึกษาวารสารวิจัยทางการศึกษา คณะกรรมการวิจัย คณะศึกษาศาสตร ตลอดจนผูเก่ียวของทุกฝายท่ีสนับสนุนการจัดทําวารสารฉบับน้ีใหเสร็จสมบูรณดวยดี และหวังเปนอยางย่ิงวาผูอานจะไดรับประโยชนอยางเต็มท่ีในเนื้อหาสาระของวารสารน้ี

(รองศาสตราจารย ดร.สิริมา ภิญโญอนันตพงษ) บรรณาธิการ

Page 5: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 จ

สารบัญ ทความวิชาการ แนะนําหนังสือ

บทความวิจัย ผลการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณที่มีตอการพัฒนาทักษะส่ือสารของนิสิตปริญญาตรี จิตตภิญญา ชุมสาย ณ อยุธยา 1 – อาจารยประจําสํานักนวัตกรรมการเรียนรู มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การศึกษาความสามารถดานการอาน คิดวิเคราะหและเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับ การสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ จินตนา นักบุญ 14 – อาจารยประจําโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) การสรางแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จุฑามาศ ชอคง 23 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานช้ันประถมศึกษาปที่ 3 ชนิดา มิตรานันท 37 – นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ชื่อเร่ือง: การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการ เรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ณัฐา เพชรธนู 55 – นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การสรางชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ วิชางานชางพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ทวีศิลป พรมสุวรรณ 71 – อาจารยประจําโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม)

Page 6: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

ฉ  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

บทความวิจัย การสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิดที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร และความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ธนลาวัณย เพียรคา 79 – อาจารยประจําวิชาวิทยาศาสตร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ฝายมัธยม) คุณลักษณะของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ธันยพร โรจนสังวร 87 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรามคําแหง นวรัตน โฉมงาม 104 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ปาจรียพร สีตะธนี 122 – นักศึกษาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร เร่ือง การวัดความยาว และการช่ัง ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู ภาณุมาส เศรษฐจันทร 133 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถการใหเหตุผล ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ระพีพัฒน แกวอ่ํา 144 – อาจารยประจํากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ฝายประถม) การประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน กรณีศึกษาศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงหนึ่งใน ภาคตะวันออก รัฐพงศ สีแสด 152 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ขาราชการครู ตําแหนง ครูคศ.1 โรงเรียนปราจิณราษฎรอํารุง

Page 7: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 ช

บทความวิจัย การพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิดของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 วรรณิสา แตงทรัพย 162 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ขาราชการครู ตําแหนง ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา สภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ตามความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารยและนักศึกษา ศิวพร ใจตุย 171 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การพัฒนารูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นิตย โรจนรัตนวานิชย/สรภัคสรณ ฉัตรกมลทัศน 190 – อาจารยประจํา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุทธิพงษ พลอยสด 201 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต ภาคการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อภิโชติ เกตุแกว 212 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การสังเคราะหงานวิจัยเร่ืองปจจัยที่มีความเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู ดร.อาพัทธ เตียวตระกูล/ชนัดดา ภูหงษทอง 224 – อาจารยประจําภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ืองความนาจะเปนที่มีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คณิตศาสตร ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิดและความมีวินัยในตนเอง ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 อําภารัตน ผลาวรรณ 239 – นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 8: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

ซ  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

แนะนําหนังสือนาอาน หนังสือ “วจนะของมหาตมะคานธี”

แปลและเรียบเรียงโดย ... ศ.ดร. จํานงค อดิวัฒนสิทธิ ์

หนังสือ “วจนะของมหาตมะคานธี” บันทึกชีวิตจากใจมหาบุรุษผูใชพลังแหงอหิงสาธรรมในการตอสูเพื่ออิสรภาพเรียบเรียงจากขอเขียนและคําพูดของมหาตมะคานธี ในแตละชวงอายุและหลากหลายแงคิด หนังสือเลมน้ีท่ีแสดงใหเห็นถึงสัจธรรมอันเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตในความไววางใจ การใหเกียรติกันและกัน และในทางการเมืองของมหาตมะ คานธีไวอยางนาสนใจ

Page 9: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 1

 

ผลการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณที่มีตอการพัฒนาทักษะส่ือสาร ของนิสิตปริญญาตรี

THE EFFECTS OF EXPERIENTIAL LEARNING MANAGEMENT ON UNDERGRADUATE STUDENTS’ COMMUNICATION SKILLS DEVELOPMENT

ผูวิจัย จิตตภิญญา ชุมสาย ณ อยุธยา1 Jitpinya Choomsai na Ayuthaya

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะส่ือสารของนิสิตปริญญาตรีท่ีไดรับการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 ท่ีลง ทะเบียนเรียนรายวิชา มศว 251 มนุษยกับสังคม ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2554 กลุมตัวอยางประกอบ ดวย นิสิตกลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพจากคณะพยาบาลศาสตร จํานวน 107 คน กลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจากคณะวิทยาศาสตร จํานวน 106 คน และกลุมสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรจากคณะมนุษยศาสตร จํานวน 106 คน รวมท้ังส้ิน 319 คน ไดรับการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณเปนเวลา 15 สัปดาห สัปดาหละ 4 คาบ คาบละ 50 นาที เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ มีคาประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 และแบบสอบถามเพื่อการวิจัยเร่ือง การศึกษาอัตลักษณดานการมีทักษะส่ือสารของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 มีคาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับนิยามเทากับหรือมากกวา .75 และมีคาความ เชื่อมั่นเทากับ .77 การวิจัยคร้ังน้ีใชแผนการทดลองแบบศึกษากลุมเดียววัดหลังการทดลอง (One-shot case study design) สถิติท่ีใชวิเคราะหขอมูลคือ One-sample t-test

ผลวิจัย ผลการวิจัยคร้ังน้ีพบวา ภายหลังการเรียนรู

นิสิตทุกกลุมสาขาวิชามีทักษะส่ือสารโดยรวม และรายดาน จํานวน 4 ดาน ไดแก ดานความสัมพันธระหวางบุคคล การพูด การเขียน และการฟงอยูในระดับดีอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05 สวนดานการอานพบวา อยูในระดับพอใชอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05 แสดงวาการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณสงเสริมใหนิสิตมีการพัฒนาทักษะส่ือสารดานความสัมพันธระหวางบุคคล การพูด การเขียน และการฟง คําสําคัญ : การจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ การพัฒนาทักษะส่ือสาร นิสิตปริญญาตรี ABSTRACT

The purpose of this research was to study the levels of undergraduate students’ communication skills development after experiential learning management. The sample used in the study was 319 first year undergraduate students in the subject class of Man and Society (SWU 251) during the second semester of academic year 2011 composed of 107 Health Science students from the

1อาจารยประจําสํานักนวัตกรรมการเรียนรู มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 10: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

2  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

Nursing Faculty, 106 Sciences and Technology students from Sciences Faculty and 106 Social Sciences and Humanities students from Humanities Faculty. The experiment was carried out within 15 week. Each week composed of 4 periods (1 period = 50 minutes).The instruments included a plan of experiential learning management that had the efficiency level higher than criterion 80/80 and the questionnaire with the item objective congruence index equal or above .75, the reliability of .77. The research followed the one- shot case study design and the data were analyzed by using One- group sample t-test.

The result of the research revealed that the first year undergraduate students’ communication skills from every academic group after the experiential learning in overall and individual aspect as interpersonal skill, speaking skill, writing skill, and listening skill were at good level with significantly level of p<.05 while reading skill was at fairy level with significantly level of p<.05. These showed that the experiential learning management plan could promote the undergraduate students’ communication skills as interpersonal skill, speaking skill, writing skill, and listening skill. Keywords : Experiential Learning Management Communication Skills Development Undergraduate Students

บทนํา ทักษะส่ือสารจัดวามีความสําคัญมากในสังคม

ท่ีเทคโนโลยีการส่ือสารมีความเจริญกาวหนา ซึ่งสมาชิกในสังคมสามารถติดตอส่ือสารระหวางกันไดอยางรวดเร็วโดยไมมีขอจํากัดดานเวลาและสถานท่ีดวยวิธีการส่ือสารท่ีหลากหลาย ผูท่ีมีทักษะส่ือสารท่ีดีจึงมีโอกาสมากข้ึนในการใชความสามารถทางการส่ือสารท้ังการฟง การพูด การอาน การเขียน และดานความสัมพันธระหวางบุคคลใหเกิดประโยชนตามศักยภาพของตนสําหรับใชเปนเคร่ืองมือในการเรียนรู การประกอบอาชีพ ตลอดจนการอยูรวมกับผูอื่นในสังคมอยางเปนสุข ทักษะส่ือสารจึงเปนเร่ืองจําเปนท่ีสถาบันการศึกษาตองใหความสําคัญและพัฒนาฝกฝนผูเรียนเพื่อเปนการเตรียมความพรอมสําหรับการดําเนินชีวิตในอนาคต ซึ่งกรอบความคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษ ท่ี 21 ไดจัดใหทักษะส่ือสารเปนหน่ึงในทักษะดานการเรียนรูและการคิด โดยเสนอวาการส่ือสารท่ีมีประสิทธิผลตองหมายรวมถึง การทํางานเปนทีม ความรวมมือ การปฏิสัมพันธระหวางบุคคล ความรับผิดชอบตอตนเอง ตอสังคม ความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง (คริส. 2554: 119-121)

การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยไดใหความสําคัญในการพัฒนาทักษะส่ือสารใหแกนิสิตโดยกําหนดใหทักษะส่ือสารเปนหน่ึงในมาตรฐานผลการเรียนรูคุณวุฒิระดับปริญาตรีตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (สํานักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา. 2552: 10) ซึ่งมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒก็ไดใหความสําคัญ และกําหนดใหการมี ทักษะ ส่ือสาร ถือ เปนอัต ลักษณ นิ สิตโดยมีคําอธิบายวา การมีทักษะส่ือสารหมายถึงมีความสามารถ 3 ดาน ประกอบดวย ความสามารถใชภาษาส่ือสาร ไดเขาใจ

Page 11: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 3

 

การจัดการเรียนรู แบบเนนประสบการณ

ทักษะสื่อสาร 1.ทักษะดานความสัมพันธระหวางบุคคล 2.ทักษะดานการฟง 3.ทักษะดานการอาน 4.ทักษะดานการพูด 5.ทักษะดานการเขียน

ชัดเจน ความสามารถในการถายทอดขอมูลความรู และความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนทศเพื่อการส่ือสาร (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.2556. ออนไลน)

ในฐานะผูสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปไดตระหนักวา ควรมีการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะส่ือสารใหนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒต้ังแตชั้นปท่ี 1 เพื่อเปนการตรียมความพรอม และมีลักษณะพึงประสงคตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ประกอบกับผลการศึกษาอัตลักษณนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒชั้นปท่ี 1 ก็ไดพบวา การมีทักษะส่ือสารเปนองคประกอบท่ีมีคานํ้าหนักความสําคัญมากท่ีสุด แตนิสิตมีทักษะดานน้ีอยูในลําดับ 8 จากจํานวนอัตลักษณท้ัง 9 ดาน (จิตตภิญญา. 2554: 71) เน่ืองจากการจัด การเรียนรูเพื่อการพัฒนาทักษะตางๆ น้ันจําเปนตองใหผูเรียนไดฝกฝนตนเองดวยการปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ ผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะจัดกระบวนการเรียนรูท่ีใหโอกาสแกนิสิตไดเรียนรูจากประสบการณตรง เปนการเรียนรูในแบบท่ีนิสิตไดลงมือปฏิบัติดวยตนเองมากกวารับฟงการบรรยายจากผูสอน ดังคํากลาวท่ีวาประสบการณเปนส่ิงท่ีสามารถเพิ่มพูนทักษะใหบุคคลไดโดยอัตโนมัติ และยังชวยเสริมสรางความเชี่ยวชาญในส่ิงท่ีปฏิบัติใหมากย่ิงขึ้น (Dewey. 1955:13) ซึ่งการเรียนรูจากการปฏิบัติน้ีถือไดวาเปนแนวคิดในการจัดการเรียนรูท่ียังคงความสําคัญสําหรับสถาบันการศึกษาทุกระดับมาจนถึงทุกวันน้ี ซึ่งเห็นไดจากแนวคิดในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 ไดอธิบายวา ยุทธศาสตรท่ีดีท่ีสุดในการเพิ่มขีดความสามารถคือการเรียนรูดวยการปฏิบัติ ซึ่งจะชวยใหผูเรียนสามารถนําผลท่ีไดจากการเรียนรูมาพัฒนาอยางตอเน่ือง ( ริชารด และรีเบ็กคา. 2554: 165) ดังน้ันผูวิจัยจึงนําแนวคิด เร่ืองการเรียนรูแบบเนนประสบการณ (Experiential Learning) (Kolb.

1984: 40-43) มาเปนแนวทางในการจัดกระบวน การเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะส่ือสาร ในวิชามศว 251 มนุษยกับสังคม ซึ่งมีเน้ือหาเก่ียวของกับการส่ือสารของของมนุษยในฐานะท่ีเปนสมาชิกของสังคม กรอบแนวคิดในการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ี มีกรอบแนวคิดในการศึกษาการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณเพื่อพัฒนาทักษะส่ือสารของนิสิตปริญญาตรี ดังน้ี

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ีมุงศึกษาผลการพัฒนาทักษะส่ือสารของนิสิตปริญญาตรีท่ีไดรับการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ สมมติฐานการวิจัย

นิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชา มศว 251 มนุษยกับสังคม ภาคการศึกษาท่ี 2/2554 ทุกกลุมสาขาวิชา ภายหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณแลวมีทักษะส่ือสารอยูในระดับดี

วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง

Page 12: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

4  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ประชากรที่ใชในการสุมตัวอยางคร้ังน้ีเปนนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคการศึกษาท่ี 2/2554 ท่ีลงทะเบียนศึกษารายวิชา มศว 251 มนุษยกับสังคม จํานวน 4,008 คน ทําการคัดเลือกกลุมตัวอยางโดยการสุมอยางงายดวยการจับสลาก ประกอบดวย กลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ ไดแก คณะพยาบาลศาสตร จํานวน 107 คน กลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดแก คณะวิทยาศาสตร จํานวน 106 คน และกลุมสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ไดแก คณะมนุษยศาสตร จํานวน106 คน รวมท้ังส้ิน 319 คน

ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรอิสระ ไดแก การจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ

ตัวแปรตาม ไดแก ทักษะส่ือสาร ประกอบดวย 1. ทักษะดานความสัมพันธระหวางบุคคล 2. ทักษะการฟง 3. ทักษะการอาน 4. ทักษะการพูด 5. ทักษะการเขียน

นิยามศัพทเฉพาะ

1. ทักษะการส่ือสาร หมายถึง ความสามารถของนิสิตปริญญาตรีในการเปนผู รับ และถายทอดขอมูลขาวสารเพื่อการติดตองานระหวางตนเองกับบุคคลอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยทักษะยอย 5 ดาน ประกอบดวย ความสัมพันธระหวางบุคคล การฟง การพูด การอาน และการเขียน ดังน้ี

1.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล หมายถึง การยอมรับลักษณะสวนตัวหรือลักษณะ เฉพาะของบุคคลตามที่เขาเปนพรอมท้ังใหเกียรติและ

เคารพในคุณคาของบุคคล ใหความเปนมิตรและความอบอุนใจ และเขาใจในความรูสึกของผูอื่นเสมือนเราเปนตัวเขา

1.2 ทักษะการฟงหมายถึง ความสามารถในการแยกแยะความแตกตางของเร่ืองท่ีฟง การจดจําส่ิงท่ีไดยินและขอความท่ีมีความหมาย การเขาใจเร่ืองราวท่ีฟงรวมถึงการเขาใจความหมายท่ีส่ือผานนํ้าเสียง สีหนา ทาทาง และลีลาการเลาของผูพูด การรับรูตออารมณหรือความสะเทือนใจท่ีปรากฏในการพูดหรือเร่ืองท่ีพูด การประเมินความถูกตอง นาเชื่อถือ คุณคาของสิ่งท่ีฟง รวมท้ังเจตนาท่ีซอนเรนของผูพูด ความมีเหตุผลหนักแนนเพียงพอ ความเปนกลางและเปดกวางรับขอมูลท่ีตางไปจากความเชื่อของผูพูด

1.3 ทักษะการอาน หมายถึง ความสามารถในการรับรูเน้ือหาสาระและรายละเอียดจากขอความ แผนภูมิ แผนภาพและตารางแบบตางๆ ไดอยางถูกตอง จดจําขอความ เร่ืองราว สาระท่ีไดอาน เขาใจเร่ืองราวท่ีอานไดตามส่ิงท่ีผูเขียนตองการบอก รูจักใชประโยชนจากวิธีนําเสนอ เชน การยอหนา การขีดเสนใต การตีกรอบ การพิมพตัวหนา ตัวเอน และเครื่องหมายตางๆ เพื่อชวยในการทําความเขาใจเร่ืองท่ีอาน การรับรูตออารมณหรือความสะเทือนใจท่ีปรากฏในขอความท่ีอาน การประเมินความถูกตอง นาเชื่อถือ คุณคาของส่ิงท่ีอาน รวมท้ังเจตนาท่ีซอนเรนของผูเขียน ความมีเหตุผลหนักแนนเพียงพอ ความเปนกลาง เปดกวางรับขอมูลท่ีตางไปจากความเชื่อของผูเขียน

1.4 ทักษะการพูด หมายถึง ความสามารถในการถายทอดความคิดดวยวาจาไดอยางชัดเจนวาพูดเพื่อถายทอดความคิดเก่ียวกับอะไรและเพื่ออะไร การจัดโครงสรางของส่ิงท่ีพูดไดอยางถูกตองและครบถวน การจัดลําดับความคิดของเร่ืองท่ีจะพูดไดอยางตอเน่ืองและสอดคลองกัน สามารถเลือกวิธีนําเสนอและสํานวน

Page 13: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 5

 

ภาษาใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคในการพูด รวมท้ังสามารถเรียบเรียงความคิดท้ังหมดแลวถายทอดออกมาเปนคําพูด และใชเทคนิคชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการนําเสนอความคิดดวย การพูด เชน นํ้าเสียง สีหนา ทาทาง จังหวะพูดตามท่ีเรียบเรียงไวเพื่อนําเสนอความคิดของตนออกมาตามลําดับตอเน่ือง ครอบคลุมประเด็นสําคัญ และ มีรายละเอียดครบถวน โดยใชวิธีท่ีเหมาะสม ทําใหผูฟงเกิดการสนองตอบตามท่ีผูพูดตองการ

1.5 ทักษะการเขียน หมายถึง ความสามารถในการถายทอดความคิดดวยตัวอักษรไดชัดเจนวาเขียนเพื่อถายทอดความคิดเก่ียวกับอะไรและเพื่ออะไร การจัดโครงสรางของส่ิงท่ีเขียนไดอยางถูกตองและครบถวน การจัดลําดับความคิดของเร่ืองท่ีจะเขียนไดอยางตอเน่ืองและสอดคลองกัน การเลือกวิธีนําเสนอและสํานวนภาษาใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคในการเขียน สามารถเรียบเรียงความคิดท้ังหมดแลวถายทอดออกมาเปนขอความได และสามารถใชเทคนิคชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการนําเสนอความคิดดวยการเขียน เชน การใชตัวอักษรลักษณะตางกัน การยอหนา การใชเคร่ืองหมาย การเนนความสําคัญดวยเสน รวมถึงการเขียนตามท่ีเรียบเรียงไวเพื่อนําเสนอความคิดของตนออกมาตามลําดับตอเน่ือง ครอบคลุมประเด็นสําคัญ และมีรายละเอียดครบถวน โดยใชวิธีท่ีเหมาะสม ทําใหผูอานเกิดการสนองตอบตามท่ีผูเขียนตองการ

2. การจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ หมายถึง การจัดกระบวนการเรียนรูท่ีใหความสําคัญกับการใหนิสิตลงมือปฏิบัติ ประกอบดวย 4 ขั้นตอน ไดแก การจัดประสบการณ/กิจกรรมการเรียนรูเชิงรูปธรรม การอภิปรายสะทอนความคิด การสรางความคิดรวบยอด และการนําความรูไปทดลอง/ประยุกตใช ซึ่งดําเนินการโดยจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการเขากับแผนการ

สอนวิชามศว 251 มนุษยกับสังคม ในภาคเรียนท่ี 2/2554 ดังน้ี

2.1 การจัดประสบการณ/กิจกรรมการเรียน รูเชิงรูปธรรม หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมท่ีมอบหมายของนิสิต ท้ังกิจกรรมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนตามแผนการสอนวิชามศว 251 มนุษยกับสังคม ภาคการศึกษาท่ี 2/2554 ท่ีมอบหมายใหนิสิตปฏิบัติเพื่อสรางโอกาสใหนิสิตไดลงมือฝกฝนทักษะส่ือสาร ซึ่งกําหนดใหนิ สิตตองเขารวมกิจกรรม พรอมสงใบกิจกรรมทุกคร้ัง การไมเขารวมกิจกรรมและไมสงใบกิจกรรมจะไมไดรับคะแนนการรวมกิจกรรมในคร้ังน้ันๆ โดยมีกิจกรรมท่ีมอบหมายใหนิสิตปฏิบัติ จํานวน 6 กิจกรรม ดังน้ี

1. กิจกรรมรายบุคคล จํานวน 1 กิจกรรม ไดแก การคนควางานวิจัยจากปริญญานิพนธ

2. กิจกรรมในชั้นเรียน จํานวน 2 กิจกรรม ไดแก การเขียนสรุปผลการเรียนรูเร่ืองความสัมพันธระหวางมนุษยกับสังคม และการเขาสูชีวิตการทํางาน

3. กิจกรรมกลุม จํานวน 2 กิจกรรม ไดแก โครงการวิจัยชุมชน และรายงานการเตรียมความพรอมเขาสู ASEAN เร่ือง รูเขา รูเรา เร่ืองเพื่อนบาน ASEAN

4. กิจกรรมเ รียนรูดวยตนเอง จํานวน 1 กิจกรรม ไดแก ชะตากรรมเกษตรเชิงเด่ียว

2.2 การอภิปรายสะทอนความคิด หมายถึง การนําขอมูลเก่ียวกับทักษะส่ือสารของนิสิตท่ีไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรมมาอภิปราย ต้ังคําถามสะทอนคิด โดยอาจารยและนิสิตรวมกันนําประสบการณในการใชทักษะส่ือสารมาสนทนาแลกเปล่ียนเรียนรูในชั้นเรียนท้ังดานดีและไมดี วิเคราะหสาเหตุเพื่อใหนิสิตมีขอมูลปอนกลับสําหรับการปรับปรุงแกไขขอบกพรอง และสงเสริมขอปฏิบัติท่ีดีของนิสิต โดยดําเนินการในทุกสัปดาหท่ีมีการเรียนการสอน และยังมีการนัดหมายให

Page 14: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

6  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

นิสิตท่ีมีขอสงสัยในการดําเนินกิจกรรมมาพบนอกเวลาเปนรายบุคคลและเปนรายกลุมดวย พรอมท้ังจัดใหกลุมผูเรียนนําเสนอความกาวหนาในการดําเนินกิจกรรม และทักษะส่ือสารดานตางๆ ท่ีนิสิตไดพัฒนาจากการปฏิบัติกิจกรรม

2.3 การสรางความคิดรวบยอด หมายถึง การท่ีอาจารยและนิสิตรวมกันนําขอคิด เก่ียวกับทักษะส่ือสารซึ่งเกิดจากการอภิปรายและสะทอนคิดในชั้นเรียนมาพัฒนาเปนหลักแนวคิดหรือความรู

2.4 การนําความรูไปทดลอง/ ประยุกตใช หมายถึง การท่ีนิสิตนําหลักแนวคิดเร่ืองทักษะสื่อสารท่ีเกิดจากการสังเคราะหความคิดรวบยอดไปประยุกตใชในการดําเนินกิจกรรมมอบหมายอื่นๆ วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

การวิจัยคร้ังน้ีเปนการวิจัยก่ึงทดลองแบบภายในกลุม ซึ่งผูวิจัยไดดําเนินการทดลองตามแบบศึกษากลุมเดียววัดหลังการทดลอง โดยนําแผนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณท่ีผูวิจัยสรางข้ึน บูรณาการเขากับแผนการสอนรายวิชา มศว 251 มนุษยกับสังคม ระยะเวลาดําเนินการทดลองจํานวน 15 สัปดาห นับต้ังแตสัปดาหแรกจนถึงสัปดาหสุดทายของการจัดการเรียนการสอน ดังน้ี

1. กอนเร่ิมดําเนินการทดลองผูวิจัยทําการสุมตัวอยางโดยการจับสลากจากนิสิตท่ีลงทะเบียนเรียนวิชา มศ.251 มนุษยกับสังคมในภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2554 ทุกกลุมสาขาวิชาพรอมท้ังกําหนดผูสอนท่ีมีความรูและประสบการณในการสอนวิชาน้ีท่ีใกลเคียงกัน ดังน้ี

- กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ ไดกลุมตัวอยางจากคณะพยาบาลศาสตร โดยผูวิจัยเปนผูสอน และเก็บขอมูลดวยตนเอง

- กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดกลุมตัวอยางจากคณะวิทยาศาสตร โดย อาจารยกมลวรรณ คารมปราชญ คลายแกว เปนผูสอนและเก็บขอมูล

- กลุมสาขาวิชาสังคมศาสตรและมนุษย ศาสตร ไดกลุมตัวอยางจากคณะมนุษยศาสตร โดย อาจารยวรางคนา โสมะนันทน เปนผูสอนและเก็บขอมูล

ผูวิจัยและอาจารยผูสอน อีก 2 ทาน ประชุมทําความเขาใจเพื่อเตรียมความพรอมในการจัดการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณกอนเริ่มตนการทดลอง และประชุมติดตามผลทุก 3 สัปดาห จนส้ินสุดการทดลอง

2. นํ า แผนกา ร จั ด ก า ร เ รี ยน รู แ บบ เน นประสบการณ ไปดําเนินการทดลองกับกลุมตัวอยาง เปนเวลา 15 สัปดาห (สัปดาหละ 4 คาบ คาบเรียนละ 50 นาที ) โดยเ ร่ิมตนด วยการปฐมนิ เทศ ชี้ แจงวัตถุประสงค แผนการสอน วิธีการเรียนรู พรอมท้ังอธิบายเชื่อมโยงอัตลักษณดานการมีทักษะส่ือสารท่ีมีความสําคัญสําหรับการดําเนินชีวิตในสังคมเพื่อเปนการเสริมสรางเจตคติท่ีดีในการเรียนรู และเปนการสรางความคุนเคยกับกลุมตัวอยางในสัปดาหแรก

3. ทําการประเมินทักษะส่ือสารของกลุมตัวอยางในสัปดาหสุดทายของการเรียนการสอน ภายหลังจากนิสิตนําเสนอรายงานโครงการวิจัยชุมชน ซึ่งเปนงานชิ้นสุดทาย โดยนําแบบสอบถามเพื่อการวิจัยเร่ืองการศึกษาอัตลักษณดานการมีทักษะส่ือสารของนิสิตชั้นปท่ี 1 ใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถาม

4. กําหนดเกณฑการวัดทักษะส่ือสารของนิสิต แบงเปน 3 ระดับ ดังน้ี

- คะแนน 1.00–1.66 หมายถึง ควรปรับปรุง - คะแนน 1.67–2.33 หมายถึง พอใช

Page 15: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 7

 

- คะแนน 2.34–3.00 หมายถึง ดี 5. ตรวจใหคะแนนการทําแบบสอบถามการมี

ทักษะส่ือสารเปรียบเทียบกับเกณฑแลวนําผลมาวิเคราะหทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐาน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีประกอบดวย 1) แผนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ 2) แบบสอบถามเพื่อการวิจัย เร่ืองการศึกษา

อัตลักษณดานการมีทักษะส่ือสารของนิสิตปริญญาตรีชั้นปท่ี 1

การสรางและการหาคุณภาพเครื่องมือ แผนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ

การสรางแผนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ โดยศึกษาแนวคิดเร่ืองการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ ตามแนวคิดของ Kolb บูรณาการเขากับเน้ือหารายวิชา มศว 251 มนุษยกับสังคม โดยจัดขั้นตอนการเรียนรู 4 ขั้นตอน ประกอบดวย การจัดประสบการณ/กิจกรรมการเรียนรูเชิงรูปธรรม การอภิปรายสะทอนความคิด การสรางความคิดรวบยอด การนําความรูไปทดลอง/ประยุกตใช นําแผนการจัดการเรียนรูดังกลาวไปทดลองใช (Try out) กับนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 คณะแพทยศาสตร โครงการความรวมมือกับมหาวิทยาลัยนอตติงแฮม ท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชามศว 251 มนุษยกับสังคม ภาคการศึกษาท่ี 1 ปการศึกษา 2554 จํานวน 12 คน ระยะเวลาทดลอง 10 สัปดาห ทําการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเรียนรู โดยวัดผลสัมฤทธิ์พรอมท้ังสังเกตพัฒนาการดานทักษะส่ือสาร พบวานิสิตมีผลสัมฤทธิ์อยูเกณฑดีมาก ซึ่งนิสิตทุกคนไดคะแนนมากกวารอยละ 80 และสังเกตไดวามีพัฒนาการดานทักษะส่ือสารดีขึ้น และผลการคํานวณประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 พบวาแผนการเรียนรู ดังกลาวมีประสิทธิภาพดาน

กระบวนการรอยละ 86 และประสิทธิภาพดานผลผลิต รอยละ 85 ซึ่งในการนําแผนการจัดการเรียนรูดังกลาวไปศึกษากับกลุมตัวอยางซึ่งเปนชั้นเรียนท่ีมีนิสิตจํานวนมาก ผูวิจัยจึงดําเนินการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ โดยปรับเพิ่มระยะเวลาการจัด การเรียนรูอีก 5 สัปดาห สําหรับการติดตามงาน และการนําเสนองาน รวมระยะเวลาในการเรียนรูท้ังหมด 15 สัปดาห ซึ่งผูวิจัยในฐานะประธานรายวิชาไดดําเนินการปรับปรุงแผนการสอนรายวิชามศว 251 มนุษยกับสังคม และแผนการเรียนรูแบบเนนประสบการณ พรอมท้ังเชิญคณาจารยผูสอนจํานวน 16 ทานประกอบดวย อาจารยจากสํานักนวัตกรรมการเรียนรู คณะพละศึกษา คณะวัฒนธรรมส่ิงแวดลอมและการทองเท่ียวเชิงนิเวศน สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา และอาจารยพิเศษท่ีเชิญมาจากภายนอก เพื่อดําเนินการประชุมสนทนากลุมยอย (Focus Group) ภายหลังจากปดการประชุมผูวิจัยสรุปผลและนํามาปรับปรุงแผนการสอนและแผนการเรียนรูแบบเนนประสบการณตามผลการประชุมสนทนากลุมยอย

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย เรื่องการ ศึกษาอัตลักษณดานการมีทักษะส่ือสารของนิสิตชั้นปที่1

การสรางแบบสอบถามเพื่อการวิจัย เ ร่ือง การศึกษาอัตลักษณดานการมีทักษะส่ือสารของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 ดําเนินการโดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับทักษะส่ือสารของ นิสดารก เวชยานนท (2549: 270-274) ปานรวี ยงยุทธวิชัย และ ถวัลย มาศจรัส (2552: 64-71) และ Littlejohn (1998: 252) เพื่อกําหนดองคประกอบทักษะส่ือสารและเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถามใหครอบคลุมพฤติกรรมตามทักษะยอย 5 ดาน ไดแก ดานความสัมพันธระหวางบุคคล การฟง การอาน การพูด และการเขียน โดยใชการวัดบุคลิกภาพแบบรายงานตนเอง ลักษณะเปน

Page 16: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

8  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

แบบสถานการณท่ีมีตัวเลือกเปนพฤติกรรมท่ีตอบสนองสถานการณแบบ 3 ตัวเลือก ขอคําถามจํานวน 40 ขอ ประกอบดวย การสรางสัมพันธระหวางบุคคล จํานวน 6 ขอ การฟง จํานวน 9 ขอ ทักษะการอาน จํานวน 8 ขอ ทักษะการพูด จํานวน 8 ขอ และทักษะการเขียน จํานวน 9 ขอ ผลการตวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญพบวา ขอคําถามแตละขอมีคาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับนิยามเทากับหรือมากกวา .75 และผลการนําแบบสอบถามไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางท่ีไมใชกลุมตัวอยางในการวิจัยคร้ังน้ี จํานวน 100 ชุด พบวา คาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามท้ังชุดเทากับ .77 นอกจากน้ีผลการวิเคราะหองคประกอบของทักษะยอยท้ัง 5 ดานโดยวิธีสกัดองคประกอบดวยวิธี Principal component extraction ยังพบวาองคประกอบยอยท้ังหมดสามารถจัดอยูในมิติเดียวกัน โดยสามารถ

อธิบายความแปรปรวนของทักษะส่ือสารของนิสิตไดรอยละ 62.99

การวิเคราะหขอมูล

ดํา เ นินการจัดกระทําขอมูล เพื่ อทดสอบสมมติฐาน โดยเปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะภายหลังการเรียนรูแบบเนนกิจกรรมกับเกณฑ โดยการวิเคราะห ดวยวิธี One group sample test

สรุปผลการวิจัย

1. การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารโดยรวมท้ัง 5 ดาน ไดแก ความสัมพันธระหวางบุคคล การฟง การอาน การพูด และการเขียน ของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑ พบวา หลังการเรียนรูนิสิตมีทักษะส่ือสารโดยภาพรวมอยูในระดับดี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05 เปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว ดังแสดงในตาราง 1

ตาราง 1 การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารโดยรวมท้ัง 5 ดานของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑ

คาสถิติ กลุมสาขา

N Test Value = 2.34 t

X S.D.

วิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ทุกกลุมสาขาวิชา

107 106 106 319

2.50 2.39 2.40 2.43

.28

.26

.26

.27

5.89*** 2.00** 2.45*

6.27 ***

*** P < .001; ** P < .01; * P < .05

2. การ เป รี ยบ เที ยบ ทักษะ ส่ื อสา รด า นความสัมพันธระหวางบุคคลของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑพบวา หลังการเรียนรูนิสิตมีทักษะดาน

ความสัมพันธระหวางบุคคลอยูในระดับดี อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05 เปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว ดังแสดงในตาราง 2

Page 17: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 9

 

ตาราง 2 การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานความสัมพันธระหวางบุคคลของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑ คาสถิติ กลุมสาขา

N Test Value = 2.34 t X S.D.

วิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ทุกกลุมสาขาวิชา

107 106 106 319

2.57 2.49 2.51 2.52

.32

.31

.32

.32

7.54*** 5.19** 5.61*** 10.56***

*** P < .001; ** P < .01

3. การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการฟงของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑพบวา หลังการเรียนรูนิสิตมีทักษะดานการฟงอยูในระดับดีอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05เปนไปตามสมมติฐานท่ีต้ังไว ดังแสดงในตาราง 3

ตาราง 3 การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการฟงของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1กับเกณฑ

คาสถิติ กลุมสาขา

N Test Value = 2.34 t X S.D.

วิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ทุกกลุมสาขาวิชา

107 106 106 319

2.47 2.42 2.40 2.43

.34

.31

.29

.31

4.11*** 2.87** 2.45*

5.49***

4. การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการอานของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑพบวา หลังการเรียนรูนิสิตมีทักษะส่ือสารดานการอานอยูในระดับ

พอใช อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05 ไมเปนไปตาม ท่ีต้ังไว ดังแสดงในตาราง 4

ตาราง 4 การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการอานของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1กับเกณฑ

คาสถิติ กลุมสาขา

N Test Value = 2.34 t X S.D.

วิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ทุกกลุมสาขาวิชา

107 106 106 319

2.33 2.26 2.28 2.29

.34

.34

.29

.32

-.07* -2.35* -2.02* -2.53*

* P < .05

*** P < .001; ** P < .01; * P < .05

Page 18: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

10  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

5. การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการพูดของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑพบวา หลังการเรียนรูนิสิตมีทักษะส่ือสารดานการพูดอยูในระดับดี

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05 เปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว ดังแสดงในตาราง 5

ตาราง 5 การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการพูดของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1กับเกณฑ คาสถิติ กลุมสาขา

N Test Value = 2.34 t X S.D.

วิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ทุกกลุมสาขาวิชา

107 106 106 319

2.54 2.43 2.41 2.46

.39

.37

.39

.39

5.26*** 2.44* 2.02*

5.59*** *** P < .001; * P < .05

6. การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการเขียน

ของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1 กับเกณฑพบวา หลังการเรียนรูนิสิตมีทักษะส่ือสารดานการเขียนอยูในระดับดี

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ p<.05 เปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว ดังแสดงในตาราง 6

ตาราง 6 การเปรียบเทียบทักษะส่ือสารดานการเขียนของนิสิตปริญญาตรี ชั้นปท่ี 1กับเกณฑ คาสถิติ กลุมสาขา

N Test Value = 2.34 t X S.D.

วิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ทุกกลุมสาขาวิชา

107 106 106 319

2.59 2.42 2.41 2.47

.38

.37

.37

.38

6.83*** 2.37** 2.14*

6.45 *** *** P < .001; ** P < .01; * P < .05

อภิปรายผล

1. นิสิตชั้นปท่ี 1 ทุกกลุมสาขาวิชาภายหลังผานการเรียนรูแบบเนนประสบการณในรายวิชา มศว 251 มนุษยกับสังคมแลวมีทักษะส่ือสารโดยภาพรวม และเปนรายดาน ไดแก ดานความสัมพันธระหวางบุคคล การฟง การพูด และการเขียน อยูในระดับดี เปนไปตามสมติฐาน เปนเพราะกิจกรรมการเรียนรูท่ี

นิสิตปฏิบัติชวยใหนิสิตไดเรียนรูทักษะท้ัง 4 ดานจากประสบการณตรงท้ังในการเรียนรูในหองเรียน การปฏิบัติกิจกรรมรวมกับกลุมเพื่อน และการติดตอส่ือสารกับบุคคลอื่นนอกหองเรียน โดยมีอาจารยประจําวิชาคอยติดตามสังเกตและใหคําแนะนําเปนรายกลุมและรายบุคคลอยางตอเน่ือง ซึ่งเปนไปตามแนวคิดเร่ืองการเรียนรูแบบบูรณาการ ท่ีกลาววา การเรียนรูเพื่อพัฒนา

Page 19: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 11

 

สมองผูเรียนพรอมกันทุกดานไมใชเปนการเรียนรูจากการสอน แตตองใหผูเรียนไดเรียนรูโดยลงมือปฏิบัติเอง ซึ่งผูสอนมีความสําคัญมาก เพราะผูเรียนจะเรียนไดอยางมีพลัง ผูสอนตองทําหนาท่ีออกแบบการเรียนรู และชวยเปนครูฝก (Coach) (วิจารณ พานิช 2555: 23) นอกจากน้ียังสอดคลองตามแนวคิดเร่ืองปรามิดการเรียนรูท่ีอธิบายวา การเรียนรูโดยผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูโดยไดลงมือปฏิบัติ เปนการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด เชนเดียวกับผลการศึกษาของไชยยันต โตเทศ (2551: บทคัดยอ) ท่ีศึกษาเร่ือง การใชกิจกรรมมุงเนนปฏิบัติงานท่ีเนนประสบการณเพื่อสงเสริมความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษ และความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาวิชาการโรงแรมและการทองเที่ยว คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา พรรณวร บุญประเศรษฐผล (2552 : บทคัดยอ) ท่ีศึกษาเร่ืองการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบเนนกิจกรรม ในการพัฒนาความสามารถในการส่ือสารภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสูง และนันทวัฒน ภัทรกรนันท (2555: 125-128) ท่ีศึกษาเร่ืองการพัฒนาชุดฝกอบรมโดยใชกระบวนการเรียนรูจากประสบการณเพื่อเสริมสรางจิตสาธารณะสําหรับอาสายุวกาชาด ซึ่งการศึกษาท้ัง 3 เร่ืองไดใชกรอบแนวการเรียนรูแบบเนนประสบการณของ Kolb ในการพัฒนารูปแบบการเรียนรู

2. นิสิตชั้นปท่ี 1 ทุกกลุมสาขาภายหลังผานการเรียนรูแบบเนนประสบการณในรายวิชา มศว 251 มนุษยกับสังคมแลวมีทักษะส่ือสารดานการอานอยูในระดับพอใช ไมเปนไปตามสมมติฐาน เปนเพราะกิจกรรมสรางเสริมประสบการณในการอานสวนใหญเปนการมอบหมายใหนิสิตไปอานเปนการบานกอนเขาหองเรียน ซึ่งพบวา นิสิตสวนใหญไมไดอานตามท่ีมอบหมายหรือ

อานเพียงเพื่อใหจบไปยังไมไดเปนการอานเพื่อจับใจ ความสําคัญ ซึ่งผูวิจัยสังเกตไดจากการตอบคําถาม และรวมอภิปรายในช้ันเรียน แมวาผูวิจัยจะแกปญหาโดยใหนิสิตอานพรอมกันในชั้นเรียน แตมีขอจํากัดในดานเวลา และสมาธิในการอาน ดังน้ันจึงไมไดมีประสบการณเรียนรูจากการอานหนังสือในวิชาน้ีมากเทาท่ีควร แตกตางจากทักษะดานสัมพันธระหวางบุคคล การพูด การฟง และการเขียนท่ีนิสิตไดฝกฝนอยูตลอดเวลา ประกอบกับการพัฒนาทักษะการอานจําเปนตองใชกระบวนการเรียนรูจากประสบการณท่ีมีรูปแบบเฉพาะ เชน การเสริมตอการเรียนรูประสบการณอาน (Scaffolding Reading Experience) ซึ่งเปนหน่ึงในกระบวนการสอนอานท่ีไดรับการยอมรับท่ีมีประสิทธิภาพสูงท่ีสุด ซึ่งทิพาพร สุจารี (2553: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบการอานภาษาอังกฤษเพื่อความเขาใจโดยใชยุทธศาสตรการเสริมตอการเรียนรูประสบการณอานสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยบราชภัฎ และ วชิรเกียรติ เบาทองจันทร (2553: บทคัดยอ)ท่ีศึกษาเร่ืองการใชแนวคิดการเสริมตอการเรียนรูแบบเนนประสบการณเพื่อการอานภาษาอังกฤษเพื่อความเขาใจและการรูคําศัพทของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งงานวิจัยท้ัง 2 เร่ืองมีผลการวิจัยท่ีสอดคลองกัน โดยพบวา แนวคิดเร่ืองการเสริมตอการเรียนรูประสบการณอานชวยใหนักศึกษาเขาใจเน้ือเร่ืองท่ีอานดีขึ้นและมีความสามารถในการอานสูงกวากลุมท่ีไดรับการสอนแบบปกติ

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเพ่ือการนําไปใชประโยชน

ผลการวิจัยพบวา การจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณเปนการจัดการเรียนการสอนท่ีชวยใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะดานความสัมพันธระหวางบุคคล ทักษะการฟง ทักษะการพูด และทักษะการเขียน โดยนิสิต

Page 20: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

12  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ไดลงมือปฏิบัติดวยตนเองพรอมท้ังมีอาจารยทําหนาท่ีผูฝกสอนชวยใหคําชี้แนะปรับปรุงแกไข จึงเปนรูปแบบในการจัดการเรียนการสอนท่ีสามารถนําไปปรับใชในรายวิชาตางๆกับนิสิตทุกกลุมสาขาวิชา โดยเฉพาะในรายวิชาศึกษาท่ัวไปท่ีตองการพัฒนาทักษะดานตางๆ ท่ีจําเปนท้ังในการเรียนรู การประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิต ดังน้ันอาจารยผูสอนวิชาศึกษาท่ัวไปควรศึกษาทําความเขาใจขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณ 4 ขั้นตอน ท่ีประกอบดวยการจัดประสบการณ/กิจกรรมการเรียนรูเชิงรูปธรรม การสะทอนคิด การสรางความคิดรวบยอด และการทดลองปฏิบัติใหเขาใจชัดเจน สามารถนําไปปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพโดยบูรณาการเขากับเน้ือหาของรายวิชา โดยในการดําเนิน การพัฒนาการจัดการเรียนรูน้ี อาจารยผูสอนควรฝกปฏิบัติตามกระบวนการเรียนรูแบบเนนประสบการณท้ัง 4 ขั้นตอนดวยเพื่อใหอาจารยผูสอนไดมีประสบการณ

ตรงในการปฏิบั ติตามแนวคิดการเรียนรูแบบเนนประสบการณดวยตนเองกอนท่ีจะนําไปพัฒนานิสิตในชั้นเรียน ขอเสนอแนะในการวิจัย

1. การอานเปนทักษะท่ีมีความซับซอนและตองการฝกฝนมากกวาทักษะส่ือสารดานอื่น ดังน้ันจึงควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรูท่ีสามารถพัฒนาทักษะการอานของนิสิตไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ควรมีการศึกษาการนํารูปแบบการเรียนรูแบบเนนประสบการณไปใชในรายวิชาศึกษาท่ัวไปอื่นๆ และรวบรวมเปนองคความรูสําหรับนําไปใชเปนแนวปฏิบัติท่ีดีเพื่อใหการจัดการเรียนรูแบบเนนประสบการณบรรลุจุดมุงหมายในการพัฒนานิสิตอยางมีประสิทธิภาพ จึงควรมีการวิจัยเพื่อศึกษาปจจัยท่ีสงผลตอประสิทธิภาพในการเรียนรูแบบเนนประสบการณ

บรรณานุกรม คริส. (2554). การเปรียบเทยีบกรอบความคิดสําหรับทกัษะแหงศตวรรษที่ 21. ใน ทักษะแหงอนาคตใหม

การศึกษาเพือ่ศตวรรษท่ี 21. แปลโดย วรพจน วงศกจิรุงเรือง และ อธปิ จิตตฤกษ. กรุงเทพฯ: openworld. จิตตภิญญา ชมุสาย ณ อยุธยา. (2554). รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาอัตลักษณนสิิตมหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ ชั้นปที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักนวัตกรรมการเรียนรู มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไชยยันต โตเทศ. (2551). การใชกิจกรรมมุงปฏิบัติงานทีเ่นนประสบการณเพื่อสงเสริมความสามารถในการ

พูดภาษาอังกฤษและความเชื่อม่ันในตนเองของนักศึกษาวิชาการโรงแรมและทองเท่ียว. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษ) . เชียงใหม: บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม สืบคนเมื่อ 30 มิถุนายน 2556, จากฐานขอมูล โครงการเครือขายหองสมุดประเทศไทย.

Page 21: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 13

 

ทิพาพร สุจารี. (2553). การพัฒนารูปแบบการสอนอานภาษาอังกฤษเพื่อความเขาใจโดยใชยุทธศาสตรการ

เสริมตอการเรียนรูประสบการณการอานสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ. วทิยานิพนธ กศ.ด. (หลักสูตรและการสอน). ขอนแกน: บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยขอนแกน. สืบคนเมื่อ 30 มิถุนายน 2556, จากฐานขอมูล โครงการเครือขายหองสมุดประเทศไทย.

นันทวัฒน ภัทรกรนันท. (2555). การพัฒนาชุดฝกอบรมโดยใชกระบวนการเรียนรูจากประสบการณเพื่อ

เสริมสรางจิตสาธารณะสําหรับอาสายุวกาชาด. ปริญญานิพนธ กศด. (การศึกษาผูใหญ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิสดารก เวชยานนท. (2549). Competency-Based Approach. กรุงเทพฯ: กราฟโก ซิสเต็มส จํากัด. ปานรวี ยงยุทธวิชัย และ ถวลัย มาศจรัส. (2552). การอาน เขียน คิดวิเคราะห คิดสังเคราะห. (พมิพคร้ังท่ี 2).

กรุงเทพฯ: สถาบันสงเสริมและพัฒนาการอานการเขียนแหงประเทศไทย. พรรณวร บุญประเศรษฐผล. (2552). การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษโดยใชการเรียนรูแบบเนน

ประสบการณสําหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง. วิทยานิพนธ กศด. (หลักสูตรและ การสอน). พิษณุโลก: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยนเรศวร. สืบคนเมื่อ 30 มิถุนายน 2556, จากฐานขอมูล โครงการเครือขายหองสมุดประเทศไทย.

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ. (2555). อตัลกัษณนิสิตศรนีครนิทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบคนเมื่อ 2 กุมภาพันธ 2556, จาก http://hu.swu.ac.th/identity.aspx.

ริชารด และ รีเบ็กคา. (2554). บทบาทของชุมชนการเรียนรูทางวิชาชพีตอความกาวหนาของทักษะแหง ศตวรรษที่ 21. ใน ทักษะแหงอนาคตใหม การศึกษาเพ่ือศตวรรษที ่21. แปลโดย วรพจน วงศกิจรุงเรือง และอธิป จิตตฤกษ. กรุงเทพฯ: openworld.

สํานักงานคณะกรรมการการอดุมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 . กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

วชิรเกียรติ เบาทองจันทร. (2553). การใชแนวคิดเสริมตอการเรียนรูแบบเนนประสบการณอานเพื่อ

พัฒนาการอานภาษาอังกฤษเพ่ือความเขาใจและการรูคําศัพทของนกัศึกษาปริญญาตรี. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (ภาษาองักฤษ). ขอนแกน: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. สืบคนเมื่อ 20 มถิุนายน 2556, จากฐานขอมูล โครงการเครือขายหองสมุดประเทศไทย.

วิจารณ พานิช. (2555). วิถีสรางการเรียนรูเพื่อศิษยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี–สฤษด์ิวงศ. Dewey, John. (1955). Experience and Education. New York: Macmillan. Kolb, David A. (1984). Experiential Learning: Experience as Source of Learning and Development:

Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. Littlejohn, Stephen W. (1998). Theories of Human Communication. Belmont : Wadsworth Publishing.

Page 22: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

14  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การศึกษาความสามารถดานการอาน คิดวิเคราะหและเขียนภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับการสอนโดยใชรูปแบบ

การเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ A STUDY OF MATHAYOM SUKSA IV STUDENTS’ READING, ANALYTICAL

THINKING AND WRITING ENGLISH ABILITIES THROUGH THE INSTRUCTIONAL METHOD BASED ON AUTONOMOUS LEARNER MODEL

ผูวิจัย จินตนา นักบุญ1 Jintana Nakboon

บทคัดยอ

การวิจัยในคร้ังน้ีมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาความสามารถในการอานเพื่อความเขาใจ การคิดวิเคราะหและการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 กอนและหลังการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ

กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4/5 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) จํานวน 46 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ใชแผนการทดลองแบบ One Group Pretest-Posttest Design กลุมตัวอยางไดรับการสอนรูปแบบการเรียนรูอยางอิสระ ใชเวลาในการทดลอง 6 สัปดาห เคร่ืองมือท่ีใชในการทดลองประกอบดวย แผนการสอนจํานวน 6 แผน แบบทดสอบวัดความสามารถในการอานเพื่อความเขาใจ จํานวน 20 ขอ แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห จํานวน 20 ขอ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนเรียงความ 1 หัวขอเร่ือง สถิติท่ีใชในการวิจัยคือ t-test for dependent samples

ผลการวิจัยพบวา นักเรียนท่ีไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ มีความสามารถ

ท้ังในการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนหลังการทดลองสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 คําสําคัญ : ดานการอาน คิดวิเคราะห เขียนภาษา อังกฤษ การเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ ABSTRACT

The purpose of this research was to study the Matthayomsuksa 4 students’ Reading comprehension, analytical thinking and writing English abilities before and after the treatment based on Autonomous Learner Model.

The sample selected by purposive sampling consisted of 46 Matthayomsuksa 4/5 students in Srinakharinwirot University, Prasarnmit Demonstration School (Secondary), during 1st semester of 2011 academic year. The one group pretest-posttest design was used in the experiment. The sample was taught for 6 weeks. The instruments used in this study were 6 lesson plans, 20 questions in reading comprehension , 20 questions in analytical thinking and an essay

1อาจารยประจําโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม)

Page 23: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 15

 

were given to the sample before and after the treatment. The data were statistically analyzed by t-test for dependent samples.

After the experiment, the results of the English reading comprehension test, the analytical thinking test and the essay writing test of the sample group taught through Autonomous Learner Model were all improved and significantly different at the 0.01 level. Keywords : Autonomous learner model บทนํา

การเรียนการสอนภาษาอังกฤษจําเปนตองใชทักษะทางภาษาท้ัง 4 ทักษะคือ ฟง พูด อานและเขียนผสมผสานกันไปในบริบทตางๆ เพื่อใหผูเรียนสามารถเขาใจขอมูล เร่ืองราว หรือขาวสารท่ีไดรับ ในขณะเดียว กันก็สามารถถายทอดความรูสึกนึกคิดไปยังบุคคลอื่นไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับโอกาส สถานการณ กาละเทศะ ตลอดจนวัฒนธรรมท่ีเจาของภาษาใชในชีวิตประจําวัน ท้ังน้ีทักษะการอานและการเขียนถือวามีความสําคัญอยาง ย่ิงในการ ส่ือสารทางภาษา เน่ืองจากขอมูลขาวสารจากอดีตจนถึงปจจุบันลวนไดรับการถายทอดและบันทึกในรูปแบบตางๆ เชน หนังสือ เอกสาร ตํารา ประกาศ จดหมาย ขอความทางอิน เตอร เนต เปนตน การฝกอานอยางตอ เ น่ืองสม่ําเสมอ จะทําใหการเขียนพัฒนาข้ึนเชนกัน เน่ืองจากการอานทําใหผูอานไดรับประสบการณจากขอมูลท่ีอาน หากมีประสบการณในการอานมาก ก็จะสามารถเรียนรูรูปแบบวิธีเขียน แนวคิดในการส่ือสารของผูเขียน เขาใจคําศัพท สํานวน โครงสรางประโยค ไวยากรณมากขึ้น แตหากผูอานขาดความสามารถในการอาน

จะทําใหไมเขาใจความหมายท่ีเปนใจความหลัก ไมสามารถตีความจากบริบทไดอยางถูกตอง ซึ่งจะสงผลใหไมสามารถส่ือสารดวยการเขียนได

ปญหาในการเรียนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรเดิมพบวาการจัดการเรียนการสอนของครูไมเอื้อใหผูเรียนไดฝกใชกระบวนการคิดในการอานเพื่อความเขาใจ และถายทอดโดยการเขียน จากการศึกษาผลการประเมินมาตรฐานสถานศึกษา พบวา มาตรฐานท่ีโรงเรียนสวนใหญควรไดรับการปรับปรุงคือมาตรฐานท่ีเก่ียวกับ การคิดวิเคราะห การมีวิจารณญาณ และการคิดสรางสรรค ครูจึงมีความจําเปนจะตองใหความสนใจในการฝกฝนใหนักเรียนรูจักคิดวิเคราะห (เสง่ียม โตรัตน. 2546: 26) ซึ่งสอดคลองกับการประเมินมาตรฐานการจัดการศึกษา โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (2548: 3) สรุปวา สภาพของการจัดการศึกษาในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานดานทักษะการคิดวิเคราะหยังไมเห็นผลอยางเดนชัด

ปญหาท่ีเกิดกับผูเรียนสวนใหญของประเทศคือขาดการคนควาหาความรูจากแหลงการเรียนรูในยุคสารสนเทศไดอยางเต็มความสามารถ ผูเรียนขาดทักษะทางภาษาโดยเฉพาะการอานและการเขียน การท่ีครูสอนกิจกรรมเดิมๆ เนนการบรรยายสวนใหญ ไมเปดโอกาสใหผูเรียนลงมือทํากิจกรรมหรือแสวงหาความรูดวยตนเอง จึงเปนการปดกั้นนักเรียนในการแสดงศักยภาพของตนเอง อีกท้ังฝกนิสัยใหเปนผูปฏิบัติตามคําส่ัง ขาดความคิดริเร่ิม ความกลาแสดงออกในทางความคิด และไมสามารถส่ือสารใหเขาใจได ซึ่งสงผลใหความสามารถทางภาษาอังกฤษในการรับรูภาษาและการถายทอดภาษาของนักเรียนอยูในเกณฑตํ่า โดยจะเห็นไดจากผลสอบความรูรวบยอดปลายชวงชั้น (O-NET) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2553 วิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเฉล่ียรอยละนอยท่ีสุด

Page 24: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

16  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

เมื่อเทียบกับวิชาอื่น สวนผลสอบความรูรวบยอดปลายชวงชั้น (O-NET) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2553 วิชาภาษาอังกฤษมีคะแนนเฉล่ียรอยละนอยเปนอันดับสองรองจากวิชาคณิตศาสตรท่ีมีคะแนนเฉล่ียรอยละนอยท่ีสุด (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. 2554)

การแกไขปญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ อยางประสบผลสําเร็จน้ัน จําเปนท่ีผูสอนจะตองศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีจะเสริมสรางความรูและทักษะทางภาษาใหแกผูเรียนตามศักยภาพ ท้ังน้ีแนวทางการแกไขปญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่ีผานมามีอยูหลายวิธี แนวทางหน่ึงในการจัดการเรียนการสอนใหแกผูเรียนท่ีมีความแตกตางระหวางบุคคลอยางประสบความสําเร็จ ซึ่งเปนรูปแบบการสอนท่ีแพรหลายในตางประเทศเรียกวา Autonomous Learner Model หรือรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระของจอรจ เบทส (Betts. 1992) สําหรับในประเทศไทยมีผูสนใจศึกษาอยูบาง แตยังไมไดมีการทดลองจัดการเรียนการสอนเพื่อการศึกษาวิจัย รูปแบบการสอนดังกลาว การสอนวิธีน้ีแบงออกเปนลักษณะของมิติโครงสรางหลัก 5 มิติ ไดแก

มิติท่ี 1 การปฐมนิเทศ (Orientation) หมายถึง ความเขาใจศักยภาพของผูเรียนรายบุคคล เปนกิจกรรมสรางเสริมกลุมสัมพันธและกิจกรรมการพัฒนาตน ฝกใหเรียนรูความตองการของตนเอง การแสดงความคิด เห็นในชั้นเรียน แสดงความตองการในการเรียนรูอยางมีเหตุผล เปนกิจกรรมท่ีชวยใหผูเรียนคิดอยางสรางสรรคเก่ียวกับส่ิงท่ีเขาจะไดรับและการต้ังเปาหมายของแตละบุคคล การสอนอาน คิดวิเคราะหและเขียนในขั้นตอนน้ี ผูเรียนจะทํากิจกรรมกลุมเพื่อระดมสมองและคนหาความสามารถของแตละบุคคลในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน โดยอานคําส่ังท่ีเปนขอคําถามหรือแบบสอบถาม

ท่ีตองการใหผูเรียนแสดงความคิดเห็นสนับสนุน โตแยง หรือเสนอแนะ ดวยการเขียนตอบเปนรายขอ หรือเปนความเรียง เพื่อใหผูเรียนในกลุมทราบถึงความตองการ ความคิดเห็นท่ีแตกแตกตางกัน และคําตอบของสมาชิกในกลุมจะทําใหเกิดกระบวนการคิดวิเคราะหวาแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูมากนอยเพียงใด มีปญหาท่ีจําเปนตองแกไขอยางไร

มิติท่ี 2 การพัฒนาศักยภาพของผูเรียนรายบุคคล (Individual development) หมายถึง ความเขาใจถึงสภาพจิตใจและความตองการของแตละบุคคล ความ สามารถในการใชทักษะการเรียนรู ทักษะการเขาใจตนเอง ทักษะการเขาใจบุคคลอื่น ทักษะทางอารมณ สังคมและสติปญญา เรียนรูความคิดรวบยอดและพัฒนาทัศนคติท่ีสรางสรรคและจําเปนตอการเรียนรู การใชเทคโนโลยีและสารสนเทศ ความมุงหวังท่ีจะศึกษาตอในระดับสูงและการเลือกอาชีพท่ีเหมาะสม การสอนอาน คิดวิเคราะหและเขียนในขั้นตอนน้ี ผูเรียนจะไดอานเน้ือความจากส่ือตางๆ ท่ีผูสอนกําหนดหรือผูเรียนคนควาจากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน ส่ือส่ิงพิมพ อินเตอรเนต และจับใจความสําคัญ คนหาความคิดรวบยอด เขียนตอบคําถามรายขอหรือความเรียงในเชิงแสดงความรูสึกนึกคิด ชอบ ไมชอบ สนับสนุน โตแยง เสนอแนะ วิจารณ วิเคราะหเร่ืองท่ีอาน

มิติท่ี 3 กิจกรรมเพิ่มพูนความรู (Enrichment activities) หมายถึง การเรียนการสอนตามหลักสูตร การคนควาทดลอง การสังเกต การกําหนดขอบขายความสนใจใหชัดเจน และการศึกษารายละเอียดแบบลงลึก การทํากิจกรรมตางๆ อยางสรางสรรค สํารวจความคิดเห็นและความคิดรวบยอดตางๆ ท่ีหลากหลาย โดยมีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อสรางความสนใจใหเกิดแกผูเรียน มีกําลังใจท่ีจะคนหาความสามารถของตนเองและมีความเชื่อมั่นท่ีจะเปดเผยความรูสึก การสอนอาน

Page 25: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 17

 

คิดวิเคราะหและเขียนในขั้นตอนน้ี ผูเรียนจะไดอานเน้ือความท่ีเปนแนวทางหรือแบบอยางในการจัดทําชิ้นงาน รายงานหรือโครงงาน เชน ตัวอยางการทําวารสาร แผนโฆษณา หนังสือแนะนํา ปายประกาศ ฯลฯ จับใจ ความสําคัญ ตีความ วิเคราะหเร่ืองท่ีอานและตรวจสอบความเขาใจโดยการเขียนตอบคําถามรายขอหรือความเรียง มิติท่ี 4 การสัมมนา (Seminars) หมายถึง การนําเสนอผลงานของผูเรียนเปนกลุมยอยในรูปแบบการสัมมนาตอชั้นเรียน ซึ่งเปนเร่ืองเก่ียวกับความสนใจของผูเรียน เชน เร่ืองท่ีพบเห็นโดยท่ัวไป เร่ืองเกี่ยวกับอนาคต เ ร่ืองท่ีนาสงสัยหรือเปนปริศนา เ ร่ืองท่ีนาถกเถียงหรือโตแยง ตลอดจนหัวขอเร่ืองเกี่ยวกับความรูเพิ่มเติมตางๆ ท่ีนาสนใจและเปนประโยชน ซึ่งการสัมมนาจะเปลี่ยนบทบาทของนักเรียนมาเปนบทบาทของครู นักเรียนเรียนรูท่ีจะนําเสนอผลงานอยางสรางสรรคในความคิดของตนเองตอผูอื่น การสอนอาน คิดวิเคราะหและเขียนในข้ันตอนน้ี ผูเรียนจะแบงกลุมจัดทําชิ้นงาน รายงานหรือโครงงานตามตัวอยางท่ีเคยศึกษาแลว สรุปขอตกลงรวมกันเก่ียวกับรายละเอียดในการจัดทํา เชน หัวขอเร่ือง เน้ือหา ระยะเวลาในการดําเนินงาน ความถูกตองตามหลักภาษา ความเหมาะสม ความนาสนใจ ฯลฯ เพื่อเปนแนวทางในการจัดทําและการประเมินผลงาน

มิติท่ี 5 การศึกษาในเชิงลึก (In-depth study) หมายถึง โปรแกรมการเรียนเปนกลุมหรือรายบุคคล การใหคําปรึกษา การนําเสนอผลงาน การประเมินตนเองและการประเมินผูอื่น เปนรูปแบบท่ีสนองความตองการของผูเรียนกลุมยอยหรือรายบุคคลท่ีจะมีอิสระในการแสดงออกตามความสนใจของตนเองเชน เน้ือหาท่ีจะเรียน วิธีการเรียน แหลงขอมูล การประเมินการเรียนรู เปนตน การสอนอาน คิดวิเคราะหและเขียนในขั้นตอนน้ี จะใหผูเรียนนําเสนอผลงานท่ีจัดทําตอชั้นเรียน โดย

ผูเรียนและผูสอนประเมินผลงานรวมกัน แสดงความคิดเห็น วิเคราะหและเขียนตอบแบบประเมินผลงาน รวมท้ังเขียนขอเสนอแนะในการแกปญหาหรือขอ บกพรอง เพื่อเปนประโยชนในการปรับปรุงผลงานตอไป ท้ังหามิติดังกลาวจะเปนการฝกใหผูเรียนไดเรียนรูและพัฒนาทักษะทางภาษาอยางตอเน่ือง โดย เฉพาะทักษะอานและเขียน ผูเรียนจะไดรับประสบการณการเรียนรูท่ีหลากหลายจากการศึกษาคนควาดวยตนเองและการฝกปฏิบัติเปนกลุม สามารถแสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณเร่ืองราวตางๆ ได เรียนรูวิธีใฝหาความรูดวยตนเอง เรียนรูวิธีอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ตระหนักถึงบทบาทหนาท่ีและความรับผิด ชอบตอตนเองและผูอื่น จะเห็นไดวาการสอนวิธี น้ีสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551: 6) ท่ีมุงพัฒนาผูเรียนใหเกิดสมรรถนะ 5 ประการ ไดแก ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะชีวิตและการใชเทคโนโลยี อันจะทําใหประสบผลสําเร็จในการดําเนินชีวิตและสามารถเผชิญกับสถานการณในชีวิตประจําวันไดอยางปกติสุข

ดังน้ันผูวิจัยจึงนํารูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระมาใชในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อศึกษาวานักเรียนมีพัฒนาการเรียนรูทักษะทางภาษามากนอยเพียงใด เพื่อนําผลการทดลองมาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการเรียนการสอน โดยเฉพาะในดานการอาน คิดวิเคราะหและเขียนภาษาอังกฤษ ซึ่งมีความสําคัญอยางยิ่งท่ีนักเรียนจําเปนตองเรียนรูและเขาใจ เน่ืองจากเปนทักษะพื้นฐานท่ีนักเรียนทุกคนจะตองผานการทดสอบตามหลักเกณฑการประเมินผลท่ีกระทรวง ศึกษาธิการกําหนดไว

Page 26: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

18  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอาน

ภาษาอังกฤษของนักเรียนกอนและหลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model)

2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะหภาษาอังกฤษของนักเรียนกอนและหลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model)

3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนกอนและหลังไดรับการสอนโดยใช รูปแบบการเ รียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model)

วิธีดําเนินการวิจัย

ดําเนินการทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4/5 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) จํานวน 46 คน ใชแผนการทดลองแบบ One Group Pretest Posttest Design โดยมีขั้นตอนดังน้ี

1. อธิบายใหนักเรียนทราบถึงจุดประสงคการเรียนรู วิธีการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล

2. ทดสอบกอนการเรียน (Pretest) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4/5 โดยใชแบบทดสอบอาน คิดวิเคราะหและเขียนภาษาอังกฤษ

3. ดําเนินการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model) ใชเวลาสอน 2 คาบตอสัปดาห ใชเวลาทดลองรวม 6 สัปดาห

4. ทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใชแบบทดสอบชุดเดียวกับแบบทดสอบกอนเรียน นําขอมูลมาเปรียบเทียบคะแนนกอนกับหลังการเรียน

สมมติฐานการวิจัย 1. หลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรู

ดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model) นักเรียนมีความสามารถในการอานภาษาอังกฤษสูงขึ้น

2. หลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model) นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะหภาษาอังกฤษสูงขึ้น

3. หลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model) นักเรียนมีความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษสูงขึ้น

ผลการวิจัย

ผลการวิเคราะหขอมูลสรุปไดดังน้ี 1. ความสามารถในการอานภาษาอังกฤษของ

นักเรียนหลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model) สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

2. ความสามารถในการคิดวิเคราะหภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model) สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

3. ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ (Autonomous Learner Model) สูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

สรุปและอภิปรายผล

การวิจัยคร้ังน้ีเปนการเปรียบเทียบความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนักเรียนกลุมตัวอยางชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 กอนและหลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูอยางอิสระ (Autonomous Learner

Page 27: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 19

 

Model) จากผลการศึกษาคนควาผูวิจัยไดอภิปรายผลตามลําดับหัวขอดังตอไปน้ี

1. จากผลการวิจัยพบวา หลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ นักเรียนมีความสามารถในการอานภาษาอังกฤษสูงกวากอนไดรับการสอน ซึ่งเปนไปตามสมมุติฐานท่ีต้ังไว จากผลการทดลองพบวากอนการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ นักเรียนประสบปญหาในการอานเพื่อความเขาใจ ไมสามารถจับใจความ ตีความ หรือสรุปความจากเน้ือเร่ืองท่ีอานได อีกท้ังไมเขาใจหลักภาษา ไวยากรณ โครงสรางภาษาในเนื้อเร่ืองได เน่ืองจากนักเรียนขาดประสบการณในการฝกฝนและลงมือปฏิบัติรวมกันระหวางนักเรียนในชั้นเรียน ทําใหไมทราบขอผิดพลาดและการแกไขท่ีถูกตอง เมื่อไดเรียนรูรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ ซึ่งมีขั้นตอนในการกระทํากิจกรรมการอานรวมกัน มีการซักถามและโตตอบอภิปรายเพื่อหาใจความหลัก หรือความคิดรวบยอดของเนื้อเร่ือง ตลอดจนรายละเอียดสนับสนุนใจความหลัก และการตรวจสอบหลักการใชภาษาท่ีถูกตองแลว จะทําใหนักเรียนเขาใจเน้ือเร่ืองไดชัดเจนยิ่งขึ้น ประการหน่ึงท่ีสําคัญคือความเขาใจในศักยภาพของนักเรียน ดังน้ันขั้นตอนการสอนอานโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระในระยะแรกของการเรียนคือการฝกอานเร่ืองท่ีนักเรียนสนใจและงายตอความเขาใจ เปนเร่ืองใกลตัวหรือเร่ืองในชีวิตประจําวัน ซึ่งทําใหนักเรียนสามารถเดาความหมายและตีความได อีกท้ังสงเสริมใหนักเรียนคนควาเร่ืองท่ีนาสนใจดวยตนเองจากแหลงการเรียนรูตางๆ และนํามาถายทอดใหเพื่อนในชั้นเรียนไดเรียนรูรวมกัน เชนเดียวกับแนวคิดของฮิกกินส (Higgins. 2004) ท่ีใหความสําคัญตอความตองการของผูเรียนในการแสวงหาความรู การรูจักเลือกสรรส่ือท่ีนาสนใจและเปนประโยชนตอตนเอง แบบฝกการอาน

จะไมเนนเน้ือความท่ียาวจนเกินไป สวนใหญจะเปนขอความในรูปแบบตางๆ เชน เน้ือเร่ืองจากแบบเรียน วารสาร หนังสือพิมพ เร่ืองส้ัน นิทาน ประกาศ โฆษณา เปนตน เมื่อผูเรียนไดเรียนรูการอานอยางถูกวิธี และสามารถแกไขขอผิดพลาดจากการอานได จะทําใหสามารถทําแบบทดสอบไดถูกตอง

2. จากผลการวิจัยพบวา หลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ นักเรียนมีความสามารถในการวิเคราะหภาษาอังกฤษสูงกวากอนไดรับการสอน ซึ่งเปนไปตามสมมุติฐานท่ีต้ังไว จากผลการทดลองพบวา กอนการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ นักเรียนสวนใหญขาดทักษะในการคิดวิเคราะหเร่ืองท่ีอาน ขาดความเขาใจและสับสนในการตีความ ประเมินเน้ือหา ขอเท็จจริง มีความยุงยากในการแกปญหาหรือตัดสินปญหา เมื่อไดเรียนรูโดยการใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ ซึ่งมีขั้นตอนในการทํากิจกรรมคิดวิเคราะหรวมกัน มีการซักถาม โตตอบ อภิปรายเพื่อคนหาประเด็นปญหาตางๆ ตรวจสอบขอเท็จจริงและแกปญหารวมกัน ทําใหผูเ รียนมีทักษะคิดวิเคราะหสูงขึ้น ซึ่งสอดคลองกับแนวความคิดของลิตเต้ิล (Little. 1990) ท่ีกลาววา การเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระคือความสามารถในการแยกแยะเรื่องราว การตัดสินใจ การคิดวิเคราะห และการแสดงออกอยางอิสระ นอกจากน้ีรูปแบบการเรียนรูอยางอิสระทําใหผูเรียนรูสึกผอนคลาย มีบรรยากาศในการเรียนท่ีไมตึงเครียด ผูเรียนรวมมือทํากิจกรรมมากขึ้น กลาแสดงความคิดเห็นและรับฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกันท้ังภายในกลุมและระหวางกลุม เชนเดียวกับหลักการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญตามท่ีสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2548: 6) กลาวถึงคือ การสงเสริมใหผูเรียนเกิดกระบวนการทางความคิดท่ีมุงเนนกระบวนการ (process) มากกวาผลผลิต (product)

Page 28: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

20  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

โดยใหความสําคัญของการแสดงออกซ่ึงกระบวนการคิดมากกวาความถูกตองของการใชภาษา ดังน้ัน ผูสอนจึงควรสรางแรงจูงใจและแรงเสริมเพื่อใหผูเรียนกลาแสดงความคิดเห็นท้ังในดานการพูดหรือการเขียนเปนลําดับแรก เมื่อผูเรียนสามารถส่ือสารความหมายไดแลว ผูสอนจึงจะแนะนําแกไขขอผิดพลาดในการใชภาษาใหถูกตองเหมาะสมในลําดับตอไป

3. จากผลการวิจัยพบวา หลังไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ นักเรียนมีความสามารถในการเขียนสูงกวากอนไดรับการสอน ซึ่งเปนไปตามสมมุติฐานท่ีต้ังไว จากผลการทดลองพบวา กอนการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ นักเรียนยังขาดความสามารถดานการเขียน มีความบกพรองดานการสื่อความหมาย การเรียบเรียงเน้ือความ รวมถึงการใชภาษาท่ีไมถูกตอง เมื่อไดรับการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ ซึ่งมีขั้นตอนการแสดงความคิดเห็นในเชิงคิดวิเคราะห การต้ังจุดประสงคตามหัวขอท่ีเขียน การจัดลําดับความคิด การเรียบเรียงขอความ โดยฝกเขียนรวมกันและตรวจสอบความถูกตองของงานเขียนท้ังจากผูสอนและเพื่อน จึงทําใหผูเรียนมีกําลังใจในการเขียน และพัฒนาทักษะการเขียนเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคลองกับเสนีย วิลาวรรณ (2547: 159) ท่ีกลาววา การพัฒนาทักษะการเขียน ควรฝกจากการคิดใหตรงจุด คือคิดถึงจุดประสงคท่ีสําคัญ จัดลําดับความคิดอยางเปนระเบียบ ท้ังการจัดลําดับเร่ืองราว การจัดลําดับสถานที่ และการจัดลําดับตามเหตุผล ตลอดจนมีความชัดเจนและจับประเด็นได

ขอเสนอะแนะ

1. ขอเสนอแนะในดานการเรียนการสอน 1.1 การสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวย

ตนเองอยางอิสระเนนในเร่ืองของทักษะกระบวนการ

กลุม การทํางานรวมกัน การชวยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อใหผูเรียนท่ีมีพื้นความรูออนหรือมีความบกพรองในการเรียนรูสามารถเขาใจบทเรียนและมีกําลังใจในการเรียนมากข้ึน ดังน้ันจึงควรปลูกฝงใหผูเรียนรูจักการทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการวางแผนงาน การแบงงานภายในกลุม การดําเนินงาน และการประเมินผลการปฎิบัติงาน ท้ังน้ีส่ิงสําคัญท่ีผูสอนพึงระวังคือข้ันตอนการจัดกลุมและการแบงหนาท่ีภายในกลุม เน่ืองจากปญหาท่ีพบบอยคร้ังคือ ผูเรียนมักจะขออนุญาตจัดกลุมตามความตองการของตนเอง ซึ่งแตละกลุมจะมีความสามารถแตกตางกัน บางกลุมเรียนดี มีความสามารถสูงในขณะที่บางกลุมเรียนออนเปนสวนใหญ หากมีการจัดกลุมในลักษณะน้ีก็อาจจะทําใหการเรียนการสอนไมประสบผลสําเร็จได ฉะน้ันจึงเปนหนาท่ีของผูสอนท่ีควรจะพิจารณาจัดกลุมผูเรียนตามความเหมาะสมดวย

1.2 เน่ืองจากการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ จําเปนตองใชเวลาในการฝกปฏิบัติ โดยเฉพาะกระบวนการทํางานท่ีตองอาศัยเวลาในข้ันตอนตางๆ ผูสอนจึงควรส่ังงานใหผูเรียนเตรียมตัวลวงหนากอนการเรียนการสอน เพื่อสงเสริมใหมีความเขาใจในบทเรียนและกระบวนการเรียนการสอนไดดียิ่งข้ึน เชน การกําหนดหัวขอใหผูเรียนสืบคนขอมูล การศึกษาเน้ือหาลวงหนาจากส่ือการสอนที่ผูสอนกําหนดหรือจากการศึกษาคนควาดวยตนเอง การกําหนดระยะเวลาในการทํางาน การอภิปรายและการรายงานผลตามลําดับข้ันตอน เปนตน

1.3 ในระยะแรกของการนําเสนอรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระ ผูเรียนสวนใหญยังไมชินกับการเรียนรูดวยตนเอง การพึ่งพาตนเองและการทํางานกลุม เน่ืองจากแนวการสอนแบบเดิมผูเรียนมักจะถูกปอนเน้ือหาใหเรียนรูและปฏิบัติตามส่ิงท่ี

Page 29: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 21

 

ผูสอนกําหนด แตละคนจะตองพยายามทําความเขาใจบทเรียนตามความสามารถ หากเปนผูท่ีเรียนออนอยูแลว ก็จะเรียนไมทันเพื่อน ทําใหเกิดความเบื่อหนาย ขาดความสนใจในการเรียน และสงผลใหการเรียนตกตํ่าในท่ีสุด เมื่อนํารูปแบบการเรียนรูอยางอิสระมาสอนอยางตอเน่ือง ทําใหผูเรียนเร่ิมมีความเขาใจกระบวนการเรียนการสอน มีความสนใจและกระตือรือรนในการเรียนมากข้ึน เน่ืองจากผูสอนเปดโอกาสใหผู เ รียนแสวงหาความรูดวยตนเองและฝกทํางานรวมกันในกลุม ทําใหผูเรียนแตละคนสามารถพัฒนาศักยภาพในการเรียน โดยอาศัยความชวยเหลือจากเพื่อนภายในกลุม ซึ่งสงผลใหมีความเขาใจบทเรียน มีความเชื่อมั่นตอตนเอง กลาแสดงออก และมีพฤติกรรมการเรียนในทางที่ดีขึ้น

1.4 เน่ืองจากการใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระเนนในเร่ืองของความเช่ือมั่นตอตนเองในการสื่อสารและการแสวงหาความรูดวยตนเอง ในระยะแรกของการเรียนการสอนมักพบปญหาที่เกิดกับผูเรียนท่ีเรียนออนและไมสนใจการเรียนอยูกอนแลว จึงเปนการยากท่ีจะทําใหหันมาสนใจเรียนรูดวยตนเอง หนาท่ีของผูสอนคือพยายามกระตุน สรางแรงจูงใจ ใหขวัญและกําลังใจผูเรียนในการแสดงออกทั้งการส่ือสารดวยการพูดและการเขียน การใหคะแนนการส่ือสารจึงเนนในเร่ืองของความพยายามในการแสดงออกมากกวาความถูกตองของการใชภาษา เมื่อผูเรียนส่ือสารไดแลวผูสอนจึงแกไขความบกพรองของการใชภาษาและฝก

ปฏิบัติเชนน้ีไปเร่ือยๆ จนกวาสามารถทําแบบฝกหัดไดถูกตอง เมื่อถึงเวลาทําแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู ผู เ รียนก็จะมีพื้นฐานท่ีได รับจากการฝกปฏิบัติ ซึ่งสามารถนํามาใชในการทําแบบทดสอบได

2. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป

2.1 การทดลองสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระเปนเร่ืองท่ีใหมและนักเรียนสวนใหญยังไมคุนเคย ผลท่ีไดจากการทดลองเปนเพียงการประเมินจากนักเรียนกลุมเดียว ดังน้ันเพื่อใหเห็นผลการเรียนรูท่ีชัดเจนยิ่งขึ้น จึงควรทดลองวิจัยกับนักเรียนกลุมอื่นๆ เพื่อเปรียบเทียบผลการทดลองวามีความแตกตางกันหรือไมเพียงใด ซึ่งจะทําใหผูวิจัยไดรับขอมูลอันเปนประโยชนในการปรับปรุงวิธีสอนใหสอดคลองกับนักเรียนสวนใหญตอไป

2.2 ควรนําวิธีการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระไปทดลองวิจัยในชั้นเรียนกับนักเรียนท้ังรายบุคคลหรือกลุมยอยท่ีมีปญหาดานการเรียน (Case Study) เพื่อแกไข ปรับปรุงและพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูของนักเรียน

2.3 ควรนําวิธีการสอนโดยใชรูปแบบการเรียนรูดวยตนเองอยางอิสระไปทดลองวิจัยในรูปแบบการบูรณาการกับวิชาอื่นๆ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู และการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในรายวิชาตางๆ

Page 30: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

22  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพชมุนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. (2554). ตารางคาสถิติพื้นฐานของคะแนนการสอบ O-NET มัธยมศึกษา

ปที ่3 และ มธัยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2553 จําแนกตามวิชา. จาก www.niets.or.th. เสนีย วิลาวรรณ. (2547). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน. “ ชุดพัฒนาทักษะภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษา

ปที่ 2” เลม 3. กรุงเทพฯ: บริษัทสํานักพิมพวัฒนาพานิช จาํกัด. สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน). (2548). ผลการประเมินคุณภาพ

ภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ: สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน).

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). รูปแบบการจัดการเรยีนรูในการอาน

คิดวิเคราะห เขียน และสรางองคความรูดวยตนเองที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟค จาํกัด.

เสง่ียม โตรัตน. (2546, มิถุนายน–ตุลาคม). การสอนเพื่อสรางเสริมทักษะการคิดวิเคราะห. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. (1): 26.

Betts, G. T. (1992). Autonomous Learner Model Melbourne. Hawker Brownlow Education. Higgins, Dennis. (2004). A Total Fit: Twice-Exceptional Learners and the Autonomous Learner Model.

NAGC Annual Convention, Salt Lake City. Little, D. (1990). “Autonomy in language learning,” in Autonomy in language learning. Edited by

Gathercole I. pp. 7-15. London: CILT.

Page 31: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 23

 

การสรางแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

CONSTRUCTION OF GOOD CITIZENSHIP SCALE FOR 4-6 HIGH SCHOOL STUDENTS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE

AREA OFFICE 18. ผูวิจัย จุฑามาศ ชอคง1 Juthamard Chorkong กรรมการควบคุม รศ.ดร. บุญเรียง ขจรศิลป2

ดร. วารุณี ลัภนโชคดี3 Advisor Committee Assoc.Prof.Dr. Boonreang Kajornsin

Dr. Warunee Lapanachokdee บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดประสงคเพื่อ 1) สรางแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4-6 2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 3) สรางเกณฑปกติระดับทองถิ่น (local Norms) ของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 และ 4) จัดทําคูมือการใชแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4-6 กลุมตัวอยางท่ีใชในการตรวจสอบคุณภาพและสรางเกณฑปกติไดแก นักเรียนท่ีกําลังศึกษาอยูชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จํานวน 516 คน ไดมาจากการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน

ผลการวิจัยสรุปวา 1) แบบวัดท่ีสรางข้ึนประกอบ ดวยขอคําถาม 92 ขอ มุงวัดความเปนพลเมืองดี 10คุณลักษณะ ไดแก 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย 2) ซื่อสัตย

สุจริต 3) มีวินัย เคารพกฎหมายและกติกาสังคม 4) ใฝเรียนรู 5) อยูอยางพอเพียง 6) มุงมั่น รับผิดชอบในการทํางาน 7) รักความเปนไทย 8) มีจิตสาธารณะ 9) มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และ 10) เขารวมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง ท่ีมีลักษณะเปนขอคําถามเชิงสถานการณแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยแตละตัวเลือกมีคะแนนท่ีแตกตางกันต้ังแต 0-3 คะแนน 2) แบบวัดท่ีสรางข้ึนมีความตรงตามตามเน้ือหาจากการคํานวณคาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับนิยามของความเปนพลเมืองดี พบวา ขอคําถามของแบบวัดมีคา IOC ต้ังแต 0.80-1.00 มีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.20-0.62 ความตรงเชิงโครงสรางของแบบวัดจากการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน พบวา โครงสรางของแบบวัดมีความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษโดยคาไคสแควร ท่ีคาองศาอิสระ เทากับ 25 มีคาเทากับ 37.14 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาด เคล่ือน (RMR) มีคาเทากับ 0.043 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคล่ือนกําลังสองของการประมาณคา

1นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2อาจารยคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม อาจารยคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 32: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

24  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

(RMSEA) มีคาเทากับ 0.031 คาดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) มีคาเทากับ 0.985 และคาดัชนีวัดระดับความกลมกลืนท่ีปรับคาแลว (AGFI) มีคาเทากับ 0.968 และมีคาความเที่ยงท้ังฉบับเทากับ 0.94 3) เกณฑปกติสําหรับแปลความหมายคะแนนของแบบวัดความเปนพลเมืองดีในรูปของคะแนนปกติทีท้ังฉบับมีคาต้ังแต T19-T81 4) คูมือการใชแบบวัดท่ีจัดทําข้ึนมีความเหมาะสม สะดวกสามารถนําไปใชได และมีองคประกอบครบถวน คําสําคัญ : ความเปนพลเมืองดี แบบวัด

ABSTRACT

he objectives of this research were 1) to construct the good citizenship scale for 4-6 high school students; 2) to validate the good citizenship scale for 4-6 high school students; 3) to establish local norms of the good citizenship scale for 4-6 high school students; 4) to construct manual of the good citizenship scale for 4-6 high school students. The sample for test validation and norms construction consisted of 516 4-6 high school students under the Secondary Educational Service Area Office 18, academic year 2012. The sample were selected by multi-stage random sampling

The research results revealed that: .1) The good citizenship scale for 4-6 high school students comprised of 92 items, aimed to assess 10 good citizenship characteristics; 1) Patriotic Signature 2) Honesty 3) Discipline, respect for the rule of law and society 4) Inquiry learning 5) Sufficiently 6) Commitment to work 7) Respect for Thailand 8) Public mind 9) Reasonable, listen to

the opinions of others and 10) Political participation. Each situational questions with different 0-3 score choices. 2) The content validity of the good citizenship scale for 4-6 high school students, investigated by calculating the item objective congruence index (IOC), were in the range of 0.80-1.00 and all items had discrimination index between 0.20-0.62. The construct validity of the good citizenship scale for 4-6 high school students was investigated by confirmatory factor analysis. The result revealed that the construct of the good citizenship scale was fit with the empirical data that had Chi-Square 37.14 with 25 degree of freedom; standardized RMR was 0.043; RMSEA was 0.031; GFI was 0.985 and AGFI 0.968. The reliability of the scales was 0.94, 3) The local norms for the good citizenship scale for 4-6 high school students show the normalized T-score form T19-T81, and 4) the manual for the good citizenship scale for 4-6 high school students was suitable and convenient for usability, easy to understand and fully important composition.

Keywords : Good citizenship Scale

ความเปนมาของปญหาการวิจัย

สังคมไทยกําลังเผชิญกับภาวะวิกฤตทามกลางการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีมีความซับซอนมากกวาเดิมหลายเทาตัว ปญหาเร้ือรังของสังคมไทยจนเปนวิกฤตท่ีแกปญหาไมตกมีหลายดาน เชน วิกฤตทางดานการ เมือง วิกฤตทางเศรษฐกิจ การคอรัปชั่น และปญหาความยากจน เปนตน เพื่อใหทันตอการเปล่ียนแปลง

Page 33: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 25

 

ของสังคมท่ีเกิดขึ้น ปจจัยสําคัญท่ีเปนตัวรองรับและเปนเ ง่ือนไขผลักดันความกาวหนาก็คือความเปนพลเมืองของประเทศ หากประเทศใดมีพลเมืองท่ีมีความรู ความสามารถมี คุณลักษณะท่ีพึงประสงค ประเทศน้ันยอมมีศักยภาพท่ีจะแขงขันกับประเทศอื่นอยางเขมแข็ง ในทางตรงกันขามหากพลเมืองยังไมไดรับการพัฒนาเทาท่ีควรประเทศน้ันก็ไมสามารถปรับตัวเขาสูการแขงขันได (ศักด์ิชัย นิรัญทวี, 2548: บทสรุปผูบริหาร)

จากปญหาและความสําคัญดังกลาวมีความจําเปนอยางมากที่จะตองมีการปลูกฝงและพัฒนาใหคนในประเทศเปนพลเมืองท่ีมีความรู มีคุณธรรม เปนพลเมืองดีของประเทศ ซึ่งตองเร่ิมตนท่ีการศึกษาเน่ืองจากการศึกษาเปนรากฐานของการพัฒนาไมวาจะเปนการพัฒนาในรูปแบบใดก็ตาม ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับ ท่ี 2 พ.ศ. 2545 หมวด 1 บทท่ัวไป ท่ีวาดวยความมุงหมายและหลักการ มาตรา 6 และมาตรา 7 ไดแสดงถึงการจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข และในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสํานึกท่ีถูกตองเก่ียวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รูจักรักษาและสงเสริมสิทธิ หนาท่ี เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักด์ิศรีความเปนมนุษย มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย รูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ังสงเสริมศาสนาศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีความสามารถประกอบ

อาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มีความริเร่ิมสรางสรรค ใฝรู และเรียนรูดวยตนเองอยางตอเน่ือง (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2545: 5) รวมถึงหลักสูตรแกน กลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปนกําลังของชาติใหเปนมนุษยท่ีมีความสมดุลท้ังดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิต สํานึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจําเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการ ศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผู เ รียนเปนสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเต็มศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 3)

คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (กนป.) ซึ่งมีอดีตนายกรัฐมนตรีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนประธาน ไดมีคําส่ังแตงต้ังคณะอนุกรรมการ กนป. ดานพัฒนาการศึกษาเพื่อสรางความเปนพลเมืองดี ลงวันท่ี 28 มิถุนายน 2553 เพื่อชวยใหการดําเนินงานขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาดานการพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหมใหเปนพลเมืองดีเปนไปอยางมีประสิทธิภาพคลองตัว และมีความรอบคอบในการบริหารจัดการมากย่ิงขึ้น (คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง)

จากจุดเนนของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง จะเห็นวา ความเปนพลเมืองดีน้ันเปนคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีเปนจุดเนนของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนานักเรียนใหเปนผูท่ีมีความเปนพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก

Page 34: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

26  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การศึกษาระดับมัธยมศึกษาเปนการศึกษาท่ีมุงใหผู เ รียนพัฒนาคุณภาพชีวิตและการศึกษาใหสามารถเลือกแนวทางท่ีจะทําประโยชนกับสังคม ตามบทบาทหนาท่ีของตนเองในฐานะพลเมืองดีตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข โดยใหผูเรียนมีความรูและทักษะเพียงพอ ท่ีจะเลือกและตัดสินใจในการประกอบสัมมาชีพ ทํางานรวมกับผูอื่นมีนิสัยในการปรับปรุงงานของตนเองและสังคม เสริมสรางอนามัยชุมชนและครองชีวิตโดยคํานึงถึงประโยชนตอสังคม (กรมวิชาการ, 2534: 23) ตามพัฒนาการทางจริยธรรมของ Kohlberg (อางใน จิตตินันท บุญสถิรกุล, 2548: 105) ไดนําแนวคิดการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมท่ีเปนพื้นฐานพฤติกรรมทางจริยศาสตรในการจัดระดับทางจริยธรรม โดยแบงเหตุผลเชิงจริยธรรมออกเปน 6 ขั้น โดยมีการพัฒนาการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมข้ึนในแตละข้ันและมีความสัมพันธกับอายุของบุคคล นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 มีอายุระหวาง 16-18 ป จะมีพัฒนาการทางดานจริยธรรมในข้ันท่ี 5 บุคคลที่มีพัฒนาการในข้ันน้ีจะคิดถึงสภาพการณและกฎเกณฑท่ีมีเหตุผล มีความเขาใจวากฎเกณฑตางๆ ยอมเปล่ียนแปลงได ถามีเหตุผลท่ีเหมาะสมกวา คนในวัยน้ีจะทําตามสัญญาท่ีไดตกลงกัน ทําในส่ิงตางๆ อยางมีเหตุผล เขาใจสิทธิของตนเองและคนอื่น มองกวาง การคลอยตามเพื่อประโยชนของสวนรวม มีความเคารพตนเอง เนนจริยธรรมท่ีคนในสังคมยอมรับ ดังน้ันการปลูกฝงและพัฒนาความเปนพลเมืองดีของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 จึงมีความสําคัญเปนอยางมาก เพื่อท่ีจะใหนักเรียนเปนพลเมืองดีอยูรวมกันในสังคมของประเทศชาติและสังคมโลกอยางสงบสุขตอไป

การปลูกฝงและพัฒนาความเปนพลเมืองดีของนักเรียนน้ันจําเปนตองมีการวัดความเปนพลเมืองดี

โดยตองมีเคร่ืองมือท่ีมีมาตรฐานในการเก็บรวบรวมขอมูลจากตัวนักเรียน เพื่อใหทราบระดับความเปนพลเมืองดี จุดเดน จุดท่ีควรพัฒนา ของนักเรียนแตละคนเพื่อนําไปสูการปรับปรุงพัฒนาความเปนพลเมืองดีอยางถูกตองเหมาะสมตอไป ซึ่งในปจจุบันหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ไดกําหนดใหมีการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค 8 ประการ และในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สาระท่ี 2 หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม มาตรฐานท่ี 2.1 ไดมีการกําหนดตัวชี้วัดท่ีจะตองวัดและประเมินนักเรียนไวในตัวชี้วัดท่ี 3 ท่ีระบุไววา นักเรียนจะตองปฏิบัติตนและมีสวนสนับสนุนใหผูอื่น ประพฤติปฏิบัติเพื่อเปนพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคม การวัดและประเมินผลดานความเปนพลเมืองดีของนักเรียน โรงเรียนสวนใหญท่ีปฏิบัติยังขาดเคร่ืองมือในการวัดของนักเรียนอยางชัดเจน และเน่ืองจากความเปนพลเมืองดีเปนคุณลักษณะภายในของบุคคลจึงตองตรวจสอบหรือวัดทางออมจากพฤติกรรมท่ีบุคคลแสดงออก การวัดความเปนพลเมืองดีจึงนิยมใชแบบวัดท่ีประกอบดวยชุดของขอคําถามเปนส่ิงเรากระตุนใหผูถูกวัดตอบสนองแลววัดความเปนพลเมืองดีจากคําตอบของผูถูกวัด

ผูวิจัยเปนนักวิชาการศึกษาในสํานักงานศึกษาธิการภาค 5 ซึ่งมีหนาท่ีกํากับติดตามการดําเนินงานของโรงเรียนในสังกัด เพื่อนําผลท่ีไดจากการกํากับติดตามมาประกอบการกําหนดนโยบายและแนวทาง การพัฒนานักเรียนและโรงเรียนใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น ดังน้ันผูวิจัยจึงสนใจสรางแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้น ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 เพื่ อ ใหครูผูสอนมีเคร่ืองมือท่ีใชวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับ

Page 35: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 27

 

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 ซึ่งผลการวัดท่ีไดจะทําใหนักเรียนและครูผูสอนไดทราบระดับของความเปนพลเมืองดี จุดเดนและจุดท่ีควรพัฒนา ท้ังยังเปนประโยชนตอครูผูสอนท่ีสามารถนําผลการวัดไปใชกําหนดแนวทางหรือปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสอดแทรกการพัฒนาความเปนพลเมืองดีของนักเรียนตอไป ผูบริหารโรงเรียนและผูเก่ียวของในการสงเสริมกํากับติดตามการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน สามารถนําผลท่ีไดจากการวัดไปใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบาย การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในโรงเรียน เพื่อชวยเสริมสรางและพัฒนาความเปนพลเมืองดีของนักเรียนตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ

1. สรางแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

2. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกดัสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

3. สรางเกณฑปกติระดับทองถิ่น (local Norms) ของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

4. จัดทําคูมือการใชแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 วิธีดําเนินการวิจัย

ประชากร ประชากรในการวิจัยในคร้ังน้ี คือ นักเรียนท่ี

กําลังศึกษาอยู ในระดับชั้นมัธยมศึกษาป ท่ี 4-6 ป

การศึกษา 2555 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ท่ีประกอบดวยโรงเรียนท้ังหมด 50 แหง จํานวน 31,931 คน

กลุมตัวอยาง การวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยแบงกลุมตัวอยางออกเปน

4 กลุม ดังน้ี 1. กลุมตัวอยาง เพื่อตรวจสอบคุณภาพของ

แบบวัดในประเด็นของความชัดเจนของคําชี้แจง ความเหมาะสม ความชัดเจนของภาษาท่ีใช และระยะเวลาท่ีนักเรียนใชในการทําแบบวัด ผูวิจัยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง จากโรงเรียนท่ีไมใชกลุมตัวอยางโรงเรียนท่ีวิเคราะหคุณภาพในดานคาอํานาจจําแนก ความตรงตามโครงสราง และคาความเท่ียง รวมท้ังการสรางเกณฑปกติของแบบวัดพลเมืองดี ไดกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนบานสวน(จั่นอนุสรณ)โดยผูวิจัยขอใหครูคัดเลือกนักเรียนท่ีมีความเปนพลเมืองดีระดับสูง ปานกลาง ตํ่า จํานวน 9 คน ระดับชั้นละ 3 คน

2. กลุมตัวอยาง เพื่อตรวจสอบคุณภาพของขอคําถามในการวิเคราะหคาอํานาจจําแนก ผูวิจัยใชวิธี การสุมอยางงาย จากโรงเรียนท่ีไมใชกลุมตัวอยางโรงเรียนท่ีวิเคราะหคุณภาพใน ดานความตรงเชิงโครงสราง และคาความเที่ยง รวมทั้งการสรางเกณฑปกติของแบบวัดพลเมืองดี ไดกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนบึงศรีราชาพิทยาคม ระดับชั้นละ 1 หองเรียน รวมท้ังส้ินจํานวน 98 คน

3. กลุมตัวอยาง เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดดานความเที่ยง ผูวิจัยใชวิธีการสุมอยางงาย จากโรงเรียนท่ีไมใชกลุมตัวอยางโรงเรียนท่ีวิเคราะหคุณภาพในดานความตรงเชิงโครงสรางและการสรางเกณฑปกติของแบบวัดพลเมืองดี ไดกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนชลราษฎรอํารุง 2 ระดับชั้นละ 1 หองเรียน รวมท้ังส้ินจํานวน 84 คน

Page 36: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

28  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

4. กลุมตัวอยางเพื่อการวิเคราะหคุณภาพดานความตรงเชิงโครงสราง ความเที่ยง และการสรางเกณฑปกติสําหรับแปลความหมายผลการวัดจากแบบวัดความเปนพลเมืองดีฉบับสมบูรณ โดยผูวิจัยใชวิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน ไดกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนเขาชะเมาวิทยาคม จํานวน 78 คน โรงเรียนสุรศักด์ิวิทยาคม จํานวน 87 คน โรงเรียนระยองวิทยาคมปากนํ้า จํานวน 101 คน โรงเรียนชลกัลยานุกูล แสนสุข จํานวน 112 คน โรงเรียนศรีราชา จํานวน 138 คน รวมท้ังส้ินจํานวน 516 คน การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยเปนผูดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาดวยตนเอง มีขั้นตอนดังน้ี

1. นําหนังสือขอความอนุเคราะหเก็บขอมูลไปติดตอกับผูบริหารโรงเรียนท่ีเลือกเปนกลุมตัวอยาง เพื่อขอความอนุเคราะหในการเก็บขอมูลกับนักเรียน และประสานกับโรงเรียน เพื่อกําหนดวัน เวลาในการเก็บขอมูลดวยตนเอง

2. เต รียมแบบวัดให เพียงพอกับจํานวนนักเรียนท่ีเขาสอบ และเตรียมแบบวัดใหมากกวาจํานวนนักเรียนท่ีเขาสอบจริง เพื่อสํารองไวสําหรับแบบวัดชุดท่ีพิมพไมชัดเจน แบบวัดชุดท่ีมีจํานวนหนาไมครบ หรือสํารองไวใหกับนักเรียนบางคนที่ทําแบบวัดเสีย และวางแผนในการดําเนินการสอบลวงหนา

3. จัดเตรียมความพรอมของสถานท่ีสอบ หองสอบและทําความเขาใจกับครูผูชวยคุมสอบท่ีทางโรงเรียนจัดใหในเรื่องของการบริหารการสอบท่ีมีความเปนมาตรฐานและไมทําใหเกิดความลําเอียงตอการสอบ

4. ดําเนินการสอบโดยผูวิจัยอธิบายใหนักเรียนเขาใจวัตถุประสงค และวิธีการตอบใหนักเรียนเขาใจกอนท่ีจะเริ่มทําแบบวัด

5. หลังการสอบทุกคร้ังตรวจสอบความสมบูรณและความถูกตองในการตอบของนักเรียน ถานักเรียนตอบครบทุกขอจึงจะถือวาครบถวนสมบูรณ

การวิเคราะหขอมูล

1. วิเคราะหคุณภาพรายขอ เพื่อวิเคราะหคาอํานาจจําแนก ดวยวิธีการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธคะแนนรายขอกับคะแนนรวม โดยใชสูตรการคํานวณสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของ Pearson

2. วิเคราะหความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยวิธีเชิงเหตุผล โดยใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาความสอดคลองของขอคําถามกับนิยามท่ีกําหนด โดยการคํานวณดัชนีความสอดคลอง IOC (Item Objective Congruence Index) ของขอคําถามกับนิยามความเปนพลเมืองดีตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

3. วิเคราะหความตรงเชิงโครงสราง (Construct Validity) โดยวิธีเชิงประจักษ ดวยการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันดวยโปรแกรมลิสเรล

4. วิ เคราะหความเท่ียง (Reliability) แบบความสอดคลองภายในดวยการหาสัมประสิทธิ์แบบแอลฟาของ Cronbach

5. การวิเคราะหหาเกณฑปกติและการแปลผลเกณฑปกติ โดยมีขั้นตอนการวิเคราะหดังน้ี

1. นําคะแนนมาแจกแจงความถ่ี (frequency: f) 2. หาความถ่ีสะสม (Cumulative frequency:

cf) 3. แปลงคะแนนดิบเปนเปอรเซ็นตไทล 4. นําคะแนนเปอรเซ็นตไทลแปลงเปน

คะแนนปกติที (normalized T-score) จากตารางการแปลงคะแนนเปอรเซ็นตไทลเปนคะแนนปกติที

Page 37: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 29

 

5. นําคะแนนปกติทีมาแปลผลเปนเกณฑปกติ โดยกําหนดเกณฑในการแปลผลเปน 5 ระดับ ท่ีมีชวงของคะแนนแตระดับเทากัน โดยการหาพิสัยของคะแนนปกติทีแลวหารดวยจํานวนระดับท่ีตองการ ผลการวิจัย

ตอนที่ 1 ผลการสรางแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณ แบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ท่ีสรางข้ึนเปนแบบวัดเชิงสถานการณแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก แตละตัวเลือกมีคะแนนตางกันต้ังแต 0-3 คะแนน ตามระดับพัฒนาการทางจริยธรรมของ Kohlberg (Online) และลําดับพฤติกรรมความรูสึกตามแนวทฤษฎีพัฒนาของ Krathwohl and Others (1964 อางในรวีวรรณ อังคนุรักษพันธุ, 2533: 5-8) ท่ีผูวิจัยไดสรุปและปรับเพื่อใชเปนเกณฑในการตรวจใหคะแนนแตละขอคําถาม แบบวัดความเปนพลเมืองมีท้ังหมดจํานวน 92 ขอ เพื่อวัดคุณลักษณะของความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 10 คุณลักษณะไดแก 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย จํานวน 16 ขอ 2) ซื่อสัตยสุจริต จํานวน 4 ขอ 3) มีวินัย เคารพกฎหมายและกติกาสังคม จํานวน 4 ขอ 4) ใฝเรียนรู จํานวน 12 ขอ 5) อยูอยางพอเพียง

จํานวน 12 ขอ 6) มุงมั่น รับผิดชอบในการทํางาน จํานวน 12 ขอ 7) รักความเปนไทย จํานวน 12 ขอ 8) มีจิตสาธารณะ จํานวน 12 ขอ 9) มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น จํานวน 2 ขอ และ10) เขารวมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง จํานวน 2 ขอ การทําแบบวัดให นักเรียนอานขอคําถามท่ีเปนสถานการณแลวพิจารณาเลือกตอบตัวเลือกท่ีตรงกับนักเรียนจะปฏิบัติมากที่สุดเพียงขอเดียวลงในกระดาษคําตอบท่ีแจกให กําหนดเวลาในการทําแบบวัด 60 นาที

ตอนที่ 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณ

การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณ มีรายละเอียดดังน้ี

2.1 ผลการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสราง 2.1.1 การตรวจสอบความสัมพันธ

ระหวางคะแนนการตอบแบบวัดในแตละคุณลักษณะ ผูวิจัยไดวิเคราะหสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

ระหวางคะแนนในแตละคุณลักษณะของแบบวัดคุณลักษณะความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเ รียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณ ไดผลแสดงดังตารางท่ี 1

Page 38: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

30  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ตารางที่ 1 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางคะแนนในแตละคุณลักษณะของแบบวัดความเปนพลเมืองดี 10 คุณลักษณะ

Y1 Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7 Y8 Y9 Y10 Y1 Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7 Y8 Y9 Y10

1.000 0.522** 1.000 0.514** 0.353** 1.000 0.586** 0.427** 0.611** 1.000 0.630** 0.522** 0.493** 0.673** 1.000 0.587** 0.503** 0.414** 0.556** 0.616** 1.000 0.541** 0.496** 0.475** 0.537** 0.592** 0.562** 1.000 0.496** 0.512** 0.441** 0.531** 0.532** 0.563** 0.630** 1.000 0.389** 0.360** 0.385** 0.485** 0.637** 0.368** 0.375** 0.322** 1.000 0.434** 0.352** 0.293** 0.380** 0.408** 0.476** 0.471** 0.550** 0.223** 1.000

** มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

จากตารางท่ี 1 คะแนนการตอบแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณท่ีประกอบดวยคุณลักษณะความเปนพลเมืองดี 10 คุณลักษณะ มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแตละคุณลักษณะต้ังแต 0.223–0.673 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธตํ่าสุดเทากับ 0.223 ซึ่งเปนความสัมพันธระหวางคุณลักษณะท่ี 9 มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และคุณลักษณะท่ี 10 เขารวมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธสูงสุดเทากับ 0.673 เปนความสัมพันธ

ระหวางคุณลักษณะท่ี 4 ใฝเรียนรู และคุณลักษณะท่ี 5 อยูอยางพอเพียง และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแตละคุณลักษณะมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

2.1.2 ผลการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน

ผู วิ จั ย ไ ด ต ร ว จสอบคว ามต ร ง เ ชิ งโครงสรางของแบบวัดความเปนพลเมืองดีฉบับสมบูรณท่ีประกอบดวยคุณลักษณะความเปนพลเมืองดี 10 ลักษณะ ดวยการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน ผลแสดงดังตารางท่ี 2 และภาพท่ี 1

Page 39: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 31

 

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันของแบบวัดความเปนพลเมืองดี 10 คุณลักษณะ ประเดน็การวิเคราะห ผลการวิเคราะห

P-value Chi-Square RMSEA RMR GFI AGFI

0.056 37.14 0.031 0.043 0.985 0.968

จากตารางท่ี 2 สรุปไดวาแบบวัดความเปน

พลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 มีความตรงเชิงโครงสรางท่ีประกอบดวยคุณลักษณะความเปนพลเมืองดี 10 คุณลักษณะ ไดแก 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย 2) ซื่อสัตยสุจริต 3) มีวินัย เคารพกฎหมายและกติกาสังคม 4) ใฝเรียนรู 5) อยูอยางพอเพียง 6) มุงมั่น รับผิดชอบในการทํางาน 7) รักความเปนไทย 8) มีจิตสาธารณะ 9) มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และ10) เขารวมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง โครงสรางของแบบวัดมีความสอดคลอง

กลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษโดยคาไคสแควร (Chi-Square) ท่ี df เทากับ 25 มีคาเทากับ 37.14 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคล่ือนกําลังสองของการประมาณคา (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA) มีคาเทากับ 0.031 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคล่ือน (Root Mean Square Residual: RMR) มีคาเทากับ 0.043 คาดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index: GFI) มีคาเทากับ 0.985 และคาดัชนีวัดระดับความกลมกลืนท่ีปรับคาแลว (Adjusted Goodness of Fit Index: AGFI) มีคาเทากับ 0.968

ภาพที่ 1 ผลการวิเคราะหองคประกอบเชิงยนืยันของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

Page 40: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

32  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

จากภาพท่ี 1 จะเห็นไดวาองคประกอบของความเปนพลเมืองดี 10 คุณลักษณะ ท่ีไดแก 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย 2) ซื่อสัตยสุจริต 3) มีวินัย เคารพกฎหมายและกติกาสังคม 4) ใฝเรียนรู 5) อยูอยางพอเพียง 6) มุงมั่น รับผิดชอบในการทํางาน 7) รักความเปนไทย 8) มีจิตสาธารณะ 9) มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และ10) เขารวมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง มีคานํ้าหนักแตละองคประกอบเทากับ 0.7307 0.8775 0.9131 0.7282 0.7624 0.7136 0.8416 0.8226 0.7051 และ 1.0149 ตามลําดับ

2.2 ผลการตรวจสอบความเที่ยง ผูวิจัยไดตรวจสอบความเท่ียงของแบบวัด

ความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณท้ังฉบับดวยการหาความสอดคลองภายในโดยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบแอลฟาตามวิธีของ Cronbach พบวาแบบวัดความ เปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณ มีคาความเที่ยงท้ังฉบับเทากับ 0.94 ตอนที่ 3 ผลการสรางเกณฑปกติระดับทองถิ่น

(local Norms) ของแบบวัดความเปนพลเมืองดี

สําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา

เขต 18 ผูวิจัยไดสรางเกณฑปกติระดับทองถิ่น (local

Norms) ของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยการนําคะแนนดิบท่ีไดจากการนําไปทดลองใชจริงกับนักเรียนกลุมตัวอยางจํานวน 516 คน แปลงเปนเปอรเซ็นตไทล

และนํา เปอร เซ็นต ไทลแปลงเปนคะแนนปกติ ที (normalized T-score) จากตารางการแปลงคะแนนเปอรเซ็นตไทลเปนคะแนนปกติที ผลการสรางเกณฑปกติของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบวามีคะแนนปกติทีต้ังแต T19-T81 ตอนท่ี 4 ผลการจัดทําคูมือการใชแบบวัดความ

เ ป นพล เ มื อ ง ดี สํ า ห รั บ นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ชั้ น

มัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

ผูวิจัยไดจัดทําคูมือการใชแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 คูมือการใชแบบวัดประกอบไปดวย วัตถุประสงคของแบบวัด นิยามความเปนพลเมืองดี ลักษณะของแบบวัด โครงสรางของแบบวัด คุณภาพของแบบวัด วิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน และเกณฑปกติในการแปลความหมายคะแนน

ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยผูวิจัยนําคูมือไปใหคุณครูท่ีสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 จํานวน 3 ทาน ทดลองการใชคูมือโดยใหครูอานทําความเขาใจและทดลองตรวจใหคะแนนของนักเรียนและแปลผลคะแนน ซึ่งพบวาครูท้ัง 3 ทานมีความเขาใจการดําเนินการสอบตามคูมือการใชแบบวัดและสามารถตรวจใหคะแนนและแปลผลคะแนนไดถูกตองตามเกณฑการใหคะแนนและตรงตามเกณฑการแปลผลคะแนน

Page 41: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 33

 

จากผลการวิจัยดังกลาวสรุปไดวา 1. แบบวัดท่ีสรางข้ึนประกอบดวยขอคําถาม

92 ขอ ท่ีมุงวัดความเปนพลเมืองดี 10 คุณลักษณะ ไดแก 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย 2) ซื่อสัตยสุจริต 3) มีวินัย เคารพกฎหมายและกติกาสังคม 4) ใฝเรียนรู 5) อยูอยางพอเพียง 6) มุงมั่น รับผิดชอบในการทํางาน 7) รักความเปนไทย 8) มีจิตสาธารณะ 9) มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และ10) เขารวมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง ท่ีมีลักษณะเปนขอคําถามเชิงสถานการณแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยแตละตัวเลือกมีคะแนนท่ีแตกตางกันต้ังแต 0-3 คะแนน

2. การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณ สรุปไดวาแบบวัดมีความตรงเชิงโครงสรางท่ีโครงสรางของแบบวัดมีความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษโดยคาไคสแควร (Chi-Square) ท่ี df เทากับ 25 มีคาเทากับ 37.14 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคล่ือนกําลังสองของการประมาณคามีคาเทากับ 0.031 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคล่ือน มีคาเทากับ 0.043 คาดัชนีวัดระดับความกลมกลืน มีคาเทากับ 0.985 และคาดัชนีวัดระดับความกลมกลืนท่ีปรับคาแลว มีคาเทากับ 0.968 และมีคาความเที่ยงท้ังฉบับเทากับ 0.94

3. การสรางเกณฑปกติของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบวามีคะแนนปกติทีต้ังแต T19-T81

4. จัดทําคูมือการใชแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบวา คูมือการใชแบบวัดท่ีจัดทําข้ึนมีความเหมาะสม สะดวกสามารถนําไปใชได และมีองคประกอบครบถวน

อภิปรายผล 1. ความตรงตามเนื้อหาของแบบวัดความ

เปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยม

ศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

ผลการตรวจสอบความตรงตามเ น้ือหา (Content Validity) ดวยวิธีเชิงเหตุผล โดยนําผลการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญมาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามกับนิยามของความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบวาคา IOC ของขอคําถามในแบบวัดความเปนพลเมืองดี มีคาต้ังแต 0.8-1.0 ซึ่งแสดงใหเห็นวาขอคําถามทุกขอมีความตรงตามเน้ือหา กลาวคือมีความสอดคลองกับนิยามของความเปนพลเมืองดีท่ีมุงวัด ท่ีสอดคลองกับ ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ (2543: 248-249) และบุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ (2547: 179) ท่ีกลาววาการพิจารณาคา IOC จะตองมีคามากกวา 0.5 ขึ้นไป จึงถือวาขอคําถามน้ันสอดคลองตรงตามเน้ือหา

2. คุณภาพรายขอในประเด็นของคา

อํานาจจําแนกของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา

เขต 18 ผลการนําแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับ

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ไปทดลองใชเพื่อหาคาอํานาจจําแนก โดยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธคะแนนรายขอกับคะแนนรวม พบวามีคาอํานาจจําแนกต้ังแต 0.20-0.62 แสดงวาขอคําถามของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการ

Page 42: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

34  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 มีคุณภาพเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนด คือคาอํานาจจําแนกตองมีคาต้ังแต 0.20 ขึ้นไป ซึ่งหมายความวา ขอคําถามขอน้ันสามารถจําแนกนักเรียนท่ีมีความเปนพลเมืองดีได ดังท่ี Ebel and Fasbric (1986 อางในพรทิพย ไชยโส, 2545: 189) ศิริชัย กาญจนวาสี (2544: 181) และลวน สายยศ และอังคณา สายยศ (2543: 185) ท่ีระบุวาคาอํานาจจําแนกท่ีดีควรมีคาเปนบวกเขาใกล +1 และคาอํานาจจําแนกจะตองมีคาต้ังแต 0.2 ขึ้นไป

3. ความตรงเชิงโครงสรางของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18

ผลการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสรางของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการ ศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน พบวาแบบวัดมีความตรงเชิงโครงสรางท่ีประกอบดวยคุณลักษณะความเปนพลเมืองดี 10 คุณลักษณะ ไดแก 1) รักชาติ ศาสน กษัตริย 2) ซื่อสัตยสุจริต 3) มีวินัย เคารพกฎหมายและกติกาสังคม 4) ใฝเรียนรู 5) อยูอยางพอเพียง 6) มุงมั่น รับผิดชอบในการทํางาน 7) รักความเปนไทย 8) มีจิตสาธารณะ 9) มีเหตุผล รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และ10) เขารวมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง โครงสรางของแบบวัดมีความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษโดยคาไคสแควร (Chi-Square) ท่ี df เทากับ 25 มีคาเทากับ 37.14 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคล่ือนกําลังสองของการประมาณคา (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA) มีคาเทากับ 0.031 คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคล่ือน (Root Mean Square Residual: RMR) มีคาเทากับ 0.043 คาดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index:

GFI) มีคาเทากับ 0.985 และคาดัชนีวัดระดับความกลมกลืนท่ีปรับคาแลว (Adjusted Goodness of Fit Index: AGFI) มีคาเทากับ 0.968 ซึ่งมีความความสอดคลองกับเกณฑการพิจารณาความสอดคลองกลมกลืนของโครงสรางกับขอมูลเชิงประจักษ แตละคาดัชนีท่ี Diamantopoulos และ Siguaw (2000 อางในสุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน, 2554: 27-29 ไดเสนอไว ดังน้ี 1) คารากท่ีสองของคาเฉลี่ยความคลาดเคล่ือนกําลังสองของการประมาณคา (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA) เสนอวา RMSEA ท่ีดีมากๆ ควรมีคานอยกวา 0.05 ซึ่งหมายถึงโครงสรางมีความกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษดี 2) คารากท่ีสองของคาเฉล่ียความคลาดเคลื่อน (Root Mean Square Residual: RMR) ท่ีสรุปวาคา RMR ควรมีคานอยกวา 0.05 แสดงวาโครงสรางมีความกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษดี 3) คาดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index: GFI) ควรมีคามากกวาหรือเทากับ 0.95 แสดงวาโครงสรางมีความกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษดี และ4) คาดัชนีวัดระดับความกลมกลืนท่ีปรับคาแลว (Adjusted Goodness of Fit Index: AGFI) ควรมีคามากกวาหรือเทากับ 0.95 แสดงวาโครงสรางมีความกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษดี

4. ความเที่ ยงของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 18

ผลการตรวจสอบความเที่ยงของแบบวัดความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณท้ังฉบับดวยการหาความสอดคลองภายในโดยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบแอลฟาตามวิธีของ Cronbach พบวาแบบวัด

Page 43: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 35

 

ความเปนพลเมืองดีสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ฉบับสมบูรณ มีคาความเท่ียงท้ังฉบับเทากับ 0.94 ซึ่งมีความสอดคลองกับ ศิริชัย กาญจนวาสี (2544: 38) ท่ีกลาววาคาสัมประสิทธิ์ความเท่ียงของแบบสอบมาตรฐานท่ีพบเห็นกันท่ัวไปจะมีคาต้ังแต 0.8 หรือ 0.9 ขึ้นไป และเยาวดี วิบูลยศรี (2545: 102) ท่ีกลาววาแบบสอบท่ีสรางข้ึนอยางเปนมาตรฐานท่ีใชในหนวยงานควรมีคาความเที่ยงไมนอยกวา 0.85 ขอเสนอแนะ

1. ขอเสนอแนะในการนําแบบวัดความเ ป นพล เ มื อ ง ดี สํ า ห รั บ นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ชั้ นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ไปใช

1. ผู ท่ี นําแบบวัดไปใชควรมีการศึกษาคูมือการใชแบบวัดใหมีความเขาใจถึงวัตถุประสงคของแบบวัด วิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน และเกณฑปกติในการแปลความหมายคะแนนกอนนําไปใช

2. คุณครูหรือผูท่ีเก่ียวของควรมีการนําแบบวัดไปใชวัดระดับของความเปนพลเมืองดีของนักเรียนเพื่อวิเคราะหจุดเดนและจุดท่ีควรพัฒนาของนักเรียน แลวนําผลการวัดไปใชกําหนดแนวทางหรือปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสอดแทรกการพัฒนาความเปนพลเมืองดีของนักเรียนตอไป

2. ขอเสนอแนะในทําวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการวิจัยเพื่อสรางแบบวัดความ

เปนพลเมืองดีในระดับชั้นอื่นๆ เพื่อใชเปนเคร่ืองมือในการวัดระดับของความเปนพลเมืองดีของนักเรียน เพื่อนําผลการวัดไปใชกําหนดแนวทางหรือปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสอดแทรกการพัฒนาความเปนพลเมืองดีของนักเรียนตอไป

2. ควรมีการวิจัยรูปแบบการวัดความเปนพลเมืองดีในรูปแบบอื่นๆ เพื่อนําผลการวัดมาใชในประกอบกับผลการวัดจากแบบวัดท่ีสรางข้ึน เพื่อจะไดผลการวัดท่ีถูกตองตรงตามความเปนจริงท่ีสามารถนําผลการวัดไปใชกําหนดแนวทางหรือปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสอดแทรกการพัฒนาความเปนพลเมืองดีของนักเรียนไดดียิ่งขึ้นตอไป

Page 44: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

36  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. กรมวิชาการ. (2534). หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2534 (ฉบับปรงุปรุง พ.ศ. 2533).

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง. (2553). คําสั่งคณะกรรมการนโยบายปฏิรูป

การศึกษาในทศวรรษที่สองที่ 6/2553 เรื่อง การแตงตัง้คณะอนุกรรมการ กนป. ดานพัฒนา การศึกษาเพ่ือความเปนพลเมืองด.ี 28 มิถุนายน 2553.

จิตตินันท บุญสถิรกุล. (2548). จิตวิทยาวัยรุนในโรงเรียน. ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ. (2547). วผ 401 การวัดประเมินการเรียนรู. คณะศึกษาศาสตร มหาลัยวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ. (อัดสําเนา).

พรทิพย ไชยโส. (2545). เอกสารคําสอนวิชา 153521 หลักการวัดและการประเมินผลข้ันสูง. ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. (อัดสําเนา).

เยาวดี วบิูลยศรี. (2545). การวัดผลและการสรางแบบสอบผลสัมฤทธ์ิ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

รวีวรรณ อังคนุรักษพันธุ. (2533). เอกสารคําสอนวิชา วผ 306 การวัดทัศนคตเิบื้องตน. ภาควชิาหลักสูตรและ การสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบรูพา.

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาศาสน.

ศักด์ิชัย นิรัญทวี. (2548). รายงานการวิจัยเอกสารการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนพลเมืองด.ี

กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพดีการพิมพ จํากัด. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไข

เพิ่มเติม (ฉบบัที2่) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด. Kohlberg, L. Lawrence Kohlberg’s stages of moral development (Online).

ww.en.wikipedia.org/wiki/lawrence_ Kohlberg’s_stages_of_moral_development, March 3, 2012.

Page 45: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 37

 

การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานชั้นประถมศึกษาปที่ 3

THE DEVELOPMENT OF DIAGNOSTIC READING TEST FOR CHILDREN WITH READING DISABILITIES IN GRADE 3

ผูวิจัย ชนิดา มิตรานันท1 Chanida Mitranun กรรมการควบคุม รศ.ดร. บุญเรียง ขจรศิลป2

ศ.ดร. ผดุง อารยะวิญู3 Advospr Committee Assoc.Prof.Dr. Boonreang Kajornsin Prof.Dr. Padoong Arrayavinyoo บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาและหาคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 2) จัดทําคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 และ 3) ทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานพรอมคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานในสภาพจริง ซึ่งมีลําดับขั้นตอนในการวิจัยเพื่อพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน ดังน้ี ขั้นตอนท่ี 1 การคัดกรองเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ขั้นตอนท่ี 2 การสรางแบบทดสอบเชิงสํารวจขอบกพรองดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ขั้นตอนท่ี 3 การพัฒนาและหาคุณภาพของแบบทดสอบวินิจ ฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ขั้นตอนท่ี 4 การจัดทําคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน

สําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 และข้ันตอนท่ี 5 การทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานและคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานในสภาพจริงประชากร ท่ีใชในการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานในคร้ังน้ี คือ นักเรียนท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 และภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จํานวน 212 คน

ผลการวิจัยสรุปไดวา 1) แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับ

เด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถม ศึกษาปท่ี 3 ประกอบดวย ประกอบดวย การเรียนรูดวยสายตาและการฟง การจําแนกตัวอักษร การจําแนกคํา การวิเคราะหคํา การเขาใจความหมายของคําศัพท และการเขาใจเน้ือเร่ือง จํานวน 70 ขอ มีคุณภาพรายขอดานความยากของขอสอบอยูระหวาง 0.20 ถึง 0.80 และมีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.21 ถึง 0.84 และมีคาความเที่ยงเทากับ 0.95 นอกจากน้ีแบบทดสอบวินิจฉัย

1นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2อาจารยประจําสาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3อาจารยประจําหลักสูตรการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

Page 46: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

38  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ดานการอานมีความตรงตามเน้ือหา ความตรงตามโครงสราง และความตรงตามสภาพ

2) คูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน ประกอบดวย จุดมุงหมายของแบบทดสอบ โครงสรางของแบบทดสอบ ลักษณะของแบบทดสอบ คุณภาพของแบบทดสอบ เวลาท่ีใชในการทดสอบ วิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน เกณฑการวินิจฉัยและวิธีการวิเคราะหขอบกพรอง และแบบแจงผลการวินิจฉัยขอบกพรองดานการอาน

3) การทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานพรอมคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานในสภาพจริง พบวา แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสามารถใชวินิจฉัยขอบกพรองทางการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการอานได ใชงาย และไมยุงยาก และคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานฉบับสมบูรณ มีรายละเอียดของวิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน เกณฑการวินิจฉัย และการแจงผลการวินิจฉัยขอ บกพรองดานการอานชัดเจนและเขาใจงาย ครูสามารถนําไปใชบริหารการสอบดวยตนเองในสภาพจริงได คําสําคัญ : แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน ปญหาดานการอาน

ABSTRACT

The objectives of this research were 1) to develop and to determine the quality of the reading diagnostic tests; 2) to develop the manual for administration of the reading diagnostic test; and 3) to implement the reading diagnostic test with manual in the real situation. The research was conducted into five phases. The first phase was to identify children with reading disabilities in grade 3. The second phase

was to construct the survey test for reading defection. The third phase was to develop the reading diagnostic tests. The fourth phase was the development of the manual for administration of the reading diagnostic test. The final phase was the implementation of the reading diagnostic test with manual. Two hundred and twelve students with reading disabilities in grade 3, enrolling in the first semester and second semester of 2012 academic year from 27 schools of Bangkok Educational Service serves as the population of this research.

The result of research revealed that: 1) The reading diagnostic test, having 70

items, consists of visual-auditory learning, letter identification, word identification, word attack, word comprehension, and passage comprehension. The quality of the diagnostic reading test, the item difficulty level ranged from 0.20 to 0.80. The discrimination index ranged from 0.21 to 0.84, and the internal consistency reliability was 0.95. In addition, the diagnostic test was approved content validity; construct validity, and concurrent validity. It was found that this test had good quality.

2) The manual for administration the reading diagnostic test composed of objectives of test, table of specification, characteristic of test, quality of test, time of test, instruction, criteria for scoring, criteria for diagnostic and determine area of difficulty in reading, and report of the finding.

Page 47: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 39

 

3) The implementation the reading diagnostic test with manual revealed that the test could determine area of reading defection and was easy to use for diagnosis children with reading disabilities. Instruction, criteria for scoring, criteria for diagnostic, and report of the finding of manual were clearly understood for the teachers. Keywords : The Diagnostic Reading Test Reading Disabilities บทนํา

การอานมีความสําคัญเพราะการอานเปนพื้นฐานท่ีสําคัญของการเรียนรูและการพัฒนาสติปญญาของคนในสังคม การอานทําใหเกิดการพัฒนาดานสติปญญา ความรูความสามารถ พฤติกรรม และคานิยมตางๆ รวม ท้ังชวยในการเปล่ียนการดําเนินชีวิต พัฒนาไปสูส่ิงท่ีดีท่ีสุดของชีวิต การอานจึงมีความสําคัญตอชีวิตมนุษยอยางย่ิง (สํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2549: 1)

เด็กท่ีมีปญหาในการเรียนรู หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพรองในกระบวนการทางจิตวิทยาทําใหเด็กมีปญหาในการใชภาษา ท้ังในดานการฟง การอาน การพูด การเขียนและการสะกดคํา หรือมีปญหาการเรียนวิชาคณิตศาสตร ปญหาดังกลาวมิไดมีสาเหตุมาจากความบกพรองทางรางกาย แขน ขา ลําตัว สายตา การไดยิน ระดับสติปญญา อารมณ และสภาพแวดลอมรอบตัวเด็ก (Individuals with Disabilities Education Act (IDEA), 2004 อางใน Smith, T.E.C., 2008: 135-136) และพบวาเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูสวนใหญกําลังศึกษาอยูในระดับประถมศึกษา โดยการอานเปนปญหา

ท่ีสําคัญท่ีสุดของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรู (Friends, M., 2006: 173) หากวาเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูไมไดรับการชวยเหลือดานการอานจะทําใหไมสามารถศึกษาเลาเรียนได

เด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูจะเร่ิมเห็นปญหาอยางชัดเจนเมื่อขึ้นชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 - 4 (วรรณี โสมประยูร, 2537: 73) ดังน้ัน การคัดแยกเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูควรเร่ิมคัดแยกและวินิจฉัยใหไดเร็วท่ีสุด ต้ังแตชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 เพื่อใหการชวยเหลือเด็กกลุมน้ีไดทันทวงที แตยังไมควรเร่ิมคัดแยกเด็กกอนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 เน่ืองจากเคร่ืองมือและวิธีการท่ีใชในการประเมินเพื่อคัดแยกน้ันยังไมเพียงพอท่ีจะคัดแยกได (Lyon et al., 2001 อางใน Smith, T.E.C, 2008: 172)

อยางไรก็ตามในปจจุบันน้ีมีเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูอยูในระบบโรงเรียนตามปกติท่ัวไป โดยท่ีเด็กกลุมน้ีก็ยังไมไดรับการชวยเหลืออยางเหมาะสม ซึ่งปญหาสําคัญประการหน่ึงก็คือ ครูท่ัวไปพบวา การแยกแยะเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูออกจากเด็กท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่าน้ันเปนเร่ืองคอนขางยาก เด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูจึงมีจํานวนมากกวาความเปนจริง เพราะกระบวนการคัดแยกและประเมินไมถูกตอง (กุลยา กอสุวรรณ, 2553: 30) ในปจจุบันการวินิจฉัยคัดแยกเด็กท่ีมีความบกพรองทางการเรียนรูน้ันสวนใหญจะเปนแบบสํารวจแบบมาตรวัดประมาณคา (Rating Scale) ซึ่งไมไดประเมินกับเด็กโดยตรง แตใชวิธีการประเมินทางออมจากการสังเกตพฤติกรรมและสอบถามจากครูผูสอน ซึ่งขอมูลท่ีไดเพียงบอกไดเพียงวาเปนเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูหรือไม แตไมสามารถบอกไดวาเด็กมีขอบกพรองทางการอานเร่ืองใด ทําใหไมสามารถชวยเหลือเด็กเหลาน้ีไดอยางตรงประเด็น แมวาในตางประเทศมีแบบทดสอบวินิจฉัย

Page 48: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

40  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ทางการเรียนพิมพจําหนายเผยแพร และมีใหเลือกใชมากมาย แตสําหรับในประเทศไทยยังเปนแบบทดสอบท่ีไมแพรหลาย มีการสรางและใชแบบทดสอบวินิจฉัยนอยมาก สวนใหญเปนการสรางเพื่อใชในการวิจัยเทาน้ัน (บุญศรี พรหมมาพันธุ และนวลเสนห วงศเชิดธรรม, 2545: 253) และสวนมากนักจิตวิทยาเปนผูใชจึงมีปญหาในทางปฏิบัติ แตครูผูสอนหรือครูแนะแนวไมสามารถใชได ซึ่งในความเปนจริงแลวเคร่ืองมือวินิจฉัยเด็กท่ีมีความบกพรองทางการเรียนรูดานการอานควรเปนเคร่ืองมือท่ีครูผูสอนหรือครูแนะแนวสามารถใชเคร่ืองมือน้ันได เพื่อจะไดใหการชวยเหลือเด็กเหลาน้ีไดอยางรวดเร็วและเหมาะสม

The Woodcock Reading Mastery Tests-Revised (WRMT-R) เปนแบบทดสอบวินิจฉัยทางการอานท่ีใชวัดความสามารถทางการอานกันอยางกวางขวางท้ังจุดมุงหมายในดานการศึกษาและการวิจัย โดยเฉพาะใชอยางกวางขวางในจุดประสงคเพื่อวินิจฉัยนักเรียนท่ีมีความบกพรอง เปนแบบทดสอบวินิจฉัยท่ีนิยมใชมากทางการศึกษาพิเศษ (Gillet, J.W., 2000: 198; Taylor, R.L., 2009: 292) เปนแบบทดสอบวินิจฉัยรายบุคคลมาตรฐานโดยมีขอไดเปรียบของการใช คือ มีโอกาสท่ีจะสังเกตการอานของนักเรียนไดอยางใกลชิด และมีจุดเดนคือมีการวัดการเรียนรูทางการมองเห็นและการไดยิน และการจําแนกตัวอักษร ซึ่งในแบบทดสอบวินิจฉัยอื่นไมมีการวัด ซึ่งเปนทักษะสําคัญในการเตรียมความพรอมทางการอาน (Lipson, M.Y.,1997: 412) นอกจากน้ันคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยดังกลาวเปนแบบทดสอบท่ีเปนมาตรฐานมีคาความเท่ียงมากกวา .90 ท้ังรายดานและท้ังฉบับและมีความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) กับแบบทดสอบดานการอานของ Woodcock-Johnson Psychoeducational Battery อยูระหวาง .25 ถึง .91 จึงนับไดวาแบบทดสอบ

วินิจฉัย The Woodcock Reading Mastery Test-Revised เปนแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานท่ีมีคุณภาพและเหมาะสมกับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานเปนอยางย่ิง แตเน่ืองจากแบบทดสอบวินิจฉัย WRMT-R ถูกสรางข้ึนเพื่อใชในตางประเทศซึ่งมีบริบทของโครงสรางของภาษาท่ีแตกตางจากประเทศไทย ดังน้ัน ผูวิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาแบบทดสอบเพื่อวินิจฉัยนักเรียนท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ตามกรอบแนวคิดของ The Woodcock Reading Mastery Tests-Revised (Woodcock, 1998 อางใน Taylor, 2009: 275) โดยปรับรูปแบบของขอคําถามและเน้ือหาตามโครงสรางของหลักภาษาไทยใหเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย เพื่อวิ นิจฉัยขอบกพรองทางการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน และใหครูผูสอนหรือครูแนะแนวสามารถนําเคร่ืองมือน้ีไปใชในการวินิจฉัยขอบกพรองในการเรียนของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน และนําผลการวินิจฉัยท่ีไดมาใชในการแกไขและสงเสริมการเรียนของนักเรียนไดถูกตองและตรงจุด ตลอดจนวางแผนการจัดการเรียนการสอนและปรับปรุงการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพได วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนาและหาคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียน รูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

2. เพื่อจัดทําคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีสรางข้ึน

3. เพื่อทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานและคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานในสภาพจริง

Page 49: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 41

 

กรอบแนวคิดการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยค ร้ัง น้ีมีวัต ถุประสงค เพื่ อพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ตามแนวคิดแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของ The Woodcock Reading Mastery Test-Revised (WRMT-R) ซึ่งมีลําดับขั้นตอนในการวิจัยเพื่อพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน ดังน้ี

1. การคัดกรองเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

2. การสรางแบบทดสอบเชิงสํารวจขอบกพรองดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

3. การพัฒนาและหาคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียน รูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

4. การจัดทําคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

5. การทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานและคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานในสภาพจริง 1. การคัดกรองเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3

กลุมประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ เด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษา ปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ไดรับการคัดกรองปญหาดานการอานโดยใชแบบคัดกรองภาวะสมาธิส้ัน บกพรองทางการเรียนรู และออทิซึม (KUS-SI) ของดารณี อุทัยรัตนกิจและคณะ (2548: 127) และ/หรือแบบสํารวจปญหาทางการอาน การเขียนและคณิตศาสตร ของผดุง อารยะวิญู (2546:124) แลว

แนวคิดแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของ The Woodcock Reading Mastery Test-Revised (WRMT-R)

แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน สําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเ รียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

ทฤษฎีพื้นความรูเดิมของการอาน

Page 50: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

42  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

คัดเลือกนักเรียนท่ีไดผลการคัดกรองจากแบบคัดกรองอยางนอย 1 ชุดท่ีไมเปนไปตามเกณฑ จากน้ันจึงนํานักเรียนท่ีไดรับการคัดเลือกไวไปวัดระดับเชาวนปญญาในขั้นตอนตอไปโดยใชแบบทดสอบ CPM (Colour Progressive Matrices) (Bracken, B.A. and Nagueri, J.A., 2003. 264-266) แลวคัดเลือกนักเรียนท่ีมีระดับเชาวนปญญาเทากับหรือมากกวา 90 ผลการคัดกรอง พบวา มีจํานวนประชากรนักเรียนท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานครท่ีผานเกณฑ มีจํานวน 308 คน ซึ่งจัดวาเปนเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานและเปนกลุมประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี 2. การสรางแบบทดสอบเชิงสํารวจขอบกพรองดานการอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรู

ดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 2.1 สํารวจขอบกพรองดานการอานของเด็กท่ี

มีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน โดยสัมภาษณครูผูสอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 จํานวน 5 คน แลวทําการวิเคราะหเน้ือหา (Content Analysis) เพื่อคนหาขอบกพรองทางการอานท่ีพบบอยของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานและนํามาสรางแบบทดสอบเชิงสํารวจ

2.2 สรางแบบทดสอบเชิงสํารวจสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 โดยอิงกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของชั้นประถม ศึกษาปท่ี 3 และกรอบแนวคิดในการสรางแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของ The Woodcock Reading Mastery Test-Revised จํานวน 6 ดาน ประกอบดวย การเรียนรูดวยสายตาและการฟง การจําแนกตัวอักษร

การจําแนกคํา การวิเคราะหคํา การเขาใจความหมายของคํา และการเขาใจเน้ือเร่ือง จํานวน 130 ขอ นําแบบทดสอบเชิงสํารวจไปใหผูเชี่ยวชาญดานเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรู ดานการสอนภาษาไทย และดานการวิจัยและวัดผลการศึกษา จํานวน 3 คน ทําการตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา โดยการหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence: IOC) พบวา ขอคําถามทุกขอมีคาดัชนีความสอดคลอง อยูระหวาง 0.67-1.00 หลังจากน้ันผูวิจัยไดปรับปรุงแกไขขอคําถามตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญเพื่อใหเกิดความเหมาะสมและชัดเจนมากย่ิงขึ้น

2.3 นําแบบทดสอบเชิงสํารวจดานการอานท่ีผูวิจัยสรางข้ึนไปทดลองใชกับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 30 คนท่ีผานเกณฑการคัดกรองเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในขั้นตอนท่ี 1 มาแลว เพื่อตรวจสอบคุณภาพรายขอในประเด็นของคาความยาก และคาอํานาจจําแนกรายขอ โดยไดขอสอบท่ีมีความยากของขอสอบอยูระหวาง 0.20 ถึง 0.80 และมีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.21 ถึง 0.84 จํานวน 70 ขอ ท่ีมีคุณภาพตามเกณฑท่ีกําหนดและครบถวนตามกรอบในการออกขอสอบของแบบทดสอบเชิงสํารวจดานการอานท่ีกําหนดไว

2.4 นําแบบทดสอบเชิงสํารวจดานการอานไปตรวจสอบคุณภาพในดานความเที่ยง (Reliability) แบบความสอดคลองภายในของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานท้ังฉบับโดยใชสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของ Cronbach พบวา มีคาสัมประสิทธิ์ความเที่ยงท้ังฉบับ เทากับ 0.97 และแยกเปนรายดาน มีคาสัมประสิทธิ์ความเที่ยงอยูระหวาง 0.80 ถึง 0.95

2.5 นําแบบทดสอบเชิงสํารวจดานการอานท่ีมีคุณภาพรายขอและคุณภาพท้ังฉบับไปทดลองใชกับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถม

Page 51: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 43

 

ศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 30 คน ท่ีผานเกณฑการคัดกรองเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในขั้นตอนท่ี 1 มาแลว เพื่อสํารวจขอบกพรองและรวบรวมขอบกพรอง และนําจุดบกพรองเหลาน้ันมาใชเปนขอมูลท่ีนําไปสรางตัวเลือกในการสรางแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานตอไป 3. การพัฒนาและหาคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอานระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3

1. กําหนดจุดมุงหมายในการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัย เพื่อใชเปนเคร่ืองมือคัดแยกและคนหาขอ บกพรองในการอาน สําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ตามกรอบแนวคิดแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของ The Woodcock Reading Mastery Test-Revised เพื่อใหครูไดทราบขอบกพรองดานการอานของผูเรียนเปนรายบุคคลและนําไปวางแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล

2. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับเด็กท่ีมีปญหาดานการอาน แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานบกพรอง แบบทดสอบวินิจฉัยการอานของ The Woodcock Reading Mastery Test-Revised/ Normative Update และแบบเรียนภาษาไทยสําหรับเด็กชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

3. วิเคราะหเน้ือหา เพื่อสรางกรอบในการออกขอสอบ โดยอิงกับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของชั้นประถม ศึกษาปท่ี 3 ซึ่งกรอบในการออกขอสอบ ประกอบดวยแบบทดสอบวินิจฉัยยอย 6 ดาน จํานวน 70 ขอ ดังน้ี

ดานท่ี 1 การเรียนรูดวยสายตาและการฟง เน้ือหาท่ีใชในการวินิจฉัย คือ การจําจากการเห็น การ

จําแนกจากการเห็น การจําจากการฟง และการจําแนกจากการฟง จํานวน 12 ขอ

ดานท่ี 2 การจําแนกตัวอักษร เน้ือหาท่ีใชในการวินิจฉัย คือ การจําแนกพยัญชนะ การจําแนกสระ และการจําแนกวรรณยุกต จํานวน 8 ขอ

ดานท่ี 3 การจําแนกคํา เน้ือหาท่ีใชในการวินิจฉัย คือ คําท่ีมีรูปวรรณยุกตและไมมีรูปวรรณยุกต คําท่ีมีตัวสะกดตรงมาตราและไมตรงมาตรา คําท่ีมีพยัญชนะควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา คําท่ีมีตัวการันต คําท่ีมี รร คําท่ีมีพยัญชนะและสระท่ีไมออกเสียง คําพองรูป คําพิเศษอื่นๆ ไดแก คําท่ีใช ฤ จํานวน 20 ขอ

ดานท่ี 4 การวิเคราะหคํา เน้ือหาท่ีใชในการวินิจฉัย คือ การอานคําและพยางคท่ีไมมีความหมาย จํานวน 10 ขอ

ดานท่ี 5 การเขาใจความหมายของคํา เน้ือหาท่ีใชในการวินิจฉัยคือ คําท่ีมีความหมายเหมือนกับคําท่ีกําหนด คําท่ีมีความหมายตรงขามกับคําท่ีกําหนด จํานวน 10 ขอ

ดานท่ี 6 การเขาใจเน้ือเร่ือง เน้ือหาท่ีใชในการวินิจฉัยคือ การจําและเขาใจเน้ือเร่ืองท่ีอาน และเรียง ลําดับเหตุการณจากเร่ืองท่ีอาน จํานวน 10 ขอ

4. สรางแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ซึ่งประกอบดวยแบบทดสอบวินิจฉัยยอย จํานวน 6 ดาน ตามกรอบในการออกขอสอบแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานฯ เปนแบบทดสอบเปนแบบเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก แบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก และแบบถูกผิด กําหนดขอบกพรองและสาเหตุท่ีทําใหเกิดขอบกพรองในการตอบไมถูกตอง

5. ตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา โดยใหผู เชี่ยวชาญดานเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรู ดานการสอนภาษาไทย และดานการวิจัยและวัดผลการศึกษา จํานวน

Page 52: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

44  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

5 ทาน พบวา มีคาดัชนีความสอดคลอง อยูระหวาง 0.60-1.00 และผูวิจัยไดปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญเพื่อใหเกิดความเหมาะสมและชัดเจนมากยิ่งขึ้น

6. นําแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานไปทดลองใชคร้ังท่ี 1 เพื่อศึกษาความเหมาะสมของภาษา และเวลาท่ีเหมาะสมในการทดสอบกับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 จํานวน 10 คน ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 พบวา เวลาท่ีใชในการทดสอบมีความเหมาะสม โดยใชเวลาในการทดสอบประมาณ 30-40 นาที/คน แตยังมีความไมชัดเจนของภาษาในวิธีการทดสอบ จํานวน 1 รายการ ดังน้ันผูวิจัยจึงนําขอมูลท่ีไดมาปรับปรุงแกไขภาษาใหมีความเหมาะสมมากย่ิงขึ้น

7. นําแบบสอบวินิจฉัยดานการอานไปทดลองใชคร้ังท่ี 2 เพื่อตรวจสอบคุณภาพท้ังฉบับกับกลุมประชากรซึ่งเปนนักเรียนท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 27 โรงเรียน จํานวน 212 คน นําผลที่ไดมาวิเคราะหตรวจสอบคุณภาพในดานความตรงตามโครงสราง (Construct Validity) โดยการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) การวิเคราะหขอมูลในขั้นตอนน้ี ผูวิจัยใชโปรแกรม LISREL (Linear Structural Rela- tionship)

8. นําแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานของศาสตราจารย ดร.ผดุง อารยะวิญู ไปใหครูผูสอนวิชาภาษาไทยประเมินความสามารถในการอาน และตองเปนหองเรียนเดียวกันกับท่ีผูวิจัยทดสอบเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานดวยแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน จํานวน 126 คน จาก

16 โรงเรียน เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยในประเด็นความตรงตามสภาพ โดยการหาคาความสัมพันธระหวางคะแนนที่ไดจากแบบสํารวจกับคะแนนท่ีไดจากแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน โดยใชสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

9. นําแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานไปตรวจสอบคุณภาพในดานความเที่ยงแบบความสอดคลองภายในของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานท้ังฉบับโดยใชสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของ Cronbach

4. การจัดทําคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดาน

การอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดาน

การอาน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3

ผูวิจัยไดจัดทําคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ฉบับราง แลวนําไปใหครูผูสอนวิชาภาษาไทย จํานวน 3 ทาน ทดลองใชกับเ ด็ก ท่ีมีปญหาทางการ เ รียน รู ด านการอ าน ชั้ นประถมศึกษาปท่ี 3 เพื่อหาคุณภาพของคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยการอานฯ ฉบับราง จากน้ันผูวิจัยสัมภาษณครูผูชวยเก็บขอมูลท้ัง 3 ทานเก่ียวกับการใชคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยการอานฯ ฉบับราง หลังจากน้ันผูวิจัยทําการปรับปรุงคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยการอานฯ ฉบับรางตามขอเสนอแนะของครูผูชวยใหเปนคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานฉบับสมบูรณ เพื่อนําไปใหครูไดทดลองใชในสภาพจริงตอไป

5. การทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการ

อานและคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการ

อานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการ

อาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ในสภาพจริง

Page 53: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 45

 

5.1 ผูวิจัยนําแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานพรอมคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยการอานฯ ฉบับสมบูรณ ไปใหครูทดลองใชกับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 1 คน ในสภาพจริง

5.2 ศึกษาความคิดเ ห็นของครู เ ก่ียว กับแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานและคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานในสภาพจริง โดยการสัมภาษณในประเด็นท่ีเก่ียวกับวิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน เกณฑการวินิจฉัย และการแจงผลการวินิจฉัยขอบกพรองดานการอาน ตลอดจนขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อใหผูวิจัยไดทราบถึงปญหาและขอบกพรองของคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 และนําขอเสนอแนะนําท่ีไดจากครูไปปรับปรุงคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้นตอไป สรุปผลการวิจัย 1. ผลการพัฒนาและหาคุณภาพของแบบทดสอบ

วินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการ

เรียนรูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน สําหรับเด็ก

ท่ีมีปญหาทางการเรียนรูระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ซึ่งประกอบดวยแบบทดสอบวินิจฉัยยอย จํานวน 6 ดาน จํานวน 70 ขอ เปนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก และแบบทดสอบแบบถูกผิด พรอมท้ังกําหนดขอบกพรองและสาเหตุท่ีทําใหเกิดขอบกพรองในการตอบไมถูกตอง และตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบท่ีพัฒนาข้ึน

ดวยการวิเคราะหคาความยาก คาอํานาจจําแนกของของสอบรายขอ และหาความตรงตามเน้ือหา ความตรงตามโครงสราง ความตรงตามสภาพและความเท่ียงของแบบทดสอบท้ังฉบับ ซึ่งมีรายละเอียดในประเด็นตางๆ ดังน้ี

1) คุณภาพรายขอของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานไดมาจากการหาคุณภาพรายขอของแบบทดสอบเชิงสํารวจดานการอาน เน่ืองจากเปนขอคําถามชุดเดียวกัน พบวา ขอสอบมีความยากของขอสอบอยูระหวาง 0.20 ถึง 0.80 และมีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.21 ถึง 0.84 มีคุณภาพตามเกณฑท่ีผูวิจัยกําหนดและครบถวนตามกรอบในการออกขอสอบของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานท่ีกําหนดไว

2) การตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา โดยผูเชี่ยวชาญดานเน้ือหา จํานวน 5 ทาน ผลการพิจารณาพบวา นิยามศัพท ขอคําถาม ตัวเลือก พฤติกรรมท่ีบกพรอง และตัวอยางพฤติกรรมท่ีบกพรองทุกขอมีความสอดคลองกัน มีคาดัชนีความสอดคลอง อยูระหวาง 0.60-1.00 แยกเปนดานการเรียนรูดวยสายตาและการฟง มีคาดัชนีความสอดคลองอยูระหวาง 0.80-1.00 ดานการจําแนกตัวอักษร มีคาดัชนีความสอดคลองอยูระหวาง 0.80-1.00 ดานการจําแนกคํา มีคาดัชนีความสอดคลองอยูระหวาง 0.60-1.00 ดานการวิเคราะหคํา มีคาดัชนีความสอดคลอง เทากับ 0.80 ทุกขอ ดานการเขาใจความหมายของคํามีคาดัชนีความสอดคลอง อยูระหวาง 0.80-1.00 และดานการเขาใจเน้ือเร่ืองมีคาดัชนีความสอดคลองอยูระหวาง 0.80-1.00 สวนความเหมาะสมของจํานวนขอคําถามในแตละองคประกอบ และเกณฑขั้นตํ่าในการวินิจฉัยขอบกพรองในแตละดาน ผูเชี่ยวชาญสวนใหญเห็นวามีความเหมาะสมท่ีจะนําไปใชในการวินิจฉัยขอบกพรองได จึงสรุปไดวาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานมีคุณภาพดานความ

Page 54: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

46  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ตรงตามเน้ือหา เน่ืองจากคาดัชนีความสอดคลองของแบบทดสอบทุกขอมีคามากกวาเกณฑท่ีผูวิจัยกําหนดไวต้ังแต 0.5 ขึ้นไป

3) การตรวจสอบความเที่ยงของแบบทดสอบท้ังฉบับ แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน มีคาสัมประสิทธิ์ความเที่ยงแบบความสอดคลองภายในของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานเปนรายดานอยูระหวาง 0.81 ถึง 0.93 โดยแยกเปนดานการเรียนรูดวยสายตาและการฟงเทากับ 0.82 ดานการจําแนกตัวอักษรเทากับ 0.84 ดานการจําแนกคําเทากับ 0.93 ดานการวิเคราะหคําเทากับ 0.84 ดานการเขาใจความหมายของคําเทากับ 0.81 และดานความเขาใจเน้ือเร่ืองเทากับ 0.86 และมีคาสัมประสิทธิ์ความเท่ียงของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานท้ังฉบับ เทากับ 0.95 ซึ่งมีคุณภาพตามเกณฑท่ีผูวิจัยกําหนดเทากับ 0.80 จึงสรุปไดวาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานมีคุณภาพดานความเที่ยงสามารถนําไปใชได

4) การตรวจสอบคุณภาพดานความตรงตามโครงสราง ผลการตรวจสอบคุณภาพดานความตรงตามโครงสรางของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถม ศึกษาปท่ี 3 โดยการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน ซึ่งโมเดลการวัดดานความสามารถในการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาดานการอานประกอบดวยตัวแปรแฝง 1 ดาน คือ ความสามารถในการอาน และตัวแปรสังเกตได จํานวน 6 ตัวแปร ไดแก การเรียนรูดวยสายตาและการฟง (LEARN) การจําแนกตัวอักษร (LETTER) การจําแนกคํา (WORDIDEN) การวิเคราะหคํา (WATTACK) การเขาใจความหมายของคํา (WORDCOM) และการเขาใจเน้ือเร่ือง (PASSCOM) ผลการวิเคราะหองค ประกอบเชิงยืนยันของโมเดลการวัดดานความ สามารถในการอาน ดังแสดงไวในตารางท่ี 1 และภาพท่ี 1

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันของโมเดลการวัดความสามารถในการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน

ตัวแปร นํ้าหนักองคประกอบ Completely

Standardized Solution 2R สปส SE t

LEARN LETTER WORDIDEN WATTACK WORDCOM PASSCOM

1.50 1.87 4.78 2.24 0.94 2.01

0.17 0.14 0.37 0.18 0.17 0.21

8.70** 13.72** 12.89** 12.61** 5.48** 9.48**

0.58 0.83 0.79 0.78 0.39 0.64

0.34 0.69 0.63 0.61 0.15 0.40

Chi Square goodness of fit = 9.88 df = 8 p = 0.27 RMSEA = 0.033 Standardized RMR = 0.027 GFI = 0.98 AGFI = 0.96 **มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (p<.01)

Page 55: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 47

 

จากตารางท่ี 1 พบวา โมเดลมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษ พิจารณาไดจากคาไคสแควร (Chi-Square) มีคาเทากับ 9.88 คาความนาจะเปน (p) มีคาเทากับ 0.27 คาดัชนีวัดความสอดคลองท่ีปรับแกแลว (AGFI) เทากับ 0.96 คาดัชนีรากคาเฉลี่ยกําลัง

สองของสวนเหลือมาตรฐาน (Standardized RMR) เทากับ .027 และคารากของคาเฉล่ียกําลังสองของความคลาดเคล่ือน (RMSEA) เทากับ .033 แสดงวา ตัวแปรสังเกตไดท้ัง 6 ตัวแปรใชวัดความสามารถในการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาดานการอานได

คานํ้าหนักองคประกอบของตัวแปรความบกพรองทางการอาน ดังแสดงในภาพท่ี 1

ภาพที่ 1 การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยนัของโมเดลการวัดความบกพรองทางการอาน ของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน

เมื่อพิจารณาคาสัมประสิทธิ์ของคะแนนองคประกอบตามท่ีไดแสดงไวในตารางท่ี 1 สามารถนํามาสรางสเกลองคประกอบดานความสามารถในการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาดานการอานได ดังสมการตอไปน้ี

READING = 1.50 (LEARN) + 1.87 (LETTER) + 4.78 (WORDIDEN) + 2.24 (WATTACK) + 0.94 (WORDCOM) + 2.01 (PASSCOM)

สรุปไดวา แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 มีคุณภาพดานความตรงตามโครงสราง สามารถวัดไดดวยขอคําถามจากตัวแปรสังเกตไดท้ัง 6 องคประกอบ ไดแก การเรียนรูดวย

สายตาและการฟง การจําแนกตัวอักษร การจําแนก การวิเคราะหคํา การเขาใจความหมายของคํา และการเขาใจเน้ือเร่ือง และเปนไปตามกรอบแนวคิดทฤษฎีท่ีกําหนดไว

3.5 ผลการตรวจสอบคุณภาพดานความตรงตามสภาพ

ผลการวิเคราะหหาคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยในดานความตรงตามสภาพ โดยการพิจารณาความสัมพันธระหวางคะแนนท่ีไดจากการประเมินนักเรียนท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานโดยใชแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานของศาสตราจารย ดร.ผดุง อารยะวิญู ของครูผูสอนภาษาไทยกับคะแนนท่ีไดจากแบบทดสอบวินิจฉัยดาน

Page 56: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

48  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน โดยใชการคํานวณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานและ

แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานท้ัง 2 ฉบับ ดังตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสันระหวางคะแนนท่ีไดจากแบบทดสอบท้ัง 2 ฉบับ

ความสัมพันธระหวางตัวแปร n r p คะแนนท่ีไดจากแบบประเมินกับคะแนนท่ีไดจากแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน

126 -0.759** .000

**มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (p<.01)

จากตารางท่ี 2 แสดงวาคะแนนท่ีไดจากการประเมินนักเรียนท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานโดยใชแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานของศาสตราจารย ดร.ผดุง อารยะวิญู ของครู ผูสอนภาษาไทยมีความสัมพันธกับคะแนนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ-759 กลาวคือ นักเรียนท่ีไดคะแนนจากแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานสูง จะไดคะแนนจากแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานตํ่าและในทํานองเดียว กันนักเรียนท่ีไดคะแนนจาก แบบสํารวจปญหาในการเรียนรู เฉพาะดานการอานตํ่าก็จะไดคะแนนจากแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสูงดวย และถาทราบคาของคะแนนจากแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานจะสามารถอธิบายความแปรปรวนของคะแนนจากแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานของศาสตราจารย ดร.ผดุง อารยะวิญูได รอยละ 63 ซึ่งแสดงใหเห็นวาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานมีความตรงตามสภาพ

2. ผลการจัดทําคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3

คูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ฉบับราง ประกอบดวย จุ ดมุ ง หมายขอ งแบบทดสอบ โ ค ร งส ร า ง ขอ งแบบทดสอบ ลักษณะของแบบทดสอบ คุณภาพของแบบทดสอบ เวลาท่ีใชในการทดสอบ วิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน เกณฑการวินิจฉัยและวิธีการวิเคราะหขอบกพรอง และแบบแจงผลการวินิจฉัยขอบกพรองดานการอาน และจากการสัมภาษณครู จํานวน 3 ทาน พบวา ครูมีความคิดเห็นตรงกันวาคําชี้แจงของคูมือการใชแบบทดสอบฯ มีความละเอียด และใชภาษาท่ีชัดเจน กระชับและเขาใจงาย ทําใหครูสามารถดําเนินการทดสอบเด็กไดดวยตัวเอง สําหรับปญหาและอุปสรรคในการใชคูมือ ฯ ฉบับราง พบวา ครูจํานวน 1 ทาน ไดใหขอเสนอแนะวาควรเปล่ียนสีบัตรคําท่ีเปนคําถามใหแตกตางจากบัตรคําท่ีเปนคําตอบ เพื่อปองกันไมใหเกิดความสับสนระหวางคําถามและคําตอบ หลังจากน้ันผูวิจัยทําการปรับปรุงคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานฉบับรางตามขอ เสนอแนะของครูแลวทําการจัดพิมพเปนคูมือการใช

Page 57: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 49

 

แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานฉบับสมบูรณ เพื่อนําไปใหครูไดทดลองใชในสภาพจริงในระยะท่ี 5 ตอไป 3. ผลการทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานและคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กที่มีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ในสภาพจริง

แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสามารถใชวินิจฉัยขอบกพรองทางการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการอานไดตรงประเด็น ครอบคลุมขอบกพรองทางการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการอานทุกดาน จํานวนขอคําถามมีความเหมาะสม ครูสามารถใชไดงายและไมยุงยาก สวนคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัย มีคําชี้แจงเก่ียวกับวิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน เกณฑการวินิจฉัย และการแจงผลการวินิจฉัยขอบกพรองดานการอานท่ีชัดเจนและเขาใจงาย ทําใหครูสามารถนําไปใชบริหารการสอบดวยตนเองในสภาพจริงได นอกจากน้ันผูวิจัยไดนําผลการทดสอบจากแบบบันทึกผลการทดสอบวินิจฉัย และแบบแจงผลการวินิจฉัยขอบกพรองดานการอานของครูมาตรวจสอบความถูกตองอีกคร้ังหน่ึง พบวา ครูสามารถสรุปผลการวินิจฉัยความบกพรองดานการอานไดถูกตองดวยตัวเอง สําหรับขอเสนอแนะในการใชคูมือฯ ครูไดใหขอเสนอแนะวาวิธีการดําเนินการทดสอบควรจัดเรียงขั้นตอนการทดสอบเปนขอๆ ใหชัดเจน ดังน้ัน ผูวิจัยจึงไดปรับปรุงตามขอเสนอแนะของครูผูทดลองใชคูมือฯ เพื่อใหแบบทดสอบมีความเหมาะสมมากย่ิงขึ้น

อภิปรายผล

1. การพัฒนาและหาคุณภาพของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3

1) คุณภาพรายขอของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน

การหาคุณภาพรายขอของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานไดมาจากการหาคุณภาพรายขอของแบบทดสอบเชิงสํารวจดานการอาน เน่ืองจากเปนขอคําถามชุดเดียวกัน พบวา ขอสอบ 70 ขอ มีความยากของขอสอบอยูระหวาง 0.20 ถึง 0.80 ซึ่งอยูในเกณฑท่ีกําหนดไว ซึ่งสอดคลองกับบุญเรียง ขจรศิลป (2543: 118) ท่ีกลาวถึงเกณฑในการเลือกขอสอบท่ีมีคุณภาพควรมีคาดัชนีความยากอยูระหวาง 0.20–0.8 สําหรับคาอํานาจจําแนกท่ีไดจากการทดลองใชแบบทดสอบ พบวา ขอสอบมีคาอํานาจจําแนกอยูระหวาง 0.21 ถึง 0.84 เปนคามากกวาท่ีผูวิจัยกําหนดไว ซึ่งสอดคลองกับบุญเรียง ขจรศิลป (2543: 118) ท่ีกลาวถึงเกณฑในการเลือกขอสอบท่ีมีคุณภาพควรมีคาดัชนีอํานาจจําแนกต้ังแต 0.20 ขึ้นไป จึงสรุปไดวาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานฯ มีคุณภาพรายขอ

2) คุณภาพรายฉบับของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน

2.1 ความตรงตามเน้ือหา ผูวิจัยไดศึกษาคนควาเอกสารและ

งานวิจัยท่ีเก่ียวของตลอดจนการสัมภาษณครูผูสอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 เพื่อคนหาขอบกพรองทางการอานท่ีพบบอยของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ทําใหผูวิจัยสามารถกําหนดกรอบในการออกขอสอบ (Table of specification) ไดครอบคลุมเน้ือหาท่ีตองการจะวัดได ซึ่งสอดคลองกับ Thorndike, R.M. and Thorndike-Chirst, T. (2010: 156) และบุญเรียง ขจรศิลป (2543: 161) ไดกลาวไววา การพิจารณาความตรงตามเน้ือหาตองอาศัยตารางวิเคราะหหลักสูตรเปนเกณฑในการพิจารณาดวย เพราะตารางวิเคราะหหลักสูตรเปนแผนงานท่ีชัดเจนท่ีใชเปนแนวทางในการ

Page 58: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

50  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

สรางแบบทดสอบไดครอบคลุมเน้ือหาท่ีตองการ นอกจากน้ันยังมีการใหผูเชี่ยวชาญทางดานเน้ือหาตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา โดยพิจารณาคาดัชนีความสอดคลองเทากับหรือมากกวา .50 แสดงวา ขอคําถามน้ันวัดไดตรงจุดประสงคการวิจัยและคัดเลือกไวใชได (ลัดดาวัลย เพชรโรจน และอัจฉรา ชํานิประศาสน 2547: 145-146) ซึ่งความตรงตามเน้ือหาเปนลักษณะสําคัญประการหนึ่งของแบบทดสอบมาตรฐาน และแบบทดสอบวินิจฉัยเนนการตรวจสอบคุณภาพขอสอบวินิจฉัยในแงของความตรง และจะพิจารณาความตรงตามเนื้อหาเปนสําคัญ (โชติ เพชรชื่น, ม.ป.ป.: 50) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยท่ีเก่ียวของการสรางแบบทดสอบวินิจฉัยท่ีผานมา (ไพรประนอม ประดับเพชร, 2554; กฤติยา วรศรี, 2550) ท่ีตองมีการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา หากขอสอบในแบบทดสอบมีความสอดคลองและครอบคุลมเนื้อหาท่ีมุงวัดแสดงวาแบบทดสอบท่ีสรางข้ึนมีความตรงตามเน้ือหา (Johnson, B. and Christenson, L., 2012: 145) จึงสรุปไดวาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานฯ ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมีความตรงตามเน้ือหา

2.2 ความเท่ียงของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน

การตรวจสอบคุณภาพท้ังฉบับโดยหาคาความเท่ียงของแบบทดสอบวินิจฉัยแบบความสอดคลองภายในของแบบทดสอบท้ังฉบับ ซึ่งการวัดความคงท่ีภายในจะเปนการหาคาความเท่ียงของแบบทดสอบโดยใชการทดสอบเพียงคร้ังเดียว ซึ่งสะดวกกวาการทดสอบซ้ํากับกลุมตัวอยางกลุมเดิมโดยใชการวัดซ้ํา (test-retest) และการทดสอบดวยแบบทดสอบคูขนานหรือแบบทดสอบทางเลือก (parallel or alternate test forms) (Thorndike, R.M. and Thorndike-Chirst, T., 2010: 123-128; บุญเรียง ขจรศิลป, 2543: 164-168)

ผลการประมาณคาความเที่ยงของแบบทดสอบพบวาไดคาสัมประสิทธิ์ความเท่ียงของแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานท้ังฉบับ เทากับ 0.95 ซึ่งสูงกวาเกณฑท่ีผูวิจัยกําหนดคาความเท่ียงไวต้ังแต 0.80 ขึ้นไป ซึ่งสอดคลองกับ Johnson, B. and Christenson, L. (2012: 142) กลาวไววา กฎท่ีนิยมกันโดยท่ัวไปสําหรับคาสัมประสิทธิ์ความเที่ยงเทากับหรือมากกวา .70 ขึ้นอยูกับจุดประสงคการวิจัย ดังน้ัน จึงสรุปไดวาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานมีคุณภาพดานความเท่ียงและสามารถนําไปใชวินิจฉัยขอบกพรองดานการอานได

2.3 ความตรงตามโครงสราง การตรวจสอบความสอดคลองของ

โมเดลองคประกอบกับขอมูลเชิงประจักษ พบวา โมเดลสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษอยูในเกณฑดีมาก โดยพิจารณาจากดัชนีท่ีใชในการตรวจสอบความสอดคลองของโมเดลกับขอมูลเชิงประจักษเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนดไว ไดแก คาไค-สแควรไมมีนัยสําคัญทางสถิติ คาดัชนีวัดความสอดคลองท่ีปรับแกแลว (AGFI) ควรมีคามากกวา 0.90 คารากของคาเฉล่ียกําลังสองของความคลาดเคล่ือน (RMSEA) ควรมีคานอยกวา 0.05 และคาดัชนีรากคาเฉล่ียกําลังสองของสวนเหลือมาตรฐาน (Standardized RMR) ควรมีคานอยกวา 0.05 (สุภมาส อังศุโชติและคณะ, 2552: 21-25) จึงสรุปไดวา แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานมีความตรงตามโครงสรางสามารถวัดไดดวยขอคําถามจากตัวแปรสังเกตไดท้ัง 6 องคประกอบ และเปนไปตามกรอบแนวคิดแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอาน The Woodcock Reading Mastery Test-Revised สอดคลองกับบุญเรียง ขจรศิลป (2543: 161-162) กลาววาแบบทดสอบน้ันมีความตรงตามโครงสรางหรือไม พิจารณาจากความสอดคลองของผลที่ ไดจากแบบทดสอบกับ

Page 59: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 51

 

พฤติกรรมท่ีสังเกตไดจริง โดยอาศัยทฤษฎีท่ีกําหนดเปนเกณฑ ถาผลท่ีไดจากแบบทดสอบมีความสอดคลองกับพฤติกรรมท่ีสังเกตไดจริงแสดงวาแบบทดสอบน้ันมีความตรงตามโครงสราง นอกจากน้ันในการวิเคราะหหาความตรงตามโครงสรางน้ันอาจใชเทคนิคการวิเคราะหตัวประกอบ (Factor Analysis) มาใชประกอบ

2.4 ความตรงตามสภาพ การตรวจสอบคุณภาพดานความตรง

ตามสภาพ พบวาคะแนนท่ีไดจากแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานของครูผูสอนมีความสัมพันธกับคะแนนท่ีไดจากการทําแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานท่ีผูวิจัยสรางข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเทากับ -0.759 ซึ่งถือวามีความสัมพันธกันสูง (ชูศรี วงศรัตนะ, 2550: 314) ซึ่งแสดงใหเห็นวาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานมีความตรงตามสภาพ เน่ืองจากแบบสํารวจปญหาในการเ รียนรู เฉพาะดานการอานเปนแบบทดสอบมาตรฐานท่ีมีความเชื่อมั่น และความเที่ยงตรงสูง ดังน้ัน นักเรียนท่ีไดคะแนนจากแบบสํารวจปญหาในการเรียนรูเฉพาะดานการอานมาก (ผดุง อารยะวิญู, 2546: 124) จะไดคะแนนจากการทําแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานนอย ซึ่งหมายความวานักเรียนคนน้ันมีปญหาทางการอานท่ีรุนแรง สอดคลองกับบุญเรียง ขจรศิลป (2543: 161) กลาวไววา ความตรงสภาพเปนคุณสมบัติของเคร่ืองมือท่ีสามารถใชวัดพฤติกรรมตางๆ ไดสอดคลองกับพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้นจริงๆ ในระยะเวลาเดียวกัน โดยผลการสอบท่ีไดจากการแบบทดสอบท่ีสรางข้ึนสอดคลองกับผลการสอบจากแบบทดสอบมาตรฐานท่ีมีความตรงสูงอยูแลว แสดงวาแบบทดสอบท่ีสรางข้ึนมีความตรงตามสภาพ

2. คูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ประกอบดวย จุดมุงหมายของแบบทดสอบ โครงสรางของแบบทดสอบ ลักษณะของแบบทดสอบ คุณภาพของแบบทดสอบ เวลาท่ีใชในการทดสอบ วิธีดําเนินการสอบ การตรวจใหคะแนน เกณฑการวินิจฉัยและวิธีการวิเคราะหขอบกพรอง และแบบแจงผลการวินิจฉัยขอบกพรองดานการอาน สอดคลองกับ พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2551: 230) กลาววา คําชี้แจงของแบบทดสอบเปนสวนประกอบท่ีสําคัญของแบบทดสอบซึ่งจะชวยสรางความเขาใจในการทําขอสอบใหแกผูสอบปฏิบัติไดอยางถูกตองและชวยปองกันปญหาหรือความผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการดําเนินการสอบ นอกจากน้ัน คําชี้แจงควรประกอบดวยจุดมุงหมายการของการวัด ลักษณะของแบบทดสอบ จํานวนขอสอบ เวลาท่ีใชในการสอบ วิธีการตอบและการตรวจใหคะแนน และยังสอดคลองกับงานวิจัยท่ีเก่ียวของการสรางแบบทดสอบวินิจฉัยท่ีผานมา(ไพรประนอม ประดับเพชร, 2554; กฤติยา วรศรี, 2550) ท่ีตองมีคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยเพื่อใชในการบริหารการสอบใหมีประสิทธิภาพ

3. การทดลองใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานและคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ในสภาพจริง พบวา แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสามารถใชวินิจฉัยขอบกพรองทางการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการอานไดตรงประเด็น ครอบคลุมขอบกพรองทางการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการอานทุกดาน จํานวนขอคําถามมีความเหมาะสม ซึ่งสอดคลองกับ โชติ เพชรชื่น (ม.ป.ป.: 50) กลาววา แบบทดสอบวินิจฉัยใชวัดเพื่อวิเคราะหหาสาเหตุของความบกพรองของนักเรียนแตละคน โดย

Page 60: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

52  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

แบบทดสอบแบงเปนสวนๆ ตามลักษณะความสามารถแตละอยาง ซึ่งมีองคประกอบไมเหมือนกัน และจํานวนขอสอบในแตละสวนสามารถวัดความสามารถได สวนการทดลองใชคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยฯ พบวา รายละเอียดในคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานมีความชัดเจนและเขาใจงาย ทําใหครูสามารถนําไปใชบริหารการสอบดวยตนเองในสภาพจริงได แตครูมีขอเสนอแนะใหปรับปรุงรูปแบบการจัดพิมพเก่ียวกับวิธีการทดสอบโดยใหเรียงลําดับวิธีการทดสอบเปนขอๆ เพื่อสะดวกตอการดําเนินการทดสอบ ซึ่งสอดคลองกับ พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2551:225-231) กลาววา คําชี้แจงของแบบทดสอบเปนสวนประกอบท่ีสําคัญของแบบทดสอบ ดังน้ันในแบบทดสอบจึงตองมีคําชี้แจงไวเปนแนวปฏิบัติสําหรับผูสอบ โดยคําชี้แจงของแบบทดสอบควรเขียนใหมีความสมบูรณ ชัดเจน รัดกุมสะดวกตอการปฏิบัติ ควรใหผูสอบและผูดําเนินการสอบไดทดลองอานคําชี้แจงกอนเพื่อตรวจสอบความเขาใจ แลวปรับปรุงใหคําชี้แจงมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น และควรจัดพิมพขอสอบใหสะดวกและงายตอการอานสําหรับผูสอบและผูตรวจขอสอบ อยาใหชิดติดกันจนเกินไป ซึ่งคําชี้แจงของคูมือการใชแบบทดสอบท่ีมีความสมบูรณ ชัดเจน รัดกุม จะทําใหครูสามารถบริหารการสอบไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพและทําใหไดผลการสอบท่ีมีคุณภาพ มีความคลาดเคลื่อนนอยซึ่งจะสงผลตอการประเมินผลและตัดสินผลการเรียนท่ีมีความถูกตองเชื่อถือได และสามารถนําไปใชในการประเมินผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2551:225) นอกจากน้ันแลวยังทําใหครูไดทราบถึงขอบกพรองในการอานของผูเรียนเปนรายบุคคล สามารถนําขอมูลท่ีไดไปวางแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ตลอดจนทําใหเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานไดทราบถึง

ขอบกพรองของตนเองซึ่งจะเปนประโยชนในการพัฒนาตนเองตามศักยภาพ และชวยใหผูปกครองเขาใจและวางแผนการเรียนรวมกับครู เพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําแบบทดสอบไปใช

1.1 ผูนําแบบทดสอบน้ีไปใชตองดําเนินการสอบตามคูมือการใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 อยางเครงครัด

1.2 แบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับวินิจฉัยเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอานระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใหครูนําไปใชในทดสอบเพื่อวินิจฉัยความบกพรองดานการอาน ซึ่งผลท่ีไดน้ีทําใหครูสามารถนําขอมูลท่ีไดไปวางแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลได

1.3 ขณะท่ีครูทําการทดสอบเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ครูควรจะสังเกตพฤติกรรมดานอื่นๆ ของเด็กควบคูกันไปดวย เพื่อใหการชวยเหลือเด็กท่ีอาจมีภาวะบกพรองดานอื่นรวมดวย

1.4 การใชแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ครูควรพิจารณาผลท่ีไดจากการวินิจฉัยดวยวิธีการอื่นๆ ควบคูกันไปดวย เพื่อเพิ่มความแมนยําในการวินิจฉัยความบกพรองดานการอานไดดียิ่งขึ้น

1.5 นําแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานสําหรับวินิจฉัยเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ไปใชวินิจฉัยเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ในโรงเรียนสังกัดอื่นๆ

Page 61: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 53

 

2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัย

ดานการอานของเด็กท่ีมีปญหาทางการเรียนรูดานการอาน ใหครบทุกระดับชั้น

2.2 ควรนําแนวทางการพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการอานไปพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยดานการเขียน และคณิตศาสตรสําหรับเด็กท่ีมีปญหาทาง การเรียนรูดานการเขียน และคณิตศาสตรทุกระดับชั้น

บรรณานุกรม กฤติยา วรศรี. (2550). การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยการอานภาษาไทยสําหรับนักเรียนระดับชัน้ประถม

ศึกษาปที่ 4 ในจังหวัดที่พดูภาษาถิ่นลานนา. วิทยานิพนธปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ วัดและประเมินผลการศึกษา จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย.

กุลยา กอสุวรรณ. (2553). การสอนเด็กทีม่ีความบกพรองระดับเล็กนอย. กรุงเทพมหานคร: สหมิตรพร้ินต้ิง แอนดพับลิชชิ่ง จํากัด.

ชูศรี วงศรัตนะ. (2550). เทคนิคการใชสถติิเพื่อการวิจัย. (พิมพคร้ังท่ี 10). กรุงเทพมหานคร: บริษัท ไทเนรมิตกิจ อินเตอร โปรแกรสซิฟ จํากัด.

โชติ เพชรชื่น. (ม.ป.ป.). แบบทดสอบวินิจฉัย. ในบุญศรี ไพรัตน. (บรรณาธิการ). สารานุกรมศึกษาศาสตรฉบับรวม

เลมเฉพาะเรือ่งอันดับ 3 การวัดผลและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ก็อปป แอนด พร้ินท, 50–55.

ดารณี อุทัยรัตนกิจ, ชาญวิทย พรนภดล และคณะ. (2548). รายงานการวิจัยการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่ม ีภาวะออทิซึม สมาธิสั้น และบกพรองทางการเรียนรู: ระยะที่ 1 การสรางกระบวนการและเครื่องมือ ที่เปนมาตรฐานสําหรับการคัดกรองนักเรยีนที่มีภาวะสมาธิสั้นบกพรองทางการเรยีนรู และออทิซึม. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ.

บุญศรี พรหมมาพันธุ และนวลเสนห ว งศเชิดธรรม. (2545). แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. ประมวลสาระ ชุดวิชาการพัฒนาเครื่องมือสําหรับการประเมินการศกึษา. เลม 1. (พิมพคร้ังท่ี 1). นนทบุรี: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 245-253.

บุญเรียง ขจรศิลป. (2543). วิธีวิจัยทางการศึกษา. (พมิพคร้ังท่ี 5). กรุงเทพมหานคร: หจก.พ.ีเอ็น.การพิมพ. ผดุง อารยะวญิู. (2546). วิธีสอนเด็กเรยีนยาก. กรุงเทพมหานคร: รําไทย เพรส. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. (พมิพคร้ังท่ี 4). กรุงเทพมหานคร:

เฮาส ออฟ เคอรมีสท.

Page 62: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

54  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ไพรประนอม ประดับเพชร. (2554). การสรางแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการอานจับใจความภาษาไทยสําหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินผล การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูม.ิ

ลัดดาวัลย เพชรโรจน และอจัฉรา ชํานิประศาสน. (2547). ระเบียบวิธีการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: พิมพดีการพิมพ. วรรณี โสมประยูร. (2537). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช. สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วจิิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน. (2552). สถิติวิเคราะหสําหรบัการวิจัยทาง

สังคมศาสตรและพฤติกรรมศาสตร: เทคนิคการใชโปรแกรม LISREL. (พิมพคร้ังท่ี 2). กรุงเทพมหานคร: เจริญดีมั่งคงการพิมพ.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2549). เอกสารแนวทางการ ดําเนนิงาน ปฏิรูปการเรียนการสอนตามเจตนารมณกระทรวงศึกษาธิการ “2549 ปแหงการปฏิรูปการเรียนการ สอน” แนวทางการจัดกิจกรรมสงเสริมนิสยัรักการอาน. กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

Bracken, B.A. and Nagueri, J.A. (2003). “Assessing Diverse Populations with Nonverbal Tests of General Intelligence.” In Reynolds, C.R. and Kamphaus, R.W. (eds.) Handbook of Psychological and

Education Assessment of Children: Intelligence, Aptitude, and Achievement. New York: The Guildford Press, 264-266.

Friend, M. (2006). Special education: Contemporary perspectives for school professionals. (2nd ed). USA: Allyn and Bacon.

Gillet, J.W. (2000). Understanding reading problems: assessment and instruction. (5th ed). USA: Jean Wallace Gillet and Charles Temple.

Johnson, B. and Christenson, L. (2012). Educational research: quantitative, qualitative, and mixed

approaches. (4th ed). USA: SAGE Publications, Inc. Lipson, M.Y. (1997). Assessment and instruction of reading and writing disability: an Interactive approach.

(2nd ed). USA: Addison-Wesley Educational Publishers Inc. Smith, T.E.C., Polloway, E.A., Patton, J.R. and Dowdy, C.A. (2008). Teaching students with special needs

in inclusive setting. (5th ed). USA: Allyn and Bacon. Taylor, R.L. (2009). Assessment of exceptional students: educational and psychological procedures.

(8th ed). USA: Pearson Education, Inc. Thorndike, R.M. and Thorndike-Chirst, T. (2010). Measurement and evaluation in psychology and

education. (8th ed). USA: Pearson Education, Inc.

Page 63: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 55

 

ชื่อเรื่อง: การพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

TITLE: DEVELOPMENT OF INDICATORS AND CRITERIA FOR RESULT-BASED EVALUATION OF TEACHER’S A LEARNING MEASUREMENT AND

EVALUATION PRACTICES BASED ON THE BASIC EDUCATION CORE CURRICULUM B.E. 2551

ผูวิจัย ณัฐา เพชรธนู1 Natha Pethanoo กรรมการควบคุม รศ.ดร. โชติกา ภาษีผล2

รศ.ดร. ศิริเดช สุชีวะ3 Advospr Committee Asst.Prof.Dr. Shotiga Pasiphol Assoc.Prof.Dr. Siridej Sujiva บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมตัวอยางในการวิจัย แบงออกเปน 3 กลุม คือ 1) กลุมตัวอยางท่ีประเมินความเหมาะสมของตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน จํานวน 26 คน 2) กลุมตัวอยางท่ีเขารวมประชุมระดมความคิด จํานวน 8 คน และ 3) กลุมตัวอยางท่ีทดลองใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินผล

แบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จํานวน 24 คน การเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใชแบบสอบถาม แบบบันทึกการประชุมระดมความคิด แบบประเมิน และแบบสัมภาษณโดยการเดินทางไปเก็บขอมูลดวยตนเอง การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณใชสถิติเชิงบรรยาย คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะหความเที่ยงดวยวิธีการประมาณคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค สวนขอมูลเชิงคุณภาพใชการวิเคราะหเน้ือหา ผลการวิจัยสรุปไดดังน้ี

1. ผลการพัฒนาตัวบงชี้ ไดตัวบงชี้สําหรับการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จํานวน 20 ตัว บงชี้

1นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาการวัดและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2อาจารยประจํา ภาควิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3อาจารยประจํา ภาควิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 64: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

56  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

โดยแยกเปน 5 องคประกอบหลัก คือ 1) องคประกอบดานทรัพยากร มี 4 ตัวบงชี้ 2) องคประกอบดานกิจกรรมการดําเนินงาน มี 9 ตัวบงชี้ 3) ตัวบงชี้ดานผลผลิตมี 3 ตัวบงชี้ 4) ตัวบงชี้ดานผลลัพธ มี 3 ตัวบงชี้ และ5) ตัวบงชี้ดานผลลัพธกระทบ มี 1 ตัวบงชี้

2. แนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีพัฒนาข้ึนประกอบดวย บทท่ี 1 บทนํา บทท่ี 2 เน้ือหาที่เก่ียวของกับแนวทางการประเมินผล บทท่ี 3 รายละเอียดองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูผูสอนในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และภาคผนวก ผลการประเมินประสิทธิผลคูมือดังกลาว พบวา ผูทดลองใชมีความคิดเห็นในดานความเหมาะสม อยูในระดับมากท่ีสุด คําสําคัญ : ตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน การประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงาน การวัดและประเมินผลการเรียนรู ABSTRACT

The purpose of this research were 1) to develop the indicators and criteria for result-based evaluation of teacher’s a learning measurement and evaluation practice based on The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 2) to develop and evaluation the quality of the manual of indicators, criteria and the method for teacher evalution. The sample consisted of 1) twenty-six person to evaluate the appropriateness of indicators and criteria 2) eight person to

participate brainstorming and 3) twenty-four person to try out the manual of indicators, criteria for result-based evaluation and the method for result-based evaluation of teacher’s learning measurement and evaluation practice based on The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551. The data were collected by qualitative and quantitative approaches by using record form for brainstorming , questionnaire, evaluation forms and interview schedule. The quantitative data were analyzed by descriptive statistics, whereas qualitative data were analyzed by content analysis. The major finding were as follow:

Research finding showed that (1) The components for result-based evaluation of teacher’s learning measurement and evaluation practice consisted of 5 main factors. i.e., input (4 indicators), activity (9 indicators) output (3 indicators) outcome (3 indicators) impact (1 indicators) (2) the manual of evaluation indicators, criteria and the method for result-based evaluation, of teacher’s learning measurement and evaluation practice based on The Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 were consisted of 3 Chapter, i.e., 1) Introduction 2) Related content 3) Description of 5 main factor, indicator and criteria and Appendix. The users viewed that the developed manual were satisfied in term of propriety in very high level.

Keywords : indicators criteria result-based evaluation and learning measurement and evaluation

Page 65: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 57

 

บทนํา การวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนองคประกอบ

ท่ีมีความสําคัญตอการจัดการศึกษา เน่ืองจากระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนรู ตลอดจนขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการสงเสริมผูเรียนใหพัฒนาและเรียนรูอยางเต็มตามศักยภาพ ดังน้ัน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 จึงกําหนดใหการวัดและประเมินผลการเรียนรูต้ังอยูบนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียนและตัดสินผลการเรียนรู โดยการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนใหประสบความสําเร็จน้ัน ผูเรียนตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยใหสถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบการจัดการศึกษา จะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษาเอง ใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติท่ีเปนขอกําหนดของหลักสูตร เพื่อใหบุคลากรของสถานศึกษาทุกฝายถือปฏิบัติรวมกัน (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2553: 26-25) แตกลับสงผลใหเกิดความแตกตางในการดําเนินงานของสถานศึกษาแตละแหง เน่ืองจากการประเมินผลของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกําหนดกวางเกินไป การปฏิบัติจึงมีความแตกตางหลากหลาย (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552: 22) และจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับปญหาและอุปสรรคการดําเนินงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู พบขอเสนอแนะท่ีสอดคลองกันวา กาประเมินผลการดําเนินงานอยางตอเน่ือง จะชวยใหเขาใจและรูเทาทันอุปสรรคท่ีเกิดขึ้น จะผลใหการดําเนินงานดานการวัดและประเมินผลไดรับการพัฒนาไปในทิศทางท่ีถูกตอง

และเพื่ อ ใหการ กํา กับติดตามและประ เมินผลมีประสิทธิภาพสอดคลองกับแนวทางการบริหารดานวิชาการของสถานศึกษาในปจจุบัน ท่ีดําเนินการบริหารตามหลักธรรมาธิบาล ดังพระราชกฏษฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 กําหนดวิธีการบริหารกิจการของหนวยงานภาครัฐและหลักการปฏิบัติงานใหแกขาราชการท่ีชัดเจนเปนแนวทางเดียวกัน โดยมีเปาหมายการบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลการดําเนินงาน (result-based management) ตอภารกิจของรัฐ ดังน้ัน แนวคิดทางการประเมินผลท่ีสอดคลองกับการบริหารงานดานวิชาการของสถานศึกษา คือ การประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงาน จากการศึกษาพบวาประมาณ Organization for economic co-operation and development (OECD) และ Cannada International Development Agency (CIDA) ไดปรับปรุงหวงโซการดําเนินงาน (result chain) ใหเกิดความเขาใจท่ีตรงกันมากข้ึน อันประกอบไปดวย ปจจัยนําเขา (input) กิจกรรมการดําเนินงาน (activity) ผลผลิต (output) ผลลัพธ (outcome) ผลกระทบ (impact) (Organization for economic co-operation and development, 2007: 23, Cannada International Development Agency, 2008: 4) การประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงาน (result-based evaluation) จึงเปนกระบวนการเก็บรวบรวมขอมูลตามตัวบงชี้ท่ีสรางข้ึนท้ังในดานทรัพยากร กิจกรรมการดําเนินงาน ผลลัพธเบื้องตน ผลลัพธระยะกลาง ผลลัพธระยะยาว แลวนํามาเปรียบเทียบกับเกณฑการประเมินหรือมาตรฐาน เพื่อเปนสารสนเทศสําหรับแสดงความสําเร็จของผลการดําเนินงานหรือนําไปใชวางแผนปรับปรุงการดําเนินงานในอนาคตตอไป (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2551: 140-141; สุวิมล ติรกานันท, 2550: 209; พิสณุ ฟองศรี, 2550: 110)

Page 66: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

58  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

- แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

- บริบทการดําเนินงานของครู ดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู

- แนวคิดทฤษฎีที่เก่ียวของกับการพัฒนาตัวบงชี้และเกณฑเพื่อการประเมิน

- แนวคิดการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงาน (result-based evaluation)

รูปแบบการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงาน

- Input - Activity - output - outcome - impact

คูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ

บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 เนื้อหา บทที่ 3 รายละเอียด ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน ภาคผนวก

คุณภาพคูมือ - ความตรง - ความเที่ยง - ประสิทธิผลของผูทดลองใช 1. ดานอรรถประโยชน 2. ดานความเปนไปได 3. ดานความเหมาะสม 4. ดานความถูกตอง

ดวยเหตุน้ี ผูวิจัยจึงสนใจพัฒนาตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อใชเปนเคร่ืองมือในการตรวจสอบ สงเสริมปรับปรุงคุณภาพาการดําเนินงานของครูใหเปนไปอยาง

มีคุณภาพและสรางความมั่นใจใหแกผูเก่ียวของวากระบวนการดําเนินงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามบทบาทของครูสามารถสรางผลผลิต ผลลัพธทุกระยะ ไดอยางมีประสิทธิภาพเปนไปตามมาตรฐานท่ีคาดหวัง

กรอบความคิดงานวิจัย

วิธีดําเนินการวิจัย ประชากร ประชากร (population) ท่ีใชในการศึกษาใน

คร้ังน้ีเปนบุคลากรทางการศึกษา ท่ีปฏิบัติหนาท่ีในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษา ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน แบงเปน 2 กลุม ไดแก (1) กลุมประชากรท่ีพัฒนาตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครู

ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551 ตามสถานภาพตางๆ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก ครูผูสอน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (2) กลุมประชากรท่ีใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551

Page 67: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 59

 

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง (samples) ท่ีใชในการศึกษาใน

คร้ังน้ีแบงออกเปน 1. กลุมตัวอยางท่ีใชในพัฒนาตัวบงชี้ เกณฑ

การประเมิน แนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551 คัดเลือกกลุมตัวอยางดวยวิธีเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เพื่อใหกลุมตัวอยางท่ีมีคุณสมบัติตามท่ีผูวิจัยตองการ นอกจากน้ันยังมีนักวิชาการดานการวัดและประเมินผลการเรียนรูรวมดวย โดยพิจารณาคัดเลือกกลุมตัวอยางท่ีมีคุณสมบัติดังตอไปน้ี

1.1 บุคลากรทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกอบดวย

1.1.1 ผูบริหารสถานศึกษา โดยดํารงตําแหนงผูบริหารสถานศึกษาท่ีมีวิทยาฐานะต้ังแตระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป หรือมีวุฒิการศึกษาต้ังแตระดับปริญญาโทข้ึนไป จํานวน 5 คน

1.1.2 ศึกษานิเทศก โดยดํารงตําแหนงศึกษานิเทศกท่ีมีวิทยาฐานะต้ังแตระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป หรือมีวุฒิการศึกษาต้ังแตระดับปริญญาโทข้ึนไป จํานวน 10 คน

1.1.3 ครูผูสอนระดับเชี่ยวชาญ โดยดํารงตําแหนงศึกษานิเทศกท่ีมีวิทยาฐานะต้ังแตระดับเชี่ยวชาญข้ึนไป หรือมีวุฒิการศึกษาต้ังแตระดับปริญญาโทข้ึนไป จํานวน 6 คน

1.2 นักวิชาการศึกษา สํากัดหนวยงานกลาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกอบ ดวย จํานวน 6 คน

1.2.1 นักวิชาการศึกษา สังกัดสํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ท่ีปฏิบัติหนาท่ีรับผิดชอบงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู จํานวน 2 คน

1.2.2 นักวิชาการศึกษา สังกัดสํานักทดสอบทางการศึกษา ท่ีปฏิบัติหนาท่ีรับผิดชอบงานดานการสรางเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการศึกษา จํานวน 2 คน

1.2.3 นักวิชาการศึกษา สังกัดสํานักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ท่ีปฏิบัติหนา ท่ี รับผิดชอบงานดานการกํากับติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาระดับการประถมศึกษา จํานวน 2 คน

2. กลุมตัวอยางท่ีทดลองใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551 ท่ีพัฒนาข้ึน จํานวนท้ังส้ิน 27 คน เพื่อประเมินประสิทธิผลของคูมือดังกลาว คัดเลือกกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เพื่อใหไดกลุมตัวอยางท่ีเปนผูบริหาร ครู ผูสอน และศึกษานิเทศกสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาข้ันพื้นฐาน และใหความรวมมือในการเก็บขอมูลดวยความเต็มใจ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ ดังตอไปน้ี

1. ผูบริหารสถานศึกษา ระดับประถม ศึกษา ดํารงตําแหนงผูบริหารสถานศึกษาท่ีมีวิทยาฐานะต้ังแตระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป หรือมีวุฒิการศึกษาต้ังแตระดับปริญญาโทข้ึนไป จํานวน 10 คน

2. ครูผูสอน ระดับประถมศึกษาชั้นปท่ี 6 ดํารงตําแหนงครูผูสอนระดับชํานาญการขึ้นไป จํานวน 10 คน

3. ศึกษานิเทศก ท่ีรับผิดชอบงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ดํารงตําแหนงศึกษานิเทศกท่ีมีวิทยาฐานะต้ังแตระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป หรือมีวุฒิการศึกษาต้ังแตระดับปริญญาโทข้ึนไป จํานวน 4 คน รายละเอียดแสดงในตารางท่ี 1

Page 68: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

60  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ตารางที่ 1 จํานวนกลุมตัวอยางท่ีทดลองใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551 จําแนกตามแหลงเก็บขอมูล

สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาการประถมศึกษา บุคลากรทางการศึกษา จํานวน (คน)

นครราชสีมา เขต 1 ผูบริหารสถานศึกษา 5 ครูผูสอน 5 ศึกษานิเทศก 2

กาญจนบุรี เขต 2 ผูบริหารสถานศึกษา 5 ครูผูสอน 5 ศึกษานิเทศก 2

รวม 24 วิธีดําเนินการวิจัย

ผูวิจัยดําเนินการวิจัยแบงออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 พัฒนาตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน แนวทาง การประเมินผลแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ระยะท่ี 2 ประเมิน

ประสิทธิผลคูมือการใชตัวบงชี้และเกณฑการประเมิน สําหรับประเมินแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยมีกรอบการดําเนินงานวิจัยดังแผนภาพท่ี 1

Page 69: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 61

 

ระยะที่ 1 พัฒนาตัวบงช้ี เกณฑการประเมิน แนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551

ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวของ

สอบถาม/สัมภาษณ

ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา

ประชุมระดมความคิด

ประเมินความเหมาะสมของตัวบงชี้และเกณฑการประเมิน

ปรับปรุงตัวบงชี้และเกณฑการประเมิน

พัฒนาคูมืการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน แนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551

ตรวจสอบความเที่ยง

ตัวบงชี้/เกณฑการประเมินและบริบท การดําเนินงานดานการวัดและประเมินผล

การเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางฯ

(รางที่ 1) องคประกอบหลัก/ตัวบงชี้/เกณฑ การประเมินและการดําเนินงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตร

แกนกลางฯ พศ. 2551

(รางที่ 2) องคประกอบหลัก/ตัวบงชี้/เกณฑ การประเมินและการดําเนินงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตร

แกนกลางฯ พศ. 2551

Page 70: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

62  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

จากกรอบการดําเนินงานขางตน มีรายละเอียดดังท่ีตอไปน้ี

ข้ันตอนการดําเนินงานวิจัยระยะที่ 1 ในขั้นตอนการพัฒนาตัวบงชี้ และเกณฑใน

การประเมินการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ตามข้ันตอนดังตอไปน้ี

1. ศึกษาขอมูลและสารสนเทศจากเอกสาร บทความ และงานวิจัยท่ีเก่ียวกับการดําเนินงานของครู

ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู และการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงาน การพัฒนาตัวบงชี้ การพัฒนาเกณฑการประเมิน

2. วิเคราะหเน้ือหา (content analysis) สารสนเทศท่ีเก่ียวของ โดยยึดเปนหลักเกณฑเชิงเหตุผลและหลักเกณฑเชิงทฤษฎี นํามาสังเคราะห (synthesis) และพัฒนาใหเปนกรอบแนวคิดในการวิจัยและดําเนินการพัฒนาองคประกอบหลัก องคประกอบยอย ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินระดับคุณภาพ พัฒนาใหเปนเคร่ืองมือท่ีใช

ระยะที่ 2 ประเมินประสิทธิผลคูมือการใชตัวบงช้ี เกณฑการประเมิน แนวทาง การประเมินผลแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู

ตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551

ทดลองใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน แนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551

ประสิทธิผลคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ การประเมิน แนวทางการประเมินผล แบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตร

แกนกลางฯ พ.ศ. 2551

ประสิทธิผลดานอรรถประโยชน ดานความเปนไปได ดานความเหมาะสม

ดานความถูกตอง ปญหา อุปสรรคในการใช ความเปนไป

ไดในการปฏิบัติ

คูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน แนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. 2551 ฉบับสมบูรณ

หมายถึง กิจกรรมท่ีเกิดข้ึนในแตละข้ันตอนของกระบวนการวิจัย

หมายถึง ผลลัพธท่ีเกิดขึ้นในแตละข้ันตอนของกระบวนการวิจัย

Page 71: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 63

 

ในการวิจัยเพื่อเปนเอกสารประกอบการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ

3. ผูวิจัยสงแบบสอบถาม

4. ผูวิจัยดําเนินการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิ

5. ผู วิ จั ยจั ดประชุม ระ ดับความ คิด เ ห็น

(brainstorming) เพื่อรวมแสดงความคิดเห็นในประเด็น

ท่ีเก่ียวของกับความครอบคลุมขององคประกอบหลัก

องคประกอบยอย พัฒนาตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน

6. สรุปผลการประชุมระดมความคิดรวมกันระหวางผูวิจัยและผูทรงคุณวุฒิ จากน้ันนําขอมูลสาร

สนเทศท่ีไดจากการประขุมระดมความคิดเห็น ปรึกษา

กับอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ เพื่อพิจารณาใหขอ

เสนอแนะ และปรับปรุงใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น

7. ผูวิจัยนําตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินพัฒนาใหเปน แบบประเมินความเหมาะสมของตัวบงชี้

และเกณฑการประเมิน จากน้ันใหผูทรงคุณวุฒิตรวจ

สอบคุณภาพดานความตรงเชิงเน้ือหาของแบบประเมิน

ดังกลาว

8. ผูวิจัยดําเนินการติดตามแบบสอบถามจากผูทรงคุณวุฒิจนครบถวน และตรวจสอบความสมบูรณ

ของแบบสอบถามทุกฉบับ

9. ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลจากแบบประเมินความเหมาะสมของตัวบงชี้ และเกณฑการ

ประเมิน จากน้ันนําขอมูลสารสนเทศท่ีไดพัฒนาเปน

คูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการ

ประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัด

และประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยการปรึกษา

และใหคําแนะนําในการปรับปรุงคูมือดังกลาว จากอาจารย

ท่ีปรึกษาวิทยานิพันธ และนักวิชาการดานการวัดและ

ประเมินผลการศึกษา จากนั้นตรวจสอบคุณภาพดาน

ความเที่ยง (reliability) ของตัวบงชี้และเกณฑการ

ประเมินจากกลุมตัวอยาง ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา

ศึกษานิเทศก และครูผูสอน จํานวน 5 คน

ระยะท่ี 2 ประเมินประสิทธิผลคูมือการใชตัว

บงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการ

ดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการ

เรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน

2.1 กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยระยะท่ี 2

กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยระยะท่ี 2

ไดแก กลุมทดลองใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และ

แนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของ

ครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ี

พัฒนาข้ึน จํานวนท้ังส้ิน 15 คน เพื่อประเมินประสิทธิภาพ

คูมือดังกลาว คัดเลือกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการเลือก

แบบเจาะจง (purposive sampling) เพื่อใหไดกลุมตัวอยาง

ท่ีเปนบุคลากรทางการศึกษา ท่ีมีสถานภาพเปนผูบริหาร

สถานศึกษา ศึกษานิเทศก และครูผูสอน

2.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยระยะที่ 2

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยระยะท่ี 2 มีจํานวน

2 ฉบับ ไดแก

ฉบับท่ี 1 แบบประเมินความพึงพอใจตอ

คูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการ

ประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดาน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู ท่ีผูวิจัยพัฒนาข้ึน

ประกอบดวย 3 ตอน ไดแก ตอนท่ี 1 ขอมูลพื้นฐานของ

ผูตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 รายการขอคําถามเก่ียว

กับความพึงพอใจของผูทดลองใชตอคูมือดังกลาว โดย

การประยุกตใชมาตรฐานการประเมินงานประเมิน 4

มาตรฐานของ Stufflebeam (1998) ไดแก (1) ดานการ

Page 72: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

64  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ใชประโยชน (2) ดานความเปนไปได (3) ดานความหมาะสม

(4) ดานความถูกตอง เปนลักษณะมาตรประมาณคา 5

ระดับ และตอนท่ี 3 คําถามปลายเปด ฉบับท่ี 2 แบบสัมภาษณผูทดลองใชคูมือ

การใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเปนแบบสัมภาษณกึ่งมีโครงสราง ประกอบดวย 2 ตอน ไดแก ตอนท่ี 1 ขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง และตอนท่ี 2 แนวคําถามในการสัมภาษณ

ข้ันตอนการสรางและพัฒนาเครื่องมือ

1. ศึกษาเอกสารเก่ียวกับการสราง พัฒนาแบบประเมิน และแนวคิดการประเมินตามมาตรฐานการประเมิน 4 มาตรฐาน ดังกลาวขางตน

2. ใชขอมูลท่ีไดจากการศึกษาเอกสารตามขอ 1 มาเปนกรอบในการพัฒนาแบบประเมินความพึงพอใจตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ในขณะเดียว กันผูวิจัยก็ดําเนินการพัฒนาแบบสัมภาษณผูทดลองใชคูมือดังกลาว นําไปเสนออาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธตรวจพิจารณาใหขอเสนอแนะ

การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ ดานความตรงเชิงเน้ือหา (content validity)

1. ผูวิจัยดําเนินการตรวจสอบคุณภาพดานความตรงเชิงเน้ือหา ของแบบประเมินความพึงพอใจตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 5 ทาน พบวาคาดัชนี IOC ของรายการขอคําถามกับนิยามเชิง

ปฏิบัติการขององคประกอบ มีคาอยูระหวาง .80-1.00 จากคาดัชนี IOC ท่ีมีคาต้ังแต .05 ขึ้นไป แสดงวาผูทรง คุณวุฒิมีความเห็นสอดคลองกันวา รายการขอคําถามมีความสอดคลองกับนิยามเชิงปฏิบัติการขององคประกอบ นอกจากน้ีผูวิจัยยังดําเนินการปรับปรุง แกไขในตามคําแนะนําและขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิ

2. ดานความเท่ียง นําแบบประเมินความพึงพอใจตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไปทดลองใชในการประเมิน ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก ครูผูสอน จํานวนท้ังส้ิน 24 คน นําผลท่ีไดมาวิเคราะหหาคาความเที่ยงดวยวิธีการประมาณคาสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) พบวา ไดคาความเท่ียงขอบแบบประเมินท้ังฉบับเทากับ .83

ข้ันตอนการดําเนินการวิจัยในระยะที่ 2 1. ผู วิจัยดําเนินการจัดประชุมชี้แจงราย

ละเอียดเกี่ยวกับคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให แกกลุมตัวอยางท่ีจะทดลองใชคูมือดังกลาว แจงวันและเวลาท่ีจะดําเนินการทดลองใชคูมือการประเมินดังกลาวขางตน

2. กลุมตัวอยางดําเนินการทดลองใชคูมือดังกลาวในการประเมินการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จํานวน 3 ระยะ คือ กอนเปดภาคการศึกษา ระหวางภาคการศึกษา และปลายภาคการศึกษา

Page 73: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 65

 

3. หลังจากเสร็จส้ินการใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผูวิจัยดําเนินการประเมินประสิทธิผลของคูมือดังกลาว โดยใหกลุมตัวอยางตอบแบบประเมินความพึงพอใจตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และสัมภาษณกลุมตัวอยางดังกลาว ในประเด็นเก่ียวกับปญหาและอุปสรรคในการใช ความเปนไปไดในการปฏิบัติ และการยอมรับในคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีผูวิจัยพัฒนาข้ึน

4. ผูวิจัยเก็บรวบรวมแบบประเมินกลับคืน โดยสามารถเก็บแบบประเมินไดครบท้ัง...คน (คิดเปนรอยละ 100)

5. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบประเมินท่ีเก็บรวบรวมได

6. จากน้ันดําเนินการวิเคราะหและสรุปผล ซึ่งสารสนเทศที่ไดจะแสดงถึงประสิทธิผลของคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเ รียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีผูวิจัยพัมนาข้ึน

การวิเคราะหขอมูลระยะที่ 2 ผูวิจัยนําเสนอแนวทางการวิเคราะหขอมูล

และคาสถิติตางๆ ในระยะท่ี 2 ดังน้ี 1. การบรรณาธิการขอมูล เพื่อตรวจสอบ

ความสมบูรณของขอมูล

2. แบบประเมินความพึงพิใจตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครู ในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งประกอบดวย 3 ตอน ไดแก ตอนท่ี 1 ขอมูลพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหดวยสถิติภาคบรรยาย ไดแก คารอยละ และความถ่ี ตอนท่ี 2 รายการขอคําถามเก่ียวกับความพึงพอใจตอคูมือดังกลาว สถิติท่ีใชในการวิเคราะห คือ คามัธยฐาน ซึ่งจะตองมีคา 3.5 และคาพิสัยระหวาง ควอไทล (IR) จะตองมีคา 1.5 (กฤษณา คิดดี, 2547) โดยการแปลผลมีดังน้ี

คามัธยมฐาน 1.00-1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจดานความถูกตอง/ความเปนประโยชน/ความเปนไปได/ความเหาะสมในระดับนอยท่ีสุด

คามัธยฐาน 1.51-2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจดานความถูกตองความพึงพอใจดานความถูกตอง/ความเปนประโยชน/ความเปนไปได/ความเหมาะสมในระดับนอย

คามัธยฐาน 2.51-3.50 หมายถึง ความพึงพอใจดานความถูกตอง/ความเปนประโยชน/ความเปนไปได/ความเหาะสมในระดับปานกลาง

คามัธยฐาน 3.51-4.50 หมายถึง ความพึงพอใจดานความถูกตอง/ความเปนประโยชน/ความเปนไปได/ความเหาะสมในระดับมาก

คามัธยฐาน 4.51-5.00 หมายถึง ความพึงพอใจดานความถูกตอง/ความเปนประโยชน/ความเปน ไปได/ความเหาะสมในระดับมากท่ีสุด และตอนท่ี 3 คําถามปลายเปดใชการวิเคราะหเน้ือหา

3. แบบสัมภาษณผูทดลองใชคูมือการใชมาตรฐาน ตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการ

Page 74: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

66  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

วัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดแก ความถ่ี คารอยละ และการวิเคราะหเน้ือหา สรุปผลการวิจัย

ตอนท่ี 1 ผลการพัฒนาตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผลการพัฒนาตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นําเสนอเปน 2 ตอน ไดแก (1) ผลการสังเคราะหเอกสารการพัฒนาองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ (2) ผลการพัฒนาตัวบงชี้ เกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตอนที่ 1 ผลการสังเคราะหเอกสารพัฒนา

องคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมิน

ผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัด

และประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

ผลการสังเคราะหองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นําเสนอเปน 2 ตอนไดแก (1) ผลการสังเคราะหเอกสารการพัฒนาองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินผล

แบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ (2) ผลการพัฒนาตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังน้ี

1.1 ผลการสังเคราะหเอกสารและพัฒนาองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผลการสังเคราะหองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินผลแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบวา กรอบในการพัฒนาตัวบงชี้ ประกอบดวย องคประกอบหลัก 5 องคประกอบ ไดแก (1) ดานทรัพยากร (input) (2) ดานกิจกรรมการดําเนินงาน (process) (3) ดานผลผลิต (output) (4) ดานผลลัพธ (outcome) และ (5) ดานผลกระทบ (impact)

ด า นป จ จั ย นํ า เ ข า ป ร ะกอบด ว ย 2 องคประกอบยอย ไดแก (1) ความพรอมของครู มี 2 ตัวบงชี้ (2) ความพรอมของวัสดุและอุปกรณ มี 2 ตัวบงชี้ ดานกิจกรรมการดําเนินงาน ประกอบดวย 3 องคประกอบยอย ไดแก (1) การวางแผน มี 3 ตัวบง ชี้ (2) กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู มี 4 ตัวบงชี้ (3) กระบวนการสรุปผลรวมการวัดและประเมินผลการเรียนรู มี 2 ตัวบงชี้ ดานผลผลิต ประกอบดวย 1 องคประกอบยอย คุณภาพงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู มี 3 ตัวบงชี้ ดานผลลัพธ ประกอบดวย 2 องคประกอบยอย ไดแก (1) การพัฒนางานครู มี 1 ตัวบงชี้ (2) องคประกอบ

Page 75: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 67

 

ท่ี 2 การพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน มี 2 ตัวบงชี้ และ ดานผลกระทบ ประกอบดวย 1 องคประกอบยอย ไดแก มาตรฐานการดําเนินงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู

1.2 ผลการพัฒนาองคประกอบหลัก องคประกอบยอย ตัวบงชี้ และเกณฑในการประเมินฯ

ผลก า รป ร ะ ชุ ม ร ะ ดมคว าม คิ ด จ า กผูทรงคุณวุฒิ พบวา ผลการพัฒนาองคประกอบหลัก องคประกอบยอย ตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน มีความเหมาะสมยอมรับได ผูทรงคุณวุติซึ่งเปนบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความรูความเชี่ยวชาญทางการวัดและประเมินผลการศึกษา เสนอใหปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมในบางประเด็น เก่ียวกับ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน สรุปไดวา องคประกอบหลักใชเปนกรอบในการพัฒนาตัวบงชี้แบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดวย 3 องคประกอบหลัก ไดแก ดานการวางแผน ดานกระบวน การวัดและประเมินผลการเรียนรู และดานกระบวนการสรุปผลการวัดปละประเมินผลการเรียนรู

1.3 ผลการวิเคราะหความเหมาะสมของตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน

ผลการประเมินความเหมาะสมของตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน จากผูทรงคุณวุฒิ พบวา ตัวบงชี้หลักโดยรวมมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก ตัวบงชี้ท่ีมีความเหมาะสมมากท่ีสุดคือ ตัวบงชี้ท่ี 1 ความรูดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตัวบงชี้ท่ี 6 การจัดทําแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตัวบงชี้ท่ี 9 การวัดและประเมินผลเพื่อเตรียมความพรอม ตรวจสอบความกาวหนา และการประเมินสรุปรวมในแตละหนวยการเรียนรู ตัวบงชี้ท่ี 19 คุณภาพของแบบสอบปลายภาค มีความเหมาะสมในระดับมาก รองลงมาคือ ตัวบงชี้ท่ี 3

ตํารา เอกสารความรูตางๆ ดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตัวบงชี้ท่ี 5 การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู ตัวบงชี้ท่ี 8 การสรางเคร่ืองมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตัวบงชี้ ท่ี 10 การใหขอมูลปอนกลับแกผูเรียนในแตละหนวยการเรียนรู และตัวบงชี้ท่ีครูใชผลการวัดและประเมินผลการเรียนรูไปสูการพัฒนาการดําเนินงานในดานการวัดและประเมินผล และนอยท่ีสุดคือ ตัวบงชี้ท่ี 4 ขอมูล/สารสนเทศงานดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู มี นอกจากน้ียังพบวา ตัวบงชี้หลักทุกตัวมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก

1.4 ผลการวิเคราะหเน้ือหาความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม จากแบบประเมินความเหมาะสมของตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน

ผลการวิเคราะหเน้ือหา ความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม จากแบบประเมินความเหมาะสมของตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นสอดคลองกันวา ควรกําหนดแหลงขอมูลท่ีเหมาะสมของแตละตัวบงชี้ ท่ี เปนแนวทางใหกับผูประเมินในคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑและแนวทางการประเมินฯ หากเปนไปไดควรใหมีการแบงการเก็บขอมูลออกเปนระยะๆ ตามความเหมาะสมของแตละสํานักงานเขตพื้นท่ี เปนตน

1.5 ผลการพัฒนาคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินฯ

ผลการพัฒนาคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินฯ สรุปไดวาเน้ือหาและสวน ประกอบของคูมือดังกลาว ประกอบดวย บทท่ี 1 บทนํา ซึ่ งมี เน้ือหาเก่ียวกับความเปนมาและความสําคัญ วัตถุประสงคคูมือ ประโยชนคูมือ ประโยชนท่ีจะไดรับ บทท่ี 2 เน้ือหาและแนวทางการประเมิน ซึ่งมีเน้ือหาเก่ียวกับ แนวทางการพัฒนาตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน หลักการของการดําเนินงานของครูในดานการวัดและ

Page 76: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

68  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ประเมินผลการเรียนรู เน้ือหาสาระขององคประกอบหลักและตัวบงชี้ แนวทางการนําตัวบงชี้ เกณฑการประเมินไปใช บทท่ี 3 รายละเอียดองคประกอบ ตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินแบบมุงผลการดําเนินงาน ซึ่งมีเน้ือหาเก่ียวกับ รายละเอียดขององคประกอบหลัก ประกอบดวย 5 องคประกอบหลัก ไดแก ดานปจจัยนําเขา ดานกิจกรรมการดําเนินงาน ดานผลผลิต ดานผลผลัพธ และดานผลกระทบ รวมท้ังส้ิน 20 ตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน ขอมูลประกอบการพิจารณา บุคลากรท่ีเก่ียวของ ระยะเวลาในการใชตัวบงชี้ และเกณฑการประเมิน กําหนดการในการเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล และภาคผนวก มีรายละเอียดเก่ียวกับแบบบันทึกการสังเกต แบบบันทึกการศึกษาเอกสาร แบบสรุปรายงานผลการประเมิน ตอนที่ 2 ผลการประเมินประสิทธิผลคูมือการใช

ตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการ

ประเมินแบบมุงผลการดําเนินงานของครูในดาน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

การประเมินประสิทธิผลคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ ประเมินจาก (1) ผลการวิเคราะหความคิดเห็นตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ ใน 4 ดาน ไดแก (2) ผลการวิเคราะหปญหา อุปสรรคการใช ความเปนไปไดในการปฏิบัติ และการยอมรับในคูมือดังกลาวของผูทดลองใชในการประเมินฯ

2.1 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นที่มี

ตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และ

แนวทางการประเมินฯ ผลการวิเคราะหความคิดเห็นตอคูมือการ

ใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ พบวา กลุมทดลองใชมีความคิดเห็นตอคูมือดาน

อรรถประโยชนในระดับมากท่ีสุด ไดแกสารสนเทศท่ีไดจากตัวบงชี้มาจากผูประเมินท่ีมีความนาเชื่อถือ

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ ดานความเปนไปได พบวา กลุมผูทดลอใชมีความคิดเห็นตอคูมือดังกลาว ดานความเปนไปไดในระดับมากท่ีสุด ไดแก มีรูปแบบ วิธีการ และผลการประเมินผลเปนท่ียอมรับของผูมีสวนเกี่ยวของ

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ ดานความเหมาะสม พบวา กลุมทดลองใชมีความคิดเห็นตอคูมือดังกลาว ดานความเหมาะสมในระดับมากท่ีสุด ไดแก คํานึงถึงสิทธิสวนตัวของผูรับการ และการใชคูมือ เกณฑการประเมินและแนวทางประเมินผลฯ เคารพสิทธิในการมีปฏิสัมพันธของผูท่ีมีสวนเกี่ยวของ

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นตอคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ ดานความถูกตอง พบวา กลุมทดลองใชมีความคิดเห็นตอคูมือดังกลาว ดานความถูกตองในระดับมากท่ีสุด ไดแก การลงขอสรุปและผลการประเมินมีเหตุผลสนับสนุน

2.2 ผลการวิเคราะหเนื้อหาคําถาม

ปลายเปดจากแบบประเมินความคิดเห็นตอตอ

คูมือฯ ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของกลุม

ตัวอยางในประเด็นเกี่ยวกับ ความเหมาะสมจุดแข็ง จุดดอย และขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นวา ตัวบงชี้และเกณฑการประเมินมีครบถวนในทุกดานของการประเมินการดําเนินงานของครูดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู แตมีขอเสนแนะเพิ่มเติมวา ควรกําหนดใหผูประเมิน

Page 77: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 69

 

ดําเนินการในรูปแบบคณะกรรมการประเมิน หรือมีการกําหนดใหมีผูประเมินมากกวา 1 คน เพื่อใหการประเมินมีความยุติธรรม และเก็บขอมูลไดอยางละเอียดครบถวนมากยิ่งขึ้น

2.3 ผลการศึกษาปญหา อุปสรรคในการใช ความเปนไปไดในการปฏิบัติ และการยอมรับในคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑการประเมิน และแนวทางการประเมินฯ

ผลการสัมภาษณผูทดลองใชคูมือการใชตัวบงชี้ เกณฑ และแนวทางการประเมินฯ ท่ีผูวิจัยพัฒนา ขึ้น จํานวน 10 ในประเด็นเก่ียวกับปญหา อุปสรรค

ความเปนไปได พบวา ตัวบงชี้บางตัว ผูประเมินอาจขาดความรูความเขาใจท่ีลึกซึ้ง ดังน้ัน ควรมีนิยามปฏิบัติ การในบางตัวบงชี้ อุปสรรคในการใชคือระยะ เวลา ควรมีการกําหนดระยะเวลาลวงหนาประมาณ 3 อาทิตย หรือมีจดหมายแจงผูรับการประเมินเปนลายลักษณอักษร ควรใชตัวบงชี้ และเกณฑการประเมินในภาคเรียนท่ี 1 เพื่อใหผูประเมินสามารถติดตามความ กาวหนาในการดําเนินงานของครูในดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ไดอยางเหมาะสม ไมขาดตอน

บรรณานุกรม

พิสณุ ฟองศรี. (2550). การประเมินทางการศึกษา : แนวคิดสูการปฏิบัติ. (พิมพคร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: เทียมฝายการพิมพ. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2541). คูมือ การตดิตามและประเมินโครงการพัฒนาในระดับจังหวัด. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2547). ทฤษฎีการประเมิน. (พิมพคร้ังท่ี 4). กรุงเทพฯ: สํานักพมิพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). แนะทําคูมือมาตรฐานประเมินผล เชื่อลดปญหาโรงเรยีนปลอยกดเกรด.

หนังสือพิมพมติชน (9 กุมภาพันธ 2552): 22. ศึกษาธิการ.กระทรวง. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทศํกราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม

(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ. ศึกษาธิการ.กระทรวง. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพชมุนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย สุวิมล ติรกานันท. (2550). การประเมนิโครงการ: แนวทางสูการปฎิบัต.ิ (พิมพคร้ังท่ี 7). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 78: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

70  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

Cananda International Developent Agency (CIDA). (2008). Presentation of the Amended Key Result- based Management Terms and Definitions: For the 2008 Result-based Mangement Policy Statement. (online). Available from: http://www.acdi-cida.gc.ca/INET/MAGES.NSF/vLUImages/ Results-basedManagement/$file/RBM_POLICY_STATEMENT_2008 _COMPANION.pdf.

Organization for economic co-operation and development. (2007). Glossary of Key Term in Evaluation

and Result-based Management.. (online). Available http://www.oecd. org/development/peer- reviews/2754804.pdf

Page 79: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 71

 

การสรางชดุทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ วิชางานชางพ้ืนฐาน ระดับมัธยมศึกษา ปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม)

THE CONSTRUCTION OF ALTERNATING CIRCUIT BOARD UNDER A CRAFT WORK SUBJECT, HIGH SCHOOL GRADE 9, SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY; PRASARNMIT DEMONSTRATION SCHOOL (SECONDARY)

ผูวิจัย ทวีศิลป พรมสุวรรณ1 Taveesin Promsuvan บทคัดยอ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคหลักเพื่อสรางชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ วิชางานชางพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาปท่ี 3 โดยใชรูปแบบการวิจัย ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังน้ี (1) สรางและทดสอบประสิทธิภาพของชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ โดยผูวิจัยสรางชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับขึ้นมา แลวปรับปรุงขอบกพรองตางๆ จึงนํามาใชการทดลองตอวงจรซ้ํา 3 คร้ัง เพื่อใหไดผลการทดลองท่ีถูกตอง (2) วิเคราะหคุณภาพชุดทดลอง และคูมือการใช โดยผูเชี่ยวชาญ และ (3) หาประสิทธิภาพของชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ โดยใชการทดลองแบบ one-group post –test only กับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2553 ท่ีเรียนวิชางานชางพื้นฐาน จํานวนรวม 30 คน

ผลการวิจัยสรุปไดดังน้ี 1. ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีสรางข้ึน

มีประสิทธิภาพ 99.2/95.87 ซึ่งไดผลมากกวาเกณฑท่ีต้ังไว (90/90) แสดงวาชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ

2. ความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจร ไฟฟากระแสสลับของนักเรียนมีคาเฉล่ียเทากับ 23.97 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑหรือคะแนนท่ีต้ังไวพบวามี

คาสถิติทีเทากับ 0.08 ท่ีนัยสําคัญ 0.93 แสดงใหเห็นวา คาเฉล่ียความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจร ไฟฟากระแสสลับของนักเรียนไมแตกตางจากเกณฑท่ีต้ังไว หรือกลาวไดวาคะแนนความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียนเปนไปตามเกณฑท่ีต้ังไว

3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับอยูในระดับมากมีคาเฉล่ียเทากับ 3.81 คําสําคัญ : ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ วงจร ไฟฟากระแสสลับ งานชางพื้นฐาน

ABSTRACT

The purposes of this research were 1) to construct and test the efficiency of alternate circuit sets by improving all systems and trying it out for 3 times to get the result correctly. 2) to analyze the quality of alternate circuit sets and usage manual by experts. 3) to investigate the efficiency of alternate circuits by using experiment of one-group post-test only. The samples of this study were 30 Mattayomsuksa 3 students from Srinakharinwirot University of

1อาจารยประจําโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม)

Page 80: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

72  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

Prasarnmit Demonstration School (Secondary) in the first semester of the academic year 2010.

The findings were as follows : 1. The experimental alternate circuit sets

used in teaching and learning were effective as indicated by the statistic value of 99.2/95.87 comparing with the set criteria of 90/90

2. The students understood and had knowledge of alternate circuits as indicated by statistic value at 0.93. This shows that statistic value of students’ understanding at alternate circuits was not different from the expected criteria.

3. The students’ satisfaction with the use of experimental alternate circuits in teaching and learning was significantly high at a level of 3.81 Keywords : Construction of Alternate Circuit Board Alternating circuit current Basic Craft Work. บทนํา

วิชางานชางพื้นฐาน เปนวิชาหนึ่งในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม) เปนกลุมสาระท่ีชวยพัฒนาใหผูเรียน มีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทันการเปล่ียนแปลง สามารถนําความรูเก่ียวกับการดํารงชีวิต การงานอาชีพและเทคโนโลยีมาประยุกตใชในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรค และแขงขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และมีเจตคติท่ีดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียง

และมีความสุข กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาผูเรียนแบบองครวมเพื่อใหมีความรูความสามารถ มีทักษะในการทํางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสําคัญดังน้ี

- การดํารงชีวิตและครอบครัว เปนสาระเกี่ยวกับการทํางานในชีวิตประจําวัน การชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจท่ีพอเพียงไมทําลายส่ิงแวดลอม เนนการปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลสําเร็จของงาน เพื่อใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง

- การออกแบบและเทคโนโลยี เปนสาระเก่ียวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษยอยางสรางสรรค โดยนําความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี สรางส่ิงของเคร่ืองใช วิธีการ หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต

- เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เปนสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอส่ือสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงาน คุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

- การอาชีพ เปนสาระเกี่ยวกับทักษะท่ีจําเปนตออาชีพ เห็นความสําคัญของคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติท่ีดีตออาชีพ ใชเทคโนโลยีไดเหมาะสม เห็นคุณคาของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ (กรมวิชาการ.2551: 4)

คุณภาพผูเรียนเมื่อจบระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 จะเขาใจกระบวนการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพใชกระบวนการกลุมในการทํางาน มีทักษะการแสวงหาความรู ทักษะกระบวนการแกปญหา และทักษะการจัดการมีลักษณะนิสัยการทํางานท่ีเสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอยางมีเหตุผลและถูกตอง และมีจิตสํานึกใน

Page 81: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 73

 

การใชพลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอมอยางประหยัดและคุมคา เขาใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสรางสรรคในการแกปญหาหรือสนองความตองการ สรางส่ิงของเคร่ืองใชหรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางถูกตองและปลอดภัย โดยถายทอดความคิดเปนภาพฉายเพ่ือนําไปสูการสรางชิ้นงานหรือแบบจําลองความคิดและการรายงานผล เลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม ส่ิงแวดลอม และมีการจัดการเทคโนโลยีดวยการลดการใชทรัพยากร หรือเลือกใชเทคโนโลยีท่ีไมมีผลกระทบกับส่ิงแวดลอม

งานชางเปนงานท่ีมีคุณคาและความสําคัญเก่ียวของกับการดําเนินกิจกรรมในชีวิตประจําวันของมนุษยเปนสวนใหญ การมีความรูความเขาใจสามารถปฏิบัติงานตามกระบวนการทักษะทางชางอยางถูกวิธีก็จะเปนประโยชนตอการนําไปใชในการดํารงชีวิตประจําวันไดเปนอยางดี ท้ังในเร่ืองการเลือก การใช การดูแลบํารุงรักษา การซอมแซมปรับปรุงแกไข การสรางหรือผลิตชิ้นงาน วัสดุส่ิงของ เคร่ืองมือเคร่ืองใชในงานชาง รวมท้ังการประดิษฐนวัตกรรมในเชิงอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอมตางๆ ท่ีจะนํามาตอบสนองความตองการปจจัยส่ีของมนุษย ท้ังในเร่ืองอาหาร ท่ีอยูอาศัย เคร่ืองนุงหม และยารักษาโรค ใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น เชน สรางบานเรือนท่ีอยูอาศัยท่ีมีความคงทน สรางส่ิงชวยอํานวยความสะดวกในการทํากิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวัน เชน หมอหุงขาวไฟฟา เตาไมโครเวฟ โทรทัศน โทรศัพท เคร่ืองปรับอากาศ เคร่ืองคอมพิวเตอร ลวนมีพื้นฐานมาจากงานชางท้ังส้ิน (มนตรี ไรขิง และ ศิริรัตน ฉัตรศิขรินทร. 2548: 3) สําหรับการสอนงานไฟฟาเปนงานชางท่ีตองใชความรู ทักษะและกระบวนการทางชางในการใชเคร่ืองมือวัสดุอุปกรณดวยความปลอดภัยในการสราง

หรือผลิตและปรับปรุงชิ้นงานทางไฟฟา เชน การเดิน สายตอวงจรไฟฟาภายในบาน การตอสายไฟฟาตามแบบมาตรฐาน การซอมแซมเคร่ืองใชไฟฟาตางๆ การประดิษฐคิดคนวงจรไฟฟาใหมๆ งานไฟฟาจึงเปนงานชางพื้นฐานท่ีสําคัญอีกแขนงหน่ึง เพราะในยุคปจจุบันการดํารงชีวิตของมนุษยเก่ียวของกับไฟฟาเปนอยางมาก อุปกรณเคร่ืองใชตางๆ จําเปนตองอาศัยไฟฟาในการทํางาน ชวยใหมนุษยมีคุณภาพท่ีดีขึ้น (มนตรี ไรขิง และศิริรัตน ฉัตรศิขรินทร. 2548: 6)

เพราะฉะน้ันวิธีการสอนงานไฟฟามีหลายวิธี เน่ืองจากงานไฟฟามีลักษณะอันตรายและตองมีความรู ฝกฝนทักษะปฏิบัติ ส่ือการเรียนการสอนจึงมีบทบาทสําคัญท่ีจะทําใหครูสามารถใชส่ือ การสอนท่ีมีคุณภาพได เน่ืองจากส่ือการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพจะทําใหนักเรียนเกิดทักษะและสามารถสรางองคความรูจากส่ือท่ีเรียนได แตการเรียนรูจะเกิดขึ้นไดมากหรือนอยข้ึนอยูกับระดับปฏิบัติ โดยเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาจําเปนตองไดรับการฝกปฏิบัติใหมากยิ่งขึ้น (สิปปนนท เกตุทัต. 2541: 15) เน่ืองจากการใชส่ือการเรียนการสอนจะชวยใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอด นักเรียนจะได รับประสบการณท้ังทางตรงและทางออม สงผลใหเกิดความคงทนในการเรียนรู และเปนส่ือเชื่อมโยงความเปนรูปธรรมกับนามธรรม ทําใหเกิดความเขาใจในเร่ืองราวท่ีศึกษาไดงายข้ึน ดังน้ันชุดทดลองจึงเปนส่ือการเรียนการสอนประเภทหน่ึงท่ีสามารถพัฒนาความรูทักษะและประสบการณใหแกนักเรียนไดเปนอยางดี

จากเหตุผลดังกลาวผูวิจัยจึงสนใจสรางชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ เพื่อใชเปนส่ือการเรียนการสอนใหนักเรียนไดรับความรู ทักษะ ความชํานาญท่ีถูกตอง ผูวิจัยคิดวาการสอนโดยใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ ซึ่งเปนการสอนเทียบเทาการปฏิบัติจริงเพราะสอนใหนักเรียนทุกคนลงมือปฏิบัติกับชุดทดลอง

Page 82: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

74  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

วงจรไฟฟากระแสสลับ จะสามารถใชงานไดจริงในการเรียนการสอนวิชางานชางพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อสรางชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ 2. เพื่อประเมินประสิทธิภาพของชุดทดลอง

วงจรไฟฟากระแสสลับในการเรียนการสอนตามเกณฑ 90/90

3. เพื่อศึกษาความรู ทักษะปฏิบัติ และประเมินผลความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียนกับเกณฑท่ีต้ังไว

4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียน

ความสําคัญของการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ีทําใหไดชุดทดลองวงจรไฟฟา

กระแสสลับท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อใชในการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ วิชางานชางพื้นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 สมมติฐานการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยไดกําหนดสมมติฐานไวดังน้ี

1. นักเรียนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับผานเกณฑท่ีกําหนด

2. นักเรียนมีทักษะปฏิบั ติในการตอวงจร ไฟฟากระแสสลับผานเกณฑท่ีกําหนด

3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับอยูในระดับมาก

วิธีดําเนินการวิจัย ในการวิจัยคร้ังน้ีมีการดําเนินการ 3 ขั้นตอน

ซึ่งแตละข้ันตอนมีขอบเขตดังน้ี ตอนท่ี 1 การสรางและทดสอบประสิทธิภาพ

ของชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ ซึ่งผูวิจัยไดออกแบบและสรางชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับเปนตนแบบจํานวน 1 ชุด พรอมคูมือการใชชุดทดลอง ดังน้ี

1. ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ ซึ่งนักเรียนสามารถดําเนินการทดลองไดจากคูมือการใชชุดทดลองท่ีกําหนดให

2. ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีสรางข้ึนไดรับการทดสอบประสิทธิภาพโดยผูวิจัยทําการทดสอบเบื้องตนและทําการทดลองโดยดําเนินการทดลองซ้ํา 3 คร้ัง

ตอนที่ 2 การประเมินคุณภาพชุดทดลองวงจร ไฟฟากระแสสลับและคูมือการใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ

การประเมินคุณภาพชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับและคูมือการใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ ประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน

ตอนที่ 3 การหาประสิทธิภาพของชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ โดยใชเกณฑ 90/90

1. แหลงขอมูลท่ีใชทดลอง 1.1 ประชากรท่ีใชในการวิจัย เปนนักเรียน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2553 ท่ีเรียนวิชางานชางพื้นฐาน จํานวน 6 หองเรียน รวมท้ังหมด 260 คน

1.2 กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัย เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร

Page 83: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 75

 

วิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ภาคเรียนท่ี 1 ปการ ศึกษา 2553 ท่ีเรียนวิชางานชางพื้นฐาน รวมท้ังหมด 30 คน ไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจงเปนกลุมทดลอง 1 กลุม

2. ตัวแปรท่ีใชศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ ไดแก การฝกปฏิบัติโดย

ใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ 2.2 ตัวแปรตาม ไดแก

2.2.1 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับ

2.2.2 ทักษะปฏิบัติในการตอวงจร ไฟฟากระแสสลับ

2.2.3 ความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ

3. เน้ือหาท่ีใชในการเรียนการสอน เน้ือหาท่ีใชในการทดลองเปนเน้ือหาวิชางาน

ชางพื้นฐาน เร่ืองวงจรไฟฟากระแสสลับ ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมการทดลองจํานวน 5 การทดลอง ดังตอไปน้ี

การทดลองท่ี 1 วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต (บัลลาสตขดลวด)

การทดลองที่ 2 วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต (บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส)

การทดลองท่ี 3 วงจรอนุกรมหลอดไสธรรมดา 3 หลอด

การทดลองท่ี 4 วงจรขนานหลอดไสธรรมดา 3 หลอด

การทดลองท่ี 5 วงจรสวิตช 3 ทาง (วงจรสวิตชบันได)

4. ระยะเวลาท่ีใชในการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยทําการทดลองหาประสิทธิภาพ

ทางการศึกษาของชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนสาธิต

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ท่ีกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2553 ใชเวลาทดลอง 12 คาบ คาบละ 50 นาที ทดลองสัปดาหละ 2 คาบ

5. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีประกอบ ดวย

5.1 แบบทดสอบวัดความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับ (หลังเรียน)

5.2 แบบทดสอบวัดความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับ (ระหวางเรียน)

5.3 แบบประเมินผลทักษะปฏิบัติในการตอวงจรไฟฟากระแสสลับ (สังเกตขณะนักเรียนปฏิบัติในการตอวงจร)

5.4 แบบประเมินความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ ผลการวิจัย

ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีนํามาใชกับนักเรียนมีประสิทธิภาพ 99.2/95.87 ซึ่งไดผลมากกวาเกณฑท่ีต้ังไว (90/90) แสดงวาชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ

คาเฉล่ียความรูความเขาใจเกี่ยวกับการตอวงจร ไฟฟากระแสสลับของนักเรียนมีคาเทากับ 23.97 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑหรือคะแนนที่ต้ังไวพบวามีคา สถิติทีเทากับ 0.08 ท่ีนัยสําคัญ 0.93 แสดงใหเห็นวา คาเฉล่ียความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียนไมแตกตางจากเกณฑท่ีต้ังไว หรือกลาวไดวาคะแนนความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียนเปนไปตามเกณฑท่ีต้ังไว

1. คาเฉล่ียความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียน

Page 84: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

76  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

อยูในระดับมากซึ่งมีคาเทากับ 3.81 โดยขอคําถามท่ีมีคาเฉล่ียมาก 3 ลําดับ ไดแก ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแส

สลับสะดวกตอการใช ( X = 4.23) นักเรียนมีสวนรวม

ในการใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ ( X = 4.21) และครูอธิบายวิธีการใชชุดฝกใหนักเรียนเขาใจกอนทําการใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับซึ่งมีคาเทากันกับขอคําถามท่ีวาชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ

สามารถทําใหนักเรียนเห็นภาพจริงได ( X = 3.97) ซึ่งท้ัง 3 ลําดับมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก และขอคําถามท่ีมีคาเฉล่ียนอย 3 ลําดับ ไดแก ครูและนักเรียน

มีการสรุปความรูหลังจากใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีมีคาเฉล่ียเทากันกับขอคําถามท่ีวานักเรียนสามารถนําความรูท่ีไดจากการเรียนไปใชใน

ชีวิตประจําวันได ( X = 3.48) ซึ่งอยูในระดับปานกลาง รูปรางของชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับสามารถทํา

ใหนักเรียนสนใจอยากใช ( X = 3.57) และการเรียนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับสนุกและไม

เครียด ( X = 3.70) โดยสองลําดับหลังมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก

ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับภาพ กิจกรรมการเรียนการสอน วิชางานชางพื้นฐาน สรุปและอภิปรายผล

ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีนํามาใชกับนักเรียนมีประสิทธิภาพ 99.2/95.87 ซึ่งไดผลมากกวาเกณฑท่ีต้ังไว (90/90) ซึ่งแสดงวาชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับท่ีสรางข้ึนมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ีอาจเน่ืองมา จากการท่ีผูวิจัยไดสรางชุดทดลองวงจรไฟฟากระแส สลับอยางมีขั้นตอนต้ังแตการพิจารณาองคประกอบทุกๆ ดานท่ีเก่ียวของ ประการแรกท่ีสําคัญไดแก การวิเคราะหวัตถุประสงคของบทเรียนวาเน้ือหาหลักตองการอะไร ผูเรียนตองมีการเรียนภาคปฏิบัติไดจึงจะแสดงวาบรรลุตามวัตถุประสงค สอดคลองกับ มนตชัย เทียนทอง (2530) ท่ีไดกลาววาการออกแบบสรางชุด

ทดลองเพื่อใชในการเรียนการสอนเปนส่ิงยุงยาก และคอนขางละเอียดคือ วิเคราะหวัตถุประสงคของบทเรียน กําหนดวัตถุประสงคของการทดลอง กําหนดรูปแบบของชุดทดลอง ศึกษาแบบจาก Catalog เพื่อหารูปแบบท่ีใกล จากน้ันก็ลอกเลียนแบบหรือปรับปรุงใหงายข้ึน สรางตนแบบ และเขียนคูมือ ทดลองใช ประเมินผล และสรางชุดถาวร ท้ังน้ีจากงานวิจัยของ เชษฐา เจริญสุข (2547) ท่ีไดทําการสรางชุดทดลองการควบคุมลิฟตดวยวงจรดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส จตุรงค จตุรเชิดชัยกุล(2540) ท่ีทําการสรางและหาประสิทธิภาพของชุดประลองวงจรอิเล็กทรอนิกสในงานควบคุม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สมาน กาญจนพฤกษ

Page 85: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 77

 

(2547) ไดทําการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและหาประสิทธิภาพชุดทดลอง เร่ืองวิเคราะหวงจรไฟฟา โดยใชโปรแกรม PSpice for Windows และอังคณา อัตถาพร (2547) ไดทําการศึกษาพัฒนาชุดทดลองวงจรสรางสัญญาณพัลสรวมกับใบงานทดลองผลพบวาชุดการสอนท้ังหมดมีประสิทธิภาพและสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไว

ความรูความเขาใจเก่ียวกับการตอวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียนเปนไปตามเกณฑท่ี ต้ังไวเน่ืองมาจากการเรียนโดยใชชุดทดลองจะยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใหผูเรียนเปนผูศึกษาคนควาดวยตนเอง ตามความสามารถและความตองการของตน และชุดทดลองสามารถนําไปใชไดทุกสถานท่ีและทุกเวลา โดยไมจําเปนวาจะตองใชเฉพาะในหองเรียนเทาน้ัน สวนการสอนโดยวิธีการใชชุดทดลองน้ัน อาจารยเปนผูสาธิตใหนักเรียนดูโดยผูเรียนสังเกตและจดจํากระบวนการตาง ๆเพื่อใหสามารถนําไปปฏิบัติได ซึ่ง มนตชัย เทียนทอง (2530) ไดกลาววา ชุดทดลองเปนอุปกรณชวยสอนท่ีใชประกอบการสอนเพ่ือแสดงเนื้อหาท่ีเปนกฎ สูตรหรือทฤษฎี ท่ีกําหนดไวแลว หรือใช เพื่อทดลองหาความ สัมพันธสรางเกณฑขึ้นใหม โดยแสดงผลใหเห็นจริงได

ความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับของนักเรียนอยูในระดับมากซึ่งมีคาเทากับ 3.81 ซึ่งอยูในระดับมาก เน่ืองมาจากลักษณะ 4 ประการคือ 1) ดานรูปรางของชุดทดลองวงจร ไฟฟากระแสสลับสามารถทําใหนักเรียนสนใจอยากใช 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรูครูไดอธิบายวิธีการใชชุดฝกใหนักเรียนเขาใจกอนทําการใชชุดทดลองวงจร ไฟฟากระแสสลับ รวมถึงการท่ีนักเรียนมีสวนรวมใน การใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรูแลวครูและนักเรียนมีการสรุปความรูหลังจากใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ 3) คุณลักษณะเชิงประเมินของนักเรียนพบวานักเรียนมีความรูสึกวาชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับมีความเหมาะสมกับ

เน้ือหา สะดวกตอการใช ทําใหนักเรียนเขาใจเร่ืองวงจร ไฟฟา สามารถทําใหนักเรียนเห็นภาพจริงไดเหมาะสม กับเวลา ชวยสงเสริมการเรียนรู และการเรียนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับสนุกและไมเครียด 4) ผลท่ีเกิดข้ึนกลาวคือ ชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับทําใหนักเรียนเขาใจเร่ืองวงจรไฟฟาและสามารถตอวงจร ไฟฟาได จึงทําใหนักเรียนมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก สอดคลองกับ เชษฐา เจริญสุข (2547) ไดทําการสรางชุดทดลองการควบคุมลิฟตดวยวงจรดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส และอังคณา อัตถาพร (2547) ท่ีไดทํา การศึกษาพัฒนาชุดทดลองวงจรสรางสัญญาณพัลสรวมกับใบงานทดลอง ซึ่งผลพบวาผูเรียนมีความพอใจท่ีไดเรียนจากชุดทดลองอยูในระดับมาก ขอเสนอแนะ

1. ผลการศึกษาความพึงพอใจตอชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับบางขอยังอยูในระดับปานกลางคือ ครูและนักเรียนมีการสรุปความรูหลังจากใชชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับ จึงตองเพิ่มการสรุปเน้ือหาระหวางครูกับนักเรียนเพิ่มมากขึ้น และนอกจาก น้ียังพบวานักเรียนสามารถนําความรูท่ีไดจากการเรียนไปใชในชีวิตประจําวันไดในระดับปานกลาง การจัดกิจกรรมการเรียนรูจึงตองเพิ่มการเชื่อมโยงระหวางเน้ือหาท่ีเรียนกับชีวิตประจําวันใหมากขึ้น

2. ผูวิจัยไดใชชุดทดลอง 6 ชุด กับกลุมทดลองจํานวน 30 คน เพราะชุดทดลองท่ีผูวิจัยใชทดลองในคร้ังน้ี เปนเพียงตนแบบของการดําเนินการทดลองจึงควรมีการสรางชุดทดลองเพิ่มขึ้นใหเหมาะสมกับจํานวนนักเรียน

3. ควรมีการวิจัยเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเรียนการสอนดวยชุดทดลองวงจรไฟฟากระแสสลับกับการเรียนการสอนดวยวิธีการหรือส่ือการสอนแบบอื่นๆ เชน การใชชุดทดลองแบบอื่นๆ หรือวาบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน เปนตน

Page 86: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

78  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. พมิพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช สําราญราษฎร จํากัด.

จตุรงค จตุรเชิดชัยกุล. (2540). การสรางและหาประสทิธิภาพชุดประลองวงจรอิเล็กทรอนิกสในงาน

ควบคุม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพีชั้นสูง. วิทยานิพนธ คอ.ม. (ไฟฟาอุตสาหกรรม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

เชษฐา เจริญสุข. (2547). การสรางชุดทดลองการควบคุมลิฟตดวยวงจรดิจติอลอิเล็กทรอนิกสหลักสูตร ประกาศนียบตัรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พทุธศักราช 2540. วิทยานิพนธปริญญา กศ.ม. (อุตสาหกรรม). ธนบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.

มนตรี ไรขิง และศิริรัตน ฉัตรศิขรินทร. (2548). งานชาง. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน จํากัด. มนตชัย เทียนทอง. (2530). อุปกรณชวยสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสถาบนัเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. สมาน กาญจนพฤกษ. (2545). การศึกษาผลสัมฤทธิทางการเรียน และหาประสิทธิภาพของ ชุดทดลอง เรื่อง

วิเคราะหวงจรไฟฟา โดยใชโปรแกรม Pspice for Windows. วิทยานิพนธปริญญา กศ.ม. (อุตสาหกรรม). ธนบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.

สิปปนนท เกตุทัต. (2541). การประชุมเชงิปฏิบัติการระดมความคดิครูผูสอนวิชาวิทยาศาสตร เรื่องวิสัยทัศ

การเรียนการสอนวิทยาศาสตร ยุคหลังป ค.ศ. 2000. กรุงเทพฯ: สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี.

อังคณา อัตถาพร. (2547). การพัฒนาชุดทดลองและศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องวงจรสรางสัญญาณ

พัลส หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้สูง (ปวส.) พุทธศักราช 2540. วิทยานิพนธปริญญา กศ.ม. (อุตสาหกรรม). ธนบุรี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.

Page 87: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 79

 

การสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิดที่มีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร และความสามารถในการคิดวิเคราะหของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร (ฝายมัธยม) THE EFFECT OF INQUIRY CYCLE USING MIND-MAP TECHNIQUE

TOWARD SCIENCE LEARNING ACHIEVEMENT AND ANALYSIS PROCESS OF MATHAYOMSUKSA 2 IN SRINAKHARINWIROT PRASARNMIT

DEMONSTRATION SCHOOL (SECONDARY) ผูวิจัย ธนลาวัณย เพียรคา1 Thanalawam Pealkha บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดมุงหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรและความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักร สืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด

กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 48 คน ดําเนินการทดลองโดยใชแบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest–Posttest Design และการวิเคราะหขอมูลโดยใช t-test for dependent sample

ผลการศึกษาพบวา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของ

นักเรียนกอนและหลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

2. ความสามารถในการคิดวิ เคราะหของนักเรียนกอนและหลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.01

คําสําคัญ : การสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด การคิดวิเคราะห ABSTACT

The purpose of this research was to compare science learning achievement and analysis process of matthayomsuksa 2 students at swu prasarnmit demonstration school before and after doing activity employed Inquiry Cycle using Mind-map Technique

The samples used in this research were 48 Matthayomsuksa 2 students at Srinaknarinwirot University Prasarnmit Demonstration School (Secondary), of the 2010 academic year. One Group Pretest–Postest was employed in this study. The data were analyzed by t-test for dependent sample. The result are as following :

1. Students’ learning achievements were significantly different before and after doing

1อาจารยประจําวิชาวิทยาศาสตร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 88: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

80  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

activity employed inquiry Cycle using Mind-map Technique at .01 level

2. Students’ analysis process were significantly different before and after doing activity employed inquiry Cycle using Mind–map Technique at .01 level Keywords : inquiry cycle using mind-map technique analysis process บทนํา

วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญย่ิงในสังคมปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเก่ียวของกับชีวิตของคนทุกคนท้ังในการดํารงชีวิตและงานอาชีพตางๆ เคร่ืองมือเคร่ืองใชส่ิงอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน และในการทํางานลวนเปนผลของความรูทางวิทยาศาสตรผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่นๆ

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 24(2) การจัดกระบวนการเรียนรูตองดําเนินการคือฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใช เพื่อปองกันและแกไขปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กําหนดไวในจุดมุงหมายของหลักสูตรวาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ โดยกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคไว 9 ขอ ในขอ 4 มีทักษะกระบวนการโดยเฉพาะคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การแกปญหาและทักษะในการดํารงชีวิต กรมวิชาการ (1)

จากคํากลาวขางตน ครูซึ่งมีหนาท่ีเก่ียวของกับการจัดการเรียนการสอน ตองมีบทบาทสําคัญและ

ทบทวนบทบาทหนาท่ีวา การจัดการเรียนการสอนท่ีกําลังดําเนินการอยู สามารถทําใหนักเรียนเปนไปตามท่ีหลักสูตรการศึกษาขั้นฐานพุทธศักราช 2544 ตองการหรือไม โดยเฉพาะการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาศักยภาพของสมองและสติปญญาของมนุษยใหมีการคิดวิเคราะห (Analytical Thinking) ซึ่งการคิดวิเคราะหเปนรากฐานสําคัญของการเรียนรูและการดําเนินชีวิต บุคคลท่ีมีความสามารถในการคิดวิเคราะหจะมีความสามารถในดานอื่นตามมาดวย ประพันธศิริ สุเสารัจ (2) เชน การคิดวิเคราะห (Creative thinking) การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)

การใชความคิดเปนกลไกของสมองมนุษยซึ่งควรไดรับการฝกฝนและการเรียนรูเพื่อใหสมองไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพและเปนกลไกท่ีสําคัญอยางยิ่งในการพัฒนาความคิด ซึ่งคุณภาพของสมองก็มิไดอยูท่ีการมีสมอง แตหากอยูท่ีวิธีการใชสมองเปนสําคัญ ซึ่งถูกควบคุมดวยสมองแตละซีกสมองซีกซายจะควบคุมความคิดท่ีมีระบบ ความคิดท่ีมีการใชเหตุผล สวนสมองซีกขวาควบคุมเกี่ยวกับอารมณ ความรูสึก ประสบการณ ประพันธศิริ สุเสารัจ (2) ดังน้ันกระบวนการจัดการเรียนรูจึงตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามศักยภาพซึ่งศักยภาพในการเรียนรูของมนุษยขึ้นอยูกับการทํางานรวมกันของสมองซีกซายและซีกขวา ในกระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในหองเรียนสวนใหญเปนการเรียนการสอนทางดานเน้ือหา การคิดท่ีมีเหตุผล การแกปญหา ซึ่งเปนการใชสมองซีกซาย สวนสมองซีกขวาซึ่งควบคุมเกี่ยวกับความคิดสรางสรรค จินตนาการ ศิลปะ คิดวิเคราะหการเคล่ือนไหวใชอารมณ การมองภาพรวม

ผังความคิด (Mind Map) เปนการนําทฤษฎีของสมองไปใชใหเกิดประโยชนอยางเต็มท่ีโดยโทนี บูซาน นักการศึกษาชาวอังกฤษเปนผูใหกําเนิด โดย

Page 89: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 81

 

พัฒนามาจากการบันทึกแบบเดิมท่ีบันทึกดวยอักษร เปนบรรทัด เปนแถว ใชปากกา หรือดินสอสีเดียว มาเปนการบันทึกดวย คําภาพ สัญลักษณแบบแผเปนรัศมีออกรอบๆ ศูนยกลางและใชสีเสน ผูเรียนสามารถใชผังความคิดในการเรียนการสอนและสามารถใชในการวางแผนการตัดสินใจ การเตรียมพูดในท่ีสาธารณะ การแกปญหา เขียนบทความและชวยจํา เพราะผังความคิดเปนการทํางานรวมกันของสมองซีกซายและซีกขวาไดอยางสมดุลกัน การคิดท่ีมีเหตุผล การแก ปญหา ซึ่งเปนการใชสมองซีกซาย สวนสมองซีกขวาซึ่งควบคุมเก่ียวกับความคิดสรางสรรค จินตนาการ ศิลปะ คิดวิเคราะห การเคล่ือนไหว ใชอารมณ การมองภาพรวม ประพันธศิริ สุเสารัจ (2)

การเรียนการสอนวิทยาศาสตรไดรับการปรับปรุงแกไขมาตลอด แตปจจุบันก็ยังพบอุปสรรคอีกมากมาย ผูเรียนสวนใหญมีความเห็นตรงกันวาวิทยาศาสตรเปนวิชาท่ียาก ทําใหมีปญหาในการเรียนรูวิทยาศาสตร จึงทําใหเกิดการปฏิรูปการศึกษา เพื่อสรางคนใหคิดเปน ทําเปน มีคุณธรรมและจริยธรรม กระบวนการเรียนการสอนท่ีจะทําใหผูเรียนเกิดการคิดเปน ทําเปน มีคุณธรรมและจริยธรรมและเปนไปตามมาตรฐานการเรียนรูดวยการจัดการเรียนรูแบบวัฎจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS

การจัดการเรียนรูแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS เปนการจัดการเรียนรูท่ีเนนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูจากกลุม มีการทํางานรวม กันเปนกลุม และสามารถสรางองคความรูไดดวยตนเอง มี 5 ขั้นตอนคือ ขั้นสรางความสนใจ (Engage) ขั้นสํารวจและคนหา (Explore) ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (Explian) ขั้นขยายความรู (Elaborate) ขั้นประเมิน (Evaluate) สุนิตย ขอสุก (3)

จากสภาพปญหาการจัดการเรียนการสอนในปจจุบันและแนวคิดดังกลาว จึงทําใหผูวิจัยสนใจท่ีจะศึกษาการสอนโดยการจัดการเรียนรูแบบวัฎจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด จะทําใหเกิดผลดีกับนักเรียนในดานผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะห ซึ่งจะเปนแนวทางในการพัฒนาการจัดการเ รียนการสอนวิทยาศาสตรตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักร สืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด

2. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักร สืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด

วิธีดําเนินการวิจัย 1.1 การศึกษาคนควาคร้ังน้ีเปนการวิจัยเชิง

ทดลอง ซึ่งดําเนินการทดลองโดยใชแบบแผนการทดลองแบบ one group pre -test post-test design โดยผูวิจัย ดําเนินการทดลองกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนสาธิ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 1 หองเรียน จํานวน 48 คน ไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง ท้ังน้ีใชเวลาในการทดลอง 21 คาบ คาบละ 45 นาที

Page 90: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

82  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ตัวแปรอิสระ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู - การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด

ตัวแปรตาม

- ความสามารถในการคิดวิเคราะห - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

กรอบแนวคิดในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

1. แผนการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักรสืบเสาะ หาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิดชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 สาระท่ี 6 กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก หนวยการเรียนรูท่ี 2 เร่ือง บรรยากาศของเรา

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร

3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห วิธีดําเนินการทดลอง

ผูวิจัยดําเนินการทดลองกับนักเรียนระดับมัธยม ศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 1 หองเรียน จํานวน 48 คน ไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง ท้ังน้ีใชเวลาในการทดลอง 21 คาบ คาบละ 45 นาที โดยมีขั้นตอนดําเนินการทดลอง ดังน้ี

1. สุมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 จํานวน 1 หองเรียนจากหองเรียน 6 หอง และเปนกลุมทดลองโดยการสุมแบบเจาะจง

2. ทดสอบกอนเรียน (Pretest) โดยใชแบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห

3. ดําเนินการสอนโดยผูวิจัยเปนผูสอนในเน้ือหา “บรรยากาศของเรา” ใชเวลาสอน 21 คาบ คาบละ 45 นาที

4. เมื่อส้ินสุดการสอนตามกําหนดแลว จึงทําการทดสอบหลังเรียน (Posttest) กับนักเรียนใชแบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะหชุดเดิม

5. นําผลคะแนนจากการตรวจแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบทดสอบวัดความ สามารถในการคิดวิเคราะหท่ีไดมาวิเคราะหโดยใชวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานตอไป

การวิเคราะหขอมูล

เปรียบเทียบความแตกตางของคะแนนเฉล่ียของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียน กอนเรียนและหลังเรียน โดยใช t-test for dependent Sample ผลการวิจัย

การสอนโดยใชเทคนิคผังความคิดเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรและความ สามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 สรุปผลไดดังน้ี

Page 91: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 83

 

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียน กอนและหลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะ หาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

2. ความสามารถในการคิดวิ เคราะหของนักเรียน กอนและหลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCSโดยใชเทคนิคผังความคิด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.01 สมมติฐานในการวิจัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียน กอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิดมีความแตกตางกัน

2. หลังไดรับการสอนดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะหสูงขึ้น ความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนกอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด มีความแตกตางกัน สรุปและอภิปรายผล

จากการ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเ รียนวิทยาศาสตร ความสามารถในการคิดวิเคราะหของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ฝายมัธยม) ท่ีไดรับการสอนแบบ วัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCSโดยใชเทคนิคผังความคิด จากการศึกษาผลการทดลอง ผูวิจัยอภิปรายผลตาม ลําดับดังตอไปน้ี

1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนวิชาวิทยาศาสตรกอนและหลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิค

ผังความคิด พบวาหลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 1 สามารถอภิปรายผลการทดลองไดดังน้ี

การจัดการเรียนการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะ หาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิดเปนกระบวนการจัดการเรียนรู ท่ีเนนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูจากกลุม มีการทํางานรวมกันเปนกลุม และสามารถสรางองคความรูไดดวยตนเอง นอกจาก น้ันยังพัฒนาดานกระบวนการคิดใหกับผูเรียน อาทิเชน กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการคิดแก ปญหา กระบวนการคิดสรางสรรค สุนิตย ขอนสุก (3) เพื่อใหผูเรียนจัดระบบความคิดท่ีมีประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงความคิดตางๆ เขาดวยกัน การจัดลําดับความสําคัญการใหนํ้าหนัก การผูก การตอความคิดเห็นหรือขอมูลตางๆ ใหเขากันอยางมีระเบียบกอนท่ีจะส่ือออกมา ใหผูอื่นเขาใจตามจุดมุงหมายของผูเขียน และนําความรู ท่ีได ไปใชในชีวิตประจําวัน โดยใชวิชาวิทยาศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 เปนแกน ซึ่งการดําเนินกิจกรรมของผูวิจัยมุงใหการเรียนการสอนเปนไปตามข้ันตอนท้ัง 5 ขั้นตอนคือ 1) ขั้นสรางความสนใจ (Engage) เปนการแนะนําบทเรียน กิจกรรมจะประกอบไปดวยการซักถามปญหา การทบทวนความรูเดิม การกําหนดกิจกรรมท่ีจะเกิดข้ึนในการเรียนการสอนและเปาหมายที่ตองการ 2) ขั้นสํารวจและคนหา (Explore) ขั้นน้ีจะเปดโอกาสใหนักเรียนไดใชแนวคิดท่ีมีอยูแลวมาจัดความสัมพันธกับหัวขอท่ีกําลังจะเรียนใหเขาเปนหมวดหมู ถาเปนกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการทดลอง การสํารวจ การสืบคนดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร รวมท้ังเทคนิคและความรูทางการปฏิบัติ จะดําเนินไปดวยตัวของนักเรียนเอง โดยมีครูทําหนาท่ีเปนเพียงผูแนะนํา

Page 92: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

84  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

หรือผูเร่ิมตน 3) ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (Explian) ในขั้นตอนน้ีกิจกรรมหรือกระบวนการเรียนรูจะมีการนําความรูท่ีรวบรวมมาแลวในขั้นท่ี2 มาใชเปนพื้นฐานในการศึกษาหัวขอหรือแนวคิดท่ีกําลังศึกษาอยู กิจกรรมอาจประกอบไปดวยการเก็บรวบรวมขอมูลจากแหลงความรูตางๆ และนําขอมูลมาอภิปราย 4) ขั้นขยายความรู (Elaborate) ในขั้นตอนน้ีจะเนนใหนักเรียนไดนําความรูหรือขอมูลจากข้ันท่ีผานมาแลว ขั้นท่ี 2 และ3 มาใช กิจกรรมสวนใหญอาจเปนการอภิปรายภายในกลุมของตนเอง เพื่อลงขอสรุปท่ีแสดงถึงความเขาใจใชทักษะกระบวนการและความสัมพันธระหวางความรูตางๆ ท่ีเกิดขึ้นจะชวยใหนักเรียนไดมีโอกาสปรับแนวความคิดหลักของตนเองในกรณีท่ีไมสอดคลองหรือคลาดเคล่ือนจากขอเท็จจริง 5) ขั้นประเมิน (Evaluate) เปนขั้นสุดทายของการเรียนรูในขั้นน้ีครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดตรวจสอนแนวคิดหลักท่ีตนเองไดเรียนรูมาแลว โดยการประเมินตนเองถึงแนวความคิดท่ีไดสรุปไวแลวในข้ันท่ี4 วามีความสอดคลองหรือถูกตองมากนอยเพียงใด และมีการยอมรับมากนอยเพียงใด ขอสรุปท่ีไดจะนําไปเปนพื้นฐานในการศึกษาตอไป ท้ังน้ีจะรวมการประเมินผลของครูตอการเรียนรูของนักเรียนดวย การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียน ทําใหนักเรียนเขาใจเน้ือหามากข้ึน นอกจากน้ี กิจกรรมการเรียนรู ยังใชสถานการณในชีวิตจริงเปนตัวเชื่อมใหนักเรียนไดเขาใจเน้ือหาอยางลึกซึ้งขึ้น ซึ่งสรุปวาปญหาท่ีมาจากสถานการณในชีวิตจริง จะกระตุนใหมีการคิดท่ีซับซอน ขยายความเขาใจของนักเรียนอยางสมเหตุสมผล และทําใหนักเรียนมีความลึกซึ้งในเน้ือหามากขึ้น นอกจากน้ีการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด จะมุงเนนกิจกรรมการเรียนการสอนบนพื้นฐานท่ียึดผูเรียนเปนสําคัญ เปดโอกาสใหนักเรียนมีสวนรวมใน

การเรียนอยางแทจริง คือผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง คิดเอง ทําเอง แกปญหาเอง ซึ่งครูมีหนาท่ีคอยแนะนําและใหความชวยเหลือ ซึ่งจะสงผลใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดีมีเสรีภาพในการปฏิบัติและเกิดการเรียนรูดวยตนเองทีละข้ันตอนอยางมีระบบ สงผลใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และเขาใจเน้ือหาท่ีเรียนมากข้ึน ซึ่งปจจัยดังกลาวยังทําใหนักเรียนมีโอกาสคนควาและวิเคราะหเชิงลึกและกวางไดหลายแงมุม นักเรียนมีมุมมองของความรูในบริบทของการดําเนินชีวิตตามสภาพจริง รวม ท้ังประยุกตทักษะไดอยางเหมาะสมซึ่งสอดคลองกับ สมจิต สวธนไพบูลย (4) ท่ีกลาววา การจัดกิจกรรมท่ีใหนักเรียนไดมีสวนรวมในการคิด และตัดสินใจดวยตนเอง เปนการสรางประสบการณการเรียนรู ผูเรียนสามารถศึกษาไดดวยตนเอง และมีสวนรวมในการเรียนอยางแทจริง นอกจากน้ีผูเรียนมีเสรีภาพในการปฏิบัติ ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูของ จอรน ดิวอี้ ท่ีกลาววา การเรียนรูจะเกิดไดดี ตองเปนการเรียนรูท่ีเกิดจากการปฏิบัติ ผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริงโดยการผสมผสานความรู เปนการเพิ่มศักยภาพของผูเรียน และผูเรียนสามารถนําความรูท่ีไดไปใชในชีวิตจริง ดังน้ันผูวิจัยไดใชการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด จึงสงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นและมีความกระตือรือรนท่ีจะทําผังความคิดดวยตนเอง

จากเหตุผลดังกลาวสนับสนุนไดวา ผูเรียนท่ีไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร หลังไดรับ การสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01

Page 93: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 85

 

2. ความสามารถในการคิดวิ เคราะหของนักเรียน กอนและหลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCSโดยใชเทคนิคผังความคิด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 1 สามารถอภิปรายผลการทดลองไดดังน้ี

จากการทดลองพบวานักเรียนท่ีไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด มีความสามารถในการคิดวิเคราะหแตกตางกัน เน่ืองจากผูเรียนมีความสนใจในการเรียนรู มีการคิดวิเคราะหแตกตางกัน หลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด ทําใหผูเรียนมีความสนุกสนุกสนาน และสามารถนําประสบการณเดิมเชื่อมโยงกับความรูใหมไดเปนอยางดี ดวยการขยายความรูและสามารถนําไปประยุกตในชีวิตประจําวันจึงสงผลใหผูเรียน มีการพัฒนาการคิดวิเคราะหเพิ่มขึ้นตางกัน นอกจากน้ี การสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด เปนลักษณะการทํางานรวมกันของสมองซีกซายและซีกขวาโดยสมองซีกซายจะทําหนาท่ีในการวิเคราะหคํา ภาษา สัญลักษณ ระบบ ลําดับ ความเปนเหตุเปนผล ตรรกวิทยา สมองซีกขวาจะทําหนาท่ีในการสังเคราะห คิดสรางสรรค จินตนาการ ความงาม ศิลปะ เมื่อผูเรียนพยายามถายทอดความคิดออกมาในรูปของแผนผังความคิด เปนการจัดระบบสาระสนเทศท่ีผูเรียนปรับเขาโครงสรางทางสติปญญาของผูเรียนซึ่งสอดคลองกับ ไซซเวอร ความคิดเปนส่ิงท่ีเรียนรูและสามารถพัฒนาไดโดยเปดโอกาสใหผูเรียนฝกประสบการณในการคิดคนหาดวยตนเองชวยพัฒนาทักษะการคิด ใหคิดเปน คิดรับรู คิดรอบคอบ คิดอยางมีหลักการและมีเหตุผล ซึ่งการจัดการเรียนรูดังกลาวจะชวยสงเสริมการคิดวิเคราะหเปนอยางดี การคิด เปนความสามารถท่ีจะเขาถึงหรือ

นําไปสูขอสรุปท่ีถูกตองจากเน้ือหา ท่ีกําหนดใหผูตองสรางความคิดเก่ียวกับคุณสมบัติเชิงนามธรรม ท่ีกลาววา การจัดกิจกรรมท่ีใหนักเรียนไดมีสวนรวมในการคิด และตัดสินใจดวย ตนเอง เปนการสรางสมบัติเชิงนามธรรม จากความสัมพันธในสถานการณของปญหา จากน้ันจึงตรวจสอบความถูกตองและอธิบายยืนยันขอสรุป ขอสรุปจะถูกรวบรวมไวในรูปของความคิดใหม นอกจาก น้ัน การคิดวิเคราะห หรือการคิดอยางมีวิจารณญาณ จําเปนตองใช เหตุผลท่ีดี เพื่อนําไปสูขอสรุปอยางสมเหตุสมผล และคุณลักษณะการคิดวิเคราะหหรือการคิดอยางมีวิจารณญาณ ดังน้ันการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCSโดยใชเทคนิคผังความคิดจะทําใหผูเรียนมีการพัฒนาการคิดวิเคราะหดีขึ้น จากเหตุผลดังกลาวสนับสนุนไดวา ผูเรียนท่ีไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด มีความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียน หลังไดรับการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCSโดยใชเทคนิคผังความคิด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 ขอเสนอแนะ

1. เน่ืองจากการเขียนผังความคิดมีหลายเทคนิค ผูเรียนจะคุนเคยกับเทคนิคเดิมท่ีมีรูปแบบตางจากผูวิจัยกําหนด การสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด ตองใหความรูวิธีการเขียนผังความคิด กับผูเรียนและฝกจนชํานาญ

2. การสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด มุงสงเสริมใหผูเรียนหาความรู ความคิดและแกไขปญหาดวยตนเองอยางมีระบบ แตผูเรียนยังขาดการคิดอยางเปนระบบ ควรจะเพิ่มเวลาในการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิดใหมากขึ้น

Page 94: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

86  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัย 1. ควรนํารูปแบบการสอนน้ีไปปรับปรุง แลว

วัดความสามารถทางสมองในดานอื่น 2. ควรนํารูปแบบการสอนน้ีไปใชกับนักเรียน

โรงเรียนอื่นๆ ท่ีไมใชโรงเรียนสาธิต เพื่อตรวจสอบวาการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดย

ใช เทคนิคผังความคิดมีประสิทธิภาพกับนักเรียนโรงเรียนท่ัวไปหรือไม

3. ควรนํารูปแบบการสอนแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู 5EsBSCS โดยใชเทคนิคผังความคิด ไปทดลองใชกับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2546). การจดัสาระการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว. ประพันธศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: เทคนิคเพร้ินต้ิง. สุนิตย ขอนสัก. (2551). การพัฒนาความสามารถในการแกปญหาและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุมสาระการ

เรียนรูวิทยาศาสตร เรือ่ง เสียงโดยการเรียนรูแบบวัฏจักรสืบเสาะหาความรู. ขอนแกน: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สมจิต สวธนไพบูลย. (2535). ประมวลการพัฒนาการสอนวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลักสูตรและ การสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

\

Page 95: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 87

 

คุณลักษณะของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ THE CHARACTERISTICS OF STUDENTS IN FACULTY OF

FINE ARTS, SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY ผูวิจัย ธันยพร โรจนสังวร1 Thanyaporn Rojanasangworn กรรมการควบคุม รศ.ดร. อัจฉรา วัฒนาณรงค2 อรรณพ โพธิสุข3 Advisor Committee Assoc.Prof.Dr. Achara Wattananrong Dr. Annop Phothisuk บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีความมุงหมายเพื่อศึกษา และเปรียบเทียบคุณลักษณะของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ จําแนกตามตัวแปร เพศ สาขาวิชา ภูมิลําเนา และอาชีพของผูปกครอง กลุมตัวอยางเปนนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ท่ีกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 จํานวน 381 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ สถิติท่ีใชวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถ่ี คารอยละ คาคะแนนเฉล่ีย คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกตางเปนรายคูโดยวิธีของเชพเฟ

ผลการวิจัยพบวา 1. นิสิตมีคุณลักษณะดานความเปนผูนํา ดาน

คุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการอยูในระดับมาก

2. นิสิตชายและหญิงมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ ไมแตกตางกัน

3. นิสิตท่ีเรียนในสาขาวิชาตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

4. นิสิตท่ีมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลกับตางจังหวัดมีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานความเปนผูนํา และดานฐานทางวิชาการ ไมพบวาแตกตางกัน

5. นิสิตท่ีผูปกครองประกอบอาชีพตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ ไมแตกตางกัน คําสําคัญ : คุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม นิสิตศิลปกรรมศาสตร 1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2,3อาจารยประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 96: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

88  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ABSTRACT The purposes of this study were to

investigate and compare the characteristics of students in Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University regarding to the aspects of leadership, virtue morality, creativity and academic base classified by gender, program of study, native home, and the occupation of parents. The sample were three hundred and eighty one students studying in the first semester of 2011 academic year. The instrument for data collection was a five-rating scale questionnaire. Data analyzed were statistically by frequency, arithmetic mean, standard deviation, a t-test, one-way analysis of variance, and Scheffe´ paired test.

The findings revealed that: 1. The characteristics of students in all

aspects were at a high level. 2. There was no significant difference

between the characteristics of male and female students in all aspects.

3. There was a significant difference among the characteristics of students with different program of study in all aspects.

4. There was a significant difference between the characteristics of the students who live in Bangkok and metropolitan and the one who live in provinces in the aspects of virtue morality and creativity, except the aspects of leadership and academic base.

5. There was no significant difference among the characteristics of students with different occupation of parents in all aspects.

Keywords : The Characteristics Students in Facvlty of Arts บทนํา

กระแสโลกาภิวัตนทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในทุกภูมิภาคของโลก และเกิดการแขงขันในทุกดานสงผลใหการดําเนินชีวิตในสังคมมีความสลับซับซอนมีปญหาเกิดขึ้นมากมายคนในสังคมจําเปนตองปรับเปล่ียนแนวทางในการดําเนินชีวิตเพื่อใหอยูในสังคมยุคใหม (โกวิท ประวาลพฤกษ. 2542: 20) ซึ่งคนในสังคมยุคใหมควรมีขีดความสามารถสากล ไดแก ความสามารถทางภาษา ความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถทางวิชาการ วิชาชีพ ท้ังกวาง และลึกความสามารถเรียนรูตลอดชีวิต ความสามารถในการคิดสรางสรรค คิดรอบคอบ คิดอยางมีวิจารณญาณตลอดจนสามารถวางแผนแกปญหาเชิงอนาคตได (อําพล จินดาวัฒนะ. 2542 : 11) ในการท่ีจะพัฒนาคนในยุคปจจุบันใหมีความสามารถดังกลาวไดน้ัน การศึกษามีบทบาทสําคัญอยางมาก เพราะการศึกษาเปนกระบวนการพัฒนาคนใหมีศักยภาพใหเกิดความสมดุลในดานปญญา จิตใจ และสังคม ท้ังในดานความคิด คานิยม และพฤติกรรมทําใหเกิดคุณคา และคุณประโยชนในฐานะความเปนมนุษย เปนพลเมืองท่ีดีมีวินัย มีคุณธรรม และใฝรูใฝเรียนมีคุณประโยชนแกสังคมในฐานะเปนผูผลิต ผูสรางสรรค มีความรู ความสามารถ มีทักษะในการทํางานใหสังคมมีความเจริญกาวหนา (โกวิท ประวาลพฤกษ. 2542: 20-23) ทามกลางความเป ล่ี ยนแปลง ท่ี เ กิ ดขึ้ นอย า ง รวด เ ร็ ว น้ี สมาคมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาแหงชาติสหรัฐอเมริกา (National School Boards Associations of America – NSBA) ไดต้ังขอสังเกตวา มีแตเพียง “การศึกษา” เทาน้ันท่ีเปนองคกรหลักของสังคมในการเตรียมความพรอมใหแกผูคนเพื่อการเผชิญกับสถานการณความ

Page 97: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 89

 

เปล่ียนแปลงของโลก และการสรางความเชื่อมั่นตอความสําเร็จของสังคมโลกในอนาคต ซึ่งน่ันยอมหมาย ความวา “การศึกษา” จะตองไดรับการปรับเปล่ียนและปฏิรูปใหสอดคลองกับความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นน้ันๆ ดวยเชนกัน (NSBA.2004: ออนไลน)

สําหรับการจัดการศึกษาในประเทศไทยไดมีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 4 “มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ท่ีพึงประสงค และมาตรฐานท่ีตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการเทียบเคียงสําหรับการสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา (พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545 : ออนไลน) มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของ คนไทยท่ีพึงประสงค ท้ังในฐานะพลเมือง และพลโลก (คนเกงคนดีและมีความสุข) เปาหมายของการจัดการศึกษาอยู ท่ีการพัฒนาคนไทยทุกคนให เปน “คนเกง คนดี และมีความสุข” โดยมีการพัฒนาท่ีเหมาะสมกับชวงวัยพัฒนาคนตามธรรมชาติและตามศักยภาพ ตรงตามความตองการ ท้ังในดานสุขภาพรางกายและจิตใจ สติปญญา ความรูและทักษะ คุณธรรมและจิตสํานึกท่ีพึงประสงค และอยูในสังคมไดอยางปกติสุข มาตรฐานท่ี 2 แนวการจัดการศึกษา จัดการเรียนรูท่ีมุงพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญและการบริหารโดยใชสถานศึกษาเปนฐานและมาตรฐานท่ี 3 แนวการสรางสังคมแหงการเรียนรู สังคมแหงความรู การเรียนรู ความรู นวัตกรรม ส่ือ และเทคโนโลยีเปนปจจัยสําคัญของการพัฒนาสูสังคมแหงความรู การสงเสริมและสรางกลไกเพื่อใหคนไทยทุกคนมีโอกาสและทางเลือกท่ีจะเขาถึงปจจัยและเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตดวยรูปแบบและวิธีการท่ี

หลากหลาย โดยการไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคม จะนํามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพ ประสิทธิภาพ และขีดความสามารถของคนไทยในการพัฒนาประเทศ รวมท้ังการเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2545: ออนไลน)

ในการจัดการศึกษาดานศิลปกรรมศาสตร กระแสคล่ืนทางความคิดและรูปแบบของศิลปวัฒนธรรมจากยุโรปและสหรัฐอเมริกาไดพัดหล่ังไหลเขาสูประเทศไทยอยูตลอดเวลา นับต้ังแตกอนสงครามโลกคร้ังท่ีหน่ึงเปนตนมาไดทวีกําลังแรงขึ้นทุกทีจนทําใหความตองการเรียนรูถึงบอเกิดท่ีมาของความคิด เกิดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน รูจักใชหลักสุนทรียภาพและวิธีการสรางงานมีจํานวนมากขึ้นในหมูของนิ สิตนักศึกษา (กําจร สุนพงษศรี. 2554: บทนํา) ซึ่งจากการเปล่ียนแปลงดังกลาวทําใหเกิดการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนศิลปะในการศึกษาระดับอุดมศึกษาเปนการศึกษาศิลปะโดยตรง ซึ่งผูเขาเรียนจะตองไดรับการแนะแนวเปนอยางดีจึงตัดสินใจเลือกเขาเรียนได การสอนศิลปะในระดับอุดมศึกษาน้ันครูผูสอนควรจะตองมีความเชื่อในการพัฒนามนุษยใหเต็มตามศักยภาพสองประการคือ เชื่อวาความใฝรูหรือทัศนคติแสวงหาเปนคุณสมบัติท่ีมีคาย่ิงท่ีจะตองปลูกฝงใหแกนิสิตทุกคนและเชื่อวามนุษยสัมพันธเปนคุณสมบัติท่ีมีคาย่ิงท่ีตองสรางใหนิสิตทุกคน ดังน้ันเมื่อตองการปลูกฝงใหเกิดก็ตองใหนิสิตไดทํากิจกรรมตางๆ มากๆ ใหศึกษาวิชาตางๆ เชน ใหศึกษาวิชาเอกและศึกษาวิชาโท วิชาเลือก เมื่อไดทํามาก ไดแกปญหามาก ความเชื่อมั่นในตนเองก็จะเกิด และเมื่อเกิดความเชื่อมั่นแลว ใหรูจักมีมนุษยสัมพันธ ใหไดแลกเปล่ียนความคิดเห็นในรูปแบบกิจกรรมตางๆ ก็จะทําใหมีทัศนคติแสวงหากวางขวางและเห็นความสําคัญของสังคมเปนรูปธรรมมากข้ึน

Page 98: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

90  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

หากใหเชื่อตามความใฝรูอยางเดียว มีความเชื่อมั่นมาก อาจทําใหเกิดการหลงตัวเองได เร่ืองน้ีสําคัญมาก เมื่อปลูกฝงความเชื่อมั่นใหแสวงหาแลว ตองใหมีมนุษยสัมพันธควบคูกันไป หากเกิดคุณสมบัติเพียงดานเดียวจะเกิดการหลงตัวเองและเกิดทางอุดตันทางปญหาในท่ีสุดอยูในสังคมไมได ซึ่งทัศนคติน้ีมีความสําคัญย่ิงในกระบวนการเรียนการสอนศิลปะสมัยใหม (วิรุณ ต้ังเจริญ. 2546: 47-48)

คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร- วิโรฒ มุงเนนพัฒนานิสิต ใหนิสิตเปนศูนยกลางการเรียนรู การสรางนิสิตทุกสาขาใหมีความสงางามในอาชีพ พรอมท้ังความสามารถและความรูความคิดหรือทักษะกับปญญา ทักษะกับวิชาการ พัฒนานิสิตใหเปนปญญาชนท่ีแสวงหา มีภูมิปญญา มีความคิด สรางสรรคท้ังตนเองและสังคม มีจิตสํานึกสาธารณะ มีชีวิต และมีวิชาชีพ อยูเพื่อตนเองและเพื่อผูอื่น อยูอยางมีความสุข มีระเบียบวินัย และอยูใหเกิดสันติสุข (วิรุณ ต้ังเจริญ.2546: 56-58) และมุงเนนการพัฒนาดานคุณลักษณะนิสิต 4 ดาน คือ ดานความเปนผูนํา โดยสงเสริมใหนักศึกษามีความเปนผูนํา มีความรูความสามารถท่ีจะโนมนาว หรือชักจูงบุคคลอื่นใหมาทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ ดานคุณธรรมจริยธรรม โดยสงเสริมใหนักศึกษามีคุณลักษณะท่ีดีงาม แสดงออกมาใหเห็นเปนรูปธรรม และเปนไปตามบรรทัดฐานของสังคม เพื่อประโยชนของตนเองและสวนรวม ดานความคิดสรางสรรค โดยสงเสริมใหนักศึกษาสรางสรรคผลงาน และมีความสามารถในการคิดไดกวางไกล คิดนอกกรอบ สามารถมองเห็นความสัมพันธเชื่อมโยงของส่ิงตาง ๆมีความไวในการรับรูตอปญหา ทําใหเกิดความคิดเชิงจินตนาการ ซึ่งมีลักษณะแปลกใหม เหมาะสมกับการแกปญหา และดานฐานทางวิชาการ โดยใหนักศึกษามีความรูและทักษะในแตละสาขาวิชาในคณะศิลปกรรม

อยางรู เ ร่ืองราวขอเท็จจริงอยางแทจริง และแสดงออกเปนพฤติกรรมท่ีเรียกเอาส่ิงท่ีสะสม หรือจําไดออกมาใหปรากฏ ใหสังเกตได และสามารถวัดได (วิรุณ ต้ังเจริญ. 2546: 221)

จากการศึกษาเอกสารและสัมภาษณผูบริหาร คณาจารย และนิสิตของคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเกี่ยวกับคุณลักษณะของนิสิตของคณะฯ พบวา

1. ดานความเปนผูนํา นิสิตท่ีพบเห็นในปจจุบันยังมีความเปนผูนําท่ีไมถูกตองเทาท่ีควร การเปนผูนําน้ันตองสามารถรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นไดดวยแตนิสิตมีความมั่นใจและเปนมีความตัวของตัวเองสูง นิสิตจึงไมคอยรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นจะใชการตัดสินใจแตเพียงผูเดียว (ปรวัณ แพทยานนท. 2554: สัมภาษณ) นอกจากน้ีนิสิตบางคนยังไมรูจักกาลเทศะตอสาธารณะ นิสิตยังขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ขาดความรับผิดชอบและยังไมคอยรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นและยังไมกลาท่ีจะเปนผูนํา (วิทวัส กรมณีโรจน. 2553: สัมภาษณ) ในการทํางานรวมกันเปนกลุม นิสิตบางคนไมคิดท่ีจะเปนผูนําคิดแตจะเปนผูตามแตเพียงอยางเดียว (ระวิวรรณวรรณวิไชย. 2553: สัมภาษณ) อีกท้ังยังมีทัศนคติกับการเปนผูนําท่ีผิด โดยคิดวาจะตองแขงขันใหตัวเองไดเปนผูนําเพื่อเอาชนะผูอื่นและบางคนไมกลาท่ีจะแสดงความคิดเห็นหรือลงมือทํากิจกรรมเน่ืองจากชอบตามเพื่อน (มาดาพร นอยนิตย. 2553: สัมภาษณ)

2. ดานคุณธรรม จริยธรรม นิสิตสวนใหญไมตรงตอเวลา มีความออนนอมถอมตนนอย (อภิธรรม กําแพงแกว.2553: สัมภาษณ) และบางคนไมรูจักการแบงปน การใหอภัย และไมคอยมีความเสียสละ เห็นประโยชนสวนตนมากกวาประโยชนสวนรวม (มาดาพร นอยนิตย. 2553: สัมภาษณ) และบางสวนทุจริตในการสอบ กลับบานดึกและอางกับผูปกครองวา ตองอยูทํากิจกรรม

Page 99: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 91

 

หรือทํารายงานท่ีมหาวิทยาลัย (นําพงศ อินทรทูต. 2554: สัมภาษณ)

3. ดานความคิดสรางสรรค นิสิตบางคนยังไมสามารถใชแนวความคิดสรางสรรคผลงานไดเน่ืองจากการทํางานเปนกลุม เมื่อเพื่อนคิดแลวก็ไมชวยเพื่อนคิดท่ีจะสรางสรรคงาน บางคนไมรูจักการวางแผนและแก ปญหาในการสรางสรรคอยางแทจริงหรือบางคนก็ขี้เกียจท่ีจะคิดและสรางสรรคผลงาน พอถึงเวลาท่ีตองสรางสรรคผลงานของตนเองอาจจะมีการลอกเลียนแบบผลงานเกาจากรุนพี่หรือจากการสรางสรรคผลงานท่ีมีอยูแลว (ระวิวรรณ วรรณวิไชย. 2553: สัมภาษณ) นอกจากน้ีนิสิตบางคนยังมีความเขาใจงานของตนเองอยูเพียงผูเดียวจึงสงผลตอการถายทอดในการสรางสรรคผลงาน (มาดาพร นอยนิตย. 2553: สัมภาษณ)

4. ดานฐานทางวิชาการ นิสิตสวนใหญขาดความสนใจท่ีจะใฝหาความรูใหมๆ เพราะคิดวาตัวเองมีพื้นฐานทางวิชาการอยูแลว บางสวนมีพื้นฐานทางวิชาการไมเทากันและยังขาดการเอาใจใสตอการเรียนเกือบทุกวิชาจะสนใจในบางวิชาท่ีตนเองชอบเรียนเทาน้ัน ไมชอบแสดงความคิดเห็นเมื่อมีการอภิปรายในชั้นเรียน ขาดความกระตือรือรนในการศึกษาเลาเรียน ไมชอบซักถามในเร่ืองท่ีไมเขาใจชัดเจน (เมธี พันธุวราทร. 2553: สัมภาษณ) นอกจากน้ีนิสิตบางคนยังไมคอยสนใจติดตามขาวสารบานเมือง และหลังจากเลิกเรียนแลวก็ไมไดขวนขวายท่ีจะเขาหองสมุดเพื่อคนควาหาความรูเพิ่มเติม แตจะใชการคนควาขอมูลตางๆ ท้ังท่ีเก่ียวกับดานการเรียนและเร่ืองท่ัว ๆไปผานทางอินเตอรเน็ตแทนการเขาหองสมุด (อภิธรรม กําแพงแกว. 2553: สัมภาษณ) และยังชอบจับกลุมคุยกัน หรือไมก็กลับไปนอนพักผอน ดูโทรทัศน หรือเลนอินเตอรเน็ตท่ีบานหรือหอพัก แตก็มีบางสวนท่ีใชเวลาหลังเลิกเรียนในการออกกําลังกาย (นําพงศ อินทรทูต. 2554: สัมภาษณ)

จากสภาพปญหาดังกลาว ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาคุณลักษณะของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4 ดาน ตามการมุงเนนพัฒนานิสิตของคณะ ไดแก ดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ เพื่อไดทราบถึงคุณลักษณะของนิสิตในปจจุบัน ซึ่งนิสิตถือวาเปนปจจัยสําคัญของคณะศิลปกรรมศาสตร ดังน้ันการวิจัยในคร้ังน้ีจะชวยใหไดขอมูลท่ีเปนประโยชนสําหรับผูบริหาร คณาจารย และบุคลากรในฝายตางๆ ของคณะศิลปกรรมศาสตร เพื่อนํามาปรับปรุงและพัฒนาใหนิสิตมีคุณลักษณะท่ีดีตลอดจนเปนประโยชนตอการเปล่ียนแปลงและการพัฒนานโยบายทางการศึกษา และเปนประโยชนตอคณะศิลปกรรมศาสตรตอไป ความมุงหมายของการวิจัย

ในการวิจัยในคร้ังน้ี ผูวิจัยไดต้ังความมุงหมายไวดังน้ี

1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4 ดาน ไดแก ดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ

2. เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในแตละดาน จําแนกตามเพศ สาขาวิชา ภูมิลําเนา และอาชีพของผูปกครอง ความสําคัญของการวิจัย

ผลการศึกษาวิจัยในคร้ังน้ี จะเปนขอมูลสําหรับผูบริหาร อาจารยของคณะศิลปกรรมศาสตรตลอดจนผูเก่ียวของ เพื่อใชในการดําเนินงานเพื่อพัฒนานิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ใหเปนนิสิตท่ีมีคุณลักษณะท่ีเหมาะสมในการเปนบัณฑิตท่ีพึงประสงค และยังเปนประโยชนในการแกไขปญหาของนิสิต

Page 100: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

92  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

นิยามศัพทเฉพาะ 1. คุณลักษณะของนิสิต หมายถึง ลักษณะ

ของพฤติกรรมหรือการกระทําของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดังท่ีจัดกลุมไว 4 ดาน ดังน้ี

1.1 ดานความเปนผูนํา หมายถึง ลักษณะของพฤติกรรมหรือการกระทําท่ีแสดงออกถึงความเปนผูนํา เปนบุคคลท่ีมีความรู ความสามารถท่ีจะโนมนาว หรือชักจูงใจบุคคลอื่นใหมาทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ ในสถานการณตางๆ โดยมีผูนําทําหนาท่ีเปนผูกํากับ ควบคุม ส่ังการใหการสนับสนุน ชวยเหลือหรือทําหนาท่ีอื่นๆ เพื่อใหการทํากิจกรรมในงานน้ันๆ เกิดประสิทธิผล

1.2 ดานคุณธรรม จริยธรรม หมายถึง ลักษณะของพฤติกรรมหรือการกระทําท่ีแสดงออกเกี่ยวกับเปน ผูมีความดีงาม มีจิตสํานึกตอสวนรวม เห็นความสําคัญของสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน มีมนุษยสัมพันธท่ีดีท้ังตอเพื่อนนิสิตรวมคณะ นิสิตตางคณะ รวมถึงคณาจารย บุคลากรในคณะและนอกคณะ ใหความชวยเหลือเก้ือกูลกันและเปนผูท่ีมีความรับผิดชอบตอตนเอง และสังคม

1.3 ดานความคิดสรางสรรค หมายถึง ลักษณะของพฤติกรรมหรือการกระทําท่ีแสดงออกถึงการเปนผูมีวิสัยทัศน เล็งเห็นปญหาในระยะยาวและสามารถนําความรูมาแกปญหาหรือวางแผนแกปญหาไดอยางเทาทัน เปนผูท่ีมีความเฉียบไว สามารถแกไขปญหาเฉพาะหนาไดอยางสรางสรรค รวมท้ังเปนผูมีความสามารถในการคิดไดกวางไกล คิดนอกกรอบ สามารถมองเห็นความสัมพันธเชื่อมโยงของส่ิงตางๆ มีความไวในการรับรูตอปญหา ทําใหเกิดความคิดเชิงจินตนาการ ซึ่งมีลักษณะแปลกใหม เหมาะสมกับการแกปญหา

1.4 ดานฐานทางวิชาการ หมายถึง ลักษณะของพฤติกรรมหรือการกระทําท่ีแสดงออกเกี่ยวกับการรูเร่ืองราวขอเท็จจริงตางๆ ท่ีเก่ียวกับทักษะในการเรียนรูทางดานศิลปะ ทฤษฎีพื้นฐานดานความรูทางศิลปะ และสามารถนํามาประยุกตใชกับการแสดงออกทางดานผลงานในการเรียนรูไดอยางเหมาะสม

2. สาขาวิชาในการวิจัยคร้ังน้ี หมายถึง 2.1 สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป ประกอบ

ดวย วิชาเอกการออกแบบผลิตภัณฑ วิชาเอกสารออกแบบแฟชั่น วิชาเอกศิลปะเคร่ืองประดับ

2.2 สาขาวิชาการออกแบบส่ือสาร ประกอบ ดวย วิชาเอกการออกแบบส่ือสาร

2.3 สาขาวิชาดุริยางคศาสตรศึกษา ประกอบ ดวย ศิลปกรรมศาสตรศึกษา: ดนตรีศึกษา (ดนตรีไทย)

2.4 สาขาวิชาดุริยางคศาสตรสากล ประกอบ ดวย ศิลปกรรมศาสตรศึกษา: ดนตรีศึกษา (ดนตรีสากล)

2.5 สาขาวิชานาฎศิลป ประกอบดวย วิชาเอกนาฎศิลปไทย วิชาเอกนาฎศิลปสากล

2.6 สาขาวิชาศิลปศึกษา ประกอบดวย ศิลปกรรมศาสตรศึกษา: ทัศนศิลปศึกษา

2.7 สาขาวิชาศิลปะการแสดง ประกอบดวย วิชาเอกการแสดงและกํากับการแสดง วิชาเอกการออกแบบเพื่อการแสดง ศิลปกรรมศาสตรศึกษา: ศิลปะการแสดง

2.8 สาขาวิชาศิลปะจินตทัศน ประกอบดวย วิชาเอกศิลปะจินตทัศน วิชาเอกเซรามิกส

3. ภูมิลําเนา หมายถึง สถานท่ีท่ีนักศึกษาอยูอาศัยกอนจะยายถ่ินเขามาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งจําแนกเปน 2 ประเภท คือ กรุงเทพฯ-ปริมณฑล และตางจังหวัด

4. อาชีพของผูปกครอง หมายถึง อาชีพของผู ปกครองท่ีมีอิทธิพลตอการศึกษาของบุตรและอาชีพของผูปกครองทําใหนิสิตมีคุณลักษณะในการวิจัยคร้ังน้ี

Page 101: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 93

 

แตกตางกันออกไป ไดแก ขาราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานหนวยงานเอกชน ธุรกิจสวนตัว คาขาย อาชีพอิสระ และอื่นๆ สมมติฐานการวิจัย

1. นิสิตชายและนิสิตหญิงมีคุณลักษณะดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความคิดสรางสรรคและดานฐานทางวิชาการในแตละดานแตกตางกัน

2. นิสิตท่ีศึกษาตางสาขาวิชากันมีคุณลักษณะดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความคิดสรางสรรคและดานฐานทางวิชาการในแตละดานแตกตางกัน

3. นิสิตท่ีมีภูมิลําเนาตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผู นํา ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความคิดสรางสรรคและดานฐานทางวิชาการในแตละดานแตกตางกัน

4. นิสิตท่ีผูปกครองมีอาชีพตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผู นํา ดานคุณธรรม จริยธรรม ดานความคิดสรางสรรคและดานฐานทางวิชาการในแตละดานแตกตางกัน วิธีการดําเนินการวิจัย

1. กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชั้นปท่ี 1 – 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 จํานวนท้ังส้ิน 381 คน ไดมาจากการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling)

2. เ ค ร่ื อ งมื อ ท่ี ใ ช ใ นกา รวิ จั ยค ร้ั ง น้ี เ ป นแบบสอบถามคุณลักษณะของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แบงออกเปน 2 ตอน ไดแก ตอนที่ 1 สอบถามขอมูลท่ัวไป ตอนท่ี 2

สอบถามคุณลักษณะนิสิต 4 ดาน แบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตามแนวคิดของไลเคิรท (Likert) และมีความเชื่อมั่นท้ังฉบับเทากับ .976

การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบสนองตอวัตถุประสงคการวิจัยดังน้ี

1. ขอมูล ท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหโดยการแจกแจงความถ่ี และหาคารอยละ

2. การศึกษาคุณลักษณะของนิ สิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิเคราะหดวยการหาคาคะแนนเฉล่ีย และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3. เ ป รี ยบ เ ที ยบ คุณ ลักษณะ นิ สิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจําแนกตามเพศ และภูมิลําเนา โดยการทดสอบที (t-test) แบบ Independent จําแนกตามสาขาวิชา และอาชีพของผูปกครอง โดยใชการหาคาความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงทําการทดสอบความแตกตางของคาคะแนนเฉล่ียเปนรายคูโดยใชวิธีของ เชฟเฟ (Scheffe’Method) สรุปผลการวิจัย

การศึกษาคุณลักษณะนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4 ดาน สรุปผลการวิจัยไดดังน้ี

1. นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีคุณลักษณะดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการอยูในระดับมาก

Page 102: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

94  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

2. นิสิตเพศชายและเพศหญิงมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการไมแตกตางกัน

3. นิสิตท่ีเรียนในสาขาวิชาตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

4. นิสิตท่ีมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลกับตางจังหวัดมีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานความเปนผูนํา และดานฐานทางวิชาการไมพบวาแตกตางกัน

5. นิสิตท่ีผูปกครองประกอบอาชีพตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ ไมแตกตางกัน การอภิปรายผลการวิจัย

ผูวิจัยดําเนินการอภิปรายผลการวิจัยตามขอคนพบตามวัตถุประสงคการวิจัย และสมมุติฐานการวิจัยท่ีกําหนดไว มีรายละเอียดดังน้ี

1. ผลการ ศึกษา คุณลักษณะนิ สิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4 ดาน ไดแก ดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ ซึ่งพบวาอยูในระดับมาก นําเสนอการอภิปรายผลเปนรายดานดังน้ี

1.1 ดานความเปนผูนํา ผลการวิจัยพบวา นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ มีคุณลักษณะอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมา จาก บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอนของคณะศิลปกรรมศาสตร มีเอกลักษณเฉพาะตัวท่ีมุงเนนให

นิสิตไดมีโอกาสในการแสดงออกซึ่งความสามารถในดานศิลปะดวยตนเองอยางเต็มท่ี ความรูเกิดข้ึนจากการปฏิบัติมากกวาการศึกษาคนควาในเชิงทฤษฏี และลักษณะของรายวิชาตางๆ มีความจําเปนท่ีจะตองแสวงหาความรูดวยการลงมือปฏิบัติดวยตนเองเปนสวนใหญ โดยเฉพาะในการศึกษาชั้นปท่ี 4 ในภาคเรียนสุดทายมีการกําหนดในหลัก สูตรวา นิ สิตจะตองสรางสรรคผลงานจึงจะสามารถสําเร็จการศึกษา กระบวนการเรียนดังกลาวจึงสงผลทําใหนิสิตตองดําเนินการสรางสรรคผลงานดวยตนเอง โดยทําการประสานงานทั้งภายในและภายนอกคณะศิลปกรรมศาสตร รวมถึ งตองใช ทักษะในการ ส่ือสารและประสานงานกับบุคคลอื่นๆ เชน เพื่อน อาจารย เจาหนาท่ีของคณะ และบุคคลภายนอก เพื่อชวยใหการสรางสรรคผลงานประสบความสําเร็จ ทักษะดังกลาวจึงนํามาซึ่งการมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําท่ีอยูในระดับมาก สอดคลองกับนโยบายในการผลิตบัณฑิตของคณะศิลปกรรมศาสตร ท่ีมุงสงเสริมใหนิสิตทุกหลักสูตร รวมท้ังนิสิตระดับปริญญาตรีตองมีการสรางสรรคผลงานเปนของตนเองโดยผลงานดังกลาวเปนผลงานท่ีเก่ียวของกับสาขาวิชาท่ีนิสิตศึกษาอยู ซึ่งถือเปนเง่ือนไขสวนหนึ่งในการสําเร็จการศึกษาของคณะศิลปกรรมศาสตร เพราะกระบวนการทําวิจัยน้ันมีความจําเปนท่ีจะตองพึ่งตนเองสูงมาก ท้ังการแสวงหาความรูในเชิงทฤษฏี การติดตอประสาน การโนมนาวเพื่อขอความรวมมือจากบุคคลตางๆ เพื่อใหงานวิจัยสําเร็จลุลวงไปดวย กระบวนการดังกลาวมีสวนสําคัญอยางย่ิงท่ีผลักดันใหนิสิตมีความเปนผูนําอยูในระดับมาก (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2552: 4) นอกจากน้ีบทบาทและหนาท่ีหลักของคณะศิลปกรรมศาสตร ท่ีไดรับความคาดหวังจากมหาวิทยาลัยท่ีสําคัญประการหน่ึงก็คือ การเปนผูนําในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งนิสิต

Page 103: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 95

 

ของคณะศิลปกรรมศาสตร ก็ตองดําเนินภารกิจดังกลาวดวย โดยเฉพาะการท่ีคณาจารยมักจะเปดโอกาสใหนิ สิ ต ได มี โ อ ก าสมี ส ว น ร ว ม สํ า คัญในงานด า นศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย เชน การเปนผูนําในการจัดกิจกรรมวันลอยกระทงการเปนตัวแทนในการแขงขันดานศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย การรวมแสดงในกิจกรรมการรับนองใหมของมหาวิทยาลัย เปนตน จึงสงผลทําใหนิสิตไดมีโอกาสทํางานเปนทีมรวมกับเพื่อนนิสิตในคณะดวยกันเอง และรวมกับเพื่อนตางคณะ การเปนผูนําในการทํากิจกรรมดังกลาวก็นับไดวามีสวนสําคัญท่ีทําใหไดแสดงออกดานภาวะผูนําอยางสม่ําเสมอ (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2550: 15; คณะศิลปกรรมศาสตร. 2554: ออนไลน) ดังท่ี สําเนาว ขจรศิลป (2538: 144-145) ท่ีไดกลาววา การท่ีนิสิตไดมีโอกาสทํางานรวมกับผูอื่นๆ ยิ่งทําในจํานวนคร้ังท่ีมากก็จะทําใหเกิดการเรียนรู และประสบการณตรงจากการทํางาน สามารถท่ีจะปรับตัวให เขากับเพื่อนรวมงานและสถานการณตางๆ ได เปนการฝกฝนการเปนผูตามและผูนําท่ีดีใหกับนิสิต และวิเชียร วิทยอุดม (2547: 419-420) ท่ีกลาววา การสรางผูนําใหเกิดขึ้นในหนวยงานน้ันเปนส่ิงท่ีจะตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝาย เพื่อใหสมาชิกในองคกรไดมี โอกาสรวมทํางานท่ีหลากหลาย มีการหมุนเวียนการทํางานอยางสม่ําเสมอ ซึ่งการไดมีโอกาสทํางานรวมกับผูอื่นจะเปนปจจัยหลักท่ีทําใหเกิดการพัฒนาผู นําให เกิดขึ้นในองคกรได ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับ เลิศลักษณ วงศสวรรค (2553: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองการศึกษาคุณลักษณะความเปนครูของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ. 5 ป) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบวา นิสิตมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําอยูในระดับมาก

1.2 ดานคุณธรรมจริยธรรม ผลการวิจัยพบวา นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มีคุณลักษณะอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากการไดมีสวนรวมในการทํากิจกรรมของมหาวิทยาลัยท่ีเก่ียวของกับคุณธรรมจริยธรรม เชน กิจกรรม Earth Art Horseshoe Point ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการสรางจิตสํานึกสาธารณะเรื่องส่ิงแวดลอม ผานทางผลงานศิลปะ รวมถึงเปนการแลกเปล่ียนความรูระหวางศิลปน เปน ส่ิงสําคัญท่ีผลักดันให นิ สิตไดมี โอกาสเรียนรูเ ก่ี ยว กับการ เ สียสละประโยชนของตนเอง เ พ่ือผลประโยชนของสวนรวม มองเห็นความสําคัญของส่ิงท่ีอยูรอบตัววาลวนมีผลกระทบซ่ึงกันและกันท้ังส้ิน นอกจากน้ีแลว ยังมีกิจกรรมเกี่ยวกับการสืบทอดศิลปวัฒนธรรมตางๆ อีกจํานวนมากท่ีนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตรไดมีโอกาสในการเรียนรู เชน การทํากิจกรรมของสาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป ท่ีไดจัดโครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (โครงการประยุกตศิลปะภาพพิมพภายในศาลาเปรียญวัด) เพื่อใหนิสิตประยุกตใชเทคนิคตางๆ ของภาพพิมพและเปนการ สืบสานศิลปวัฒนธรรมการตกแตงลวดลายไทยอันลํ้าคาสูทองถ่ิน รวมถึงการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา โดยนิสิตจะไดเรียนรูและศึกษาการทํางานดานศิลปะท่ีเก่ียวของกับพระพุทธศาสนาเพิ่มเติมองคความรูใหมเพื่อถายทอดกลับสูชุมชน รวมถึงเปนการปลูกจิตสํานึกดานจริยธรรมใหกับเยาวชนรุนใหม (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2554: ออนไลน) การไดทํากิจกรรมท่ีเก่ียวของกับคุณธรรมจริยธรรม หรือเก่ียวของกับศาสนาอยูเปนประจําลวนแลวแตส งผลในการเสริมสรางคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตคณะศิลปกรรมไดเปนอยางดี นอกจากน้ี การท่ีนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรม อยูในระดับมากน้ัน ยังเปนไปตามนโยบายในการบริหารงานของคณะศิลปกรรมศาสตรดานการผลิตบัณฑิต ท่ีไดกําหนดไวอยางชัดเจนวา มุงผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพท่ีมีคุณธรรมจริยธรรม

Page 104: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

96  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

และมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ดวยนโยบายดังกลาวจึงสงผลใหกระบวนการจัดการเรียน การสอนของคณะศิลปกรรมศาสตร ในรายวิชาตางๆ จึงมุงเนนใหมีกิจกรรมเก่ียวกับคุณธรรมจริยธรรม อยางสม่ําเสมอ (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2552: 8; คณะศิลปกรรมศาสตร. 2554: ออนไลน) ดังท่ี สุภาพ เครือเนตร (2542: 13-31) ท่ีไดกลาววา พฤติกรรมของบุคคลในสังคมท่ีโนมเอียงไปในทางที่เส่ือม เชน มักงาย ตามใจตนเอง ละเมิดกฎระเบียบวิจัย ขาดความรับผิดชอบ เปนเพราะวา การจัดการศึกษามุงเนนการแขงขันทางวิชาการมากเกินไป การแก ไขปญหาท่ีถูกตองจึงควรมุ ง เนนในระบบการศึกษาเปนสําคัญดวย เชน การใหนิสิตนักศึกษาไดมีโอกาสทํากิจกรรมทางสังคมใหมากเพื่อเปนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหเพิ่มขึ้น และจรัส สุวรรณเวลา (2545: 15-19) ท่ีกลาววา ปญหาทางสังคมท่ีเกิดขึ้นในปจจุบัน ลวนเกิดขึ้นมาจากระบบการศึกษาท่ีขาดการมุงเนนคุณธรรมจริยธรรม การสรางบัณฑิตท่ีพึงประสงคจะตองเนนเร่ืองคุณธรรมจริยธรรมต้ังแตอยูในสถาบันอุดมศึกษาดวย การเปดเวทีใหนิสิตนักศึกษาไดมีโอกาสทํากิจกรรมทางสังคมใหมากท่ีสุด อาจจะผานกิจกรรมการบริการทางสังคม ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับ กัญญารัตน หาญสาริกิจ (2551: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองคุณลักษณะของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒตามเกณฑสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พบวา นิสิตมีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมอยูในระดับมากทํานองเดียวกับ พระมหาสุพิน ชินนะปด (2546: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองการศึกษาคุณลักษณะของพระนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พบวา พระนักศึกษามีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมอยูในระดับมาก และประไพภรณ วาสนาพงษ (2552: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง ปจจัยท่ีสงผลตอคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

พบวา นิสิตมีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมอยูในระดับมาก

1.3 ดานความคิดสรางสรรค ผลการวิจัยพบวา นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ มีคุณลักษณะอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก ลักษณะพื้นฐานของการเรียนดานศิลปกรรมศาสตรท่ีตองอาศัยการคิดสรางสรรคเปนสวนประกอบสําคัญในการเรียน ซึ่งการเรียนการสอนดานน้ีมีความแตกตางจากคณะอื่นๆ คอนขางมาก เพราะวาองคความรูมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว และไมมีทฤษฏีท่ีตายตัวสําหรับใหนักศึกษาไดยึดถือดังเชนสาขาวิชาอื่นๆ แตในทางตรงกันขาม การเปล่ียนแปลงหรือการพัฒนาองคความรูจะเปนไปตามกระแสของสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา เชน สาขาดนตรี ดังจะเห็นไดวารสนิยมในการฟงดนตรีของตลาดจะมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา ซึ่งในชวงเวลาเพียงไมกี่ปมาน้ี ดนตรีแนว ปอบเกาหลีไดรับความนิยมเปนอยางมากมากกวาแนวญี่ปุนท่ีเพิ่งเขามาในประเทศไทยไดไมนาน เปนตน การเปล่ียนแปลงทางสังคมท่ีรวดเร็วดังกลาวจึงสงผลทําใหธรรมชาติของผูท่ีเรียนในสาขาศิลปกรรมศาสตรตองมีคุณลักษณะดานความคิดสรางสรรคอยูตลอดเวลา พรอมท่ีจะคิดนอกกรอบเพื่อพัฒนางานดานศิลปะอยูเสมอ นอกจากน้ียังพบวา นโยบายการบริหารงานดานการผลิตบัณฑิต ของคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ยังเนนความสําคัญกับการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรใหเหมาะสมตามความตองการของผูใชบัณฑิต (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2552: 9) แสดงใหเห็นวา ในระดับหลักสูตรก็ใหความสําคัญกับการเปล่ียนแปลงของสังคมท่ีมีตอการผลิตบัณฑิต ดัง น้ันการผลิตบัณฑิตจึงมุ ง เนนให เ กิดการสรางคุณลักษณะดานความคิดสรางสรรคเปนสําคัญจึงจะสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบัณฑิตได

Page 105: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 97

 

อยางมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังพบวา คณะศิลปกรรมศาสตร ยังไดจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนิสิตเพื่อพัฒนาคุณลักษณะดานความคิดสรางสรรค เชน กิจกรรมงานเสริมสรางความคิดและพัฒนาศักยภาพทางวิชาชีพสูตลาดส่ือส่ิงพิมพ เพื่อใหนิสิตพบกับเหลาศิลปนคนดังในแวดวงส่ือส่ิงพิมพ ELLE ท่ีจะมาถายทอดเร่ืองราวประสบการณชีวิตจริงในแวดวงส่ือส่ิงพิมพในหัวขอ “กวาจะเปนนิตยสารหัวนอก” พรอมเปดโลกและมุมมองของการทําคอลัมน การเลือกภาพสวยๆ ตลอดจนเทคนิคการทํานิตยสาร (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2554: ออนไลน) การท่ีนิสิตไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรมท่ีสามารถกระตุนความคิดสรางสรรคเปนประจํา นับไดวาเปนปจจัยสําคัญหน่ึงท่ีทําใหนิสิตมีคุณลักษณะดานความคิดสรางสรรคอยูในระดับมาก ดังท่ีเดวิส (อารี พันธมณี. 2547: 49; อางอิงจาก Davis. 1972) ท่ีไดกลาวถึงความ สําคัญในการพัฒนาเสริมสรางความคิดสรางสรรคในตัวผูเรียนท่ีเนนวา การพัฒนาความคิดสรางสรรคใหเกิดขึ้นไดน้ันจะตองไดรับการกระตุนอยางถูกวิธีโดยเฉพาะเทคนิคและวิธีการสอนของอาจารยผูสอนท่ีจะตองเปนเพียงผูชี้แนะแนวทางเพียงเทาน้ันแลวปลอยใหผูเรียนเปนผูแสวงหาความรูดวยตนเอง อาจจะผานการทํากิจกรรมก็ได ทํานองเดียวกับ สมิธ และฮิลเดรท (อารี พันธมณี. 2547: 32; อางอิงจาก Smith; & Hildreth. 1971) ท่ีใหความสําคัญกับบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอนท่ีมีผลตอความคิดสรางสรรคของผูเรียนโดยเนนวา การทํากิจกรรมของผูเรียนมีสวนสําคัญในการสรางความคิดสรางสรรคมากกวาการน่ังเรียนเพียงอยางเดียวเทาน้ันนอกจากน้ีการท่ีฝายบริหารของคณะศิลปกรรมศาสตรใหความสําคัญกับการจัดการเรียนการสอนท่ีตอบสนองตอความตองการของสังคมท่ีสงผลทําใหนิสิตมีคุณลักษณะดานความคิดสรางสรรคอยูในระดับมาก และออสติน (กรกช อัตตวิริยะนุภาพ.2540;

อางอิงจาก Austin. 1996) ท่ีกลาวถึงความสําคัญของการบริหารงานวา เปดโอกาสใหนิสิตมีสวนในการบริหารรวมคิดรวมสรางเปนการสรางเวทีการคิดสรางสรรค ใหแก นิ สิตไดแสดงออกผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับ จันทิมา ใหญยิ่ง (2552: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ือง การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตท่ี สําเร็จการศึกษา สาขาวิชานาฏศิลปไทย คณะศิลปะนาฏดุริยางค สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป พบวา นักศึกษามีคุณลักษณะดานความคิดสรางสรรคอยูในระดับมาก และจารุณี คงเมือง (2555: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองของนักศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง พบวา นักศึกษามีคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนําตนเองดานความคิดสรางสรรคอยูในระดับมาก

1.4 ดานฐานทางวิชาการ ผลการวิจัยพบวา นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ มีคุณลักษณะอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒไดมุงเนนความสําคัญกับวิชาการในระดับสูงมาก โดยกําหนดไวในยุทธศาสตรของคณะวา จะมุงสรางเครือขายทางดานวิชาการและงานวิจัยดานศิลปกรรมกับองคกรภาครัฐและเอกชนท้ังในประเทศและตางประเทศ ประสาน งานกับประเทศท่ีลงนามความรวมมือเพื่อจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติและยังกําหนดไวในนโยบายการบริหารงานดานการบริการวิชาการ วาจะจัดใหมีศูนยการประสานงานทางวิชาการและงานวิจัย (Research and Education Center) เพื่อสรางเครือขายทางการศึกษาท้ังสวนงานภายในมหาวิทยาลัย สวนงานภายนอกรวมถึงสวนงานตางประเทศตอบรับกับการขยายหลักสูตรเพื่อเชื่อมโยงในระดับสากล (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2552: 10) แสดงใหเห็นวา คุณลักษณะดานฐานทางวิชาการเปนส่ิงสําคัญท่ีคณะศิลปกรรมศาสตรมุงเนนมาตลอด

Page 106: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

98  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ดังสงผลนิสิตในระดับปริญญาตรีจะตองทําการวิจัย ซึ่งเปนผลงานวิชาการเพื่อเปนเง่ือนไขในการจบการศึกษา ซึ่งการทําวิจัยใหประสบความสําเร็จไดน้ัน นิสิตจะตองมีความพยายามในดานวิชาการในระดับมาก ต้ังแตการศึกษาเอกสารและวรรณกรรมท่ีเก่ียวของ ซึ่งตองอาศัยองคความรูทางวิชาการระดับสูง การลงพื้นท่ีจริงเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล และการไดวิพากษขอมูลท่ีเก็บไดในเชิงวิชาการ กระบวนการดังกลาวนับไดวาสามารถสงเสริมคุณลักษณะดานฐานทางวิชาการของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตรไดเปนอยางดี นอกจากน้ีแลว ยังพบวา ไดมีการจัดกิจกรรมเสริมสรางคุณลักษณะนิสิตของคณะศิลปกรรมศาสตรหลายอยางท่ีมุงเนนการเสริมสรางคุณลักษณะดานฐานทางวิชาการ เชน กิจกรรมชม Fashion Presentation Show ในงานวันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเปนการเทิดพระเกียรติและเปนการเผยแพรองคความรูทางดานการออกแบบแฟชั่นแกผูสนใจ (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2554: ออนไลน) ซึ่งการท่ีไดเปนผูถายทอดใหกับผูอื่นยอมแสดงวา นิสิตจะตองทํางานหนักดานวิชาการมากอนจึงจะสามารถทําหนาท่ีน้ีไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังท่ี ไพฑูรย สินลารัตน (2542: 47) ท่ีไดกลาววา การพัฒนาองคความรูของนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยจะตองอาศัยโครงสรางทางการบริหาร งานท่ีใหความสําคัญกับวิชาการ เชน ผูบริหารจะตองกําหนดเปนนโยบายหลักของหนวยงานเพื่อใหทุกคนตระหนักวา ภารกิจดานวิชาการเปนภารกิจหลัก การสงเสริมใหนิสิตไดมีโอกาสเปนผูถายทอดความรูแกสังคม ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับ กัญญา รัตนหาญสาริกิจ (2551: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองคุณลักษณะของนิ สิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โ รฒตามเกณฑสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พบวา นิสิตมีคุณลักษณะดานฐานทางวิชาการอยูในระดับมาก

2. การเปรียบเทียบคุณลักษณะนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4 ดาน ไดแก ดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ จําแนกตามเพศ สาขาวิชา ภูมิลําเนา และอาชีพของผูปกครอง ผูวิจัยนําเสนอการอภิปรายผลการวิจัย แยกตามตัวแปรแบงกลุมดังน้ี

2.1 ผลการวิจัยพบวานิสิตเพศชายและเพศหญิง มีคุณลักษณะดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการไมแตกตางกัน ซึ่งไมเปนไปตามสมมุติฐานการวิจัยท่ีกําหนดไว อาจเปนเพราะวา ในการบริหารหลักสูตร หรือแมแตนโยบายในการบริหารงาน ลวนแลวแตใหความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพอยางถึงท่ีสุดท้ังในกลุมเพศชายและเพศหญิง ไมไดมุงเนนคุณลักษณะใด คุณลักษณะหนึ่งใหเกิดขึ้นเฉพาะเพศชายหรือเพศหญิงเทาน้ัน ดังเชน กิจกรรมในโครงการสัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพผูนํานิสิต ฝายศักยภาพนิสิต ท่ีเปดโอกาสใหท้ังนิสิตเพศชายและหญิงไดมีโอกาสในการเขารวมไดอยางเทาเทียมกัน โดยมีจุดมุงหมายท่ีจะสรางผูนําใหเกิดข้ึนท้ังเพศหญิงและเพศชาย นอกจากน้ีในวงการศิลปะ ก็จะพบวา การใหคุณคากับผลงานของศิลปน ของผูบริโภคในตลาด ไมวาจะเปน ดนตรี แฟชั่น หรือภาพวาด ลวนแตพบวา ผูบริโภคไมไดใหความสนใจเก่ียวกับเพศของศิลปน แตจะใหคุณคาในตัวงานมากกวา และสภาพสังคมในปจจุบันมีลักษณะของการเปนสังคมเปดเพิ่มมากข้ึน โดยโอกาสในการศึกษาและความเจริญกาวหนาในหนาท่ีการงานระหวางเพศหญิงและเพศชายไดเปดใหมีการแขงขันกันอยางเสรี โดยใชความสามารถเปนตัวตัดสินความสําเร็จท่ีจะเกิดขึ้น ดังท่ีไดระบุไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ท่ีไดระบุไวในมาตรา 10 มีเน้ือหาโดยสรุปวา

Page 107: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 99

 

การจัดการศึกษาจะตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการไดรับการศึกษาและดังท่ี สําเนาว ขจรศิลป (2538: 79) กลาววา นักศึกษาท่ีไดรับอิทธิพลจากการอยูในสภาพแวดลอมเดียวกัน จะมีผลตอความคิด คานิยม ความเชื่อ และพฤติกรรมของนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาไดพยายามปรับตัวใหสอดคลองกับสภาพแวดลอม และบริบทของสถาบัน การศึกษา จึงทําใหนักศึกษามีทัศนะหรือความคิดท่ีคลายคลึงกัน ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับธิติยา จตุวงศ (2546: 84) ศึกษาเร่ือง คุณลักษณะนิสิตของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒพบวานิสิตเพศชายกับเพศหญิงมีคุณลักษณะนิสิตของคณะศึกษาศาสตร ไมแตกตางกัน และ เลิศลักษณ วงศสวรรค (2553: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองการศึกษาคุณลักษณะความเปนครูของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.5 ป) มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ พบวา นิสิตเพศชายและเพศหญิงมีคุณลักษณะของนักศึกษาไมแตกตางกัน

2.2 ผลการวิจัยพบวานิสิตท่ีเรียนในสาขา วิชาแตกตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ แตกตางกันซึ่งเปนไปตามสมมุติฐานการวิจัยท่ีกําหนดไว ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากการจัดการเรียนการสอนในแตละสาขาวิชาของคณะศิลปกรรมศาสตรมีจุดเนนท่ีแตกตางกันออกไป มีกิจกรรมระหวางการเรียนท่ีไดเปดโอกาสใหนักศึกษาแตละคนไดแสดงออกไมเทากัน ดังเชน ในสาขาวิชาศิลปศึกษา ซึ่งมีรูปแบบการจัดการเ รียนการสอนท่ีปลูกฝงให นักศึกษามีคุณลักษณะของความเปนครูควบคูไปกับคุณลักษณะของศิลปน อาจจะสงผลทําใหมีการจัดการเรียนการสอน บรรยากาศในการเรียนท่ีทําใหนิสิตแสดงออกไดนอยกวานิสิตในสาขาวิชานาฏศิลปท่ีมีบรรยากาศในการแสดงออกมากกวา เน่ืองจากมีกิจกรรมของคณะ

มหาวิทยาลัยหลายอยางท่ีตองการใหนิสิตสาขาวิชานาฏศิลปไดมีสวนรวม ดังท่ี ธิดารัตน บุญนุช (2525: 264) กลาววา นักศึกษาแตละสาขาวิชามีเอกลักษณของตนเอง สถาบันอุดมศึกษาตองดูแล เอาใจใสในสภาพท่ีเขามีความเปนเอกลักษณเชนน้ัน โดยการจัดบรรยากาศในมหาวิทยาลัยในสภาพ ท่ีชวยใหนักศึกษาไดพัฒนาตนเองไดเต็มท่ี แตอยางไรก็ตามงานวิจัยของกัญญารัตน หาญสาริกิจ (2551: บทคัดยอ) ท่ีศึกษาเร่ืองคุณลักษณะของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒตามเกณฑ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พบวา นิสิตท่ีศึกษาตางกลุมวิชากันมีทัศนะตอคุณลักษณะของนิสิตเปนการประเมินตนเองของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒตามเกณฑสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาโดยรวมไมแตกตางกัน

2.3 ผลการวิจัยพบวานิสิตท่ีมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพและปริมณฑลมีคุณลักษณะดานคุณธรรมจริยธรรมและดานความคิดสรางสรรคแตกตางกันกับนิสิตท่ีมีภูมิลําเนาอยูในตางจังหวัดแตจะมีคุณลักษณะดานความเปนผู นําและดานฐานทางวิชาการท่ีไมแตกตางกัน ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก สภาพแวดลอมทางสังคมของกรุงเทพและปริมณฑลมีความแตกตางจากตางจังหวัดคอนขางมาก โดยท่ีประชาชนในเขตกรุงเทพและปริมณฑลจะมีโอกาสในการสังสรรคทางสังคมมากกวาประชาชนในตางจังหวัด จึงสงผลทําให การแสดงออกทางดานคุณธรรมจริยธรรม และความคิดสรางสรรคมีความชัดเจนมากกวาคนท่ีอยูตางจังหวัด ซึ่งสอดคลองกับเอกสารของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2545: 45-48) เร่ือง การศึกษา วิเคราะห รูปแบบท่ีเหมาะสมในการพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยท่ีไดอธิบายวา ความแตกตางทางดานสังคมและการจัดการศึกษาระหวางในสังคมเมืองกับสังคมชนบทในตางจังหวัดมี

Page 108: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

100  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ความแตกตางกันมาก การพัฒนาบัณฑิตจะตองใหความสําคัญกับความแตกตางทางสังคมใหมากถึงจะทําใหการพัฒนาเปนไปอยางมีทิศทางท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะในสังคมเมืองจะเห็นไดชัดวาการจัดการเ รียนการสอนเ ร่ิมมุ ง เนนให นักเ รียนไดฝกทักษะความคิดสรางสรรคมากกวาในตางจังหวัด สอดคลองกับแผนพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของคนไทย ท่ีจัดทําโดย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2552) สรุปไดวา การพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของคนไทยมีความยากลําบากในการปฏิบัติมาก เพราะความแตกตางระหวางสังคมเมืองกับสังคมชนบทท่ีมีความแตกตางกันในดานเศรษฐกิจ ซึ่งจะเห็นไดวาในสังคมเมืองน้ันประชาชนมีแนวโนมท่ีจะมีความต่ืนตัวทางสังคม และมีความคิดสรางสรรคมากกวาในชนบท ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับ ณัฐมน ปญญาวัชร (2550: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองการศึกษาคุณลักษณะดานจริยธรรมของนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ พบวานักศึกษา ท่ีมีภูมิลําเนาแตกตางกัน มีคุณลักษณะดานจริยธรรมแตกตางกัน แตอยางไรก็ตามดานความเปนผูนํา และดานฐานทางวิชาการไมพบวาแตกตางกัน ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก คุณลักษณะท้ัง 2 ดาน เปนส่ิงท่ีไดรับการพัฒนาระหวางการจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ระหวางท่ีนิสิตไดทําการศึกษา ดังจะเห็นไดวา กิจกรรมของคณะศิลปกรรมศาสตร ไดมุงเนนใหนิสิตสวนใหญไดมีโอกาสในการแสดงออกซึ่งความรู ความสามารถอยางตอเน่ืองผานกิจกรรมตางๆ เปนจํานวนมาก จึงทําใหนิสิตไดมีโอกาสฝกฝนการติดตอ ประสานงาน การทํางานรวมกับผูอื่น อยูอยางสม่ําเสมอ จึงสงผลสําคัญใหคุณลักษณะดานผูนําและดานฐานทางวิชาการของนิสิตในเมืองกับตางจังหวัดไมแตกตางกันดังท่ี ออมใจ วงษมณฑา (2552: 8-9) กลาววา การจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย

น้ันมุงเนนใหนักศึกษามีความเขมขนทางวิชาการคอนขางมาก ทําใหนักเรียนจากตางจังหวัดเมื่อเขาเรียนในระดับมหาวิทยาลัยแลวจะตองเรียนหนักมากเพื่อเปนการปรับตัว จากแนวคิดดังกลาวแสดงใหเห็นวา การพัฒนาระหวางการเรียนในมหาวิทยาลัยทําใหนักศึกษาในเมืองกับตางจังหวัดมีความเขมแข็งทางวิชาการไมแตกตางกัน ขึ้นอยูกับความขยันหมั่น เพียรของนักศึกษาเองแตอยางไรก็ตาม งานวิจัยของธิติยา จตุวงศ (2546: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองการศึกษาลักษณะนิสิต ของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒพบวานิสิต ท่ีมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล มีคุณลักษณะของนักศึกษาแตกตางกัน

2.4 ผลการวิจัยพบวานิสิตท่ีมีผูปกครองประกอบอาชีพแตกตางกันมีคุณลักษณะดานความเปนผูนําดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ ไมแตกตางกันซึ่งไมสอดคลองกับสมมุติฐานการวิจัย ท้ังน้ีอาจเปนเพราะวา การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยน้ันจะตองอาศัยศักยภาพในการแสวงหาความรูการเรียนรูดวยตัวของนิสิตเองเปนสําคัญ การท่ีจะพัฒนาคุณลักษณะของการเปนนิสิตคณะศิลปกรรมท้ัง 4 ดาน ไดแก ดานความเปนผูนํา ดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความคิดสรางสรรค และดานฐานทางวิชาการ จะตองอาศัยศักยภาพของบุคคลเปนหลัก ซึ่งไมมีความเกี่ยวของกับอาชีพของผูปกครองใดๆ ท้ังส้ินการจัดการเรียนการสอนของคณะศิลปกรรมศาสตรท่ีถือวาเปน กระบวนการถายทอดคุณลักษณะท่ีพึงประสงคโดยหลักน้ันโดยตรงก็ไมไดเลือกปฏิบัติกับนิสิตท่ีมีผูปกครองประกอบอาชีพใดอาชีพหน่ึงโดย เฉพาะเทาน้ัน แตเปนการปฏิบัติกับนิสิตทุกคนอยางเทาเทียมกันโดยความเสมอภาค การไดมีโอกาสแสดง ออกซึ่งความสามารถทางดานศิลปะของนิสิตก็เปนไป

Page 109: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 101

 

อยางเปดกวางโดยมุงเนนใหนิสิตท่ีมีความสามารถไดแสดงออกอยางเทาเทียมกัน ดวยเหตุผลดังกลาวจึงไมพบวานิสิตท่ีมีผูปกครองประกอบอาชีพแตกตางกันจะมีคุณลักษณะท่ีพึ งประสงค ท้ั ง 4 ด านแตกต างกัน กระบวนการดังกลาวสอดคลองกับแนวทางในการจัดการเรียนการสอนตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 10 ท่ีกําหนดพึงจุดมุงหมายทางการศึกษาวาจะตองจัดใหกับบุคคลอยางเสมอภาคโดยไมเลือกปฏิบัติ และดังท่ีสุวรรณี คํามั่น และคณะ (2551) กลาววา การพัฒนาประเทศท่ีมีความย่ังยืนจะตองใหความสําคัญกับการพัฒนาทุนมนุษยเปนอันดับแรก

โดยไมแบงแยกและไมเลือกปฏิบัติ โดยเฉพาะในประเด็นทางดานการศึกษาจะตองใหการศึกษาอยางเทาเทียมกันโดยไมเลือกปฏิบัติวานักเรียนหรือนักศึกษาคนน้ันมีพื้นฐานทางสังคมเปนเชนไร แตหากไดเขามาเรียนแลวจะตองใหบริการทางการศึกษาอยางไมเลือกปฏิบัติ แตอยางไรก็ตาม ธิติยา จตุวงศ (2546: บทคัดยอ) ศึกษาเร่ืองการศึกษาลักษณะนิสิต ของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบวานิสิตท่ีมีผูปกครองประกอบอาชีพแตกตางกัน มีคุณลักษณะของนักศึกษาแตกตางกัน

บรรณานุกรม กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. (2540). ความสัมพันธระหวางการมีสวนรวมในกิจกรรมนิสิตนักศึกษากับการพัฒนา

ตนเองของนสิิตนักศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ ค.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ถายเอกสาร.

กัญญารัตน หาญสาริกิจ. (2551). คุณลักษณะของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒตามเกณฑสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

กําจร สุนพงษศรี. (2554). ศิลปะสมัยใหม. กรุงเทพฯ: จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. โกวิท ประวาลพฤกษ. (2542). พัฒนาการศกึษาแท และแฟมพัฒนางาน การพัฒนาการศึกษาตามแนว

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. คณะศิลปกรรมศาสตร. (2552). รายงานการประเมินตนเอง ประจําปการศึกษา 2552. คณะศิลปกรรมศาสตร.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะศิลปกรรมศาสตร. (2550). ตอนรับนิสติใหม คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2550. กรุงเทพฯ: คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะศิลปกรรมศาสตร. (2554). ขาวสารและกิจกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร. สืบคนเมื่อ 10 มิถุนายน 2554, จาก

http://fofa.swu.ac.th/index.php?p=news

Page 110: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

102  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

จรัส สุวรรณเวลา. (2545). อดุมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. จารุณี คงเมือง. (2555). การศึกษาคุณลักษณะการเรียนรูดวยการนาํตนเองของนักศึกษา หลักสูตร

บริหารธุรกิจบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

ณัฐมน ปญญาวัชร. (2550). การศึกษาคุณลักษณะดานจริยธรรมของนักศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ถายเอกสาร.

ธิดารัตน บุญนุช. (2525). พฒันาบุคลิกภาพของนิสิตนกัศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.

ธิติยา จตุวงศ. (2546). การศึกษาลักษณะนิสิตของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

นําพงศ อินทรทูต. (2554). สมัภาษณโดย ธันยพร โรจนสังวร เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2554. ท่ีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปรวัณ แพทยานนท. (2554). สัมภาษณโดย ธันยพร โรจนสังวร เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2554. ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ประไพภรณ วาสนาพงษ. (2552). ปจจัยที่สงผลตอคุณลักษณะที่พึงประสงคของบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

พระมหาสุพิน ชินนะปด. (2546). การศึกษาคุณลักษณะของพระนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

ไพฑูรย สินลารัตน. (2540). อุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาควชิาอุดมศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มาดาพร นอยนิตย. (2553). สัมภาษณโดย ธันยพร โรจนสังวร เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2553.

ท่ีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เมธี พันธุวราทร. (2553). สัมภาษณโดย ธันยพร โรจนสังวร เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2553.

ท่ีคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ระวิวรรณ วรรณวิไชย. (2553). สัมภาษณโดย ธันยพร โรจนสังวร เมือ่วันที่ 1 สิงหาคม 2553. ท่ีสาขาวิชา

นาฏศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เลิศลักษณ วงศสวรรค. (2553). การศึกษาคุณลักษณะความเปนครูของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต

(กศ.บ. 5 ป) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

วิทวัส กรมณีโรจน. (2553, 1 สิงหาคม). สัมภาษณโดย ธันยพร โรจนสังวร. ท่ีสาขาวิชานาฏศิลป คณะ ศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Page 111: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 103

 

วิรุณ ต้ังเจริญ. (2546). พลังความคิดเพือ่การพัฒนาคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ.

วิเชียร วิทยอุดม. (2547). พฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ: ธีระฟลมและไซเท็กซ. สําเนาว ขจรศิลป. (2538). มิติใหมของกิจการนักศึกษา 2: การพัฒนานักศึกษา. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. สุภาพ เครือเนตร. (2542). ปฏิรูปการศึกษาผสานหลักศาสนา. กรุงเทพฯ: เล่ียงเชียง. สํานักงานคณะกรรมการการอดุมศึกษา. (2545). การศึกษา วิเคราะห รปูแบบที่เหมาะสมในการพฒันา

บัณฑิตอดุมคติไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2554). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาต ิพ.ศ.

2542 แกไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ 2. พ.ศ. 2545. สืบคนเมื่อ 7 มถิุนายน 2554. จาก http://www.onesqa.or.th/th/whatsnew/index2.php?action=view&SystemModuleKey=112&id=84

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). สกศ. เผย แผนพัฒนาคุณลกัษณะที่พึงประสงคของคนไทย. คนหา เมื่อ 4 พฤษภาคม 2552. จาก http://www.onec.go.th/news46 /pr/sala/s_49 1206-a.htm

สํานักนายกรัฐมนตรี. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ ศึกษาแหงชาติ.

สุวรรณี คํามั่น; และคณะ. (2551). ทนุทางสังคมกับการพัฒนาทุนมนษุย. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ.

อภิธรรม กําแพงแกว. (2553). สัมภาษณโดย ธันยพร โรจนสังวร เมือ่วันที่ 1 สิงหาคม 2553. ท่ีคณะศิลปกรรม ศาสตร มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ออมใจ วงษมณฑา. (2552). คุณลักษณะและประเภทของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ปตตาน:ี สถาบัน

วัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. อารี พันธมณ.ี (2547). ความคิดสรางสรรค. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ 1412. อําพล จินดาวฒันะ. (2542). โครงการสวัสดิการวิชาการ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระบรมราชชนก. Cronbach. Lee J. (1984). Essentials of Psychological Testing. 4th ed. New York: Harper & Row. Ferguson, George A. (1981). Statistical Analysis in Psychology and Education. 5th ed. New York:

McGraw–Hill Book Co. National School Boards Association (NSBA). (2004). Change and Society. Leadership and Technology.

The National School Boards Association's Institute for the Transfer of Technology to Education: Alexandria, Virginia. Available.

Osborn, A.F. (1957). Applied Imagination. New York: Scribner’s. Yamane, Taro. (1976). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological

Measurement. (3)11: 886.

Page 112: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

104  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง

STUDENTS’ OPINIONS TOWARD ARTS AND CULTURAL ACTIVITIES AT RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

ผูวิจัย นวรัตน โฉมงาม1 Nawarat Chomngam กรรมการควบคุม ดร. สุวพร ต้ังสมวรพงษ2

ดร. จารุวรรณ สกุลคู3 Advisor Committee Dr. Suwaporn Tungsomworapongs Dr. Jaruwan Skulkhu บทคัดยอ การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง 3 ดาน คือ ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย และดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย จําแนกตามเพศ ระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรม และชมรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีสังกัด กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาคร้ังน้ี เปนนักศึกษาชมรมดานศิลปวัฒนธรรม จํานวน 5 ชมรม ไดแก ชมรมดนตรีไทยและนาฏศิลป ชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น ชมรมดนตรีลูกทุงสุโขทัย ชมรมพุทธศาสตรและวัฒนธรรมไทย และชมรมศิลปะการแสดง รวมท้ังส้ิน 276 คน ไดมาโดยการใชสูตรของยามาเน (Yamane. 1967: 886-887) เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 45 ขอ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ .95 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาคะแนนเฉล่ีย คาความถี่ คารอยละ คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว

ผลการวิจัยพบวา 1. นักศึกษามีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรม

ดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง วาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหงในแตละดานและโดยรวมในระดับมาก

2. นักศึกษาท้ังชายและหญิงมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมในแตละดานและโดยรวมไมแตกตางกัน

3. นักศึกษาที่มีระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรมตางกันมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหงดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรม และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานอื่นๆ ไมพบความแตกตาง

4. นักศึกษาท่ีสังกัดชมรมตางกันมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในแตละดานและโดยรวมไมแตกตางกัน

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2,3อาจารยประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 113: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 105

 

คําสําคัญ : กิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม ชมรมดนตรีไทยและนาฏศิลป ชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น ชมรมดนตรีลูกทุงสุโขทัย ชมรมพุทธศาสตรและวัฒนธรรมไทย ชมรมศิลปะการแสดง ABSTRACT

The purposes of this research were to study and to compare the opinions of students toward arts and cultural activities at Ramkhamhaeng University in three aspects: having knowledge and understanding Thai arts and culture, supporting Thai social value and preservation of Thai arts and culture classified by gender, period of being a member club, and club members. The samples were 276 students of arts and culture for 5 clubs; a club of Thai musical and dancing art, a club of local tradition and culture, a club of Sukhothai country music, a club of Buddhism and Thai culture and a club of performing arts. The instrument used for data collection was a five rating scale questionnaire with the reliability of 0.95. Arithmetic mean, standard deviation, a t-test, one way analysis of variance and Scheffe’ method were utilized for data analysis.

The research findings revealed that: 1. Students rated participating in arts

and cultural activities in each and overall aspects at a high level.

2. Male and female students showed no significant differences in art and culture participation in each and overall aspect.

3. There was a significant difference between the opinions of the students with different period of being a member club in overall and the aspect of having knowledge and understanding Thai arts and culture, except the aspects of supporting Thai social value and preservation of Thai arts and culture.

4. There was no significant difference among the students participating in different arts and cultural clubs at Ramkamhaeng University in each and overall aspects. Keywords : Cultural Activities A club of Thai musical and dancing art A club of local traditional and cultural A club of Sukhothai country music A club of Buddhism and Thai culture A club of performing arts บทนํา

แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับท่ี 10 (พ .ศ .2550-2554)ได กํ าหนดเป าหมายให สถาบั น อุดมศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ มุงตอบสนองผูเรียนในวัยเรียน วัยทํางาน และวัยสูงอายุเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงในรูปแบบตางๆ รวมท้ังการเรียนรูตลอดชีวิต และสามารถปรับตัวสําหรับงานท่ีเกิดข้ึนตลอดชีวิต มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ นําไปสูการพัฒนาประเทศในกระแสโลกาภิวัตนได จึงเปนหนาท่ีหลักของสถาบันอุดมศึกษาท่ีตองจัดระบบการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตอันพึงประสงค (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2551: 30) สถาบันอุดมศึกษาเปนองคกรท่ีตองสนใจกับการพัฒนานิสิตนักศึกษาเปนพิเศษเพื่อใหอยูรอดในสังคมท่ีเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว (วิจิตร สินสิริ. 2534: 22) และจําเปนตองมีการปรับปรุงระบบการศึกษา

Page 114: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

106  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ใหสอดคลองกับสภาพสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อเปนทรัพยากรท่ีมีคา และสามารถทําประโยชนแกสังคม (สํานักงานปฏิรูปการศึกษา. 2544: 108) ซึ่งเยาวชน นักศึกษา รวมท้ังบัณฑิตในอนาคต นอกจากจะตองมีความเชี่ยวชาญเฉพาะศาสตรแลว ยังตองมีความสามารถท่ีสําคัญไมยิ่งหยอนเกี่ยวกับทักษะการส่ือสาร การทํางานเปนหมูคณะ การแกปญหา การรับความเส่ียง การออกแบบ และความคิดสรางสรรค ความรับผิดชอบ ท้ังตอตนเองและผูอื่น การเรียนรูอยางตอเน่ือง การบริหารจัดการตนเอง รวมไปถึงจริยธรรม (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2551: 7) เชนเดียวกับจรัส สุวรรณเวลา (2551: 68) ท่ีกลาววา บัณฑิตตองมีความรูรอบและรอบรู ตลอดจนมีความสามารถในการทํางานเปนทีมรวมกับผูอื่นได นอกจากน้ีการเรียนรูกวางท่ีขามสาขาวิชาก็เปนส่ิงท่ีจําเปน

วินสตันและมาสซาโร (มนัส นิลสวัสด์ิ. 2547: 2; อางอิงจาก Winston and Massaro. 1987: 169) ไดกลาววา กิจกรรมนักศึกษาเปนรูปแบบหน่ึงของกระบวนการทางการศึกษานอกชั้นเรียนท่ีมีความสําคัญอยางย่ิงตอการไดรับประสบการณทางการศึกษาของนักศึกษา ไดแก การพัฒนาวุฒิภาวะของนักศึกษา การพัฒนาทักษะดานการจัดการ และทักษะการตัดสินใจทางอาชีพ ซึ่งสอดคลองกับ ชิคเกอร่ิง และรีซเซอร (มนัส นิลสวัสด์ิ. 2547: 2; อางอิงจาก Chickering and Raiser. 1993: 468) ท่ีกลาววา กิจกรรมนักศึกษามีสวนสําคัญในการใหนักศึกษาไดรับประโยชนในดานการรูจักตนเอง การสรางความมั่นใจในตนเอง พัฒนาการดานทักษะมนุษยสัมพันธ ทักษะความเปนผูนํา ความเขาใจโลกของการทํางาน ความเขาใจในธรรมชาติและความแตกตางของมนุษย ความเขาใจในบทบาทหนาท่ีของผูนําและผูตามการรูจักรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น ซึ่งสอดคลองกับ วิโรจน ถิรคุณ (2543: 89) ท่ีกลาววา

สังคมในร้ัวมหาวิทยาลัยมีความหลากหลายแตกตางกันไป สวนหน่ึงเปนผลมาจากองคกรนักศึกษา สโมสร ชมรม หรือคลับ ท่ีมีการจัดการเพื่อเปนการรวมกลุมทํากิจกรรมใหเกิดความสามัคคี ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน การทํางานรวมกันเปนหมูคณะ การเรียนรู และปรับตัวของนักศึกษา ดังน้ันสํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย (2546: 117) จึงมีการสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาเพื่อเติมเต็มใหนักศึกษาเปนบุคคลท่ีมีความสมบูรณเพียบพรอมไปดวยความรู ความสามารถ มีวิจารณญาณ เสียสละ มีคุณธรรมจริยธรรม และสุขภาพพลานามัยท่ีดี

จากการวิเคราะหสังคมในปจจุบัน วัฒนธรรมตางชาติท่ีหล่ังไหลเขามากับกระแสโลกาภิวัตน รวมท้ังการนําวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในการผลิตและดํารงชีวิตท่ีขาดการกล่ันกรองและเลือกใชประโยชนจากวัฒนธรรมตางชาติ ทําใหเกิดความเสื่อมถอยทางดานศีลธรรม คุณธรรม คานิยม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามวิถีชีวิตของคนไทย นอกจากน้ียังละเลยไมเห็นคุณคาความสําคัญของศิลปวัฒนธรรมท่ีเปนเอกลักษณประจําชาติ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 2545: 28-35) ดังน้ันส่ิงสําคัญของคนไทยในปจจุบันคือ การรักษาคานิยมของคนไทยไมเปล่ียนไปตามกระแสสังคมชาติอื่น โดยการสรางความสมดุลของกระแสสากลกับภูมิปญญาทองถ่ินของวัฒนธรรมไทย (จรัส สุวรรณเวลา. 2545 : 52) ความรูดานศิลปวัฒนธรรมจึงเปนส่ิงสําคัญในการสรางคุณลักษณะ ของบัณฑิต การเขาใจเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมของตนเปนสวนสําคัญในการสรางความสุนทรียใหกับชีวิต เมื่อสังคมเปล่ียนแปลงเร็ว มีความวุนวายสับสนจากวิถีชีวิตใหมๆ จึงตองสรางภูมิคุมกันใหกับนักศึกษาใหเขาใจเตรียมจิตใจใหหนักแนน และการรูจักท่ีจะผอนคลายดวยศิลปวัฒนธรรม (สุชาดา กีระนันทน. 2552: 143) นอกจากน้ียังเปนส่ิงยึดเหน่ียวใหคนในชาติเดียวกันเกิด

Page 115: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 107

 

ความรูสึกเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน เกิดความสามัคคีและความมั่นคงของชาติ (สําเนาว ขจรศิลป. 2538: 117) สถาบันอุดมศึกษาจึงตองมีการกําหนดพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาในดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีหนวยงานสถาบันวัฒนธรรมข้ึนเพื่อเปนศูนยกลางในการดําเนินพันธกิจดานน้ีใหบรรลุวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย เชนเดียวกับวัตถุประสงคของกิจกรรมนักศึกษาที่ตองสงเสริมการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมโดยมีการจัดกิจกรรมนักศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม (วิจิตร สินสิริ. 2534: 33) การจัดกิจกรรมไดแก การจัดแสดงสาธิตจัดนิทรรศการหรือกิจกรรมทางดานนาฏศิลป ดนตรี การละเลนพื้นเมือง การจัดกิจกรรมตามขนบ ธรรมเนียมประเพณีไทยและทองถิ่น (สํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. 2546: 118) จากการวิจัยเร่ือง ความคิด เห็นของนักศึกษาท่ีเปนกรรมการบริหารชมรมตอการไดรับประโยชนจากการเขารวมกิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยธาริณี สุขจิตต (2544: 65) พบวานักศึกษาท่ีเปนกรรมการบริหารชมรมดานศิลปวัฒนธรรมมีความเห็นวาเปนกิจกรรมท่ีมุงสงเสริม เผยแพร ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมตลอดจนมีโอกาสศึกษาและปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะ ซึ่งกิจกรรมสวนใหญมุงเนนการแสดงออกทางบุคลิกภาพสูง นอกจากน้ีคณะทํางานจัดทําแนวทางการทํากิจกรรมนอกหลักสูตรเพื่ อ เ รียนรู คุณธรรมและจริยธรรม โครงการพัฒนาบัณฑิตอุดมศึกษาไทย สํานักมาตรฐานอุดมศึกษา ไดกลาวถึงกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมวาเปนสวนชวยสงเสริมในการพัฒนาบัณฑิตท่ีพึงประสงคใน ดานคุณธรรมและจริยธรรมท้ังทางตรงไดแก กิจกรรมท่ีจัดโดยชมรมศาสนาตางๆ และทางออมไดแก กิจกรรมชมรมดานศิลปวัฒนธรรมแขนงตางๆ

มหาวิทยาลัยรามคําแหงไดรับการสถาปนาเปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐโดยพระราชบัญญัติ

มหาวิทยาลัยรามคําแหง พ.ศ.2514 กําหนดใหมหาวิทยาลัยรามคําแหงเปนสถาบันการศึกษาและวิจัยแบบตลาดวิชา กลาวคือ ใหเปดรับสมัครบุคคลเขาเปนนักศึกษา โดยไมจํากัดจํานวนและไมมีการสอบคัดเลือกนับต้ังแตไดรับการสถาปนาข้ึนในป พ.ศ. 2514 จนถึงปจจุบัน ไดปฏิบัติภารกิจหลัก 4 ประการของสถาบันอุดมศึกษาอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแกสังคม และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม นอกจากน้ียังเพิ่มภารกิจท่ี 5 คือ มุงผลิตบัณฑิตท่ีมี “ความรูคูคุณธรรม” การจัดการเรียนการสอนในปจจุบันมีท้ังส้ิน 12 คณะ รวมท้ังบัณฑิตวิทยาลัย (มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2553: 23 - 29) มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาโดย การควบคุมดูแลขององคกรนักศึกษาแบงเปน 4 ดาน ไดแก กิจกรรมดานบําเพ็ญประโยชน กิจกรรมดานกีฬา กิจกรรมดานวิชาการ และกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มีการจัดต้ังประธานและคณะกรรมการชมรมจากการเลือกต้ังของสมาชิกบริหารกิจการชมรมจัดทําโครงการพัฒนานักศึกษา (มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2547: 5) จากการวิจัยเร่ือง แรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมนักศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง โดย สุพรรณี อินทรบุญสม (2551: 86 - 8)พบวา นักศึกษามีแรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมนักศึกษา เพราะกิจกรรมนักศึกษาชวยในการสรางความสัมพันธระหวางกลุมเพื่อนในมหาวิทยาลัย รูจักการทํางานรวมกันเปนกลุม การปรับตัวเขากับสังคม มีการพัฒนาตนเองตามดานทักษะความรูนอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียนซึ่งเปนทักษะท่ีผูเรียนเลือกเองตามความสนใจ และดานการชวยเหลือสังคมเชน การออกคายพัฒนาชุมชนตางๆ เปนตน แสดงใหเห็นถึงความสนใจของนักศึกษาในการเขารวมกิจกรรม ในสวนกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มีการสงเสริมคานิยมในตัวนักศึกษาทางดานศิลปวัฒนธรรม

Page 116: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

108  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ขนบธรรมเนียม ประเพณี และเอกลักษณอันดีงามของชาติ ตามวัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมนักศึกษา เพื่อพัฒนานักศึกษาใหมีความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น และสืบสานศิลปวัฒนธรรมใหยั่งยืน (มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2551: 44) จากการศึกษาเอกสารรายงานการประเมินแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 (มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2553) ไดขอสรุปจํานวนโครงการโดยจําแนกตามประเภท จํานวนโครงการ และจํานวนนักศึกษาท่ีเขารวมโครงการดังน้ี

1. กิจกรรมดานวิชาการ 92 โครงการจํานวน 5,871 คน

2. กิจกรรมดานบําเพ็ญประโยชนและรักษาส่ิงแวดลอม 67 โครงการจํานวน 1,246 คน

3. กิจกรรมดานกีฬาและสงเสริมสุขภาพ 54 โครงการจํานวน 1,098 คน

4. กิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม 26 โครงการจํานวน 1,952 คน

จากขอมูลขางตนจะเห็นไดวา มหาวิทยาลัยรามคําแหงไดสนับสนุนงบประมาณในการสนับสนุนกิจกรรมสงเสริมดานวิชาการมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 56 ของกิจกรรมทั้งหมด ซึ่งตางจากกิจกรรมสงเสริมดานศิลปวัฒนธรรม คิดเปนรอยละ 8 ของกิจกรรมท้ังหมด ถึ งแม นัก ศึกษา ท่ี เข า ร วมกิจกรรมด านศิลปวัฒนธรรมจะมีจํานวนเปนอันดับท่ีสองรองจากกิจกรรมดานวิชาการ แตจํานวนท่ีนักศึกษาเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมก็มีจํานวนนอย คิดเปนรอยละ 19 ของจํานวนนักศึกษาท่ีเขารวมกิจกรรมท้ังหมด จากการสัมภาษณอาจารยท่ีปรึกษาชมรมดานศิลปวัฒนธรรม เจาหนาท่ีสถาบันศิลปวัฒนธรรม และอดีตประธานชมรมดานศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรามคําแหง ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเขารวมกิจกรรมโครงการ

ดานศิลปวัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง สรุปได 3 ดาน คือ

1. ดานการได รับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย จากการสัมภาษณอาจารยท่ีปรึกษาชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น (สุพรรณี อินทรบุญสม. 2552: สัมภาษณ) ใหความเห็นวา กิจกรรมชมรมดานศิลปวัฒนธรรมตองใชความสามารถเฉพาะดาน มีความรูเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมอยางลึกซึ้งถึงจะเขาใจและสามารถถายทอดความรูออกเปนรูปแบบการแสดงตางๆ ได โดยตองใชระยะเวลาในการศึกษาและฝกฝนเพื่อพัฒนาความสามารถ ความรูท่ีไดรับตองไดรับการถายทอดจากผูเชี่ยวชาญท่ีมีประสบการณ ถายทอดดวยการปฏิบัติเพื่อเปนแบบอยาง นอกจากน้ีผูศึกษาตองหมั่นศึกษาดวยตัวเองจากแหลงการเรียนรูอื่นๆ ซึ่งความรูดานศิลปวัฒนธรรมจะมีอยูจํากัดมาก นอกจากน้ีอาจารยท่ีปรึกษาตองมีความรูดานศิลปวัฒนธรรมพอสมควรเพื่อแนะนําแนวทางและใหคําปรึกษาท่ีถูกตอง ถึงแมมหาวิทยาลัยจะสนับสนุนใหมีการจัดต้ังชมรมดานศิลปวัฒนธรรมโดยมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อทําโครงการตางๆ แตทรัพยากรบุคคลท่ีจะมาถายทอดความรูใหแกนักศึกษาของชมรมในปจจุบันเปนการถายทอดความรูจากรุนพี่สู รุนนอง จึงทําใหความรู ท่ีได รับไมเพียงพอตอความตองการ และมีแรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมนอย ซึ่งสอดคลองกับความคิดเห็นของสมาชิกชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น (วรัญญา อุนวงศ. 2552: สัมภาษณ) ท่ีกลาววา การพัฒนาความรูดานศิลปวัฒนธรรมตองอาศัยความสนใจเฉพาะบุคคลประกอบกับการไดรับการถายทอดความรูจากบุคคลท่ีเชี่ยวชาญ จึงจะพัฒนาความรูความสามารถของนักศึกษาไดจะขาดอยางใดอยางหน่ึงไมได

Page 117: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 109

 

2. ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย จากการสัมภาษณเจาหนาท่ีสถาบันศิลปวัฒนธรรม (ปทมาภรณ ภุมรารสสุคนธ. 2554: สัมภาษณ) กลาววานักศึกษาสวนใหญมีพฤติกรรมทางดานคานิยมท่ีเปล่ียนไป มีการเลียนแบบพฤติกรรมทางภาษา การแตงกาย และการบริโภคอาหารของชาติอื่น จนเห็นคุณคาของวัฒนธรรมไทยลดลง เชน นิยมแตงกายตามแฟชั่นตางชาติ การใชภาษาในการพูดมักใชภาษาไทยผสมกับภาษาตางชาติ และการนิยมรับประทานอาหารตามหางสรรพสินคาเชน อาหารญี่ปุน อาหารเกาหลี อาหารฝรั่งเศสฯลฯ ทําใหมีวัฒนธรรมในการดํารงชีวิตท่ีเปล่ียนไปจากเดิม ความสนใจเกี่ยวกับการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมจึงเปนเร่ืองท่ีลาสมัย

3. ดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย จากการสัมภาษณอดีตประธานชมรม ดานศิลปวัฒนธรรม (นิติวุฒิ ทองคํา และกรกช จดแตง. 2552: สัมภาษณ) กลาวถึงปญหาการรวมกลุมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง เน่ืองจากนักศึกษาสวนใหญสนใจเร่ืองการเรียนและมีเวลาท่ีไมตรงกันซึ่งเกิดจากระบบการเรียน หรือบางกลุมเรียนดวยทํางานดวยเน่ืองจากสภาพเศรษฐกิจ จึงไมมีเวลาวางในการเขารวมกิจกรรมท่ีทางชมรมจัดขึ้น ไดแก การฝกซอมเพื่อพัฒนาความสามารถเฉพาะบุคคล การทําโครงการเพื่อจัดแสดง สาธิตตางๆ และการออกคายเพื่อการอนุรักษและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม สูชุมชน เปนตน ถึงแมจํานวนนักศึกษาท่ีเขาสมัครเปนสมาชิกชมรมจะอยูในเกณฑท่ีสูงแตเวลาทํากิจกรรมแตละคร้ังมีเพียงคณะกรรมการดําเนินกิจกรรมเทาน้ัน

จากสภาพการณดังกลาวขางตน ผูวิจัยในฐานะท่ีเคยเปนสมาชิกเขารวมกิจกรรมชมรมดานศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรามคําแหง เคยเขารวมการจัดแสดงสาธิต จัดนิทรรศการหรือกิจกรรมชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่นเปนระยะเวลา 3 ป

ในชวงท่ีศึกษาตอในระดับปริญญาตรี ผูวิจัยเห็นวาจําเปนอยางย่ิงท่ีตองศึกษาทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ท้ังน้ีเพื่อนําผลของการวิจัยน้ีไปใชเปนแนวทางในการวางแผนการปรับปรุงแกไข และเสนอ แนะแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงคในการพัฒนานักศึกษา และดําเนินกิจกรรมอยางมีประสิทธิภาพ ความมุงหมายของการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยไดต้ังความมุงหมายไว ดังน้ี

1. เพื่อศึกษาทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง 3 ดาน คือ ดานการได รับความรูความเข าใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย ดานการสงเสริมคานิยมของสังคม ไทย และดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย

2. เพื่อเปรียบเทียบทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยรวมและในแตละดาน จําแนกตามเพศ ระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรม และชมรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีสังกัด ความสําคัญของการวิจัย

ผลจากการทําวิจัยในคร้ังน้ีสามารถนําขอมูลไปใชประกอบการพิจารณาเพื่อปรับปรุงและสงเสริมการเขารวมกิจกรรมโครงงานชมรมดานศิลปวัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง ตามนโยบายหลักดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมจากพันธกิจของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ในการเสริมสรางความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย คานิยมของสังคมไทย และการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทยของนักศึกษาตอไป

Page 118: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

110  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ขอบเขตของการวิจัย

ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง ระดับปริญญาตรี ปการศึกษา 2554 ชมรมดานศิลปวัฒนธรรม จํานวน 5 ชมรม ไดแกชมรมดนตรีไทยและนาฏศิลป ชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น ชมรมดนตรีลูกทุงสุโขทัย ชมรมพุทธศาสตรและวัฒนธรรมไทย และชมรมศิลปะการแสดง รวมท้ังส้ิน 835 คน

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักศึกษาท่ีเปนสมาชิกกิจกรรมชมรม ซึ่งดําเนินกิจกรรมอยูในปการศึกษา 2554 ไดมาโดยการใชสูตรของยามาเน (Yamane. 1967: 886 - 887) มีคาระดับความเชื่อมั่น 95% (Alpha = .05) ไดจํานวนตัวอยางท้ังส้ิน 276 คน จากน้ันผูวิจัยไดใชวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใชประเภทชมรมเปนระดับชั้น (Strata) และมีนักศึกษาแตละคนเปนหนวยของการสุม (Sampling Unit)

ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ ไดแก

1.1 เพศ แบงเปน 1.1.1 ชาย 1.1.2 หญิง

1.2 ระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรม แบงเปน

1.2.1 ตํ่ากวา 3 ป 1.2.2 3-4 ป 1.2.3 มากกวา 4 ป ขึ้นไป

1.3 ชมรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีสังกัด แบงเปน

1.3.1 ชมรมดนตรีไทยและนาฏศิลป

1.3.2 ชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถ่ิน

1.3.3 ชมรมดนตรีลูกทุงสุโขทัย 1.3.4 ชมรมพุทธศาสตรและวัฒน

ธรรมไทย 1.3.5 ชมรมศิลปะการแสดง

2. ตัวแปรตาม ไดแก ทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง 3 ดาน คือ ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย และดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย

นิยามศัพทเฉพาะ

1. นักศึกษา หมายถึง ผูท่ีเปนสมาชิกชมรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีผานการเขารวมโครงงานต้ังแต 1 ปขึ้นไปใน 5 ชมรมไดแก ชมรมดนตรีไทยและนาฏศิลป ชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น ชมรมดนตรีลูกทุงสุโขทัย ชมรมพุทธศาสตรและวัฒนธรรมไทย และชมรมศิลปะการแสดง ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง

2. ทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม หมายถึง ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม ท่ีแตละชมรมไดจัดข้ึนในแตละปการศึกษา โดยไดรับการสนับสนุนโครงการจากมหาวิทยาลัยรามคําแหงใหจัดกิจกรรมท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยรามคําแหง ไดแก การจัดแสดงสาธิต จัดนิทรรศการหรือกิจกรรมทางดานนาฏศิลป การแสดง ดนตรี การละเลนพื้นเมือง และการจัดกิจกรรมอื่นๆ ตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และทองถิ่น เพื่อเปนการสืบทอดและเผยแพรศิลปวัฒนธรรมไทย โดยแบงออกเปน 3 ดาน ดังน้ี

2.1 ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย หมายถึง ความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ือง

Page 119: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 111

 

ความเขาใจศาสตรหรือพื้นฐานความรูเร่ืองศิลปวัฒนธรรมอยางถองแท จากบุคคล ไดแก ผูเชี่ยวชาญ ครูท่ีปรึกษาชมรม และรุนพี่หรือสมาชิกชมรม หรือจากแหลงสืบคนตางๆ ไดแก หองสมุด การจัดการแสดง การจัดนิทรรศการ พิพิธภัณฑ จนสามารถนําความรูท่ีไดรับฝกปฏิบัติใหเกิดความชํานาญ ซึ่งนักศึกษาโดยสวนรวมตองมีความรูความเขาใจดีพอ จึงจะเห็นคุณคาในการอนุรักษสงเสริมฟนฟู และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมท่ีเปนเอกลักษณประจําชาติไทย

2.2 ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย หมายถึง ความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองคุณคา ตระหนัก ความรูสึกหรือ ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม เก่ียวกับการเห็นคุณคา และตระหนักถึงความเชื่อหรือความยึดมั่นท่ีคนสวนใหญในสังคมไทยยอมรับ ไดแก การแตงกาย ภาษา วัฒนธรรมการกิน และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต อยางพอเพียง

2.3 ดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย หมายถึง ความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ือง การรักษาและเผยแพรจากการถายทอดความรู ท้ังทางทฤษฎีและปฏิบัติในรูปแบบตางๆ ใหเกิดประโยชนมากท่ีสุด ไดแก จัดการแสดงสาธิต จัดนิทรรศการหรือกิจกรรมทางดานนาฏศิลป การแสดง ดนตรี และการละเลนพื้นเมือง รวมถึงการเขารวมกิจกรรม และชักชวนผูอื่นใหเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

3. สมาชิกชมรมดานศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรามคําแหง หมายถึง นักศึกษาท่ีเปนสมาชิกชมรมศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรามคําแหงท้ังท่ีเปนคณะกรรมการ และสมาชิกชมรม เพื่อปฏิบัติกิจกรรมชมรมนอกหลักสูตรของนักศึกษา

4. ชมรมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม หมายถึง กลุมนักศึกษาท่ีทําหนาท่ีจัดกิจกรรมนอกหลักสูตรตามขอบังคับมหาวิทยาลัยรามคําแหง วาดวยกิจกรรมนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง เปนกิจกรรมท่ีเปดโอกาสใหนักศึกษาไดเขารวมกิจกรรมดวยความสมัครใจโดยไมมีคะแนนเขาไปเก่ียวของ มีวัตถุประสงคเพื่อการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน สรางความพึงพอใจ ความกระตือรือรนแกนักศึกษา สงเสริม คานิยมในตัวนักศึกษา ทางดานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และเอกลักษณอันดีงามของชาติ เปนชมรมท่ีเก่ียวของกับการจัดแสดงสาธิต จัดนิทรรศการหรือกิจกรรมทางดานนาฏศิลป การแสดง ดนตรี การละเลนพื้นเมือง การจัดกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยและทองถ่ิน ดังน้ี

4.1 ชมรมดนตรีไทยและนาฏศิลป 4.2 ชมรมวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น 4.3 ชมรมดนตรีลูกทุงสุโขทัย 4.4 ชมรมพุทธศาสตรและวัฒนธรรมไทย 4.5 ชมรมศิลปะการแสดง

สมมติฐานในการวิจัย

1. นักศึกษาชายและหญิง มีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรม ดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยรวมและในแตละดานแตกตางกัน

2. นักศึกษาท่ีมีระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรมตางกัน มีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยรวมและในแตละดานแตกตางกัน

3. นักศึกษาท่ีสังกัดชมรมดานศิลปวัฒนธรรมตางกัน มีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยรวมและในแตละดานแตกตางกัน

Page 120: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

112  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

วิธีดําเนินการวิจัย กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักศึกษา

ท่ีเปนสมาชิกกิจกรรมชมรม ซึ่งดําเนินกิจกรรมอยูในปการศึกษา 2554 ไดมาโดยการใชสูตรของยามาเน (Yamane 1967: 886-887) มีคาระดับความเช่ือมั่น 95% (Alpha = .05) ไดจํานวนตัวอยางท้ังส้ิน 276 คน

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ท่ีมีคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามท้ังฉบับเทากับ .95 การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลดังน้ี 1. ขอมูล ท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

วิเคราะหโดยใชการแจกแจงความถ่ี และหาคารอยละ 2. ตามความมุงหมายของการวิจัยขอท่ี 1 เพื่อ

ศึกษาทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเขารวมกิจกรรม ดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง 3 ดาน คือ ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย และดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย โดยหาคาเฉล่ีย (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

3. ตามความมุงหมายของการวิจัยขอท่ี 2 เพื่อเปรียบเทียบทัศนะของนักศึกษาที่มีตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยรวมและในแตละดาน จําแนกตาม เพศ โดยใชการทดสอบที (t - test) สวนตัวแปรระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรม และชมรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีสังกัด ใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way Analysis of Variance)

สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการ

เขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง 3 ดาน คือ ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย และดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย สรุปผลการวิจัยไดดังน้ี

1. นักศึกษามีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง วาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม ในแตละดานและโดยรวมในระดับมาก

2. นักศึกษาท้ังชายและหญิงมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมในแตละดานและโดยรวมไมแตกตางกัน

3. นักศึกษาท่ีมีระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรมตางกันมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหงดานการไดรับความรู ความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรม และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานอื่นๆ ไมพบความแตกตาง

4. นักศึกษาท่ีสังกัดชมรมตางกันมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในแตละดานและโดยรวมไมแตกตางกัน การอภิปรายผล

จากการศึกษาและเปรียบเทียบทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการเข าร วมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหงในแตละดานและโดยรวม อภิปรายผลการวิจัยไดดังน้ี

Page 121: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 113

 

1. จากผลการวิจัยพบวา นักศึกษาเห็นวาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหงในแตละดานและโดยรวมอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากมหาวิทยาลัยรามคําแหงมีการสงเสริมและสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมแกนักศึกษาโดยการกําหนดนโยบายและการวางแผนกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม เพื่อสงเสริม เผยแพร และรักษาไวซึ่งศิลปวัฒนธรรม ใหนักศึกษาเกิดความสนใจ มีสุนทรีภาพดานศิลปะแขนงตางๆ จากการเปดโอกาสใหนักศึกษาไดศึกษาหาความรูจนเกิดการพัฒนาคุณภาพของนักศึกษา 3 ดาน คือ ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย และดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย ดังท่ี สุชาดา กีระนันทน (2552: 143) กลาวไววา ความรูดานศิลปวัฒนธรรมเปนส่ิงสําคัญในการสรางคุณลักษณะของบัณฑิต การเขาใจเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมของตนเปนสวนสําคัญในการสรางความสุนทรียใหกับชีวิตโดยเฉพาะเมื่อสังคมเปล่ียนแปลงเร็ว มีความวุนวายสับสนจากวิถีชีวิตใหมๆ จึงตองสรางภูมิคุมกันใหกับนักศึกษาใหเขาใจเตรียมจิตใจใหหนักแนน และการรูจักท่ีจะผอนคลายดวยศิลปวัฒนธรรม ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ บุญยงค บุญฟก (2547: 54) ท่ีศึกษาความตองการในการจัดกิจกรรมนักศึกษาของนักศึกษาวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชลบุรี พบวานักศึกษามีความตองการในการจัดกิจกรรมนักศึกษาวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดชลบุรีโดยรวมและรายดานอยูในระดับมากทุกดาน ทํานองเดียวกับงานวิจัยของกรสรวง มณีมาลา (2552: บทคัดยอ) ท่ีศึกษาการมีสวนรวมในกิจกรรมชมรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง พบวา นักศึกษามีการเขารวมกิจกรรมชมรมของมหาวิทยาลัยโดยรวมในระดับมาก สอดคลองกับ พระอโนชา สิมพา. (2553: บทคัดยอ) ท่ีศึกษาทัศนะของนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรีท่ีมีตอสภาพแวดลอมของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย พบวา นักศึกษาเห็นดวยกับสภาพแวดลอมดานกิจกรรมนักศึกษาในระดับมาก

เมื่อพิจารณาเปนรายดานสามารถอภิปรายผลไดดังน้ี

1.1 ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย พบวา นักศึกษาเห็นวาเปนส่ิงท่ีได รับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทยอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากการจัดกิจกรรมตางๆ ของแตละชมรม นักศึกษาเปนผูวางแผนเสนอโครงการตางๆ เพื่อของบประมาณการดําเนินงาน ทําใหนักศึกษารูจักระบบในการวางแผนการดําเนินงาน ในสวนของการจัดกิจกรรมตางๆ น้ัน นักศึกษาไดรับความรูและเขาใจเก่ียวกับทักษะความรูของชมรมท่ีเปนสมาชิก ไดรับการถายทอดความรูในการปฏิบัติโดยผูเชี่ยวชาญ หรือวิทยากรภายนอกชมรม สงเสริมใหนักศึกษาเกิดประสบการณใหมๆ ในทางสรางสรรค ท้ังการสงเสริมใหนักศึกษาไดตระหนักถึงคุณคาของศิลปวัฒนธรรมไทยอีกดวย อาจกลาวไดวาการเขารวมกิจกรรมชมรมดานศิลปวัฒนธรรมจะชวยสงเสริมความรูและความสามารถของนักศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม ซึ่งสอดคลองกับทฤษฎีการมีสวนรวมของนักศึกษา (The Theory of Student Involvement) ของแอสติน (Astin 1995: Online) ท่ีกลาววาการมีสวนรวมของนักศึกษา คือการใชแรงกายและแรงใจเขาไปสัมพันธกับส่ิงตางๆ ซึ่งส่ิงเหลาน้ีทําใหเกิดประสบการณในการเปนนักศึกษา ในสวนของการพัฒนาดานการเรียนรู และบุคลิกภาพของนักศึกษา ท่ีเกิดจากการเขารวมโปรแกรมการศึกษา เปนสัดสวนโดยตรงกับปริมาณและคุณภาพของการมี

Page 122: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

114  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

สวนรวมของนักศึกษาในโปรแกรมการศึกษาน้ัน ทํานองเดียวกับสุมณฑา พรหมบุญ (2546:36) ท่ีกลาววา กิจกรรมในมหาวิทยาลัยตองมีการปรับเปล่ียนรูปแบบและวิธีการ สรางและพัฒนารูปแบบในการเรียนรูใหเหมาะสมกับยุคสมัย และสภาพการณท่ีเปล่ียนแปลงไป มีการพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสรางความเชื่อมโยงการดําเนินงานดานพัฒนานิสิตนักศึกษา รวมถึงการการออกแบบรูปแบบการพัฒนานิสิตนักศึกษาในสถาบัน โดยใชกรอบความคิดคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคเปนฐานในรูปแบบของกิจกรรมเสริมหลักสูตร ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ธัญญชนก เพ็งผา (2548: 68) ไดศึกษาสภาพและความคาดหวังตอการเขารวมกิจกรรมนันทนาการดานศิลปวัฒนธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง พบวา นักศึกษามีความคาดหวังในการเขารวมกิจกรรมนันทนาการดานศิลปวัฒนธรรมดานคุณประโยชนอยูในระดับมาก และพิษนุ อภิสมา จารโยธิน (2550: บทคัดยอ) ไดศึกษาเร่ือง ผลการดําเนินงานดานการพัฒนาจิต คุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษาแพทยศิริราช พบวา นักศึกษาแพทยท่ีผานการเขารวมโครงการมีความรูความเขาใจในดานคุณธรรมจริยธรรมในระดับมาก

1.2 ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย พบวา นักศึกษาเห็นวาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย อยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก มหาวิทยาลัยมีนโยบายในการทํานุบํารุงกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีชัดเจนเพื่อชวยสงเสริมใหนักศึกษาเห็นคุณคาและความสําคัญของคานิยมในสังคมไทย ในเร่ืองของการแตงกาย ภาษา มารยาทไทย ภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถิ่น และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ซึ่งส่ิงเหลาน้ีจะเปนการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาดานคุณธรรมจริยธรรมอันพึง

ประสงค ดังท่ีกอ สวัสด์ิพาณิชย (2530: 29) กลาววา หนาท่ีของการศึกษาคือการถายทอดวัฒนธรรมของสังคมไปสูเยาวชน เน้ือหาของหลักสูตรแทบท้ังหมดเปนเร่ืองของวัฒนธรรมหรือเปนการประมวลความรูท่ีสังคมตองการผนวกเขากับวัฒนธรรมเพ่ือทําใหเยาวชนเปนผูรอบรู มีความเจริญเติบโตและพัฒนาการหลายทางตามท่ีสังคมตองการ อีกท้ังเปนการสรางคานิยม และทําใหนักศึกษาซาบซึ้งในศิลปวัฒนธรรมของชาติดวย ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ชุมศักด์ิ อินทรรักษ และออมใจ วงษมณฑา (2549: 93) ไดศึกษาเร่ือง บทบาทสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีอิทธิพลตอการพัฒนาวัฒนธรรมและคานิยมของเยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต พบวา สถาบันอุดมศึกษามีการสงเสริมคานิยมของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต โดยรวมและเปนรายดานอยูในระดับมาก

1.3 ดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม พบวา นักศึกษาเห็นวาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเน่ืองมา จาก การอนุรักษศิลปวัฒนธรรมเปนภารกิจหลักท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหงไดตระหนักในเร่ืองความสําคัญของการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมมาโดยตลอด ดวยเชื่อมั่นวาวัฒนธรรมอันดีงามจะชวยปลูกฝงรากฐานอันดีงามของจิตใจ ชวยเสริมคุณคาใหบัณฑิตของมหาวิทยาลัยรามคําแหงเปนทรัพยากรบุคคลท่ีมีคุณภาพของชาติ

มหาวิทยาลัยไดสงเสริมสนับสนุนใหบุคลากร นักศึกษา และหนวยงานตางๆ ของมหาวิทยาลัยจัดกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมหลากหลายอยางมีประสิทธิภาพตลอดปการศึกษา รวมท้ังเรงปลูกฝงจิตสํานึกใหนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหรูจักคุณคา รูจักอนุรักษ ทํานุบํารุง และสืบทอดศิลปวัฒนธรรมไทย ซึ่งเปน

Page 123: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 115

 

เอกลักษณและมรดกท่ีลํ้าคาของชาติ มหาวิทยาลัยไดมีการจัดกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ท้ังในสวนกลาง สวนภูมิภาค และตางประเทศ นอกจากน้ี ยังใหความรวมมือกับหนวยงานภายนอกท้ังภาครัฐและเอกชน ในการจัดกิจกรรมตางๆ ท้ังในและตางประเทศ ทําใหนักศึกษาสนใจและมุงมั่นท่ีจะเขารวมกิจกรรมตางๆ ท่ีเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรม ดังท่ี วิจิตร สินสิริ (2534: 33) ไดกลาววา สถาบันอุดมศึกษาจึงตองมีการกําหนดพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาในดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีหนวยงานสถาบันวัฒนธรรมข้ึนเพื่อเปนศูนยกลางในการดําเนินพันธกิจดานน้ีใหบรรลุวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย เชนเดียวกับวัตถุประสงคของกิจกรรมนักศึกษาที่ตองสงเสริมการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมโดยมีการจัดกิจกรรมนักศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม สอดคลองกับงานวิจัยของ นิรัชญา หมอกรอง (2555: 62) ท่ีศึกษาแรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมโครงการโขนของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง พบวา นักศึกษามีแรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรม ดานการอนุรักษและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ในระดับมาก สอดคลองกับงานวิจัยของวรณัฐ ถ้ําทองถวิล (2552: บทคัดยอ) ท่ีศึกษาการมีสวนรวมของนักศึกษาตอการจัดกิจกรรมนักศึกษาของวิทยาลัยราชพฤกษ พบวา นักศึกษาสนใจและรวมกิจกรรมท่ีเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมมากท่ีสุด ทํานองเดียวกันกับงานวิจัยของชัยชนะ มิตรสัมพันธ (2551: บทคัดยอ ) ท่ี ศึกษาความตองการเขารวมกิจกรรมนันทนาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกลุมภาคกลาง พบวา นักศึกษามีความตองการการเขารวมกิจกรรมตางๆ ของทางมหาวิทยาลัยดานศิลปวัฒนธรรมมากท่ีสุด

2. นักศึกษาชายและหญิง มีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ในแตละดานและโดยรวมไมแตกตางกัน ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากการจัดกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีมหาวิทยาลัยจัดขึ้นไมมีการกําหนดวาเหมาะสมกับเพศใด โดยนักศึกษาท้ังเพศชายและเพศหญิงตางเห็นความสําคัญของการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม เพื่อสงเสริมคานิยมในตัวของนักศึกษาทางดานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และเอกลักษณอันดีงามของชาติ พัฒนาความรูความสามารถจากวัฒนธรรมของตนสามารถนําเอกลักษณความเปนไทยไปประกอบกับวิชาชีพได จึงทําใหนักศึกษาท้ังชายและหญิงมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมไมแตกตางกัน ดัง ท่ี สําเนาว ขจรศิลป (2538: 117) ไดกลาววา นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาโดยท่ัวไปอยูระหวางวัยรุนตอนปลายและผูใหญตอนตน นักศึกษาท้ังหญิงและชายตางมีพละกําลังและความคิด มีความสนใจและความตองการอยากรูอยากเห็น นักศึกษาสวนมากจึงมีความพรอมอยางเต็มท่ีท้ังทางดานการเรียนรู และการทํางานอยางเขมแข็งอดทนดวยอุดมการณและความบริสุทธิ์ใจ กิจกรรมนักศึกษาแตละประเภท สามารถตอบสนองความสนใจ และความตองการสวนตัวของนักศึกษา ซึ่งมีความแตกตางระหวางบุคคลไดเปนอยางดี การทํากิจกรรมใหนักศึกษาเกิดท้ังการเรียนรู ทักษะประสบการณอยางมากมาย ซึ่งทักษะและประสบการณหลายอยางไมสามารถเรียนไดในชั้นเรียน กจิกรรมนักศึกษาจึงเปนเค ร่ืองมือ ท่ี สําคัญในการสงเสริมพัฒนาการของนักศึกษา สอดคลองกับงานวิจัยของมาณิตา พรวราภา (2552: 64 - 65) ไดศึกษาเร่ือง การเขารวมกิจกรรมชมรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบวา นักศึกษาชายและหญิงเขารวมกิจกรรมชมรมตางๆ ไมแตกตางกัน

Page 124: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

116  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

3. นักศึกษาท่ีเปนสมาชิกกิจกรรมชมรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ท่ีมีระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรมตางกันมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหงดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรม และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก ระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรมเปนสวนหนึ่งท่ีทําใหนักศึกษาเกิดความผูกพัน และรูสึกวาตนเองเปนสวนหน่ึงของชมรม จากการทํากิจกรรมซ้ําๆ เปนระยะเวลานาน จนเกิดเปนประสบการณท่ีแตกตางกัน สวนในดานการได รับประสบการณจากการทํากิจกรรมของนักศึกษาน้ัน นักศึกษาท่ีมีประสบการณในการทํากิจกรรมมากกวา 3ป มีความคิดเห็นแตกตางจากนักศึกษาท่ีมีประสบการณในการทํากิจกรรมเพียง 1 ป เน่ืองจากนักศึกษาท่ีมีประสบการณในการทํากิจกรรมมากกวา 3 ป ไดสะสมประสบการณและพัฒนาความสามารถของตนอยางสม่ําเสมอจึงรูจักบริหารงานภายใตระเบียบและขอ บังคับ รูจักใชขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ มองเห็นจุดเดนและจุดดอยของตนเองภายหลังจากการการทํากิจกรรม ซึ่งสอดคลองกับ สุชาญ โกศิน (2539: 1) กลาววา กิจกรรมชวยพัฒนานักศึกษาใหรูจักการทํางานเปน ทีม มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค ฝกการแกปญหาและการตัดสินใจ เพราะหากจะเปนผูนํากลุมในอนาคต หัวหนาหรือผูบริหาร ความรูพื้นฐานในสวนน้ีถือวาจําเปนมาก สอดคลองกับงานวิจัยของธาริณี สุขจิตต (2544: 66) ไดศึกษาเร่ือง ความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีเปนกรรมการบริหารชมรมตอการไดรับประโยชนจากการเข าร วมกิ จกรรมนั กศึ กษาของมหาวิ ทยาลั ย เกษตรศาสตร พบวา นักศึกษาที่เปนกรรมการบริหารชมรมท่ีมีประสบการณในการดําเนินกิจกรรมนักศึกษาแตกตางกัน ตางก็มีความคิดเห็นตอการไดรับประโยชน

จากการเขารวมกิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ในแตละดานโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

สวนดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทยและดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทยไมพบความแตกตาง ซึ่งไมเปนไปตามสมสติฐานที่ไดกําหนดไว ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก การดําเนินกิจกรรมนักศึกษาดานศิลปวัฒนธรรม เปนกิจกรรมท่ีจัดโดยกองกิจการนักศึกษารวมกับชมรมดานศิลปวัฒนธรรม การจัดกิจกรรมจึงมีขอบขายและวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมแกนักศึกษา ดังน้ันรูปแบบโครงการตองเปนโครงการท่ีตรงกับวัตถุประสงคดังกลาวเพื่อสอดคลองกับนโยบาย และพันธกิจ(Mission) ของมหาวิทยาลัย จึงเปนเหตุใหนักศึกษาท่ีมีความแตกตางกันในเร่ืองของระยะเวลาในการเปนสมาชิกชมรมเขามาในชมรมดานศิลปวัฒนธรรมจะไดรับการสงเสริมคานิยมของสังคมไทยและดานการอนุ รักษ ศิลปวัฒนธรรมเหมือนกันอยู แล ว ดั ง ท่ีมหาวิทยาลัยรามคําแหง (2553: 1) กลาวไวในพันธกิจ (Mission) ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมวา การดําเนินกิจกรรมและพัฒนาองคกรดานศิลปวัฒนธรรม ปลูกฝงใหนักศึกษาและ บุคลากรตระหนักถึงคุณคาของวัฒนธรรมไทยและภูมิปญญาทองถ่ิน สงเสริมใหมีการผสมผสานกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมเขากับภารกิจดานอื่นๆ มุงอนุรักษศิลปวัฒนธรรมและเพิ่มบทบาทของสถาบันในขอบเขตท่ีกวางขวางย่ิงขึ้นอยางเปนรูปธรรม สอดคลองกับงานวิจัยของพระมหาสุวัฒน ปรือปรัง (2548: 70) ไดศึกษาเร่ือง ทัศนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยท่ีมีตอการจัดดําเนินงานกิจกรรมนักศึกษา พบวา ทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดดําเนินงานกิจกรรมนักศึกษา

Page 125: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 117

 

โดยรวมและเปนรายดาน จําแนกตามประสบการณการเขารวมกิจกรรมนักศึกษา ไมแตกตางกัน

4. นักศึกษาท่ีสังกัดชมรมตางกันมีทัศนะตอการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในแตละดานและโดยรวมไมแตกตางกัน ท้ังน้ีอาจเปนเพราะมหาวิทยาลัยรามคําแหงเปนสถาบัน การศึกษาท่ีใหความสําคัญกับศิลปวัฒนธรรมประจําชาติไมวาจะเปนในเร่ืองของการอนุรักษ ทะนุบํารุง สืบทอด เผยแพร หรือใหการบริการสังคมดวยงานศิลปะแขนงตางๆ ซึ่งเปนการปลูกฝงคานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี ทัศนคติตางๆ ท่ีเก่ียวของกับนาฏศิลปดนตรีใหแกนักศึกษา ดังท่ีมหาวิทยาลัยรามคําแหง (2556: 4) กลาวไวในแผนปฏิบัติราชการหาปของสถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ และวัตถุประสงคของสถาบันวา เพื่อการอนุรักษ สงเสริม สืบทอด และทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อเผยแพรสูสังคมไทยและใหเปนท่ียอมรับในภูมิภาคอาเซียน เสริมสรางคานิยม จิตสํานึก เพื่อความมั่นคงความเปนไทย บูรณาการศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน การบริการวิชาการ และการวิจัย เสริมสรางองคความรูใหม สรางสรรค นวัตกรรมภูมิปญญาไทย เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน จึงทําใหนักศึกษาท่ีเขารวมชมรมดานศิลปวัฒนธรรมใดก็ตาม ก็มีทัศนคติท่ีดีตอการเขารวมกิจกรรมไมแตกตางกัน สอดคลองกับงานวิจัยของเกษร มาลา (2550: 2) ไดศึกษาเร่ืองความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการใหบริการในงานกิจการนักศึกษาของสถาบันการบินพลเรือน พบวา นักศึกษาท่ีศึกษาในคณะท่ีแตกตางกัน มีทัศนะตอการรวมกิจกรรมนักศึกษาไมแตกตางกัน เชนเดียวกับ วรัญญา เทศนา (2547: 63) ไดศึกษาเร่ือง ความคิดเห็นของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปตอการรวมกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป ดนตรีของวิทยาลัยนาฏศิลป พบวา นักศึกษาท่ีศึกษาในสาขาวิชานาฏศิลปไทย

ดุริยางคไทย นาฏศิลปสากล และดุริยางคสากล มีความคิด เห็นวาการเขารวมกิจกรรมการแสดงนาฏศิลปดนตรีของวิทยาลัยนาฏศิลปโดยรวมและในแตละดานไมแตกตางกัน ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช การวิจัยเร่ือง ทัศนะของนักศึกษาท่ีมีตอการ

เขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังน้ี

1. ดานการได รับความรูความเขาใจเ ร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทย ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาเห็นวาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม ดานการไดรับความรูความเขาใจเร่ืองศิลปวัฒนธรรมไทยในระดับมาก ผูวิจัยมีขอเสนอแนะวา สถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ กองกิจการนักศึกษาและผูท่ีเก่ียวของควรใหความสําคัญในการพัฒนาการจัดดําเนินงานกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม โดยกระตุนและปลูกจิตสํานึกใหนักศึกษาสนใจในการเขารวมกิจกรรม สงเสริมและสนับสนุนใหนักศึกษาไดรับโอกาสในการเขารวมกิจกรรมการแสดงอยางท่ัวถึงทุกคน นอกจากน้ี เพื่อใหการจัดดําเนินงานกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ควรจัดกิจกรรมใหมีผูเชี่ยวชาญดานศิลปวัฒนธรรมใหความรู แลกเปล่ียนประสบการณแกนักศึกษาโดยตรง และมีอาจารยท่ีปรึกษาชมรมท่ีมีความรูความเขาใจดานศิลปวัฒนธรรมดูแลและใหคําปรึกษาแกนักศึกษา พิจารณางานการจัดรูปแบบกิจกรรมท่ีมีความสําคัญ ท้ังท่ีไดรับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย หนวยงานในภาครัฐและเอกชน หรือจากองคกรตางๆ ใหมีปริมาณงานท่ีเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน และศักยภาพของนักศึกษา พรอมท้ังสนับสนุนใหไดเผยแพรผลงานท้ังในและนอกประเทศดวย

Page 126: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

118  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

2. ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาเห็นวาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม ดานการสงเสริมคานิยมของสังคมไทย อยูในระดับมาก ผูวิจัยมีขอเสนอแนะวา จากสภาพสังคมไทยท่ีเปล่ียนไปในปจจุบัน มหาวิทยาลัยควรสงเสริมและปลูกจิตสํานึกใหนักศึกษาตระหนักถึงความสําคัญของคานิยมของสังคมไทย เชน การแตงกายใหถูกระเบียบ การใชภาษาไทยท่ีไพเราะและถูกตอง ปฏิบัติตนอยางไทย มีมารยาทและออนนอมถอมตนตอผูใหญ นิยมบริโภคขนมและอาหารไทย และใชชีวิตอยางพอเพียง เปนตน นอกจากการปฏิบัติตนดังกลาวแลวนักศึกษายังเปนแบบอยางท่ีดีใหแกบุคคลอื่นๆ อีกดวย โดยมหาวิทยาลัยควรจัดกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรมท้ังในและนอกหลักสูตร รณรงคใหนักศึกษาเห็นคุณคาของวัฒนธรรมไทย ไดแก การประชาสัมพันธ ปายนิทรรศการของมหาวิทยาลัย รณรงคใหคณะครูอาจารยประจํารายวิชาสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม คานิยมความเปนไทยระหวางการจัดการเรียนการสอน การสนับสนุนและสงเสริมกิจกรรมตางๆ ท่ี เ ก่ียวกับการเผยแพรกิจกรรมชมรมดานศิลปวัฒนธรรมโดยนักศึกษาชมรมดานศิลปวัฒนธรรม

3. ดานการอนุ รักษ ศิลปวัฒนธรรมไทย ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาเห็นวาเปนส่ิงท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม ดานการอนุ รักษ ศิลปวัฒนธรรมอยู ในระดับมาก ผู วิจัยมีขอเสนอแนะวา มหาวิทยาลัย สถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ กองกิจการนักศึกษา หรือหนวยงานท่ีเก่ียวของ ควรใหการสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมดาน

ศิลปวัฒนธรรม ไดแก งบประมาณ สถานท่ี บุคลากร อุปกรณ ส่ิงอํานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมฯลฯ แกนักศึกษาชมรมดานศิลปวัฒนธรรมใหเหมาะสมกับลักษณะการจัดกิจกรรม เพื่อการจัดแสดงสาธิต จัดนิทรรศการหรือกิจกรรมทางดานนาฏศิลป การแสดง ดนตรี การละเลนพื้นเมือง การจัดกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยและทองถิ่นในการอนุรักษและเผยแพรศิลปวัฒนธรรรม มีการประชาสัมพันธใหทราบอยางท่ัวถึงท้ังในและนอกมหาวิทยาลัย เชื่อมโยงกับชุมชน หนวยงานรัฐและเอกชนตางๆ ใหสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมการเผยแพรศิลปวัฒนธรรมท้ังในและนอกประเทศ ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป

1. ควรมี กา ร ศึกษาความ พึ งพอใจห รือแรงจูงใจของนักศึกษาในการรวมกิจกรรมตางๆ ในมหาวิทยาลัยรามคําแหงท่ัวประเทศ เพื่อประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบของกิจกรรมตางๆ ท่ีตรงตามความตองการของนักศึกษา

2. ควรมีการศึกษาเ ร่ืองการสงเสริมหรือสนับสนุนกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม เพื่อประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การวางแผนและนโยบายท่ีตรงตามความตองการของนักศึกษา

3. คว รมี ก า ร วิ จั ย อ งค ค ว าม รู ท า งด า นศิลปวัฒนธรรม ท่ีมาชวยในการสนับสนุนกิจกรรมของชมรม และควรหาปจจัยดานตางๆ เพื่อการอนุรักษและสืบสาน อนุรักษศิลปวัฒนธรรมท่ียั่งยืนตอไป

Page 127: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 119

 

บรรณานุกรม เกษร มาลา. (2550). ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการใหบริการในงานกิจการนักศึกษาของสถาบันการ

บินพลเรือน. วิทยานิพนธครุศาสตรบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร. กรุงเทพฯ.

กรกช จดแตง. (2552, 17 กุมภาพันธ). สัมภาษณโดย นวรัตน โฉมงาม ที่อาคารกิจกรรมนักศึกษา. มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

กอ สวัสด์ิพาณิชย. (2530). แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาวัฒนธรรม. พมิพคร้ังท่ี3. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. กรสรวง มณีมาลา. (2552). การมีสวนรวมในกิจกรรมชมรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง.

วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย). มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรุงเทพฯ. จรัส สุวรรณเวลา. (2545). อดุมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจฬุาลงกรมหาวิทยาลัย. ------------. (2551). ความเปนอิสระของมหาวิทยาลัยไทย. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ จฬุาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. ชัยชนะ มิตรสัมพันธ. (2551). การศึกษาความตองการเขารวมกิจกรรมนันทนาการของนักศึกษามหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลกลุมภาคกลาง. งานวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. ชุมศักด์ิ อินทรรักษ; และออมใจ วงษมณฑา. (2549). บทบาทสถาบนัอุดมศึกษาท่ีมีอิทธิพลตอการพัฒนา

วัฒนธรรมและคานิยมของเยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต. วิจัย: ศูนยสงเสริมและพัฒนาพลัง แผนดินเชิงคุณธรรม สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู. กรุงเทพฯ.

ธัญญชนก เพ็งผา. (2548). สภาพและความคาดหวังตอการเขารวมกิจกรรมนันทนาการดานศลิปวัฒนธรรม

ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง. ปริญญานิพนธ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธาริณี สุขจิตต. (2544). ความคิดเหน็ของนักศึกษาท่ีเปนกรรมการบริหารชมรมตอการไดรับประโยชนจาก

การเขารวมกิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิติวุฒิ ทองคํา. (2552, 17 กุมภาพันธ). สัมภาษณโดย นวรัตน โฉมงาม ที่สถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิม

พระเกียรติ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. นิรัชญา หมอกรอง. (2555). แรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมโครงการโขนของนักศึกษามหาวิทยาลัย

รามคําแหง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ. บุญยงค บญุฟก. (2547). การศึกษาความตองการในการจัดกิจกรรมนักศึกษาของนักศึกษาวิทยาลัยพลศึกษา

จังหวัดชลบุร.ี วิทยานิพนธ กศ.ม.(การบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี. ปทมาภรณ ภมุรารสสุคนธ. (2554, 8 สิงหาคม). สัมภาษณโดย นวรัตน โฉมงาม ที่สถาบันศิลปวัฒนธรรม

เฉลิมพระเกียรต.ิ มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

Page 128: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

120  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

พิษนุ อภิสมาจารโยธิน. (2550). การศึกษาผลการดําเนนิงานดานการพัฒนาจติ คณุธรรมและจริยธรรมของ

นักศึกษาแพทยศิริราช. งานกิจการนักศึกษา คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

พระมหาสุวัฒน ปรือปรัง. (2548). ทัศนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่มีตอการ

จัดดาํเนินงานกิจกรรมนักศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พระอโนชา สิมพา. (2553). ทัศนะของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มตีอสภาพแวดลอมของมหาวิทยาลัย

มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชริาลงกรณราชวิทยาลัย. ปริญญานิพนธ กศ.ม.(การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เฟรดเดอรริค. (2525). นิสิตนกัศึกษา: หลักการแนวปฏิบตัิและปญหา. แปลโดย. พรชุลี อาชวอาํรุง. กรุงเทพฯ: ภาควิชาอุดมศึกษา จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. มนัส นิลสวัสด์ิ. (2547). แรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมนิสิตของนิสติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. (2547). ระเบียบงบประมาณประจําป 2547. กรุงเทพฯ: ฝายองคการนักศึกษา. ------------. (2551). ระเบียบงบประมาณประจําป 2551. กรุงเทพฯ: ฝายองคการนักศึกษา. ------------. (2553). รายงานการประเมินแผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553. มหาวิทยาลัย

รามคําแหง, กองกิจการนักศึกษา. ------------. (2553). (39th แอนนิเวอรสารี่ รามคําแหง ยูนิเวอรซิตี)้ Anniversary Ramkhamhaeng University.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ------------. (2556). แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง,

สถาบันศิลปวฒันธรรมเฉลิมพระเกียรติ. มาณิตา พรวราภา. (2552). การเขารวมกิจกรรมชมรมของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ

วท.ม. (การจัดการนันทนาการ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วรณัฐ ถ้ําทองถวิล. (2552). การมีสวนรวมของนักศึกษาตอการจัดกิจกรรมนักศึกษาของวิทยาลัยราชพฤกษ.

งานวิจัย. กรุงเทพฯ. วรัญญา อุนวงศ. (2552, 17 กุมภาพันธ). สัมภาษณโดย นวรัตน โฉมงาม ที่อาคารกิจกรรมนักศึกษา.

มหาวิทยาลัยรามคําแหง. วรัญญา เทศนา. (2547). ความคิดเห็นของนักศึกษาตอการเขารวมกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป ดนตรีของ

วิทยาลัยนาฏศิลป. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิจิตร สินสิริ. (2534). การอดุมศึกษาเชิงรกุ. กรุงเทพฯ: เม็ดทรายพร้ินต้ิง การอุดมศึกษา.

มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ

Page 129: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 121

 

วิโรจน ถิรคุณ. (2543). เรียนมหาวิทยาลัยอยางไรใหสําเร็จและมีความสุข. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: อูพิมพเดือนเพ็ญ.

สุชาดา กีระนันทน. (2552). บนเสนทางสายบริหารจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจฬุาลงกรมหาวิทยาลัย.

สุชาญ โกศิน. (2539). เอกสารประกอบการบรรยายการสัมมนาทางวิชาการเรื่องวิกฤตอุดมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: มปพ.

สุพรรณี อินทรบุญสม. (2551). แรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรมนักศึกษาของนักศึกษามหาวิทยาลัย

รามคําแหง. ทุนอุดหนุนการวิจัยมหาวิทยาลัยรามคําแหง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ------------. (2552, 16 กุมภาพนัธ). สัมภาษณโดย นวรัตน โฉมงาม ที่มหาวิทยาลัยรามคําแหง. สุมณฑา พรหมบุญ. (2546). ทฤษฎีการเรียนรูแบบมีสวนรวม. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาแหงชาติ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2545). แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2545-2559. พิมพคร้ังท่ี 2.

กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟค สํานักนายกรัฐมนตรี. สํานักงานคณะกรรมการการอดุมศึกษา. (2551). แผนพัฒนาการศึกษาระดับอดุมศึกษาฉบับที่ 10

(พ.ศ. 2551-2554). กรุงเทพฯ: สํานักงานฯ. สํานักงานปฏิรูปการศึกษา องคการมหาชนเฉพาะกิจ. (2544). ปญหาการปฏิรูปการศึกษาคูณ 2. พมิพคร้ังท่ี 2.

กรุงเทพฯ: พิมพดี. สํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (2546). สามทศวรรษทบวงมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบาย

และแผนอุดมศึกษา. สําเนาว ขจรศลิป. (2538). มติิใหมของกิจการนักศึกษา 2 การพัฒนานักศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Astin, H.S. (1996). Guidebook for a Social Change Model of Student Leadership Development.

Los Angeles: Higher Education Research Institute. Yamane, Taro. (1967). Statistics; An Introduction Analysis. New York: Harper & Row.

Page 130: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

122  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษระดับปฐมวัย ในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

THE DEVELOPEMNT OF A CHILD FIND MODEL FOR PRESCHOOL CHILDREN WITH SPECIAL NEEDS FOR SCHOOL UNDER

THE MINISTRY OF EDUCATION ผูวิจัย ปาจรียพร สีตะธนี1 Pajareeporn Sitatanee กรรมการควบคุม ร.ศ.ดร. สุวิมล อุดมพิริยะศักย2

ผ.ศ.ดร. เรณุมาศ กุละศิริมา3 Advisor Committee Assoc.Prof.Dr. Suwimon Udompiriyasak Asst.Prof.Dr. Remumas Gulasirima บทคัดยอ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยใชการวิจัยแบบผสมผสาน ดวยการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณจากกลุมตัวอยางท่ีเปนผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย และผูปกครองในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จํานวน 345 โรง ท่ีไดจากการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน สําหรับการวิจัยเชิงคุณภาพใชการสัมภาษณเชิงลึกจากผูใหขอมูลสําคัญท่ีมีสวนเกี่ยวของ จํานวน 6 คน และการสนทนากลุมเพื่อพิจารณาความเหมาะสมของรูปแบบ ผลการวิจัยพบวา รูปแบบการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการท่ีเหมาะสม ประกอบดวยองคประกอบหลัก 2 สวน คือ กระบวนการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษท่ีดําเนินการโดยใชหลักการบริหารจัดการแบบ POLC และกระบวนการปฏิบัติ การเพื่อการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ ซึ่งใชวงจรเดมมิ่งในการบริหารงานประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังน้ี 1) การใหความ

รูแกครูประจําชั้นและผูปกครองทุกคนเกี่ยวกับพัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวัยและพัฒนาการท่ีมีความบกพรองหรือลาชา 2) การรับผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจากการสงตอ 3) การสํารวจคนหาผูเรียนท่ีผานการรับรองความพิการ 4) การคัดกรองผูเรียนท้ังโรงเรียน 5) การติดตามพัฒนาการของผูเรียนท่ีเรียนในชั้นเรียนปกติ 6) การประเมินระดับพัฒนาการ และ 7) การพิจารณาระดับและความบกพรองลาชาของพัฒนาการในผูเรียนโดยทีมสหวิชาชีพ

คําสําคัญ : การคนหา การศึกษาพิเศษ เด็กปฐมวัยท่ีมีความตองการพิเศษ ABSTRACT

This mixed research methodology was conducted to develop a child find model. The quantitative data were gathered from school administrators, early childhood teachers and parents in 345 schools under the Ministry of

1นักศึกษาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2การศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 3บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

Page 131: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 123

 

Education, using multi-stage sampling design. For qualitative research adopted in-depth interview of 6 key informants of all stakeholders and focus groups to determine the suitability of the model. The finding model revealed that “The child find procedure for schools under the Ministry of Education” consists of 2 parts: A systematic administration and management child find process for school administrators using POLC and Child Find operating process using 7 steps in the Deming’s cycle for the child find procedure for identifying children with special needs as follow: 1) Educating teachers and parents on age appropriate and non-age appropriate child development 2) In-taking of special needs students through referral 3) Surveying for students who have certified disabilities 4) School-wide screening 5) Monitoring children’s development in regular classrooms 6) Assessing children’s developmental and 7) Determining development levels and impairment/disability levels by a multidisciplinary team. Keywords : Child Find Special Education Young Children With Disabilities บทนํา

ประเทศไทยไดพัฒนานโยบายและแผนตางๆ ท่ีกําหนดใหมียุทธศาสตรในการคนหาและระบุความบกพรองของเด็กปฐมวัยท่ีมีความตองการพิเศษต้ังแตระยะแรก ดวยการกําหนดใหเด็กปฐมวัยตองไดรับการตรวจรางกายและประเมินพัฒนาการเพื่อคนหาและเฝาระวังความบกพรองลาชาแตพบวา ยังขาดการบูรณา

การการดําเนินงานรวมกันระหวางผูเก่ียวของ ตลอดจนการดําเนินงานยังขาดความตอเน่ืองและเปนระบบ ดังน้ันโรงเรียนท่ีจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยจึงอาจสามารถพบผูเรียนท่ีมีโครงสรางและ/หรือหนาท่ีของรางกาย จิตใจ หรือพฤติกรรมแตกตางไปจากปกติจนมีขอจํากัดใน การพัฒนาความสามารถหรือไดรับประโยชนจากการเรียนการสอนตามปกติ อันสงผลใหมีความตองการในการรับบริการชวยเหลือพิเศษทางการศึกษาท่ีเหมาะสมกับความตองการจําเปนของแตละบุคคลเพื่อใหสามารถเรียนรูไดอยางเหมาะสมเทาเทียมกับผูอื่นโดยเร็วท่ีสุดเทาท่ีจะเปนไปได เน่ืองจากพัฒนาการในลําดับตนของชีวิตมนุษยเปนพื้นฐานสําหรับพัฒนา การลําดับข้ันตอไป ดังน้ันอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนจนทําใหผูเรียนไมสามารถเรียนรูหรือมีสวนรวมในสังคมไดเต็มตามศักยภาพต้ังแตปฐมวัยยอมส งผลตอการมีพัฒนาการท่ีเหมาะสมในชวงตอไป

เมื่อพิจารณาถึงความสําคัญในการใหความชวยเหลือโดยเร็วตามหลักของการจัดการศึกษาพิเศษของประเทศสหรัฐอเมริกาแลวจะพบวากฎหมาย Individuals with Disability Education Act: IDEA ซึ่งเปนกฎหมายท่ีกําหนดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษโดยใหความ สําคัญตอการคนหาผูท่ีมีความตองการพิเศษใหพบโดยเร็ว โดยกําหนดใหการคนหา (Child Find) เปนองคประกอบหน่ึงของกฎหมาย ดวยการกําหนดใหเปนหนาท่ีของรัฐบาลโดยใหแตละมลรัฐมีนโยบายและการดําเนินการเพื่อใหมีการคนหาผูเรียนท่ีมีความบกพรองลาชาของพัฒนาการหรือพฤติกรรมในรัฐของตน และกําหนดใหผูท่ีเก่ียวของกับผูเรียนสามารถสงตอผูเรียนท่ีมีขอสงสัยวาอาจมีความบกพรองเบี่ยงเบนหรือลาชาของพัฒนาการหรือพฤติกรรมเขารับการประเมินเพิ่มเติมกอนรับบริการทางการศึกษาพิเศษ โดยกระบวนการให

Page 132: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

124  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การคนหาท่ีปรากฏในกฎหมาย IDEA ประกอบดวย การสรางความตระหนักสาธารณะเกี่ยวกับลักษณะของผูมีความบกพรองลาชา การรับและการสงตอผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ การคัดกรอง การประเมินระดับพัฒนาการ และการพิจารณาความบกพรองลาชาโดยทีมสหวิชาชีพ ซึ่งผูวิจัยนําแนวคิดดังกลาวมาปรับใชรวมกับแนวคิดในการเฝาระวังพัฒนาการเด็กปฐมวัย (Developmental Surveillance) ท่ีใชการสังเกตและติดตามขอมูลจากพัฒนาการของผูเรียนจากผูเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัยซึ่งดําเนินการอยางตอเน่ืองแทนการตัดสินความบกพรองลาชาจากผลการทดสอบเพียง คร้ังเดียว (นิชรา เรืองดารกานนท, 2554, หนา 44) เพื่อ พัฒนาแนวคิดในการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิ เศษอยางเปนระบบในโรงเ รียน เ น่ืองจากการดําเนินการท่ีเปนระบบจะชวยใหผู ท่ีมีพัฒนาการท่ีบกพรองลาชาได รับความชวยเหลือท่ีเหมาะสมไดทันเวลาและสามารถปองกันปญหาท่ีอาจเกิดข้ึน (UNICEF & WHO, 2012, p. 22) รวมท้ังการสังเกตและตรวจหาความบกพรองต้ังแตระยะแรกซึ่งเปนสวนหน่ึงของการศึกษาปฐมวัย (UNICEF, 2012, Online) วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันการปฏิบั ติในกระบวนการคนหาผูเรียนระดับปฐมวัย กลุมอายุ 3-5 ป ท่ีมีความตองการพิเศษของโรงเรียนสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการ

2. เพื่อพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนระดับปฐมวัย กลุมอายุ 3-5 ป ท่ีมีความตองการพิเศษของโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยน้ีใชวิธีวิจัยแบบผสมผสานระหวางการวิจัยเชิงปริมาณท่ีใชการวิจัยเชิงสํารวจและการวิจัย

เชิงคุณภาพท่ีใชการสัมภาษณเชิงลึกและการสนทนากลุม

ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรท่ีใชในการวิจัยเปนผูท่ีมีสวนเก่ียวของ

ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย ผูปกครอง ผูทรงคุณวุฒิดานการแพทยในการตรวจประเมินและรับรองความพิการ ผูทรงคุณวุฒิทางดานสิทธิและกฎหมายสําหรับผูพิการ ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนท่ีให บริการทางการศึกษาพิเศษ ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาพิเศษระดับปฐมวัย และนักวิชาการทางการศึกษาพิเศษท่ีปฏิบัติงานกับผูเรียนปฐมวัย โดยสุมจากประชากรท่ีกําหนดดวยการแบงตัวอยางออกเปน 3 กลุม ตามวิธีการวิจัย ดังน้ี

1. กลุมท่ีใชในการวิจัยเชิงสํารวจ ท่ีคํานวณโดยใชสูตรของยามาเน (Yamane, 1973, p.125) ท่ีระดับความเชื่อมั่น 95% ในโรงเรียนท่ีจัดการศึกษาสําหรับผูเรียนกลุมอายุ 3–5 ป ในปการศึกษา 2555 ไดจํานวนโรงเรียนท่ีเปนกลมตัวอยาง จํานวน 345 โรง ซึ่งใชวิธีสุมแบบหลายข้ันตอน และเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจงจากโรงเรียนท่ีเปนกลุมตัวอยางไดผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย และผูปกครอง กลุมละ 1 คน

2. กลุมท่ีใชในการสัมภาษณเชิงลึก ใชการเลือกแบบเจาะจงเปนผูทรงคุณวุฒิดานการแพทยในการตรวจประเมินและรับรองความพิการ ผูทรงคุณวุฒิทางดานสิทธิและกฎหมายสําหรับผูพิการ ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิจากสํานักงานบริหาร การศึกษาพิเศษ ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาพิเศษระดับปฐมวัย และนักวิชาการทางการศึกษาพิเศษท่ีปฏิบัติงานกับผูเรียนปฐมวัย จํานวน 6 คน

3. กลุมท่ีใชในการสนทนากลุมเพื่อตรวจสอบรูปแบบใชการเลือกแบบเจาะจง เปนผูทรงคุณวุฒิทางการศึกษาพิเศษ ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย

Page 133: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 125

 

ผูทรงคุณวุฒิดานการแพทย ผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่ใหบริการทางการศึกษาพิเศษ นักวิชาการทางการศึกษาพิเศษท่ีปฏิบัติงานกับผูเรียนปฐมวัย และผูปกครอง จํานวน 10 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ผูวิจัยสรางเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก 1) แบบสอบถาม (มีคาระดับความเชื่อมั่นฉบับผูบริหารโรงเรียน ฉบับครูปฐมวัย และฉบับผูปกครอง เทากับ 0.963 0.922 และ 0.943 ตามลําดับ) 2) แบบสัมภาษณเชิงลึกแบบมีโครงสราง และ 3) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ

การเก็บรวบรวมขอมูล

1. การวิจัยเชิงสํารวจ ผูวิจัยติดตอขอความรวมมือโดยจัดสงแบบสอบถามไปใหกลุมตัวอยางและขอรับแบบสอบถามคืนโดยวิธีการสงแบบสอบถามทางไปรษณียตอบรับ

2. การสัมภาษณเชิงลึก ผูวิจัยมีสัมภาษณตามประเด็นท่ีเก่ียวของกับเร่ืองท่ีผูวิจัยกําลังศึกษา โดยบันทึกเสียงขณะสัมภาษณ จดบันทึก สรุปประเด็นตางๆ

3. การสนทนากลุมเพื่อตรวจสอบรูปแบบ ผูวิจัยสงเอกสารรูปแบบฉบับรางพรอมท้ังเอกสารประเมินใหผูเขารวมการสทนากลุมกอนวันสนทนากลุมและขอเก็บรวบรวมเอกสารการประเมินในวันสนทนา

กลุมเพื่อนํามาใชรวมกับขอมูลท่ีไดจากการบันทึกเสียงและขอมูลท่ีไดจากการจดบันทึก การวิเคราะหขอมูล

1. ขอมูลเชิงปริมาณ ใชสถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามสวนท่ีเปนแบบเลือกตอบใชการแจกแจงความถ่ี หาคารอยละ คาเฉล่ีย และหาคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. ขอมูลเชิงคุณภาพ ใชวิธีการวิเคราะหเน้ือหา และสรุปเน้ือหา

3. สังเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพื่อพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล

1. สภาพปจจุบันการปฏิบัติในกระบวนการคนหาผูเรียนระดับปฐมวัย กลุมอายุ 3-5 ป ท่ีมีความตองการพิเศษของโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

1.1 ในภาพรวมทุกกลุมมีความคิดเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติในกระบวนการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยตรงกันใน 4 อันดับแรก เรียงตามลําดับดังน้ี ดานการใหความชวยเหลือกอนพิจารณาสงตอเขารับบริการทางการศึกษาพิเศษ ดานการสรางความตระหนักแกผูเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัย ดานการติดตามพัฒนาการผูเรียนปฐมวัย และดานการรับผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจากการสงตอ ราย ละเอียดปรากฏดังตารางท่ี 1

Page 134: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

126  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ตารางที่ 1 จํานวนรอยละของโรงเรียนท่ีมีการปฏิบัติในกระบวนการปฏิบัติการเพื่อคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยของโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการตามความคิดเห็นของผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย และผูปกครอง

รายการ ผูบริหารโรงเรียน (%)

ครูปฐมวัย (%)

ผูปกครอง (%)

ดานการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหา 4.96 6.43 12.72 ดานการรับผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษจากการสงตอ 21.51 20.71 22.26

ดานการสํารวจคนหาผูเรียนท่ีผานการรับรองความพิการ 15.07 14.29 21.03 ดานการติดตามพัฒนาการผูเรียนปฐมวัย 39.90 38.57 27.92

ดานการสรางความตระหนักใหแกผูเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัย

46.57 41.42 51.42

ดานการคัดกรองและประเมินพัฒนาการ 10.29 20.36 2.42 ดานการใหความชวยเหลือกอนพิจารณาสงตอเขารับบริการทางการศึกษาพิเศษ

78.07 69.54 80.97

สวนกลุมผูใหขอมูลสําคัญมีความคิดเห็นวา

โรงเรียนยังปฏิบัติในระดับคอนขางนอยและขาดความเหมาะสม โดยทุกคนมีความคิดเห็นสอดคลองกันวาควรมีการปฏิบัติในกระบวนการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัย เน่ืองจากชวยใหผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษไดรับ ความชวยเหลือตามความตองการจําเปนโดยเร็ว

1.2 ปจจัยท่ีมีผลตอการคนหา /คนพบผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา ทุกกลุมมีความคิดเห็นในภาพรวมตอปจจัยในระดับมากท่ีสุด โดยกลุมครูปฐมวัยและกลุมผูปกครองมีความคิดเห็นในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ อันดับแรกเปน ดานความรวมมือของผูเก่ียวของในการให การเก็บรวบรวม และการใชขอมูล

เพื่อการพิจารณา ระดับพัฒนาการและความบกพรองลาชา อันดับรองลงมาเปนดานบทบาทหนาท่ีของผูเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัย อันดับท่ีสามเปนดานนโยบายและการดําเนินงานภาครัฐ สวนกลุมผูบริหารโรงเ รียนมีความเห็นในดานบทบาทหนา ท่ีของผู เก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัยเปนอันดับแรก อันดับรองลง มาเปนดานความรวมมือของผูเก่ียวของในการให การเก็บรวบรวม และการใชขอมูลในการพิจารณาระดับพัฒนาการและความบกพรองลาชา สวนอันดับท่ีสามเปนดานนโยบายและการดําเนินงานภาครัฐ โดยกลุมผูบริหารโรงเรียนและกลุมครูปฐมวัยมีความคิดเห็นเก่ียวกับดานการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหาเปนอันดับท่ีส่ี ดังตารางท่ี 2

Page 135: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 127

 

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามในแตละกลุมท่ีมีตอปจจัยท่ีมีผลตอการคนหา/คนพบผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

รายการ ผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย ผูปกครอง

Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D. ดานนโยบายและการดําเนินงานภาครัฐ 4.45 0.47 4.35 0.44 4.37 0.46 ดานบทบาทหนาท่ีของผูเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัย 4.57 0.45 4.43 0.43 4.50 0.44 ดานการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหา 4.31 0.55 4.24 0.55 - - ดานความรวมมือของผูเก่ียวของในการให การเก็บรวบรวม และการใชขอมูลในการพิจารณาระดับพัฒนาการและความบกพรองลาชา

4.53 0.48 4.47 0.45 4.50 0.44

รวม 4.45 0.43 4.36 0.40 4.44 0.40

สวนกลุมผูใหขอมูลสําคัญใหความสําคัญตอการปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีของผูปกครอง แพทย/บุคลากรทางการแพทย และโรงเรียนในฐานะเปนผูท่ีมีสวนเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัยในการอบรมเล้ียงดูและสงเสริมพัฒนาการผูเรียนใหเหมาะสม โดยมีการติดตามพัฒนาการของผูเรียน ใหความรวมมือในการคนหา และสนับสนุนใหผูเรียนไดรับการชวยเหลือตามความตองการจําเปนเมื่อพบวามีความบกพรองลาชา โดยภาครัฐมีบทบาทในการกําหนดนโยบายและดําเนินการอยางเปนระบบสอดคลองกับบริบทของแตละโรงเรียน

2. กระบวนการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบดวย 2 สวน ดังน้ี

2.1 กระบวนการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ ประกอบดวย 1) การวางแผน (Planning) เปนการเตรียมการในการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมโดยใหความชวยเหลือผูเรียนท่ีมีความสามารถแตกตางจากเพ่ือนกอนพิจารณาสงเขารับบริการทางการศึกษาพิเศษ และการพัฒนาความรวมมือระหวางผูเชี่ยวชาญภายนอก ผูปกครอง และโรงเรียน

2) การจัดองคการ (Organizing) เปนการวางระบบการบริหารเพื่อดําเนินงานของงานคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ 3) การนํา (Leading) เปนบทบาทหนาท่ีของฝายบริหารโรงเรียนในการสนับสนุนใหทุกฝายมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมกับผู เ รียนปฐมวัยโดยมีการใหความชวยเหลือกอนพิจารณาสงตอเขารับบริการทางการศึกษาพิเศษ การปฏิบัติในกระบวนการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัย และการจัดการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับผูเรียนปฐมวัยท่ีมีความตองการพิเศษ และ 4) การควบคุม (Controlling) เปนกระบวนการติดตาม และประเมินการบริหารจัดการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ

2.2 กระบวนการปฏิบัติการเพื่อการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ เปนกิจกรรมท่ีสงผลตอการคนหา/คนพบผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษท่ีใชวงจรเดมมิ่งในการบริหารงาน ประกอบดวย 7 ขั้นตอน 1) การใหความรูแกครูประจําชั้นและผูปกครองทุกคนเก่ียวกับพัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวัยและพัฒนาการท่ีบกพรองลาชา 2) การรับผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ

Page 136: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

128  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

จากการสงตอจากภายนอกและภายในโรงเรียน 3) การสํารวจคนหาผูเรียนท่ีผานการรับรองความพิการดวยการสํารวจรายชื่อ ประเภทความพิการ และวิธีรับรองความพิการ 4) การคัดกรองผูเรียนท้ังโรงเรียนเปนระยะโดยใชแบบคัดกรองมาตรฐาน 5) การติดตามเฝาระวังพัฒนาการและเรียนในชั้นเรียนปกติดวยการนําขอมูลมาวิเคราะห เพื่อพิจารณาผูท่ีควรไดรับการเฝาระวังติดตามอยางใกลชิด โดยทีมสหวิชาชีพเขาสังเกตพัฒนาการหรือพฤติกรรมของโรงเรียนในชั้นเรียนปกติและใหคําแนะนําในการแกปญหาเบื้องตนแกโรงเรียนและผูปกครอง 6) การประเมินระดับพัฒนาการสําหรับผูเรียนท่ีมีขอสงสัยวาอาจมีพัฒนาการบกพรองลาชา และ 7) การพิจารณาระดับพัฒนาการและความบกพรองลาชาโดยทีมสหวิชาชีพโดยนําขอมูลจากครอบครัว ขอมูลจากโรงเรียน และขอมูลทางการแพทยมาใชในการพิจารณาระดับพัฒนาการและความบกพรองลาชาของผูเรียน อภิปรายผล

1. ประเทศไทยมีนโยบายและแผนในการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษต้ังแตระดับปฐมวัยท่ีเปนรูปธรรมอยางชัดเจน แตขาดการบริหารจัดการอยางเปนระบบในการนําแผนไปสูการปฎิบัติ ซึ่งมีสาเหตุจากภาครัฐยังไมพัฒนาระบบและกลไลสนับสนุนเชนเดียว กับประเทศสหรัฐอเมริกาท่ีมีการกําหนดเปนกฎหมาย สนับสนุนงบประมาณ และจัดต้ังหนวยงานคนหารับ ผิดชอบอยางจริงจังในการปฏิบัติงาน

2. ผูวิจัยกําหนดเง่ือนไขความสําเร็จของรูปแบบการคนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยของโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดแก

2.1 ผูบริหารโรงเรียนมีความตระหนักและใหการสนับสนุนการมีสวนรวมของผูเก่ียวของในการ

คนหาผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษ เน่ืองจากผูบริหารเปนผูมีบทบาทหนาท่ีบริหารงานเพื่อ การทํางานรวมกันของบุคลากรและทรัพยากรเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายขององคการในการวางแผน การจัดองคการ การนํา และการควบคุม (Weihrich & Koontz, 1993, pp. 9-13; Robbins & Coulter, 2003, p. 2; Dessler, 2004, p. 3; and Bateman & Snell, 2007, p. 16)

2.2 ทุกโรงเรียนสรางความตระหนักเก่ียวกับพัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวัยและพัฒนาการท่ีบกพรองลาชาตลอดจนความจําเปนรวมถึงประโยชนท่ีผูเรียนกลุมดังกลาวจะไดรับจากการศึกษาพิเศษตามแนวคิดเก่ียวกับบทบาทหนาท่ีของโรงเรียนในการใหความรูแกผูปกครองเกี่ยวกับพัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวัย (กุลยา ตันติผลาชีวะ, 2551, หนา 9-87; และสุภาวิณี ลายบัว, 2554, หนา 34) และการสรางความตระหนักเก่ียวกับพัฒนาการท่ีบกพรองลาชาตลอดจนความจําเปนรวม ถึงประโยชน ท่ี ผู เ รียนกลุม ดังกลาวจะได รับจากการศึกษาพิเศษท่ีปรากฏในกฎหมาย IDEA

2.3 ทุกฝายท่ีเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัยปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีของตนตามแนวคิดใน การทํางานรวมกันของทีมสหวิชาชีพในการระบุความตองการพิเศษท่ีปรากฏในกฎหมาย IDEA ขอเสนอแนะ

1. ภาครัฐควรกําหนดนโยบาย พัฒนาระบบ และกลไกเพื่อสนับสนุนใหผูเรียนไดพัฒนาตามวัยและศักยภาพ ตลอดจนติดตามพัฒนาการ คนหาและสนับสนุนใหผูเรียนท่ีมีความตองการพิเศษไดรับ ความชวยเหลือตามความตองการของแตละบุคคลใหดําเนินอยางเปนระบบท่ีไดมาตรฐานโดยขับเคล่ือนใหมีการดําเนินการสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม

2. ผูปกครอง แพทย/บุคลากรทางการแพทย และโรงเรียนในฐานะผูท่ีมีสวนเก่ียวของกับผูเรียนปฐมวัย

Page 137: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 129

 

มีบทบาทหนาท่ีในการอบรมเล้ียงดูตลอดจนสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยใหเหมาะสมตามวัยและเต็มตามศักยภาพ ติดตามการพัฒนาของเด็ก ใหความรวมมือในการคนหา และสนับสนุนผูท่ีมี ความบกพรองลาชาไดรับความชวยเหลือทางการศึกษาพิเศษตามความตองการจําเปนของแตละบุคคลโดยเร็ว

3. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยคร้ังตอไป

1) ศึกษารูปแบบการคนหาผูท่ีมีความตองการ พิเศษต้ังแตแรกเกิด-3 ป

2) ศึกษารูปแบบการคนหา รับรองความตองการพิเศษ และจัดบริการแบบเบ็ดเสร็จในโรงเรียน

3) ศึกษารูปแบบการพัฒนาการสรางการยอมรับถึงพัฒนาการท่ีบกพรองลาชาท่ีปรากฎในบุตรหลานของผูปกครอง

บรรณานุกรม กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การศึกษาสําหรับผูปกครองเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: เบรน-เบส บุค. คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน, สํานักงาน. (2555). แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการระยะ 5 ป

(พ.ศ.2555-2559). กรุงเทพฯ: ดุสิต. นิชรา เรืองดารกานนท. (2554). การติดตามเฝาระวังพัฒนาการ. ตําราพฒันาการและพฤติกรรมเด็กสําหรับเวชปฏิบัติ

ท่ัวไป ใน ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย, รวิวรรณ รุงไพรวรรณ และชาคริยา ธีรเนตร (บรรณาธิการ). ตํารา พัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สําหรับเวชปฏิบัติทั่วไป. กรุงเทพฯ: บียอนด เอนเทอรไพรซ.

ผดุง อารยะวญิู. (2554). อาร ที ไอ กระบวนการสอนแนวใหม (RtI: Response to Instruction). นครปฐม: ไอ.คิว.บุคเซ็นเตอร.

เลขาธิการสภาศึกษา, สํานักงาน. (2550). นโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาเด็กปฐมวัย (0-5 ป) ระยะยาว

2550-2559. กรุงเทพฯ: วี ซี ที คอมมิวนิเคชั่น. วัชรา ร้ิวไพบูลย, ปทมา ศิริเวช, พรรณพิมล วิปุลากร, ชาติชาย มุกสง และแพรว เอี่ยมนอย. (2553). การจัดการ

ความรูและสังเคราะหแนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล: ประสบการณการ ทํางานสรางเสริมสุขภาพคนพิการ. กรุงเทพฯ: สหมิตรพร้ินต้ิงแอนดพับลิสชิ่ง.

วิชาการ, กรม. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: ครุสภาลาดพราว. ศรียา นิยมธรรม และคณะ. (2546). การศึกษาพิเศษ. ในโครงการสารานุกรมศึกษาศาสตรคณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศรียา นิยมธรรม. (2548). การเรียนรวมสําหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: แวนแกว.

Page 138: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

130  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

จิตราพรรณ เวชพร และชาคริยา ธีรเนตร. (2554). ผลของการใชแบบสอบถามเพื่อประเมนิพัฒนาการโดยผูปกครอง (PEDS) เพื่อประเมินปญหาพฒันาการและพฤติกรรมในคลินิกเด็กดีทีโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา. วารสาร กุมารเวชศาสตร, 50(1), 59-68.

กิตติ ไชยลาภ, นรินทร สังขรักษา และสุธีกาญจน ไชยลาภ. (2550). รายงานวิจัยเรื่อง ระบบการเฝาระวังและ ปองกันความพิการในชดุโครงการศึกษาวิจัยยุทธศาสตรบูรณาการพฒันาคุณภาพชีวิตคนพิการ. กรุงเทพฯ: เอกพิมพไท.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2551). รายงานการติดตามและประเมินผลการดําเนนิงานโครงการจัดกิจกรรมการ พัฒนาคุณภาพเด็กพิการ กลุมเปาหมาย (อายุ 0-5 ป) และปฐมวัยโดยเครือขายพอแมผูปกครอง ปการศึกษา 2551 โรงเรียนการศึกษาพิเศษ และศูนยการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสํานักงาน พระพุทธศาสนาแหงชาติ.

สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชวีิตคนพิการแหงชาติ, คณะกรรมการ. แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ

ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: เทพเพ็ญวานิสย. สุภาวิณี ลายบัว. (2554). ความสัมพันธระหวางการใหความรูแกผูปกครองกับความรูของผูปกครองในการ

สรางเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในสถานศึกษา เขตอําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธาน.ี วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม. ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สุวิมล อุดมพิริยะศักย. (2553). เอกสารประกอบการสอนวิชา สัมมนาการศึกษาแบบเรียนรวม. กรุงเทพฯ: หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต.

Bateman, T. & Snell, S. A. (2007). Management Leading & Collaborating in a Competitive World. (7th ed.) NY : McGraw-Hill.

California Department of Education. (2000). Handbook on Assessment and Evaluation in Early Childhood

Special Education Programs. Sacramento: California Department of Education. ------------. (2001). Handbook on Developing and Implementing Programs and Services. California

Department of Education: Sacramento. ------------. (2005). Handbook on Transition from Early Childhood Special Education Programs.

Sacramento: California Department of Education. Dessler, G. (2004). Management, Principles and Practices for Tomorrow’s Leaders. New Jersey: Pearson

Education. Kovaleski, J. & Prasse, D. (2004). Response to Instruction in the Identification of Learning Disabilities: A

guide for School Teams. In A. Canter, et al. (Eds.), Helping Children at Home and School II:

Handouts for Families and Educators. Bethesda, MD: National Association of School Psychologists.

Page 139: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 131

 

Robbins. S. P. & Coulter, M. (2003). Management. (7th ed.) Pearson Education. United Nations. (2007). Biwako Millennium Framework for Action: Towards an Inclusive, Barrier-free and

Rights-based Society for Persons with Disabilities in Asia and the Pacific. New York: UNdoc. Weihrich, H. & Koontz, H. (1993). Management: A Global Perspective. (10th ed.) McGraw-Hill Int. Dunst, C. J. & Trivette, C. M. (2004). Toward a categorization scheme of child find, referral, early

identification and eligibility determination practices. Tracelines, 1(2), 1-18. Foo, A. & Chaplais, J. (2008). Efficacy of pre-school surveillance services in identifying children with

special needs. Community Pract, 81(1), 18-21. Kapil, S., Robert, G. & Tamsin, F. (2006). Barriers to the identification of children with attention

deficit/hyperactivity disorder. Journal of Child Psychology and Psychiatry, 47(7), 744–750. Klingner, J. K., & Harry, B. (2006). The special education referral and decision-making process for English

language learners: child study team meetings and placement conferences. Teachers College

Record, 108(11), 2247-2281. NAEYC. (1994). NAEYC position statement: a conceptual framework for early childhood professional

development, adopted November 1993. Young Children, 49(3), 68-77. Sayal, K. (2006). Annotation: Pathways to care for children with mental health problems. Journal of Child

Psychology and Psychiatry, 47(7), 649-659. Shevell, MI., Majnemer, A., Rosenbaum, P. & Abrahamowicz, M. (2001). Profile of referrals for early

childhood developmental delay to ambulatory subspecialty clinics. Journal of Child Neurology,

16(9), 645-50. Trivette, C. M. & Dunst., C. J. (2006). Tracking pathways of referrals to early intervention. Snapshot, 2(5),

1-4. National Association for the Education of Young Children (NAEYC) & the National Association of Early

Childhood Specialists in State Departments of Education (NAECS/SDE), Position statement: early

childhood curriculum, assessment and program evaluation. Washington DC: NAEYC. Adopted November 2003.

Thornberg, R. (2008). Multi-professional prereferral and school-based health-care teams: a research

review (FOG-report no 62). Linköping: Department of Behavioural Sciences and Learning (IBL), Linköping University: Sweden.

UNICEF and WHO. (2012). Early childhood development and disability: A discussion paper.

Page 140: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

132  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

Birth to 6 Health Systems Committee of the Professional Development Initiative, Wisconsin Early Childhood Collaborating Partners (9/2006, revised 10/ 2010). (Online). Available: http://www.collaboratingpartners.com. Accessed (28/3/2012). Biwako Millennium Framework for Action: Towards an Inclusive, Barrier-free and Rights-based Society for Persons with Disabilities in Asia and the Pacific. (2003). (Online). Available: http://www8.cao.go.jp. Accessed (10/6/2010). Child Find. (2012). (Online). Available: http://www.childfindidea.org. Accessed (10/1/2012,). Hillier, S. L., Civetta, L. and Pridham, L. (2010). A systematic review of collaborative models for health and education professionals working in school settings and implications for training. Education for Health, 10. (Online). Available: http://www.educationforhealth. Accessed (13/1/2012). IDEA. (2004). Individuals with Disabilities Education Improvement Act of 2004. (Online). Available: http://www.emsc.nysed.gov. Accessed (24/8/2010). NICHY. (2012). 10 Basic Steps in Special Education. (Online). Available: http://nichcy.org. Accessed (10/1/2012). No Child Left Behind. (Online). Available: http://www2.ed.gov. Accessed (10/1/2012). UN Standard Rules on Equalization of Opportunities for Persons with Disabilities. (Online). Available: http://www.un.org. Accessed (8/8/2011).

UNICEF. (2012). Ten Messages about Children with Disabilities. (Online). Available: http://www.unicef.org. Accessed (2012/March/10).

Page 141: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 133

 

การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การวัดความยาว และการชั่ง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3

โดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู A STUDY OF LEARNING ACHIEVEMENT AND ATTITUDES TOWARD

MATHEMATICS FOR MEASURING LENGTH AND WEIGHT OF GRADE 3 STUDENTS WITH GAMES LEARNING

ผูวิจัย ภาณุมาส เศรษฐจันทร1 Panumas Sethachan กรรมการควบคุม ดร. รุงทิวา แยมรุง2

ดร. ดวงใจ สีเขียว3 Advisor Committee Dr. Rungtiwa Yamrung Dr. Duangjai Seekheio บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดมุงหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร เร่ืองการวัดความยาว และการชั่ง ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปท่ี 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูกลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนสวัสดีวิทยา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 จํานวน 24 คน ไดมาจากการสุมอยางงาย เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีคือ แผนการจัดการเรียนรู, แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร แบบแผนการทดลองคร้ังน้ีเปนแบบ One Group Pretest-Posttest Design และสถิตท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คาเฉล่ีย คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test Dependent

ผลการวิจัยพบวา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรู

คณิตศาสตร เร่ือง การวัดความยาวและการชั่ง ของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 หลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูสูงกวา กอนการจัดการเรียนรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

2. เจตคติตอวิชาคณิตศาสตรหลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูสูงกวากอนการจัดการเรียนรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 คําสําคัญ : เกมประกอบการจัดการเรียนรู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร การวัดความยาวและการชั่ง ABSTRACT

The purpose of this research was to compare the learning achievement and attitude toward mathematics for measuring length and weight of grade 3 students with games learning. The sample used in this research were grade 3 students of Sawasdeewittaya School, Khet

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2,3อาจารยประจําสาขาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 142: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

134  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

Wattana, Bangkok in the first semester of 2012 academic year. They were 24 students and they were selected by Simple Random Sampling. The instruments used in this study were 10 lesson plans, an achievement Test and an attitude toward mathematics questionaire. The research used One Group Pretest-Posttest Design. The statistics used for data analysis included mean, standard deviation and t-test Dependent.

The results were as follows: 1. Student’s learning achievement in

mathematics for measuring length and weight of Grade 3 students with games learning was higher than before the experiment and significantly at the level .01

2. Student’s learning attitudes toward mathematics for measuring length and weight of Grade 3 students with games learning was higher than before the experiment and significantly at the level .01 Keywords : Games Learning Learning Achievement in Mathematics Attitudes toward Mathematics Measuring Length and Weight

บทนํา ในปจจุบันเทคโนโลยีและวิทยาการในดาน

ตางๆ กําลังกาวหนาและเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาหนึ่งท่ีชวยกอใหเกิดความเจริญท้ังทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังน้ัน คณิตศาสตรจึงเปนวิชาท่ีสําคัญมากท่ีสุดวิชาหนึ่ง เน่ืองจากเปนวิชาท่ีชวยใหนักเรียนสามารถนําความรูท่ี

ไดไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันและเปนพื้นฐานสําคัญในการเรียนรู ศิลปวิทยาการท้ังหลาย (ทรงศักด์ิ ศรีกาฬสินธุ 2541: คํานิยม) และไมวายุคใดสมัยใดคณิตศาสตรก็ยังคงมีความสําคัญเสมอ ในแงของชีวิตประจําวันนักเรียนตองใชคณิตศาสตรและเก่ียวของกับคณิตศาสตรอยูเสมอ เชน การดูเวลา การซื้อขาย การกําหนดระยะทาง คณิตศาสตรยังใชเปนพื้นฐานในการเรียนในระดับตอๆ ไปและเปนพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่นๆ เชน วิทยาศาสตร รวมไปถึงเปนความรูพื้นฐานที่ใชในการประกอบอาชีพตอไปในอนาคต จะเห็นไดวา คณิตศาสตรเปนส่ิงท่ีจะขาดไมไดในการดําเนินชีวิตของเรา ดังน้ัน กระทรวงศึกษาธิการจึงจัดใหมีการเรียนรูคณิตศาสตรในทุกระดับชั้น ต้ังแตระดับประถมศึกษาไปจนถึงระดับมัธยมศึกษา (กระทรวง ศึกษาธิการ 2551: 10) แตในสภาพความเปนจริง การจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในระดับชั้นประถมศึกษาของประเทศไทยท่ีผานมายังไมประสบผลสําเร็จนัก โดยจะเห็นไดจากผลการประเมินการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ในปการศึกษา 2550 และ 2551 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียรอยละ 45.05 และ48.39 ตามลําดับ ซึ่งในการประเมินท้ังสองปน้ีมีนักเรียนอยูในเกณฑท่ีตองปรับปรุงสูงถึงรอยละ 33.66 และ31.78 ตามลําดับ เมื่อพิจารณาการประเมินในสาระท่ี 1 จํานวนและการดําเนินการในปการศึกษา 2550 และ2551 น้ันนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 52.34 และ53.41 ตามลําดับ และในสาระการวัดนักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 46.59 และ46.03 ซึ่งจะเห็นไดวา คาเฉลี่ยของคะแนนในสาระการวัดมีแนวโนมลดลง (สํานักทดสอบทางการ ศึกษาแหงชาติ 2551: 8-9) ซึ่งแสดงใหเห็นวาสาระการวัดในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรน้ันไมประสบ

Page 143: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 135

 

ผลสําเร็จทางการจัดการเรียนรูควรตองมี การพัฒนา การจัดการเรียนรูในสาระการวัดใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เน่ืองดวยในสาระการวัดน้ันประกอบไปดวยเน้ือหาตางๆ มากมาย เชน ความยาว ระยะทาง พื้นท่ี ปริมาตร ความจุ เงิน เวลา และการชั่ง ซึ่งการวัดความยาวและการชั่งเปนสวนหน่ึงในสาระการวัดถือวาเปนเน้ือหาท่ีสําคัญและเปนพื้นฐานใน การเรียนระดับตอไป และยังเปนเร่ืองท่ีเก่ียวของกับชีวิตประจําวันของนักเรียนในวัยประถมศึกษาโดยตรง เชน การวัดสวนสูง การวัดส่ิงของตางๆ การชั่งนํ้าหนักซึ่ง รุงทิวา แยมรุง (2551: 3) กลาววาการวัดเปนสาระท่ีสําคัญอยางหน่ึง ในชีวิตประจําวันและเปนพื้นฐานในการเรียนเร่ืองอื่นๆ ในหลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตนจึงระบุใหเนนการจัดการเรียนรูท่ีเนนความเขาใจเก่ียวกับการวัดและไดกําหนดใหนักเรียนเรียนในทุกระดับชั้น การเรียน การสอนคณิตศาสตรเปนกิจกรรมท่ีสลับซับซอนและละเอียดออน การบอกใหนักเรียน “จํา” และ “ทํา” ตามคําส่ังของ “ครู” ยอมไมเปนขอประกันไดวาเด็กไดเรียนรู “คณิตศาสตร” (ประยูร อาษานาม 2537: 1) อีกท้ัง ครูขาดเทคนิคในการถายทอด เตรียมกิจกรรมการจัดการเรียนรู การจัดการเรียนรูไมดึงดูดความสนใจ ไมมีเทคนิคจูงใจใหนักเรียนเกิดความอยากรูอยากเห็น นักเรียนไมชอบวิชาคณิตศาสตร ไมมีพื้นฐานการคิดคํานวณ ความสามารถและสติปญญาไมเทากัน (สมวงษ แปลงประสบโชค 2549: 78-80) และการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เจตคติท่ีดีเปนส่ิงท่ีพึงปรารถนาเปนอยางยิ่ง เจตคติเปนส่ิงท่ีไมสามารถสอนไดโดยตรง แตเปนส่ิงท่ีเกิดขึ้นหรือไดรับการปลูกฝงทีละเล็กละนอยกับตัวผูเรียนผานทางกิจกรรมการจัดการเรียนรู ดังน้ัน การจัดกิจกรรมการเรียนรูทุกคร้ัง จึงควรตองคํานึงถึงดวยวาจะเปนทางนํานักเรียนไปสูเจตคติท่ีดีหรือไมดีตอวิชาคณิตศาสตรหรือไมเพียงไร (ดวงเดือน ออนนวม 2535:

29) ซึ่งสอดคลองกับ ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2526: 241-242) กลาววา การจัดการเรียนรูของผู เรียนในโรงเรียนบุคคลท่ีมีอิทธิพลตอการเปล่ียนเจตคติของผูเรียน คือ ผูสอน ตลอดจนเพื่อนและส่ิงแวดลอมอื่นๆ ในโรงเรียน ผูสอนจําเปนตองสรางเจตคติในทางบวก จูงใจใหผูเรียนมีเจตคติท่ีดีตอการเรียน เห็นความสําคัญของบทเรียน เห็นประโยชนท่ีจะไดรับจากการเรียนและสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน กระบวนการเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดี ถาผูเรียนมีโอกาสคิด ทํา สรางสรรค โดยท่ีครูชวยจัดบรรยากาศการเรียนรู จัดส่ือ และสรุปสาระการเรียนรูรวมกัน โดยครูตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลในดานความสามารถทางสติปญญา อารมณ สังคม ความพรอมของรางกายและจิตใจและสรางโอกาสใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย และตอเน่ือง (จรวยรัตน ขวัญรมย 2545: 41) ซึ่งสอดคลองกับ กรมวิชาการ (2541: 30) ท่ีวา การจัดการเรียนรูท่ีเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงออกทางความคิดอยางอิสระ ใหมีสวนรวมในกิจกรรมและลงมือปฏิบัติดวยตนเองสงเสริมใหนักเรียนเปนคนชางคิด ชางเสาะแสวงหาความรู กลาตัดสินใจดวยตนเอง จัดบรรยากาศใน ชั้นเรียนใหสนุกสนานไมเครงเครียดมีการใชเกม เพลง ฝกสลับกันจะชวยใหเด็กสนใจในการเรียนดีขึ้น

จากการสัมภาษณค รู ท่ีสอนในระดับชั้ นประถมศึกษา จํานวน 5 ทานน้ัน ไดใหขอมูลวาการเรียนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรน้ันผูเรียนไมเขาในเน้ือหาท่ีครูสอนเน่ืองจากผูเรียนมีพื้นฐานท่ีไมดี กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรมีเน้ือหาท่ีเปนนามธรรม ส่ือการเรียนรูไมเพียงพอกับผูเรียน ผูเรียนไมไดทํากิจกรรมในระหวางการจัดการเรียนรูทําใหผูเรียนไมสนใจในการเรียน เกิดความเบื่อหนาย และทําใหผูเรียนไมชอบคณิตศาสตร ผูเรียนไมเห็นความสําคัญท่ีจะนําไปใชในชีวิตประจําวันได ซึ่งสงผลใหเกิดเจตคติท่ีไม

Page 144: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

136  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ดีตอวิชาคณิตศาสตร ในสาระการวัดน้ันผูเรียนจะมีปญหาเร่ืองการเปล่ียนหนวย เชน จากเซนติเมตรเปนเมตร เพราะไมเขาใจหลักการเปล่ียนหนวย ผูเรียนบางคนไมสามารถเลือกเคร่ืองมือท่ีเหมาะสมกับการวัดได ใชเคร่ืองมือไมเปนเน่ืองจากในการจัดการเรียนรูสอนแตเน้ือหา ขาดการปฏิบัติจริง ไมมีกิจกรรมท่ีผูเรียนมีสวนรวม เคร่ืองมือและอุปกรณการวัดไมเพียงพอกับผูเรียน โดยครูท้ัง 5 ทานไดเสนอแนวทางการแกปญหาการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วา ควรจะเนนการฝกกิจกรรมในหองเรียน ใหผูเรียนไดฝกคิด จัดกิจกรรมท่ีผูเรียนจะไดฝกปฏิบัติจริงกับเคร่ืองมือจริงควบคูไปกับการสอดแทรกเนื้อหาเพื่อใหผูเรียนมองเห็นจากนามธรรมเปนรูปธรรม ชี้แนะใหนักเรียนเห็นวาสามารถนําไปใชไดจริงในชีวิตประจําวันไดอยางไร การจัดกิจกรรมจะทําใหผูเรียนเกิดความสนุกสนานในระหวางการจัดการเรียนรู ผูเรียนเกิดความเพลิดเพลินในการจัดการเรียนรู ซึ่งจะสงผลทําใหนักเรียนเกิดเจตคติท่ีดีตอวิชาคณิตศาสตรดวยเกม เปนเทคนิคการจัดการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพสําหรับจัดการเรียนรูคณิตศาสตรระดับประถมศึกษา เน่ืองดวยเกมมีลักษณะท่ีสอดคลองกับพัฒนาการและธรรมชาติในวัยเด็กท่ีชอบการเคล่ือนไหวและกิจกรรมท่ีสนุกสนาน เกมจึงเปนส่ิงเราท่ีดีในการเรียนรูของผูเรียน (ณัฐวุฒิ กิจรุงเรือง 2547-2548 : 91) หากมีการใชเกมประกอบการสอนจะทําใหนักเรียนมีความสนุกสนาน มีความกระตือรือรนและมีความสุขในการเรียนมากข้ึน จะสงผลสัมฤทธิ์ในการเรียนสูงข้ึน ตลอดจนเปนการพัฒนาทักษะทางสังคมและทักษะนิสัยอื่นๆ มากขึ้น (ประพันธศิริ สุเสารัจ 2545: 30) คณิตศาสตรเปนวิชาท่ีเปนนามธรรม ถาครูไมมีเทคนิคในการสอนที่ดีอาจทําใหนักเรียนไมสนใจเรียน สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า เบื่อหนายในการเรียน ดังน้ัน การจัดการเรียนรูโดยใชเกมจะทําใหการจัดการ

เรียนรูคณิตศาสตรเปนเร่ืองสนุก สรางแรงจูงใจและสรางเจตคติท่ีดีใหแกเด็กโดยการนําเขาสูบทเรียนดวยส่ิงท่ีนาสนใจ จัดใหมีการแขงขัน สรางส่ิงแวดลอมกระตุนความสนใจของเด็ก (สมวงษ แปลงประสบโชค 2549: 78-80) ซึ่งสอดคลองกับ ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2544: 86) กลาววา นักเรียนระดับประถมศึกษาเปนวัยท่ีชอบศึกษาคนควาอยากรูอยากเห็น โดยวิธีการท่ีสนุกสนานไมเครงเครียด โดยเฉพาะการไดเลนสนุกสนานเกิด ความเพลิดเพลินดวย เด็กวัยน้ีจะชอบมากเปนพิเศษ ดังน้ัน วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรูในระดับประถมศึกษานี้จึงเปนการใชวิธีเลนปนเรียน เพื่อใหเด็กไมเบื่อหนาย การเรียนมองเห็นการเรียนเปนเร่ืองสนุก ทาทาย ไดรับความรู และฝกทักษะไปโดยไมรูตัว ดังน้ัน เกมจะชวยลดเวลาในการเรียนรูของเน้ือหาสาระท่ีเรียนเพราะกิจกรรมในเกมจะชวยสรางความกระจางชัดใหแกผูเรียน โดยสามารถนําเกมใชเปนกิจกรรมในข้ันนําเขาสูบทเรียน ขั้นสอน หรือข้ันสรุปผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนสูงเกิดการเรียนรูดวยตนเองเปนการเรียนรูท่ีมีความหมายและจดจําไดนาน ซึ่งตรงกับงานวิจัยของ สําเริง งามขํา (2546: 46); บุญโชติ นุมปาน (2538: 73) พบวาการจัดการเรียนรูโดยใชเกมในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชวยใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

1. จากเหตุผลท่ีกลาวมาขางตน เพื่อเปนการพัฒนาการจัดการเรียนรูและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสรางเจตคติท่ีดีตอวิชาคณิตศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในสาระการวัดเร่ืองการวัดความยาวและการชั่งใหสูงข้ึน และเปนตัวอยางในการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ผูวิจัยจึงสนใจท่ี จะศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร เร่ืองการวัดความยาว และการชั่ง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีใชเกมประกอบ การจัดการเรียนรู

Page 145: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 137

 

 

การจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจดัการเรียนรู

 

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง การวัดความยาว และการชั่ง

2. เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร

กรอบและแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม วัตถุประสงคของการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยไดต้ังวัตถุประสงคไวดังน้ี

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการวัดความยาว และการชั่งของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปท่ี 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู

2. เพื่อเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู สมมติฐานในการวิจัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เร่ือง การวัดความยาว และการชั่ง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 หลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูสูงกวากอนการจัดการเรียนรู

2. เจตคติตอวิชาคณิตศาสตรเร่ือง การวัดความยาว และการชั่ง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 หลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูสูงกวากอนการจัดการเรียนรู

วิธีการดําเนินการวิจัย 1. ประชากร ประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 3 ท่ีกําลังเรียนอยูใน ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนสวัสดีวิทยา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการจัดชั้นเรียนแบบคละความสามารถ จํานวน 3 หองเรียน รวมท้ังส้ิน 90 คน

2. กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3/2 ท่ีกําลังเรียนอยูในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนสวัสดีวิทยา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ซึ่งไดมาจากการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยใชหองเรียนเปนหนวยใน การสุม จํานวน 1 หอง จํานวน 24 คน

3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรอิสระ ไดแก

3.1.1 การจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร สาระท่ี 2 การวัด เร่ืองการวัดความยาวและการชั่งโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู

3.2 ตัวแปรตาม ไดแก

Page 146: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

138  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร สาระท่ี 2 การวัด เร่ือง การวัดความยาว และการชั่ง

3.2.2 เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร

4. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 1. กอนดําเนินการวิจัย ผูวิจัยนําแบบวัดผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการวัดความยาว และการชั่ง และแบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร มาใหกลุมตัวอยางทํา โดยใชเวลา 1 คาบเรียนเปนเวลา 50 นาที และนําคะแนนท่ีไดมาบันทึกผลเปนคะแนนกอนการทดลอง

2. ในการดําเนินการวิจัย ผูวิจัยทําหนาท่ีดําเนินการสอนดวยตนเองโดยใชแผนการจัดการเรียนรู เร่ืองการวัดความยาว และการชั่ง โดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู โดยใชเวลา 10 คาบเรียน คาบเรียนละ 50 นาที

3. เมื่อการทดลองเสร็จส้ินลง ผูวิจัยนําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการวัดความยาว และการชั่งและแบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรซึ่งเปนฉบับเดียวกันกับกอนการทดลองใหกลุมตัวอยางทําอีกคร้ัง โดยใชเวลา 1 คาบเรียนเปนเวลา 50 นาที คะแนนท่ีไดเปนคะแนนหลังการทดลอง

4. นําคะแนนท่ีไดจากขอ 1และขอ 3 ไปวิเคราะหคาทางสถิติ

5. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการ

เรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 เร่ืองการวัดความยาว และการชั่ง โดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู

2. แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 เร่ือง การวัดความยาวและการชั่ง มีคาความยากงายระหวาง 0.20–0.80 และคาอํานาจจําแนกระหวาง 0.20–0.60 และหาคาความเชื่อมั่น (ใชสูตร KR-20 ของคูเดอร ริชารตสัน) เทากับ 0.86

3. แบบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ชนิด 3 ระดับ และหาคาความเชื่อมั่น (วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา-Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach)) มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.83

6. การวิเคราะหขอมูล 1. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก

สถิติพื้นฐาน คาเฉลี่ย (Mean) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2. คํานวณคาสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานขอท่ี 1 และขอท่ี 2 โดยใชสูตร t-test Dependent ผลการวเิคราะหขอมูล แสดงดังตาราง

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กอนการจัดการเรียนรูและหลังการจัดการเรียนรู

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร

N x

(คะแนนเตม็ 30) S.D. t P

กอนเรียน 24 13.21 3.59 7.429** .000

หลังเรียน 24 21.42 5.70 ** มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

Page 147: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 139

 

ผลการวิเคราะห ขอมูลในตาราง 4 ปรากฏวา คะแนนเฉล่ียความแตกตางระหวางคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลังการจัดการเรียนรูและกอนการจัดการเรียนรู แตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 น้ัน คือ นักเรียนท่ีใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูหลังการจัดการเรียนรูมีผลสัมฤทธิ์สูงกวากอนการจัดการเรียนรูซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอ 1

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร กอนการจัดการเรียนรูและหลังการจัดการเรียนรู

เจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร N x

(คะแนนเตม็ 30) S.D. t P

กอนเรียน 24 65.42 4.83 6.491** .000

หลังเรียน 24 72.33 2.51

** มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

ผลการวิเคราะหขอมูลในตาราง 5 ปรากฏวา คะแนนเฉล่ียของผลตางของคะแนนเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรหลังการจัดการเรียนรูและกอนการจัดการเรียนรู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 น้ันคือ คือ นักเรียนท่ีใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูหลังการจัดการเรียนรูมีเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร สูงกวากอนการจัดการเรียนรู ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอ 2 สรุปผลการวิจัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เร่ือง การวัดความยาวและการชั่ง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูสูงกวากอนการใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

2. เจตคติตอวิชาคณิตศาสตรหลังการใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู สูงกวากอนการใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ต้ังไว

อภิปรายผล การวิจัยในคร้ังน้ีเปนการเปรียบเทียบผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร เร่ืองการวัดความยาวและการชั่ง ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปท่ี 3 โดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูจากผลการวิจัย ผูวิจัยอภิปรายผล ดังน้ี

1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี .01 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐาน ขอท่ี 1 โดยท่ีคาเฉล่ียของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู เทากับ 21.42 ซึ่งสูงกวาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนการจัดการเรียนรูซึ่งเทากับ 13.21 โดยสอดคลองกับงานวิจัยของ, เจฟฟรียีส (Jeffryis. 1969: 113-117), ฮารท (Heart. 1977: 4194-A), บุญโชติ นุมปาน (2538: 73-74), อัญชลี บุญถนอม (2542: 58), สําเริง งามขํา (2546: 46), จินตนา วงศามารถ (2549: 72) ซึ่งอภิปรายผลไดดังน้ี

Page 148: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

140  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

1.1 การจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบ การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการท่ีชวยใหผูเรียนเขาใจและจดจําบทเรียนไดงายและรวดเร็ว เกมทําใหผูเรียนเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินระหวางการจัดการเรียนรู ผูเรียนไดแลกเปล่ียนความรูและประสบการณการเ รียนรู ร วมกับ ผูอื่ นซึ่ งสอดคลองกับ ณัฐวุฒิ กิจรุงเรือง (2547-2548: 91) ท่ีกลาววาเกมเปนเทคนิคในการจัดการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพสําหรับการจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา เกมมีลักษณะท่ีสอดคลองกับพัฒนาการและธรรมชาติของวัยเด็กท่ีชอบการเคล่ือนไหวและกิจกรรม ท่ีสนุกสนานและยังชวยใหผู เ รียนเรียนรูคณิตศาสตรไดงายข้ึนเน่ืองจากเกมทําใหคณิตศาสตรเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เกมจึงเปนส่ิงเราท่ีดีในการเรียนรู และเปนเสมือนเคร่ืองมือใหผูเรียนฝกฝนทักษะทางคณิตศาสตรท่ีไดเรียนรูมาแลวจนเกิดความชํานาญ โดยไม รู สึกว า เปน ส่ิง ท่ีน า เบื่ อหนายแตอย างใด (ประพนธ เจียรกูล 2535: 7) ซึ่งในการวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยไดจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูในขั้นสอนเพื่อเปนการกระตุนความสนใจของผู เ รียนหลังจากท่ีไดผานข้ันนํามาแลว เน่ืองจากผูเรียนมักจะมีความสนใจอยูในชวงตนของคาบเรียน เมื่อผานข้ันนํามาแลวผูเรียนจะมีความสนใจลดลง ซึ่งสอดคลองกับผลการสัมภาษณผูสอนคณิตศาสตรจํานวน 6 คน พบวาผูเรียนจะมีความสนใจในการเรียนในชวง 10-15 นาทีแรก หลังจากน้ันครูผูสอนจะตองหากิจกรรมการจัดการเรียนรูท่ีกระตุนความสนใจของผูเรียนใหเพิ่มขึ้น ดังน้ันผูวิจัยจึงนําเกมมาประกอบการจัดการเรียนรูเพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียน โดยผูสอนจะทบทวนเน้ือหาท่ีเก่ียวของท่ีผูเรียนไดเรียนมาแลวในข้ันนําและเพิ่มเติมเน้ือหาใหมโดยการสอดแทรกเขาไปในคําถามท่ีเปนเกมการแขงขันเพื่อใหผูเรียนไดรวมกันคิดและหา

คําตอบอธิบายเหตุผลของคําตอบของกลุมตัวเอง ซึ่งผูเรียนจะไดรับความรูผานการเลนเกมประกอบการจัดการเรียนรู จึงสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

1.2 การจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบ การจัดการเรียนรูในการวิจัยคร้ังน้ี เปนการจัดการเรียน รู ท่ี ผูวิจัยนําเกมมาประกอบการจัดการเรียนรูโดยสอดแทรกเน้ือหาท่ีเก่ียวกับเร่ืองการวัดความยาวและการชั่ง ไมใชเกมท่ีกระตุนความสนใจของผูเรียนเพียงอยางเดียว แตยังเปนการจัด การเรียนรูท่ีไดสรางความสนุกสนาน สรางแรงจูงใจใหผูเรียนสนใจเรียน และยังทําใหผูเรียนต้ังใจเรียนมากยิ่งข้ึน การใชเกมประกอบ การจัดการเรียนรูเนนใหนักเรียนมีสวนรวมในการเรียน ไดทบทวนความรูท่ีเรียนมาผานเกม ไดฝกทักษะเร่ือง การวัดความยาวและการชั่งผานการเลนเกม ไดออกมาปฏิบัติจริง และสัมผัสกับอุปกรณในการวัดความยาวและการชั่งหลายๆ ชนิด ไดเห็นหนวยการวัดความยาวและการชั่งจากอุปกรณจริง ทําใหผูเรียนเขาใจในเนื้อหาและเห็นเปนรูปธรรมมากข้ึน ผูเรียนจะสามารถจดจําหนวยการวัดความยาวและการชั่ง ความสัมพันธระหวางหนวยการวัดความยาวและการชั่งผานการเลนเกมประกอบการจัด การเรียนรู ท่ีจะทําใหผูเรียนเห็นความสัมพันธของหนวยวัดจากการเปรียบเทียบดวยอุปกรณจริง ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูและไดรับความรูในระหวางเรียน รูสึกเหมือนไดเรียนและเลนเกมไปพรอมกัน จึงสงผลใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงขึ้น

2. ผลการเปรียบเทียบเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 กอนและหลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานขอท่ี 2 โดยท่ีคาเฉล่ียของคะแนนรวมเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรหลังการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูเทากับ 72.33 ซึ่งสูงกวาคะแนน

Page 149: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 141

 

เฉล่ียของเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรกอนการจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูซึ่งมีคาเทากับ 65.42 ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ฟรานซิส(Francis. 1971:1333-A) : นลินี ทีทองคํา (2541: 98): และสุกัญญา เทียนพิทักษกุล( 2543: 74) ซึ่งอภิปรายผลไดดังน้ี

2.1 การจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูในงานวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยไดนําอุปกรณการวัดและการชั่งชนิดตางๆ มาใหนักเรียนผูเรียนไดเห็นและไดลองใชจริง พรอมทําส่ือประกอบการเลนเกมท่ีมีท้ังรูปภาพ และบัตรคําท่ีมีสีสันสดใส ใหนักเรียนไดใชประกอบการเลนเกม มีการแขงขันเกม ใหคะแนนในการแขงขันเกมและใหระยะทางสะสมประจําวันจากการแขงเกม ดังน้ัน ผูเรียนจึงมีสวนรวมในการเรียนรู ไดออกมาปฏิบัติจริง ผูเรียนไดเลนเกมตอบคําถามในรูปแบบการแขงขันตางๆ ไดเห็นส่ือท่ีประกอบการเลนเกมท่ีมีรูปภาพและสีสันตางๆ จึงสงผลใหผูเรียนเกิดความเพลิดเพลินในการเรียนรู ไมเกิดความเบื่อหนายระหวางการจัดการเรียนรู บรรยากาศในการเรียนวิชาคณิตศาสตรเปนไปอยางสนุกสนาน จึงสงผลใหผูเรียนชอบในวิชาคณิตศาสตร อยากท่ีจะเรียนคณิตศาสตร และรักในการเรียนคณิตศาสตร ซึ่งถือเปนการสรางเจตคติท่ีดีตอวิชาคณิตศาสตรใหกับผูเรียน ซึ่งสอดคลองกับ อาภรณ ใจเท่ียง (2537: 64) กลาวไววา การจัด การเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู เปนการจัดการเรียนรูท่ีผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรู ผูเรียนเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน สรางแรงจูงใจในการเรียนซึ่งจะมีผลตอการเปล่ียนแปลงเจตคติ และเปนการสรางเจตคติท่ีดีตอวิชาคณิตศาสตรใหแกผูเรียน โดยปจจัยท่ี จะชวยเปล่ียนแปลงเจตคติได คือ การจัดกิจกรรมท่ีเราใหเกิดการยอมรับ การใหเขารวมกิจกรรมท่ีจะทําใหผูเรียน

เกิดประสบการณตรง การสรางความประทับใจและการจัดส่ิงแวดลอมสถานการณใหมใหแกผูเรียน ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลวิจัยไปใช

1. การจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูในการวิจัยคร้ังน้ีควรนําไปใชในขั้นสอน เพื่อเปนการสรางความสนใจใหกับผูเรียน และควรสอดแทรกเนื้อหาความรูเพิ่มเติมในระหวางการเลนเกม และอธิบายวิธีคิดคําตอบจากคําถามในการเลนเกมใหผูเรียนเขาใจ

2. ผูสอนควรเตรียมศึกษาแผนการจัดการเรียนรู วิธีการเลนเกม เน้ือหา เตรียมอุปกรณและส่ือการจัดการเรียนรูใหพรอมกอนคาบเรียน ทบทวนความรูเดิมของผูเรียนกอนเพื่อนําเขาสูเร่ืองใหม

3. การจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู ควรจัดกิจกรรมเปนกลุมและจัดแบบคละความสามารถ เด็กเกง เด็กปานกลาง และเด็กออนรวมกันใน 1 กลุม และจัดคละระหวางเพศหญิงกับเพศชาย เพื่อใหเกิดความเทาเทียมและยุติธรรมในการแขงขันเกม ควรมีการชมเชยนักเรียนอยางตอเน่ืองเมื่อนักเรียนตอบคําถามไดถูกตอง

4. การจัดการเรียนรูท่ีแบงนักเรียนเปนกลุม ควรจัดใหผูเรียนน่ังรวมกันเปนกลุมลักษณะโคงตัวยู (U) หรือถาหองเรียนมีบริเวณท่ีกวางพอท่ีจะสามารถเอาโตะเรียนออก แลวใหผูเรียนน่ังรวมกันเปนกลุมท่ีพื้นเพื่อสะดวกในการทํากิจกรรมและการเคล่ือนไหวของผูเรียน

5. การจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรู ควรแบงเวลาและเนื้อหาในแตละเร่ืองใหเหมาะสมกับความสามารถโดยรวมของผูเรียนในหอง

Page 150: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

142  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

เพื่อใหนักเรียนไดมีเวลาคิดและทบทวนบทเรียนกอนการเลนเกม

6. เมื่อนักเรียนเกิดปญหาในระหวางการเลนเกม ตอบคําถามไมได ผูสอนควรใชคําถามแนะเปนแนวทาง และเปนตัวกระตุนใหผูเรียนไดคิดและทําความเขาใจไดดวยตัวเอง

7. เมื่อจัดการเรียนรูโดยใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูไปแลว ควรจะมีการปรับปรุง แกไขขอ บกพรองท่ีพบในระหวางการจัดการเรียนรูเพื่อนํามาปรับปรุงในคาบเรียนตอๆ ไป

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการทดลองการจัดการเรียนรูโดยใช

เกมประกอบการจัดการเรียนรูในเนื้อหาคณิตศาสตรเร่ืองอื่นๆ เชน เวลา เงิน การตวง

2. ควรมีการศึกษาพัฒนารูปแบบของเกมใหมีมาตรฐานเหมาะท่ีจะนํามาไปใชเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรูอยางจิงจัง

3. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบวาการใชเกมประกอบการจัดการเรียนรูในขั้นนํา ขั้นสอน และข้ันสรุป ขั้นใดจะเหมาะสมท่ีสุด

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). รายงานการวิจัยเรื่อง สภาพความคาดหวัง สภาพปจจบุันและปญหาของ

กระบวนการจดัการเรียนการสอนระดับประถมและมัธยมศึกษาในวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตรและวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: แม็ค. กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ทักษะ/กระบวนการทางคณติศาสตร. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: ส. เจริญการพิมพ. จรวยรัตน ขวญัรมย. (2545). การจดักระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การสอนแบบ “กระบวนการ

กลุม เลน และเรียนคณิตศาสตรใหมีความสุข”. พมิพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: ภาพพมิพ. ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช. (2544). คูมือการเขียนแผนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญระดบัประถมศึกษา.

พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: แม็ค. ณัฐวุฒ ิ กจิรุงเรือง. (2547-2548, พฤศจิกายน-มีนาคม). การจัดการเรียนรูคณิตศาสตรระดับประถมศึกษาโดย

ใชเกม: แนวทางสูการปฏิบัติ. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2(2): 91. ทรงศักด์ิ ศรีกาฬสินธุ. (2541). วิธีสอนแบบวรรณี. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: ศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. บุญโชติ นุมปาน. (2538). ผลของการใชเกมคณิตศาสตรที่มตีอเจตคติและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

Page 151: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 143

 

ประพันธศิริ สุเสารัจ. (2545, พฤษภาคม-ธันวาคม). เกมและการใชเกมเพ่ือพัฒนาเดก็และเยาวชน. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร. 3(2-3): 30.

ประยูร อาษานาม. (2537). การเรียนการสอนคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษา: หลักการและแนวปฏิบัติ. พิมพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: ประกายพรึก. ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2546). จติวิทยาการศึกษา = Educational Psychology. พมิพคร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ:

ศูนยส่ือเสริมกรุงเทพ. รุงทิวา แยมรุง. (2554). การจัดประสบการณเรียนรูคณิตศาสตรเก่ียวกับการวัดหนวยที่ 1-8. พิมพคร้ังท่ี 1.

นนทบุรี: มหาวทิยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สมวงษ แปลงประสบโชค. (2549, กรกฎาคม). ปญหาการเรียนการสอนคณิตศาสตรและแนวทางแกไข.

วารสารวงการครู. 3(31): 78-80. สํานักทดสอบทางการศึกษา. (2551). รางผลการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อการประกันคุณภาพ

ผูเรียนปการศึกษา 2550. สืบคนเมื่อ 15 มนีาคม 2554, จาก http://bet.obec.go.th/eqa/images/2009/news/report-nt50.pdf.

สํานักทดสอบทางการศึกษา. (2552). รางผลการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อการประกันคุณภาพ

ผูเรียนปการศึกษา 2551. สืบคนเมื่อ 15 มนีาคม 2554, จาก http://bet.obec.go.th/eqa/images/2009/news/report-nt51.pdf.

สําเริง งามขํา. (2546). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษา

ปที่ 1 โดยใชเกมประกแบการสอนกับการสอนตามคูมอืครู. สารนิพนธ กศ.ม. (การมธัยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

Heart, Kathleen Mary. (1977, February). “Mathematics Achievement and Attitudes of Nine and Ten Years

Olds, Effects of Mathematical Games and Puzzles,” Dissertation Abstracts. 37: 4932-A. Jeffryis, James. (1969, February). “Let’s Play WFFN Proof.” Mathematics Teacher. 62: 113-117.

Page 152: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

144  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เรื่อง แบบรูป ที่มีตอผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและความสามารถการใหเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

THE EFFECTS OF INDUCTION LEARNING “PATTERN” ON ACADEMIC ACHIEVEMENT AND REASONING ABILITY FOR

MATHAYOMSUKSA I STUDENTS ผูวิจัย ระพีพัฒน แกวอ่ํา1 Rapeepat Keawam

บทคัดยอ การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดมุงหมาย 1) เพื่อสราง

กิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูปสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) เพื่อศึกษาความสามารถการใหเหตุผล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถการใหเหตุผล

กลุมตัวอยางท่ีใชวิจัยคร้ังน้ีเปนนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 จํานวน 1 หองเรียน ซึ่งมีนักเรียน 48 คน กลุมตัวอยางไดจากการเลือกตัวอยางแบบเกาะกลุม (Cluster Sampling) จากนักเรียนท้ังหมด 6 หองเรียน จํานวน 288 คน ซึ่งโรงเรียนจัดหองเรียนแบบคละความสามารถ

ผูวิจัยสอนนักเรียนกลุมตัวอยางโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เ ร่ืองแบบรูป ใชเวลาในการทดลองสอน 13 คาบ คาบละ 50 นาที เมื่อส้ินสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรูในแตละคร้ังจะมีการเฉลยคําตอบของใบกิจกรรม ภายหลังส้ินสุดการทดลอง ผูวิจัยใหนักเรียนกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบวัดความสามารถ

การใหเหตุผล เร่ืองแบบรูป โดยใชเวลาในการทดสอบ 2 คาบ (100 นาที)

ผลการวจิัยพบวา 1. ดวยความเชื่อมั่นรอยละ 95 สามารถกลาว

ไดวากิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เ ร่ืองแบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง แบบรูป มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด

2. ดวยความเชื่อมั่นรอยละ 95 สามารถกลาวไดวากิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑความสามารถการใหเหตุผล เร่ือง แบบรูป มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด

3. ดวยความเชื่อมั่นรอยละ 99 สามารถกลาวไดวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถการใหเหตุผล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีเรียนโดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป มีความสัมพันธเชิงเสนตรงในทิศทางเดียวกัน โดยสัมพันธกันในระดับมากท่ีสุด (r=0.970) คําสําคัญ : กิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย แบบรูป การใหเหตุผล

1อาจารยประจํากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ฝายประถม)

Page 153: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 145

 

ABSTRACT

The purposes of this research were to 1) to study The Mathematical Academic Achievement on Pattern 2 ) to study The Ability Reasoning on Pattern 3) to study the correlation between Academic Achievement and Reasoning Ability

The sample group of this study was 48 Mathayomsuksa I student in the semester 1 of the 2012 academic year 48 students were selected by cluster random sampling from 6 classrooms of 288 students with mixed abilities

The sample group was taught by using activities Induction Learning on Pattern for 13 periods with 50 minutes each period At the end of each lesson, the answer key was provided for students At the end of experiment, students completed achievement test on Pattern and Reasoning Ability test on Pattern The test was taken for 2 periods of 100 minutes.

The findings were as follows: 1. More than 70 percent of the students

could get more than 70 percent of the scores of mathematical academic achievement on pattern at the 95 percent level of confidence

2. More than 70 percent of the students could get more than 70 percent of the scores of Ability Reasoning on pattern at the 95 percent level of confidence

3. Mathematical academic achievement and Reasoning Ability were positive linearly correlated at almost perfect level at the 99 percent level of confidence

Keywords : Induction Learning Pattern Reasoning

บทนํา

วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาท่ีชวยกอใหเกิดความเจริญกาวหนาท้ังทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โลกในปจจุบันเจริญข้ึนเพราะการคิดคนทางวิทยาศาสตร ซึ่งตองอาศัยความรูทางคณิตศาสตร คารล ฟรีดริค เกาส (Carl Friedrich Gauss) ซึ่งเปนนักคณิตศาสตรชาวเยอรมันท่ีมีชื่อเสียงในคริสตศตวรรษท่ี 19 กลาวไววา “คณิตศาสตรเปนราชินีของวิทยาศาสตรและเลขคณิตเปนราชินีของคณิตศาสตร” (Mathematics is the queen of sciences and arithmetic is the queen of mathematics) (David Eugene Smith. 1951: 504) วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาท่ีวาดวยเหตุผล กระบวนการคิด และการแกปญหา คณิตศาสตรจึงเปนวิชาท่ีชวยเสริมสรางใหนักเรียนเปนคนท่ีมีเหตุผล มีการคิดอยางมีวิจารณญาณและเปนระบบ ตลอดจนมีทักษะการแก ปญหา ทําใหสามารถวิเคราะหปญหาและสถานการณไดอยางถ่ีถวนรอบคอบ สามารถคาดการณ วางแผน ตัดสินใจและแกปญหาไดอยางเหมาะสม ซึ่งเปนประโยชนในชีวิตประจําวัน (สสวท. 2551: 1) การคิดอยางมีเหตุผลเปนเคร่ืองมือสําคัญท่ีนักเรียนสามารถนําติดตัวไปใชในการพัฒนาตนเองในการเรียนรู ส่ิง ใหม ๆ ในการทํางานและการดํารงชีวิต (สสวท. 2551: 45) การคิดอยางมีเหตุผลนับเปนหัวใจของการสอนคณิตศาสตร มีงานวิจัยจํานวนมากมายยืนยันวาการสอนใหนักเรียนเรียนอยางเขาใจและมีเหตุผลเปนส่ิงท่ีดีกวาการสอนแบบใหจดจํา ถึงแมวาการจําจะชวยในการหาคําตอบท่ีถูกตองไดรวดเร็วกวา แตถานักเรียนเรียนดวยความเขาใจ จะมีความสามารถในการปรับไปใชกับสถานการณใหมๆ ไดและสามารถจําไดดีกวา นานกวา ถานักเรียนสามารถนํากระบวนการและหลักการมาเพื่อ

Page 154: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

146  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ใชกับสถานการณตางๆ ได นักเรียนก็จะตระหนักวาแนวคิดตางๆ ทางคณิตศาสตรน้ันมีความเกี่ยวของกัน ดังน้ันการสอนในแนวน้ีจึงเปนการพัฒนาทางสติปญญาไดดีกวาการสอนดวยการใหจดจําโดยไมมีเหตุผล (สสวท. 2547: 1) การจัดการเรียนรูคณิตศาสตรใหเขาใจตองอาศัยการใหเหตุผล และตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของขอสรุปวิธีการ และคําตอบ เหตุผลเปนเคร่ืองมือสงเสริมการเรียนรูดวยความเขาใจ เหตุผลเปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญอยางยิ่งในวิชาคณิตศาสตร เน่ืองจากคณิตศาสตรเปนวิชาท่ียืนอยูบนความสมเหตุสมผล (ปยวดี วงษใหญ. 2551: 79)

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดกรอบสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู และมาตรฐานชวงชั้นท่ีจําเปนสําหรับผูเรียนทุกคน เพื่อเปนเกณฑในการกําหนดคุณภาพของผูเรียน เมื่อจบการศึกษาข้ันพื้นฐานและเมื่อเรียนจบในแตละชวงชั้นโดยมีรายละเอียดดังน้ี สาระการเรียนรูคณิตศาสตรจํานวน 6 สาระ ไดแก สาระท่ี 1 : จํานวนและการดําเนินการ สาระท่ี 2 : การวัด สาระท่ี 3 : เรขาคณิต สาระท่ี 4 : พีชคณิต สาระท่ี 5 : การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน สาระท่ี 6 : ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551: 2-3) สําหรับสาระท่ี 4 : พีชคณิต ไดกําหนดในมาตรฐาน ค 4.1 ไววาใหผูเรียนทุกคนสามารถเขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธและฟงกชัน ในระดับชั้น มัธยมศึกษาปท่ี 1 ไดกําหนดตัวชี้วัดวานักเรียนสามารถวิ เคราะหและอธิบายความสัมพันธของแบบรูปท่ีกําหนดใหได เน้ือหาเร่ืองแบบรูปเปนความสัมพันธท่ีแสดงลักษณะสําคัญรวมกันของชุด ของจํานวนรูปเรขาคณิต หรืออื่นๆ การใหผูเรียนไดฝกสังเกตและวิเคราะหแบบรูปเปนสวนหน่ึงท่ีจะชวยสงเสริมใหเกิดกระบวนการสรางองคความรูทางคณิตศาสตร กลาวคือ

สังเกต สํารวจ คาดการณ และใหเหตุผลสนับสนุนหรือคานการคาดการณ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551: 60) จะพบวาเน้ือหาเร่ือง แบบรูป จะมีความสัมพันธกับวิธีการสอนแบบอุปนัย กลาวคือ สามารถสอนโดยการยกตัวอยางตางๆ แลวใหนักเรียนทําการสังเกต สํารวจ สรางขอคาดการณ รวมกันพิจารณาหาองคประกอบรวม แลวใหเหตุผลเพื่อยืนยัน หรือสนับสนุนคําตอบท่ีได

ดวยเหตุน้ีผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะสรางกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 1 เพื่อเปนการฝกคิด ฝกหาเหตุผล สรางผูเรียนใหสามารถคนหาคําตอบและสามารถสรุปความรูไดดวยตนเอง ตลอดจนไดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป จะทําใหเราทราบถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถการใหเหตุผล เ ร่ืองแบบรูป ความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถการใหเหตุผล ซึ่งจะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนตอไป และจะทําใหการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน สามารถสรางผูเรียนท่ีมีความรู ความสามารถ เพื่อพัฒนาประเทศชาติใหดีขึ้นในอนาคตตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง แบบรูป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย

2. เพื่อศึกษาความสามารถการใหเหตุผล เร่ืองแบบรูป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถการใหเหตุผล เร่ือง

Page 155: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 147

 

แบบรูป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย สมมติฐานของการวิจัย

1. หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด

2. หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑความสามารถการใหเหตุผล มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถการใหเหตุผล เร่ือง แบบรูป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย มีความสัมพันธกัน วิธีดําเนินการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนนักเรียน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย

กลุมตัวอยางท่ีใชวิจัยคร้ังน้ีเปนนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 จํานวน 1 หองเรียน ซึ่งมีนักเรียน 48 คน กลุมตัวอยางไดจากการเลือกตัวอยางแบบเกาะกลุม (Cluster Sampling) จากนักเรียนท้ังหมด 6 หองเรียน จํานวน 288 คน ซึ่งโรงเรียนจัดหองเรียนแบบคละความสามารถ

ระยะเวลาที่ใชในการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ี ดําเนินการวิจัยในภาคเรียนท่ี 1

ปการศึกษา 2555 รวมระยะเวลาท่ีใชในการทดลองจํานวน 15 คาบ คาบละ 50 นาที

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ ไดแก กิจกรรมการเรียนรูแบบ

อุปนัย เร่ือง แบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ตัวแปรตาม ไดแก 1). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เร่ืองแบบรูป 2). ความสามารถการใหเหตุผล เร่ืองแบบรูป นิยามศัพทเฉพาะ

การสอนแบบอุปนัย หมายถึง การสอนท่ีเร่ิมตนดวยการยกตัวอยางหลายๆ ตัวอยาง โดยใหผูเรียนทําการศึกษา สังเกต เปรียบเทียบ พิจารณาคนหาองคประกอบหรือลักษณะรวมจากตัวอยาง เปนการคนพบดวยการศึกษา สังเกต เพื่อนํามาเปนขอสรุป หรือหลักเกณฑภายหลังดวยตนเอง

กิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตรแบบอุปนัย หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอน เร่ือง แบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีผูวิจัยไดสรางข้ึนโดยใชการสอนแบบอุปนัย มีขั้นตอนการสอน ดังน้ี

ขั้นท่ี 1 ขั้นนําเขาสูทบเรียน เปนการเราความสนใจของนักเรียน ดวยการใชคําถามกระตุนหรือทบทวนความรูพื้นฐานของนักเรียน โดยเชื่อมโยงกับเน้ือหาท่ีจะกระทําการสอน

ขั้นท่ี 2 ขั้นสอน เปนการดําเนินการสอน โดยครูผูสอนนําเสนอตัวอยางหลายๆ เพื่อใหนักเรียนไดทําการศึกษา สังเกต และทําการพิจารณาอยางละเอียดรอบคอบ เพื่อคนหาลักษณะรวมหรือกฎเกณฑได

ขั้นท่ี 3 ขั้นการหาลักษณะรวม เปนการฝกปฏิบัติใหนักเรียนสามารถคนหาคําตอบไดดวยตนเอง โดยทําการศึกษาตัวอยางจากเอกสารแนะแนวทาง

Page 156: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

148  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ขั้นท่ี 4 ขั้นสรุป เปนการรวมกลุมรวมกันอภิปรายคนหาคําตอบท่ีได แลวรวมกันสรุปเปนหลักการ หรือกฎเกณฑท่ีได

ขั้นท่ี 5 ขั้นนําไปใช เปนการทดสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวขอสรุป หรือหลักกฎเกณฑท่ีไดเรียนรูมาแลว โดยใหนักเรียนทําใบกิจกรรม

ความสามารถการใหเหตุผล หมายถึง ความสามารถในการแสดงแนวคิด การอธิบายเก่ียวกับการสรางหลักการ หาความสัมพันธ และการสรุปท่ีสมเหตุ สมผลของแนวคิดน้ันๆ ประกอบดวย

- ความสามารถในการอธิบาย วิเคราะห ความสัมพันธของขอมูล

- ความสามารถในการหาขอสรุป หรือขอ ความคาดการณ

- ความสามารถในการยืนยัน หรือคัดคานขอ สรุป หรือขอความคาดการณอยางสมเหตุสมผล

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล มีขั้นตอนดังน้ี

1. ผูวิจัยสอนนักเรียนกลุมตัวอยาง โดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ใชเวลาในการทดลองสอน 13 คาบ คาบละ 50 นาที เมื่อส้ินสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรูในแตละคร้ังจะมีการเฉลยคําตอบของใบกิจกรรม

2. ภายหลัง ส้ินสุดการทดลอง ผู วิ จั ย ใหนักเรียนกลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบวัดความสามารถการใหเหตุผล เร่ือง แบบรูปโดยใชเวลาในการทดสอบ 2 คาบ (100 นาที)

3. ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลท้ังหมดเพื่อใชในการวิเคราะหขอมูล โดยขอมูลท้ังหมดแบงเปนคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และคะแนนจากแบบทดสอบวัดความสามารถการใหเหตุผล

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย 1. กิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป

สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ประกอบดวยเอกสาร 2 สวน ไดแก แผนการจัดการเรียนรู และเอกสารคูมือครู

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองแบบรูป ซึ่งเปนแบบทดสอบแบบปรนัยจํานวน 30 ขอ

3. แบบทดสอบวัดความสามารถการใหเหตุผล เร่ืองแบบรูป ซึ่งเปนแบบทดสอบแบบอัตนัยจํานวน 10 ขอ

4. แบบประเมินมี 3 แบบ ไดแก 4.1 แบบประเมินความสอดคลองสําหรับ

กิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1

4.2 แบบประเมินความสอดคลองสําหรับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

4.3 แบบประเมินความสอดคลองสําหรับแบบทดสอบวัดความสามารถการใหเหตุผล การวิเคราะหขอมูล

1. หาคาสถิติพื้นฐาน โดยใชคารอยละ คาเฉล่ียเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. ทดสอบสมมติฐานของการวิจัยขอ 1 ท่ีวากิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป ทําใหนักเรียน ท่ีสอบผานเกณฑผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด โดยใชการทดสอบ Z (Z-test) สําหรับสัดสวนประชากร 1 กลุม

3. ทดสอบสมมติฐานของการวิจัยขอ 2 ท่ีวากิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เ ร่ืองแบบรูป ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑความสามารถการใหเหตุผล มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด โดยใชการทดสอบ Z (Z-test) สําหรับสัดสวนประชากร 1 กลุม

Page 157: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 149

 

4. ทดสอบสมมติฐานของการวิจัยขอ 3 ท่ีวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถการใหเหตุผล เร่ือง แบบรูป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย มีความสัมพันธกัน โดยใชการวิเคราะหสหสัมพันธเชิงเดียว (Simple Correlation Analysis) สรุปผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการใชกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 แบงตามขั้นตอนของการวิเคราะหขอมูล ดังน้ี

1. นักเรียนกลุมตัวอยางมีคาเฉล่ียเลขคณิตของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ เร่ืองแบบรูป เปน 23.42 คะแนน คิดเปนรอยละ 78.07 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 5.00

2. นักเรียนกลุมตัวอยางมีคาเฉล่ียเลขคณิตของคะแนนความสามารถการใหเหตุผลเรื่องแบบรูป เปน 22.58 คะแนน คิดเปนรอยละ 75.27 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 4.88

3. ดวยความเชื่อมั่นรอยละ 95 สามารถกลาวไดวากิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองแบบรูป มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด

4. ดวยความเชื่อมั่นรอยละ 95 สามารถกลาวไดวากิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑความสามารถการใหเหตุผล เร่ืองแบบรูป มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด

5. ดวยความเชื่อมั่นรอยละ 99 สามารถกลาวไดวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถการใหเหตุผล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีเรียนโดยใช

กิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป มีความสัมพันธเชิงเสนตรงในทิศทางเดียวกัน โดยสัมพันธกันในระดับมากท่ีสุด (r=0.970) อภิปรายผล

จากผลการศึกษาการใชผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัยเร่ืองแบบรูป ท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถการใหเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 นํามาอภิปรายผลโดยแบงเปน 2 ประเด็น คือ ประเด็นเก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองแบบรูป และประเด็นเก่ียวกับความ สามารถการใหเหตุผล เร่ืองแบบรูป การอภิปรายผลมีรายละเอียดดังน้ี

ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง แบบรูป หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง แบบรูป มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมด เปนผลเน่ืองมาจาก

1. กิจกรรมการเรียนแบบอุปนัย เร่ือง แบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนประกอบดวย แผนการจัดการเรียนรู และเอกสารคูมือครู โดยเรียงลําดับเน้ือหาและความเหมาะสมจากงายไปยาก มีการลําดับขั้นตอนการสอนอยางเปนระบบ สอนใหนักเรียนมีความเขาใจเร่ือง แบบรูป อยางชัดเจน

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู ไดจัดกิจกรรมใหนักเรียนเรียนรูแบบรายบุคคล และแบบรายกลุม โดยในการจัดกิจกรรมแบบรายกลุมแบงเปนกลุมละ 4 คน จัดแบบคละความสามารถคนเกง 1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน เพื่อ ท่ีจะใหนักเรียนเกงชวยสอนนักเรียนออน และสามารถชวยเหลือกันภายในกลุมได

Page 158: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

150  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

3. ในขั้นตอนการสอนครูผูสอนจะสอนใหนักเรียนเขาใจแบบรูปตางๆ โดยการอยางตัวอยางประกอบหลายๆ ตัวอยางจะทําใหนักเรียนเกิดความเขาใจอยางชัดเจน ตลอดจนมีการเปรียบเทียบความแตกตางของแตละตัวอยาง ทําใหนักเรียนมองเห็นความสัมพันธของแบบรูปท่ีกําหนดให

4. ในระหวางการปฏิบัติกิจกรรมครูผูสอนจะสอนผานเอกสารแนะแนวทางทําใหนักเรียนไดฝกการคิดคนหา และเรียนรูดวยตนเอง โดยสังเกตจากตัวอยางท่ีใหมา กอนท่ีจะมารวมกลุมทําการแลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน แลวหาขอสรุปท่ีไดเพื่อนําเสนอตอครูและเพื่อนนักเรียน

5. ใบกิจกรรมในแตละคาบเรียน จะชวยสงเสริมใหนักเรียนไดฝกประสบการณและฝกทักษะประกอบกับในการเรียนการครูผูสอนจะคอยใชคําถามกระตุนใหนักเรียนแสดงความสามารถในการใหเหตุผลทางคณิตศาสตรอยูตลอดเวลา และเมื่อส้ินสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรูในแตละคร้ัง จะมีการเฉลยคําตอบของใบกิจกรรม ทําใหนักเรียนไดทราบถึงความผิดพลาดของตนเอง เพื่อนําไปปรับปรุงแกไขในการเรียนคร้ังตอไป

ผลการศึกษาความสามารถการใหเหตุผล เร่ือง แบบรูป หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัยเร่ือง แบบรูป สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ทําใหนักเรียนท่ีสอบผานเกณฑความสามารถการใหเหตุผลเร่ืองแบบรูป มีจํานวนมากกวารอยละ 70 ของจํานวนนักเรียนท้ังหมดเปนผลเน่ืองมาจาก

1. ในระหวางการจัดการเรียนการสอนครู ผูสอนจะคอยใชคําถาม ถามนักเรียนอยูตลอดเวลาเพื่อใหนักเรียนในชั้นเรียนทุกคนต่ืนตัวท่ีจะเรียนรู และมี

การแสดงความคิดเห็นเปนการแลกเปลี่ยนแนวคิดซึ่งกันและกัน ซึ่งเปนบรรยากาศท่ีสงเสริมใหนักเรียนรูจักฝกท่ีจะคิดหาคําตอบ และใหเหตุผลเพื่อยืนยันคําตอบ หรือแนวคิดท่ีได

2. ใบกิจกรรมท่ีใชในการเรียนการสอนจะเนนใหนักเรียนแสดงเหตุผล เพื่อยืนยันคําตอบท่ีไดวาสมเหตุ สมผลหรือไม ซึ่งเปนการฝกใหนักเรียนเรียนรูท่ีจะเขียนอธิบายใหเหตุผลประกอบไมไดมุงเนนดูท่ีคําตอบอยางเดียววาถูกหรือผิด จึงสงผลทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถการใหเหตุผล เร่ืองแบบรูป ของนักเรียนมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน ขอสังเกตที่ไดจากการทําวิจัย

1. กิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัย เร่ืองแบบรูป เปนกิจกรรมท่ีเนนใหนักเรียนคนหาแนวคิด ความสัมพันธ และคําตอบไดดวยตนเอง โดยสังเกตจากตัวอยางท่ีครูสอนมาในการสอนครูผูสอนควรสอนโดยยกตัวอยางหลายๆ ตัวอยาง เพื่อใหนักเรียนมองเห็นถึงความสัมพันธ และการเชื่อมโยงท่ีจะนําไปสูคําตอบได และในการเรียนการสอนครูผูสอนตองเนนใหนักเรียนมองเห็นถึงการแสดงเหตุผลเพื่อยืนยันคําตอบทุกคร้ัง ซึ่งสวนใหญจะพบวานักเรียนจะใหความสําคัญกับคําตอบมากกวาการแสดงเหตุผล ถาเราพบวานักเรียนไดคําตอบท่ีถูกตองแตแสดงการใหเหตุผลผิด ก็ไมแตกตางอะไรจากการท่ีนักเรียนไดคําตอบผิด เพราะนักเรียนมีความเขาใจท่ีผิดน้ันเอง

2. ในระหวางการปฏิบัติครูควรใหเวลาแกนักเรียนอยางเพียงพอ เพื่อท่ีจะไดใหนักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางเต็มท่ี และครูควรเปนผูคอยใหคําแนะนําน้ัน

Page 159: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 151

 

ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะทั่วไป

1.1 ควรจัดบรรยากาศในชั้นเรียนใหเปนกันเอง เปดโอกาสใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น แสดงเหตุผลแลกเปล่ียนแนวความคิดซึ่งกันและกันอยางเต็มท่ีจะทําใหไดขอสรุปท่ีสมบูรณ

1.2 การสงเสริมใหนักเรียนภายในกลุมแสดงความคิดเห็นรวมกัน และอภิปรายเพื่อหาขอสรุปตองใชเวลามาก ดังน้ันครูผูสอนควรวางแผนการจัด

กิจกรรมใหเหมาะสมกับเวลาท่ีกําหนดไวในแผนการจัดการเรียนรู

2. ขอเสนอแนะเพ่ือการวิจัย

2.1 ควรทําการศึกษาเพื่อวิจัยเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบอุปนัยกับเน้ือหาคณิตศาสตรเร่ืองอื่นๆ ตอไป

2.2 ควรทําการศึกษาเพ่ือพัฒนาความ สามารถในการใหเหตุผลทางกับเน้ือหาอื่น ๆ ตอไป

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย.

ปยวดี วงษใหญ. (2551). การจัดการเรียนรูคณิตศาสตรแนวใหม ใน 36 ป สถาบันสงเสริมการสอน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา. สสวท. (2547). การใหเหตผุลในวิชาคณติศาสตร ระดับชั้นประถมศึกษา ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: เอส. พี. เอ็น. การพิมพ. สสวท. (2551). ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา. David Eugene Smith. (1951). History of Mathematics Volume I General Survey of the History of

Elementary Mathematics. New York: Eva May Luse Smith.

Page 160: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

152  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน กรณีศึกษาศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงหนึ่งในภาคตะวันออก AN EVALUATION OF THE COMMUNITY SUFFICIENCY ECONOMY

LEARNING CENTER PROGRAM : A CASE STUDY OF A COMMUNITY SUFFICIENCY ECONOMY LEARNING CENTER IN THE EAST

ผูวิจัย รัฐพงศ สีแสด1 Ratapong Seesad กรรมการควบคุม รศ.ดร. วสันต ทองไทย2 รศ. สุวิสา พัฒนเกียรติ3 Advisor Committee Assoc.Prof. Wasun Thongthai Asst. Suwisa Pattanakiat

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงหน่ึงในภาคตะวันออก ประเด็นในการประเมินมี 3 ดานไดแก 1) ดานกระบวนการดําเนินโครงการ 2) ดานความรู ความเขาใจของเกษตรกรที่มีตอโครงการ และ 3) ดานผลการดําเนินโครงการ กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัยคือเกษตรกรท่ีเขารวมโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ดําเนินการวิจัยดวยวิธีการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพจากการลงภาคสนาม การวิจัยคร้ังน้ีใชระยะ เวลา ในการเก็บรวบรวมขอมูลต้ังแตเดือนตุลาคม 2555-มีนาคม 2556 โดยเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการสังเกตแบบมีสวนรวมและการสัมภาษณ หลังจากน้ันนําขอมูลมาวิเคราะหโดยใชวิธีการวิเคราะหเน้ือหา และทําการจัดกลุมของขอมูลเพื่อสรางขอสรุป

ผลการวิจัยพบวา 1) ดานกระบวนการในการดําเนินโครงการ พบวาทางสํานักงานเกษตรอําเภอไมได

ใหความสําคัญกับการท่ีจะใหเกษตรกรไดมีสวนรวมในการดําเนินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 2) ดานความรู ความเขาใจ ของเกษตรกรท่ีมีตอโครงการ พบวาเกษตรกรขาดความรู ความเขาใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไมเห็นความสําคัญและประโยชนในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 3) ดานผลการดําเนินโครงการ พบวาเกษตรกร ขาดภูมิ คุมกันในการดําเนินชีวิต ดังน้ันโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ีจึงไมผานการประเมิน

คําสําคัญ : การประเมินโครงการ ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

ABSTRACT

This research has objective to evaluate the Community Sufficiency Economy Learning Center Program in the east. The issues for estimating have

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ขาราชการครู ตําแหนง ครู คศ.1 โรงเรียนปราจิณราษฎรอํารุง 2อาจารยคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม หัวหนาฝายฝกอบรม สํานักสงเสริมและฝกอบรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 161: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 153

 

3 aspects that were 1) operation of program 2) knowledge of agriculturists to the program 3) result of operating program. The representative sample used in this research is agriculturists who participated in the program of the Community Sufficiency Economy Learning Center. The research was operated by collecting qualitative data with work field. This research has spent the time for collecting data since October 2012 to March 2013, which we gathered data by participant observation and interview, then brought data to analyze by analyzing subject matter and classifying data for making conclusion.

The result of this research shows that 1) for the operation of program, it has been found that the Agricultural District Office has not placed importance on allowing the agriculturist to participate in the operation of the Community Sufficiency Economy Learning Center Program 2) For the knowledge of agriculturists to the program, it has been found that the agriculturists lack of knowledge of the sufficiency economical philosophy and 3) for the result of operating program, it has been found that the agriculturists lack of immunity in way of life. Therefore, the Community Sufficiency Economy Learning Center Program did not pass evaluation. Keywords : The Program Evaluation The Community Sufficiency Economy Learning Center

ความเปนมาของปญหาการวิจัย เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จ

พระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดํารงชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยต้ังแต พ.ศ. 2517 เปนปรัชญาท่ีชี้ถึงแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศ ซึ่งตลอดระยะเวลาท่ีพระองคทรงครองราชย ไดทรงนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติในพระราชกิจจาวัจน โดยทรงแสดงใหเห็นถึงความพอเพียงความพอดีในความเปนอยู ทรงใชเหตุผลเปนเคร่ืองนําทางตลอดเวลา (สุเมธ ตันติเวชกุล, 2549 :254-258) ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปนขั้นตอนท่ีประกอบไปดวย 3 คุณลักษณะท่ีตองดําเนินไปพรอมๆ กัน ไดแก ความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสรางภูมิคุมกันท่ีดีในตัว ท่ีตองต้ังอยูบนเงื่อนไขความรูและคุณธรรมเปนพื้นฐาน

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางการพัฒนาท่ีอยูบนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช การรูจักความพอประมาณ มีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันท่ีดี และต้ังตนอยูใน ความไมประมาท โดยตระหนักถึงการพัฒนาตามลําดับขั้นตอนที่ถูกตองตามหลักวิชาการตลอดจนมีคุณธรรมเปนกรอบในการดํารงชีวิต (สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน, 2549) ซึ่งเปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ันมีความเก่ียวของต้ังแตการวางแผนและการดําเนินการ ทุกข้ันตอน ท้ังในสวนบุคคลและองคกร และขณะเดียว กันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความ

Page 162: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

154  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

รอบรูท่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอม ตอการรองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางท้ังดานวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ดังน้ันแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549) จึงไดอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนปรัชญานําทางในการพัฒนาและบริหารประเทศควบคูไปกับกระบวนทัศนการพัฒนาแบบบูรณาการ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2555: 2) โดยใหความสําคัญกับการแกปญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจให ลุลวงและสรางฐานเศรษฐกิจภายใน ประเทศใหเขมแข็งและมีภูมิ คุมกันตอกระแสการเปล่ียนแปลงจากภายนอก ขณะเดียวกันก็มุงใหเกิดการพัฒนาท่ีสมดุลท้ังดานตัวคน สังคม เศรษฐกิจและส่ิงแวดลอมเพื่อนําไปสูการพัฒนาท่ียั่งยืนและความอยูดีมีสุขของคนไทย และในปจจุบันแผนพัฒนาฉบับท่ี 11 (2555–2559) ไดกําหนดใหมีการพัฒนาประเทศโดยมุงสูการเปน "สังคมอยูรวมกัน อยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปล่ียนแปลง" (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2555: 10)

สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยกองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืนไดเห็นถึงความสําคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงไดมีการจัดต้ังโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนขึ้นต้ังแตปงบประมาณ พ.ศ. 2548 และในฐานะท่ีเปนหนวยงานรับผิดชอบโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ซึ่งเปนโครงการตอเน่ืองท่ีดําเนินการมา (โครงการจัดทําแปลงเรียนรูควบคูการผลิต เพื่อเ ล้ียงชีพ 1 อําเภอ 1 แปลง และไดมีการเปล่ียนชื่อเปนโครงการศูนยเรียนรู

เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2549) โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ไดกําหนดวัตถุประสงคในการดําเนินโครงการ เพื่อพัฒนาตอยอดใหผูเขารวมโครงการในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน (ศูนยหลัก) ไดเรียนรูการทําการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงข้ันกาวหนา ในรูปแบบของการเรียนรูรวมกันและสงเสริมใหเกิดกระบวนการรวมกลุมเพื่อบริหารจัดการดานการจัดทําแผนการผลิต การตลาด โดยสมาชิกมีสวนรวมในการพัฒนา ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็งอยางย่ังยืน รวมท้ังเพื่อปลูกฝงคานิยมและฝกทักษะในการทําการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ใหนักเรียนในโรงเรียนโดยใชศูนยเรียนรูในโรงเรียนเปนสถานที่ดําเนินกิจกรรมซึ่งผลผลิตท่ีไดจากการดําเนินกิจกรรมการเกษตรของนักเรียนจะเปนแหลงอาหารกลางวันใหกับนักเรียนในโรงเรียนดวยโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนไดกําหนดวัตถุประสงคในการเสริมสรางความรูในการดําเนินกิจกรรมทางการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและฝกปฏิบัติผาน กิจกรรมสาธิตแบบมีสวนรวมใหกับผูเขารวมโครงการ และเพื่อปลูกฝงคานิยมและฝกทักษะในการทําการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงใหกับนักเรียนในโรงเรียนและสรางแหลงผลิตอาหารกลางวันใหกับโรงเรียน โดยในการดําเนินโครงการ ยังคงกําหนดใหมีการบูรณาการกิจกรรม/โครงการ รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของดวย

โครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ีต้ังอยูบริเวณหมูท่ี 1 ของตําบลแหงดังกลาว ซึ่งจะอยูหางจากหมูบานไปประมาณ 2 กิโลเมตร มีเน้ือท่ีภายในศูนยท้ังหมด 12 ไร ซึ่งแตเดิมพื้นท่ีตรงน้ีเคยเปนปาชา โดยทางสํานักงานเกษตรอําเภอเห็นวาท่ีดินตรงน้ีเปนท่ีสาธารณประโยชนสามารถนํามาพัฒนาเปนท่ีดินทํากินได ประกอบกับในปพ.ศ. 2548 ทางสํานักงานเกษตร

Page 163: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 155

 

และสหกรณจังหวัดไดมีการมอบหมายโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนใหทางสํานักงานเกษตรอําเภอไปดําเนินการ ทางเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบโครงการในขณะน้ันจึงเห็นสมควรใหนําท่ีดินผืนน้ีมาพัฒนาเปนศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนต้ังแตน้ันเปนตนมา ในปจจุบันศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ียังคงมีเกษตรกรท่ีทําเกษตรกรรมอยูภายในบริเวณของศูนยท้ังหมด 2 ครอบครัว ซึ่งท้ัง 2 ครอบครัวน้ีเปนผู ดูแลอุปกรณการเกษตร และส่ิงตางๆ ท่ีอยูภายในบริเวณของศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ีท้ังหมด

การที่จะทําใหทราบไดวาโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนน้ีไดมีการดําเนินการเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวหรือไม การดําเนินการมีอุปสรรคและแนวทางการแกไขปญหาอยางไร เปนไปตามเปาหมายท่ีวางไวหรือไม ซึ่งการท่ีจะใหไดสาร สนเทศเหลาน้ีมาน้ัน จึงจําเปนตองมีการประเมินโครงการ เน่ืองจากการประเมินโครงการเปนกระบวนการในการแสวงหาขอมูลสารสนเทศท่ีเปนขอเท็จจริง ถูกตอง และชัดเจนเพื่อใชเปนแนวทางในการประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการดําเนินงาน เพื่อใหโครงการน้ันบรรลุ ผลสําเร็จตรงตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่กําหนดไว ดังท่ี เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศรี (2549: 92) กลาววา การประเมินโครงการจะทําใหไดสารสนเทศท่ีสําคัญสําหรับชวยผูบริหารในการตัดสินใจ และใหความชวยเหลือแกบุคลากรที่รับผิดชอบโครงการ ใหสามารถปรับปรุง และพัฒนาโครงการไดอยางเหมาะสม และยังชวยใหทราบผลผลิต หรือผลกระทบจากโครงการ ซึ่งสอดคลองกับ สมหวัง พิธิยานุวัฒน (2549: 87) ท่ีไดกลาววา การประเมินโครงการชวยปรับปรุงโครงการ และประเมินความสําเร็จของโครงการ

จากความสําคัญของการประเมินโครงการดังกลาว ผูวิจัยจึงไดทําการประเมินโครงการศูนยเรียนรู

เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงหน่ึงในภาคตะวันออก เน่ืองจากผูวิจัยศึกษาขอมูลจากผู ท่ีเ ก่ียวของ และเกษตรกร ท่ีทําเกษตรกรรมอยูภายในศูนยศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงดังกลาว พบวาต้ังแตเร่ิมโครงการในป พ.ศ. 2548 ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ียังไมเคยไดรับการประเมินโครงการมากอน ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความประสงคท่ีจะประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ี เพื่อศึกษาวา ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ีมีกระบวนการการมีสวนรวมในการดําเนินโครงการ ความรู ความเขาใจท่ีมีตอโครงการ และผลการดําเนินโครงการเปนอยางไร เพื่อเปนสารสนเทศ และขอเสนอแนะสําหรับเปนแนวทาง ในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดําเนินงานโครงการ และนําสารสนเทศท่ีไดจากการประเมิน โครงการไปใชในการปรับปรุง และพัฒนาโครงการ รวมท้ังสามารถนําผลท่ีไดไปใชเปนขอมูลพื้นฐานในการกําหนดนโยบาย และแนวทางการดําเนินโครงการตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อประเมินกระบวนการในการดําเนินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

2. เพื่อประเมินความรู ความเขาใจของเกษตรกรท่ีมีตอโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

3. เพื่อประเมินผลการดําเนินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน วิธีดําเนินการวิจัย

ผูวิจัยไดสํารวจพื้นท่ีซึ่งไดรับคัดเลือกเขารวมโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนเพื่อเลือกเปนสนามในการวิจัย ผูวิจัยจึงตัดสินใจท่ีจะทําการประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงหน่ึง ในภาคตะวันออก เน่ืองจากผูวิจัยศึกษาขอมูล

Page 164: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

156  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

และพบวาต้ังแตเร่ิมโครงการในป พ.ศ. 2548 ศูนยเรียน รูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงดังกลาวยังไมเคยไดรับการประเมินโครงการมากอน ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความประสงคท่ีจะประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ี เพื่อศึกษาวา ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน แหงน้ี มีกระบวนการการมีสวนรวมในการดําเนินโครงการ ความรู ความเขาใจท่ีมีตอโครงการ และผลการดําเนินโครงการเปนอยางไร

กลุมเปาหมาย

กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัย เปนเกษตรกรท่ีเขารวมโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน รวมไปถึงบุคลากรในหนวยงานตางๆ ท่ีเก่ียวของกับโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยในคร้ังน้ี ประกอบ

ดวย แบบบันทึกการสังเกต แบบสัมภาษณเกษตรกรและผูรับผิดชอบโครงการ และแบบบันทึกการวิเคราะหเอกสาร โดยมีตัวผูวิจัยเปนเคร่ืองมือในการรวบรวมขอมูล ผลการวิจัย

1. การประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในดานกระบวนการในการดําเนินโครงการพบวา ทางสํานักงานเกษตรอําเภอไมไดเนนการใหเกษตรกรไดมีสวนรวมในการดําเนินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน เห็นไดจากการท่ีสํานักงานเกษตรอําเภอไมไดเรียกประชุม หรือใหเกษตรกรท่ีประสงคเขารวมโครงการไดรวมปรึกษา เก่ียวกับกิจกรรมท่ีจะนํามาปฏิบัติศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

2. การประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในดานความรู ความเขาใจของเกษตรกร

ท่ีมีตอโครงการ พบวา เกษตรกรขาดความรู ความเขาใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไมเห็นความสําคัญ และประโยชนของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สาเหตุมาจากการท่ีผูดูแลโครงการไมไดมีการใหความรูเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงแกเกษตรกร และไมไดมีการชี้แจงถึงความสําคัญ วัตถุประสงค และประโยชนของเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหเกษตรกรขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติงานภายในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน นอกจากน้ียังปลอยใหเกษตรกรปฏิบัติงานภายในศูนยดวยตนเอง ไมไดมีการใหคําแนะนํา หรือติดตามผลการปฏิบัติงาน เกษตรกรจึงไมสามารถปฏิบัติกิจกรรมภายในศูนยไดอยางมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน นอกจากน้ีใน การนําความรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาปฏิบัติในการดําเนินชีวิตพบวา เกษตรกรที่ปฏิบัติงานอยูในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ไมไดมีการนําความรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชการดําเนินชีวิต ไมวาจะเปนในดานของการทําการเกษตร หรือการใชในชีวิตประจําวัน การทําการเกษตรน้ันขาดการเอาใจใส และไมสามารถตอยอดกิจกรรมท่ีทางสํานักงานเกษตรอําเภอเริ่มตนไวได ในดานการดําเนินชีวิตมีรายจายท่ีหมดไปกับอบายมุขจํานวนมาก

3. การประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในดานผลการดําเนินโครงการ พบวาเกษตรกรเหลาน้ีขาดความรู และขาดภูมิคุมกันในการดําเนินชีวิต ยึดติดอยูกับอบายมุข และไมใชท่ีดิน และทรัพยากรภายในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนใหเกิดประโยชน ทําใหชีวิตความเปนอยูท้ังกอน และหลังเขารวมโครงการไมมีความแตกตางกัน นอกจากน้ียังพบวาชุมชนพลาดโอกาสท่ีจะไดศึกษาเรียนรูในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน่ืองจากเกษตรกรท่ีเขารวมโครงการขาดความรู ความเขาใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็ยากท่ีจะขยายส่ิงเหลาน้ันใหเขาไป

Page 165: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 157

 

ถึงสมาชิกคนอื่นในชุมชน ดังน้ันชุมชนแหงน้ีจึงขาดโอกาสในการเขาถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไมสามารถเปนชุมชนแหงความพอเพียงได

การวิจัยในคร้ังน้ี ผูวิจัยไดนําเสนอสารสนเทศท่ีไดจากการลงเก็บขอมูลภาคสนาม ซึ่งจากการนําเสนอพบวาสารสนเทศท่ีไดจากการลงเก็บขอมูลภาคสนามน้ันสามารถตอบวัตถุประสงคของการวิจัยในคร้ังน้ีไดท้ังหมด 3 ขอ ซึ่งไดแก 1) เพื่อประเมินกระบวนการในการดําเนินโครงการ 2) เพื่อประเมินความรู ความเขาใจของเกษตรกรท่ีมีตอโครงการ และ 3) เพื่อประเมินผลการดําเนินโครงการ และจากการนําเสนอผลการประเมินในแตละดานจะเห็นไดวาผลการประเมินท้ัง 3 ดาน ไมวาจะเปนในดานกระบวนการดําเนินโครงการ ดานความรู ความเขาใจท่ีมีตอโครงการ และดานผลท่ีเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการไมสอดคลอง และไมเปนไปตาม เกณฑการประเมินท่ีผูวิจัยไดกําหนดเอาไว ดังน้ันผูวิจัยจึงสรุปวาโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ี ไมผานการประเมิน

อภิปรายผล

1. กระบวนการในการดําเนินโครงการน้ันไมไดเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการ เ น่ืองจากวัตถุประสงคของโครงการน้ันเนนการใหผู ท่ีเขารวมโครงการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมทางการเกษตร แตในทางปฏิบั ติ น้ันสํานักงานเกษตรอําเภอไมไดดําเนินการตามวัตถุประสงคของโครงการ กลาวคือไมไดมีการเปดโอกาสใหเกษตรกรไดมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ซึ่งสอดคลองกับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร โดยสํานักสงเสริมและฝกอบรม กําแพงแสน (2551) ท่ีไดทําการศึกษาการประเมินผลการดําเนินงานโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ซึ่งพบวาหน่ึงในปจจัยท่ีมีอิทธิพลเกี่ยวของตอความสําเร็จของ

โครงการ คือ การมีสวนรวมจากชุมชน แตเน่ืองจากทางสํานักงานเกษตรอําเภอไดจัดการหาอุปกรณการเกษตรทุกอยาง รวมไปถึงพันธุพืช และพันธุสัตว ไวใหเกษตรสําหรับปฏิบัติกิจกรรมภายในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนครบถวนแลว ดังน้ันเกษตรกรจึงไมมีโอกาสท่ีจะมีสวนรวมในการดําเนินหรือวางแผนโครงการ

2. ความรู ความเขาใจ และการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต ในดานความรูความเขาใจของเกษตรกรท่ีเขารวมโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงน้ันมีนอยมาก หรือเรียกไดวาแทบจะไมมีเลย ไมมีความรูวาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ันมีหลักการ และแนวคิดอยางไร ไมรูวาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถกอให เกิดประโยชนมหาศาลมากเพียงใด การท่ีมีความรูและความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะทําใหมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีขึ้น สามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยท่ีปราศจากความเดือนรอน ดังท่ีสุรยุทธ จุลานนท (2549 : ปาฐกถาพิเศษ) ท่ีไดกลาวถึงเศรษฐกิจพอเพียงไววา เปนแนวทางท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงชี้ใหประชาชนไดเห็นถึงแนวทางการปฏิบัติตนท่ีควรจะเปน เพื่อใหสามารถดํารงชีพไดโดยท่ีไมเดือดรอน ซึ่งท่ีจริงแลวก็เปนแนวทางท่ีมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของคนไทย และสามารถนําไปใชไดในทุกระดับ ในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศ ซึ่งถาเกษตรกรไดรับความรู และมีความเขาใจในหลักปรัชญาดังกลาวแลวน้ัน ก็จะสงผลใหมีชีวิตความเปนอยูท่ีดี มีความสุข สามารถดําเนินชีวิตอยูไดโดยท่ีไมตองพึ่งพาคนอื่น ซึ่งขัดกับส่ิงท่ีเกิดภายในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงแหงน้ีโดยส้ินเชิง การขาดความรูความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนปจจัยสําคัญท่ีทําใหศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงแหงน้ี

Page 166: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

158  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ไมประสบความสําเร็จ เกษตรกรไมเห็นความสําคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงไมมีแรงจูงใจ หรือแรงผลักดันท่ีจะทําใหตัวของเกษตรกรลุกข้ึนมาปฏิบัติตามแนวปรัชญาดังกลาว ประกอบกับการท่ีไมไดรับการดูแลเอาใจใสจากสํานักงานเกษตรอําเภอ ซึ่งเปนผูดูแลโครงการ ท่ีนําเอาเกษตรกรเหลาน้ีเขามารวมโครงการ แตกลับไมไดสงเสริมใหเกษตรกรเหลาน้ีเขาถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางแทจริง และการท่ีเกษตรกรขาดความรูในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยังสงผลใหไมสามารถนําหลักปรัชญาดังกลาวไปปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ภายในศูนยได ซึ่งไมสอดคลองกับสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ (2551) ท่ีไดทําการไดทําการศึกษาการประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ในป 2550 ท้ังศูนยหลัก ศูนยเครือขาย พบวาเกษตรกรท่ีผานการอบรมจากศูนยหลักและเครือขาย มีการนําความรูไปประยุกตใชคิดเปนรอยละ 99.13 และ93.94 ของจํานวนผูท่ีเขารับการอบรม แตท่ีศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ี เกษตรกรไมไดมีการตอยอดกิจกรรมของศูนยท่ีทางสํานักงานเกษตรอําเภอไดเร่ิมไวให น่ันเปนเพราะการขาดความรู จึงสงผลใหไมสามารถบริหารจัดการกิจกรรมตางๆ ภายในศูนยใหดําเนินตอไปได ซึ่งถามีความรู ความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก็จะสามารถดําเนินกิจกรรมภายในศูนยใหดําเนินไปอยางตอเน่ือง และย่ังยืน การขาดซึ่งความรูในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากจะไมสามารถดําเนินกิจกรรมของโครงการไดแลว การดําเนินชีวิตประจําวันของเกษตรกรก็ไมสามารถอยูไดอยางพอเพียง จะเห็นไดจากการท่ีเกษตรกรเหลาน้ียังอาศัยความเชื่อเร่ืองโชคลางในการซื้อหวยใตดินและสลากกินแบงรัฐบาล ซึ่งรายจายท่ีใชไปกับส่ิงเหลาน้ีนับวาไมใชเงินนอยๆ เมื่อเทียบกับรายไดท่ีพวกเขามี ถานํารายจาย

ท่ีใชในการซื้อหวยใตดิน และสลากกินแบงรัฐบาล เก็บออม หรือนําไปลงทุนตอยอดกับกิจกรรมภายในศูนย ส่ิงท่ีเกษตรกรจะไดรับกลับมาน้ันจะคุมคามากกวาการลุนรางวัลในแตละเดือน จะสามารถสรางรายไดใหเกษตรกรโดยท่ีไมตองพึ่งพาโชคลาง จะเปนรายไดท่ีเกิดข้ึนจากนํ้าพักนํ้าแรง จะเปนรายได ท่ีแนนอน สามารถพึ่งพาตนเองได และยังสงผลใหศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงน้ีกลับมาฟนคืนชีวิตไดอีกคร้ัง

3. ผลของโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเกิดข้ึนน้ันเปนผลในทางลบท่ี เกิดข้ึนกับเกษตรกร ครอบครัว จนสงผลไปถึงชุมชน ซึ่งสาเหตุสําคัญมาจากการท่ีผูดูแลโครงการ ซึ่งในท่ีน้ีหมายถึงสํานักงานเกษตรอําเภอ ไมไดมีความเอาใจใสตอการดําเนินโครงการ ปลอยปะละเลยใหเกษตรกรดําเนินงานกันเพียงลําพัง โดยปราศจากการใหความรู การใหคําแนะนํา และคําชี้แจงตางๆ สงผลใหเกษตรกรไมมีความรู ไมมีความเขาใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง ไมทราบถึงคุณประโยชนมหาศาลท่ีจะได รับจากหลักปรัชญาดังกลาวน้ี เกษตรกรจึงไมไดใสใจ และใหความสําคัญตอการท่ีจะศึกษาหาความรู หรือพยายามทําความเขาใจเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง ท้ังๆ ท่ีตนเอง และครอบครัวก็ไดเขามาอาศัยอยูภายในศูนยการเรียนรู ไดเขามาดําเนินกิจกรรมตางๆ ของศูนย แตกลับไมไดใชโอกาสนี้ใหเกิดประโยชน จึงทําใหการดําเนินกิจกรรมตางๆ เปนไปอยางลมเหลว ทรัพยากรถูกใชไปอยางไรความหมาย กิจกรรมบางอยางตองถูกยกเลิกไปเน่ืองจากขาดความรูของเกษตรกร ขาดการเอาใจใสจากผูรับผิด ชอบโครงการ เกษตรกรเหลาน้ีจึงไมมีโอกาสท่ีจะไดเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไมมีโอกาสที่จะไดสัมผัสในส่ิงท่ีถือวาเปนคุณประโยชนใหญหลวงตอประเทศท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยู หัวทรงพระราชทานใหแกปวงชนชาวไทย พลาดโอกาสท่ีจะทํา

Page 167: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 159

 

ใหตนเอง และครอบครัว มีชีวิตความเปนอยูท่ีดีขึ้น และในเมื่อเกษตรกรท่ีเขารวมโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงไมสามารถเขาถึงหลักการดังกลาวได จึงยากท่ีจะขยายผลหรือสงตอ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเขาไปสูชุมชน สมาชิกท่ีอยูในชุมชนจึงพลาดโอกาสในการทําความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพราะภาพของศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในสายตาของสมาชิกชุมชนท่ีไมได เขารวมโครงการน้ันเปนเพียงแคพื้นท่ีวางท่ีมี เกษตรกร 2 ครัวเรือนเขาไปอาศัยทําการเกษตร ถึงแมวาจะมีปายของศูนยต้ังเอาไว แตส่ิงท่ีสมาชิกชุมชนท่ีไมไดเขารวมโครงการเห็นกลับเปนเพียงท่ีดินธรรมดาๆ ท่ีไมตางอะไรกับท่ีดินท่ีพวกเขาทําการเกษตรอยู การท่ีไมมีส่ิงจูงใจใดๆ ท่ีจะทําใหสมาชิกชุมชนเหลาน้ีตองการท่ีจะเขาไปรวมโครงการ เพราถึงจะเขาไปรวมโครงการ ชีวิตความเปนอยูก็ไมแตกตางไปจากเดิมท่ีเคยเปน อีกท้ังยังแสดงใหเห็นวาสมาชิกชุมชนไมไดเห็นถึงความสําคัญของของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เน่ืองจากการดําเนินโครงการที่ลมเหลว ชุมชนของพวกเขาจึงยังไมสามารถท่ีจะเปนชุมชนพอเพียงได และศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนท่ีทางสํานักเกษตรอําเภอไดดําเนินโครงการมา ก็ไมสามารถกลับมาเปนศูนยท่ีมีชีวิตไดอีกตอไป ขอเสนอแนะสําหรับนําผลการวิจัยไปใช

1. จากผลการวิจัยพบวาผูท่ีมีหนาท่ีดําเนินโครงการ ไมไดเปดโอกาสใหเกษตรกรไดมีสวนรวมในการดําเนินโครงการ ดังน้ันในขั้นตอนการดําเนินโครงการทางสํานักงานเกษตรอําเภอในฐานะท่ีเปนผูรับผิดชอบโครงการตองเปดโอกาสใหเกษตรกรไดมีสวนรวมในการดําเนินโครงการ เน่ืองจากเกษตรกรเปน ผูท่ีไดรับผลกระทบจากการดําเนินโครงการโดยตรง จึง

ควรจะเปดโอกาสในเกษตรกรไดมีสวนรวมต้ังแตในขั้นการวางแผน การกําหนดแนวในการปฏิบัติ ตลอดจนการลงมือปฏิบัติ เน่ืองจากกระบวนการการมีสวนรวมเปนปจจัยท่ีสําคัญปจจัยหน่ึงท่ีจะสงผลใหโครงการน้ันประสบความสําเร็จ

2. จากผลการวิจัยพบวาเกษตรกรขาดความรู ความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทําให ไมสามารถปฏิบัติกิจกรรมในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนไดอยางตอเน่ือง และยั่งยืน ดังน้ันกอนการดําเนินโครงการควรจะมีการใหความรู เพื่อท่ีเกษตรกรจะไดมีความเขาใจ และเห็นถึงความสําคัญของคุณประโยชนในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเปนการดึงดูดความสนใจใหเกษตรกรปฏิบัติกิจกรรม ในโครงการดวยความเต็มใจ รูสึกท่ีจะปฏิบัติจากหัวใจ ซึ่งจะเปนผลดีตอการดําเนินโครงการ และจะทําใหโครงการสามารถดําเนินตอไปไดในระยะยาว

3. จากผลการวิจัยพบวาเกษตรกรไมไดมีการการนําความรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติในการดําเนินชีวิตท้ังในการทําการเกษตรและการดําเนินชีวิตประจําวัน สาเหตุท่ีเปนเชนน้ีเน่ืองจากเกษตรกรไมทราบถึงวิธีการท่ีจะนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในการดําเนินชีวิต ซึ่งเปนผลสืบเน่ืองมาจากการท่ีเกษตรกรขาดความรูในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานเกษตรอําเภอจึงไมควรเพียงแตใหความรูกับเกษตรกรเทาน้ัน แตยังตองใหตัวอยางท่ีเกษตรกรสามารถเขาใจไดงาย ซึ่งเกษตรกรน้ันจะสามารถ นําตัวอยางดังกลาวไปเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตได

4. จากผลการวิจัยพบวา ผลท่ีเกิดข้ึนกับเกษตรกร ครอบครัวของเกษตรกร และชุมชน ก็คือการท่ีพลาดโอกาสที่จะไดเรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแกปวงชนชาวไทย ดังน้ันหนวยงานตนสังกัดจึงตองเรงทําให

Page 168: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

160  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

เกษตรกรหันกลับมาสนใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการประชาสัมพันธ หรือรณรงค ใหเกษตรกรเห็นถึงประโยชนอันมหาศาลในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมเพื่อใหเกษตรกรรูสึกต่ืนตัว และมีความตองการที่จะเรียนรู และเขามารวมในโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ซึ่งจะสงผลใหหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกลับมาฟนคืนชีวิตภายในชุมชนอีกคร้ัง ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป

1. ในการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยไดทําการประเมินโครงการเฉพาะท่ีเปนบริบทของศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงหน่ึงในภาคตะวันออกน้ีเทาน้ัน ดังน้ันจึงควรจะมีการประเมินโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแหงอื่นๆ ดวย เพื่อนําสารสนเทศท่ีไดจากแตละศูนยมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง แกไข และการวางแผนในการดําเนินโครงการในปตอไป

2. ในการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยไดทําการประเมินเพียงแคในสวนของกระบวนการในการดําเนินโครงการ

ความรู ความเขาใจท่ีมีตอโครงการ และ ผลการดําเนินโครงการเทาน้ัน ดังน้ันจึงควรจะมีการประเมินในสวนท่ีนอกเหนือจากท่ีผูวิจัยไดกลาวมา เชน การประเมินปจจัยนําเขา หรือการประเมินผลกระทบของการดําเนินโครงการ เพื่อนําไปสูการปรับปรุง แกไข และการวางแผนในการดําเนินโครงการในปตอไป

3. ในการวิจัยคร้ังน้ีมีขอจํากัดทางดานเวลาและผูใหขอมูล ผูวิจัยจึงดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสังเกตแบบมีสวนรวม และการสัมภาษณ แตเพื่อ ใหไดขอมูลท่ีมีความหลากหลายมากยิ่งข้ึน ควรมีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสนทนากลุมกับเกษตรกรท้ัง 2 ครัวเรือน และจากเจาหนาท่ีสํานักงานเกษตรอําเภอ นอกจากน้ียังควรเก็บขอมูลจากปจจัยท่ีลุมลึกท่ีสงผลตอการดําเนินโครงการในคร้ังน้ี ไดแก เหตุผลท่ีแทจริง ตอการตัดสินใจเขารวมโครงการของเกษตรกร และสาเหตุท่ีทําใหผูรับผิดชอบโครงการขาดการเอาใจใสตอโครงการ

Page 169: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 161

 

บรรณานุกรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สํานักสงเสริมและฝกอบรม กําแพงแสน. (2551). การประเมินผลโครงการศูนยเรียนรู

เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน ป 2551. นครปฐม: โรงพิมพสํานักสงเสริมและฝกอบรม กาํแพงแสน. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศรี. (2549). การประเมินโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัต.ิ กรุงเทพมหานคร:

สํานักพิมพจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. สมหวัง พิธิยานุวัฒน. (2549). รวมบทความทางการประเมินโครงการ เลมที ่4. (พมิพคร้ังท่ี 7). กรุงเทพมหานคร:

สํานักพิมพจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม

แหงชาติ ฉบับที่ 11. (Online). http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/plan11.pdf, 14 มิถุนายน 2555.

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. (2551). การประเมินผลโครงการศูนยเรยีนรู เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน (Online). http://www.oae.go.th/download/article/article_20101227153418.pdf, 14 มิถุนายน 2555.

สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพชมุชน กรมการพัฒนาชมุชน. (2549). คูมือการสรางวิถีพอเพียงตามแนว พระราชดํารฯิ. กรุงเทพมหานคร: กรมพัฒนาชุมชน สํานักสงเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน.

สุเมธ ตันติเวชกุล. (2549). “ชวิีตพอเพียง” นิตยสารแพรว รายปกษ. 254-258. สุรยุทธ จุลานนท. (2549). แนวทางการบรหิารประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.

(เอกสารการบรรยาย). กรุงเทพมหานคร: ทําเนียบรัฐบาล.

Page 170: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

162  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การพัฒนาเครื่องมือเพ่ือการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมี จากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4

THE DEVELOPMENT OF ASSESSMENT TOOL FOR EVALUATING MATTHAYOM SUKSA 4 STUDENTS’ANALYTICAL THINKING IN

CHEMISTRY USING MIND MAP

ผูวิจัย วรรณิสา แตงทรัพย1 Wannisa Tangsup กรรมการควบคุม ผศ. วสันต ทองไทย2 ดร. เอกรัตน ทานาค3 Advisor Committee Asst.Prof. Wasan Thongthai Dr. Akarat Tanak บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีจุดประสงคเพื่อพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด โดยมีวัตถุประสงคเฉพาะคือ 1) เพื่อศึกษาคุณภาพของเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด 2) เพื่อกําหนดเกณฑสําหรับการแปลความหมายคะแนนท่ีไดจากเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด 3) เพื่อจัดทําคูมือการใชเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด

วิธีการพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 มีขั้นตอนดังน้ี 1) กําหนดวัตถุประสงคของการสรางเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด แลวศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการคิดวิเคราะห แผนท่ีความคิด และวิชาเคมี เพื่อใช

เปนแนวทางในการกําหนดองคประกอบของการคิดวิเคราะห และเปนแนวทางในการพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะห แลวกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติ การของการคิดวิเคราะห 2) สรางเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด 3) ตรวจสอบความตรงตามทฤษฎีโดยใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาเกณฑการใหคะแนน แผนการจัดการเรียนรู และเกณฑการแปลความหมายคะแนนท่ีกําหนด 4) นําเคร่ืองมือไปใชกับกลุมเปาหมายเพื่อตรวจสอบความตรงตามทฤษฎี ความเที่ยง ปรับปรุงเครื่องมือ 5) กําหนดเกณฑการแปลความหมายคะแนน 6) สรางคูมือการใชเคร่ืองมือ

ผลการวิจัยสรุปวา 1) เคร่ืองมือท่ีพัฒนาข้ึนมีความตรงตามทฤษฎีโดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางคะแนนในแตละองคประกอบกับคะแนนรวมอยูระหวาง 0.84-0.97 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 มีคาความเที่ยงแบบสอดคลองภายในของเคร่ืองมือเทากับ

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ขาราชการครู ตําแหนง ครู คศ.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา

2อาจารยคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาการวิจัยและประเมินทางการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3อาจารยคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

Page 171: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 163

 

0.92 เคร่ืองมือท่ีพัฒนาข้ึนมีความเปนปรนัยและความ สามารถในการนําไปใช 2) เกณฑการแปลความหมายคะแนนจากเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 สามารถแปลระดับการคิดวิเคราะหไดตรงตามวัตถุประสงคของเคร่ืองมือท่ีไดกําหนดไว 3) คูมือการใชแบบวัดท่ีจัดทําข้ึนมีความเปนปรนัย คําสําคัญ : เคร่ืองมือเพื่อการประเมิน การคิดวิเคราะห แผนท่ีความคิด

ABSTRACT

The objective of this research is to develop the assessment tool for evaluating matthayom Suksa 4 students’ analytical thinking in chemistry using mind map. There are three specific objectives, 1) to construct validity, reliability, objectivity and usability, 2) to specify the criterion for the interpretation of this method and 3) to provide the manual for the assessment tool, respectively.

The assessment tool for evaluating Matthayom Suksa 4 students’ analytical thinking in chemistry using mind map have been constructed through the following steps; 1) defined the objectives for the development of the assessment tool for evaluating Matthayom Suksa 4 students’ analytical thinking in chemistry using mind map. Then studied concept, theory including documents and researches related in analytical thinking, mind map and chemistry to define factors of the analytical thinking and to construct the assessment tool, 2) constructed

tool for evaluating Matthayom Suksa 4 students’ analytical thinking in chemistry using mind map, 3) reviewed the construct validity, reviewed lesson plans and criterion for the interpretation of assessment tool by specialist, 4) verified and improved quality of the assessment tool 5) defined criterion for the interpretation of this method 6) constructed the manual of the assessment tool

The results revealed that: 1) the assessment constructed is validity. Correlation coefficient of each factor and total score are in the range of 0.84-0.97 at 0.01 level of significance and the internal consistent reliability of the assessment tool is 0.92 which are objective and usability, 2) the criterion for interpretation of assessment tool in each factor and overall are accurate with the objectives of the assessment tool, 3) the manual for the assessment tool are objective.

Keywords : Assessment Tool Analytical Thinking Mind map

ความเปนมาของปญหาการวิจัย

วิทยาศาสตรมีความสําคัญย่ิงในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเก่ียวของกับชีวิตของมนุษยทุกคนท้ังในการดํารงชีวิตประจําวันและในการงานอาชีพตางๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เคร่ืองมือเคร่ืองใชและผลผลิตตางๆ ท่ีมนุษยไดใชเพื่ออํานวยความสะดวกในชีวิตและการทํางาน ลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่นๆ วิทยาศาสตรชวยใหมนุษยไดพัฒนาวิธี

Page 172: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

164  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

คิดท้ังความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม ซึ่งเปนสังคมแหงการเรียนรู (Knowledge-Based Society) ดังน้ันทุกคนจึงจําเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร เพื่อท่ีจะมีความรูความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ีมนุษยสรางสรรคขึ้น สามารถนําความรูไปใชอยางมีเหตุผล สรางสรรค และมีคุณธรรม โดยกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงหวังใหนักเรียนไดนําความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรไปใชในการศึกษาคนควาหาความรูและแกปญหาอยางเปนระบบ การคิดอยางเปนเหตุเปนผล คิดวิเคราะห คิดสรางสรรค และจิตวิทยาศาสตร (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)

วิชาเคมีเปนสาขาหน่ึงท่ีมีอยูในหลักสูตรการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและเปนวิชาท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งในการศึกษาสมบัติ องคประกอบ และโครงสรางของสสารรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงพลังงานท่ีเกิดข้ึนภายในสสารจึงมีเน้ือหาของวิชาเคมีบรรจุสอดแทรก หรือเพิ่มเติมอยูในวิทยาศาสตรทุกแขนงวิชา อีกท้ังยังเปนพื้นฐานท่ีสําคัญท่ีถูกนําไปประยุกตในศาสตรสาขาตาง ๆทางเทคโนโลยี เชน วิศวกรรมศาสตร เทคนิคการแพทย เภสัชศาสตร พยาบาลศาสตร เปนตน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 เน้ือหาเร่ืองสมบัติของธาตุและสารประกอบ ซึ่งเปนเน้ือหาท่ีเก่ียวของกับความสัมพันธของธาตุตามหมูและคาบ ปฏิกิริยาและสมบัติของธาตุและสารประกอบของธาตุ ตางๆ เปนหนวยการเรียนรูหนวยหน่ึงท่ีเปนเน้ือหาท่ีมีความยากแกการเขาใจ ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า (นาวิน มัตนาวี, 2546) ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากเน้ือหามีรายละเอียดมาก มีความซับซอนและมีความเชื่อมโยงในแตละเน้ือหา ซึ่งนักเรียนตองใชกระบวนการคิดวิเคราะหในการทําความเขาใจในเนื้อหาเร่ืองน้ี

การสรางแผนท่ีความคิดเปนวิธีหน่ึงท่ีจะทําใหผูเรียนไดฝกวิเคราะหเน้ือหา เชื่อมโยงและจัดระบบความคิด ทําใหสรุปองคความรูได ซึ่งเปนวิธีท่ีไดรับความนิยมอยางแพรหลาย มีการนํามาใชในกิจกรรมตางๆ อยางกวางขวาง ซึ่งแผนท่ีความคิด คิดคนโดยโทนี บูซาน ท่ีไดนําความรูเร่ืองสมองมาปรับใชกับการเรียนรู โดยพัฒนาการจากการจดบันทึกท่ีเปนตัวอักษร เปนบรรทัด ใชปากกาสีเดียวมาเปนใชการบันทึกดวย คํา ภาพ สัญลักษณ แบบแผออกเปนรัศมีออกรอบๆ ศูนยกลาง (ขวัญฤดี ผลอนันต และ ธัญญา ผลอนันต, 2550) จาก ขอคนพบในงานวิจัยของยุพิน เกตุดี (2549) ไดใหความเห็นวา เทคนิคแผนท่ีความคิดเปนเทคนิคท่ีชวยพัฒนารูปแบบการคิดเชื่อมโยงรายละเอียดและประเด็นสําคัญตางๆ ของขอมูลท่ีไดรับ ทําใหเขาใจถึงความสําคัญและความสัมพันธของประเด็นตางๆ และรายละเอียดปลีกยอยตางๆ ได ซึ่งจะชวยในการพัฒนาใหนักเรียนเขาใจเน้ือหาท่ีเรียนไดมากข้ึน สามารถลําดับประเด็นตาง ๆ ตามความสําคัญไดอยางเปนระบบไมสับสน สงผลใหผูเรียนเขาใจเน้ือหาท่ีเรียนไดดีขึ้น ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของสัมทธิ์ บุญนิยม (2548) ท่ีพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองพืชและสัตว ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีสอนดวยวิธีสอนโดยใชแผนท่ีความคิด และวิธีสอนตามคูมือครูแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยนักเรียนท่ีสอนดวยวิธีสอนโดยใชแผนที่ความคิดมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนท่ีสอนดวยวิธีสอนตามคูมือครู และยังสอดคลองกับปรียา สุขเจริญ (2549) ท่ีศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิชาชีววิทยาของนักเรียนชวงชั้นท่ี 4 ท่ีเรียนโดยใชวิธีสอนแบบวัฎจักรการเรียนรูและการสรางแผนที่ความคิด กับนักเรียนท่ีเรียนโดยใชวิธีสอนแบบปกติ ผลการศึกษาพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาของนักเรียน

Page 173: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 165

 

ท่ีเรียนโดยใชวิธีสอนแบบ วัฏจักรการเรียนรูและการสรางแผนท่ีความคิดสูงกวานักเรียนท่ีเรียนโดยใชวิธีสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ดังน้ันแผนที่ความคิดจึงเหมาะในการใชพัฒนาการเรียนการสอนท่ีมุง เนนให นักเ รียนมีการวิเคราะห เชื่อมโยงองคประกอบ และพัฒนาผลการเรียนรูของผูเรียน นอกจากแผนท่ีความคิดจะใชเปนเคร่ืองมือหน่ึงในการจัดกิจกรรมการเรียนรูแลวแผนท่ีความคิดยังเปนเคร่ืองมือหน่ึงท่ีใชในการประเมินการเรียนรูของผูเรียนได (ธัญญา ผลอนันต และนพพล จําปา, 2551) ซึ่งการประเมินผลเปนกระบวนการท่ีสําคัญตอการพัฒนากระบวนการเรียนรูของผูเรียน

การประเมินผลการเรียนรูเปนกระบวนการท่ีมีความสําคัญตอการพัฒนากระบวนการเรียนรูของผูเรียน เพราะจะทําใหผูเรียนและผูท่ีเก่ียวของไดทราบถึงความรูความสามารถและความถนัดของผูเรียน เพื่อใชเปนขอมูลในการแกไขจุดบกพรองและพัฒนาตนเองไดเต็มความสามารถ และเพื่อใหสามารถประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนท้ังในดานความรูท่ีแทจริงของผูเรียนได ครูผูสอนจะตองมีการประเมินผลการเรียนของผูเรียนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย มีประสิทธิภาพและมีการประเมินผลอยางตอเน่ืองเพื่อจะไดขอมูลท่ีมากพอท่ีจะสะทอนถึงความสามารถท่ีแทจริงของผูเรียนแตละคนได การประเมินท่ีดีตองการการวางแผนและการออกแบบอยางระมัดระวัง การวางแผนในการประเมิน เร่ิมดวยการกําหนดลักษณะเฉพาะของโดเมนในการกําหนดมโนทัศนหลักท่ีสําคัญและระบุเน้ือหาและทักษะในแตละมโนทัศนกรอบแนวคิดในการประเมินท่ีจะนํามาใชบงชี้ใหเห็นถึงการแจกแจงในองคประกอบของการวัดท้ังเน้ือหาและระดับทักษะหรือพฤติกรรมท่ีตองการวัด ซึ่งในการวัดและประเมินทางการศึกษาน้ัน ตองอาศัยเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพในการเก็บรวบรวม

ขอมูลเพื่อใหไดขอมูลท่ีถูกตองตรงตามความตองการ และมีความนาเชื่อถือ สามารถนําไปใชในการประเมินและตัดสินใจ คุณภาพของเคร่ืองมือวัดและประเมินจึงเปนส่ิงสําคัญและจําเปนยิ่ง (พรทิพย ไชยโส, 2545)

จากการจัดการเรียนการสอนของผูวิจัยท่ีไดรับมอบหมายใหสอนวิชาเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา ไดเห็นความสําคัญของการจัดการศึกษาท่ีมุงเนนใหนักเรียนเกิดทักษะดานการคิดวิเคราะห มีการวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีสอดคลองกับการจัดการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนไดเกิดการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ มีผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และจากการศึกษางานวิจัยตางๆ ท่ีเก่ียวของ เชน งานวิจัยของ ยุพิน เกตุดี (2549) และอังคณา เลิศศรี (2550) พบวา แผนท่ีความคิดเปนวิธีหน่ึงท่ีนิยมใชในการฝกวิเคราะหเน้ือหา จัดระบบความคิด ในการจัดการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร ซึ่งทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น แตอยางไรก็ตาม จากการศึกษางานวิจัยท่ีผานมาน้ันพบวามีการนําแผนท่ีความคิดมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนจํานวนมาก แตในงานวิจัยจะไมเนนถึงเคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินแผนท่ีความคิด ไมไดเนนการสรางหรือพัฒนาเคร่ืองมือ และมีการหาคุณภาพของเคร่ืองมือดวยการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญเทาน้ัน ซึ่งในการประเมินทางการศึกษาน้ันตองอาศัยเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพ และมีการออกแบบเพื่อการประเมินท่ีดี เพื่อท่ีจะทําใหไดพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด และตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ เพื่อเปนเคร่ืองมือสําหรับครูในการประเมินการคิดวิเคราะห และนําผลท่ีไดมาใชในการปรับปรุงการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นตอไป

Page 174: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

166  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิด

วิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด โดยมีวัตถุประสงคเฉพาะคือ

1. เพื่อศึกษาคุณภาพของเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด

2. เพื่อกําหนดเกณฑสําหรับแปลความหมายคะแนนท่ีไดจากเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด

3. เพื่อจัดทําคูมือในการใชเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด ขอบเขตของการวิจัย

1. การวิจัยคร้ัง น้ีมุ งพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิด องคประกอบของการคิดวิเคราะหมี 3 องคประกอบ ดังน้ี การวิเคราะหความสําคัญ การวิเคราะหความสัมพันธ และการวิเคราะหหลักการ

2. กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัย เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 จํานวน 49 คน

3. รูปแบบของเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ แบบประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด โดยครูเปนผูประเมินแผนท่ีความคิดท่ีนักเรียนสรางข้ึนในการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมี เน้ือหาเร่ือง สมบัติของธาตุและสารประกอบ

4. คุณภาพของเคร่ืองมือท่ีพัฒนาข้ึนประกอบ ดวยความตรงตามทฤษฎี ความเท่ียง ความเปนปรนัย และความสามารถในการนําไปใช

วิธีดําเนินการวิจัย งานวิจัยน้ีมีลําดับขั้นตอนการวิจัยเพื่อพัฒนา

เคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหดวยวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ดังน้ี

1. การพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด

กําหนดวัตถุประสงคของการสรางเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด แลวศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการคิดวิเคราะห แผนท่ีความคิด และศึกษาจุดมุงหมายของหลักสูตร ผลการเรียนรูและขอบขายเน้ือหาวิชาเคมี เพื่อใชเปนแนวทางในการกําหนดองคประกอบของการคิดวิเคราะห ขอบเขตเน้ือหาวิชาเคมี และเปนแนวทางในการสรางเคร่ืองมือประเมินการคิดวิเคราะห จากน้ันสรางเคร่ืองมือตามกรอบแนวคิดท่ีกําหนด โดยเคร่ืองมือประกอบดวย แบบประเมินการคิดวิเคราะหจากแผนท่ีความคิดในวิชาเคมี โดยมีการกําหนดเกณฑการใหคะแนนเปนแบบรูบริคส และแผนการจัดการเรียนรูจํานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู ท่ีฝกใหนักเรียนคิดวิเคราะห และมีขั้นสรุปเน้ือหาโดยใหนักเรียนสรางแผนที่ความคิดจากน้ันนําแบบวัดไปตรวจสอบความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) โดยวิธีเชิงเหตุผล โดยผูเชี่ยวชาญดานการสรางเคร่ืองมือวัดท่ีเก่ียวของกับการคิดวิเคราะห แผนท่ีความคิด และดานการสอนวิชาเคมี จํานวน 3 ทาน และปรับปรุงเคร่ืองมือตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

2. การศึกษาคุณภาพของเคร่ืองมือเพื่อการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4

Page 175: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 167

 

นํ า เ ค ร่ื อ งมื อ ท่ีพัฒนา ข้ึ น ไป ใช กั บก ลุ ม เปาหมาย คือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4/2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลาจํานวน 49 คน ซึ่งทําใหไดแผนท่ีความคิดจํานวน 49 แผนท่ีความคิด เพื่อนํามาตรวจสอบคุณภาพดานความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) โดยวิธีเชิงประจักษ ดวยการวิเคราะหความสัมพันธของคะแนนในแตละองคประกอบกับคะแนนรวมทุกองคประกอบตามสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน ตรวจสอบความเท่ียงแบบความสอดคลองภายในดวยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบแอลฟาตามวิธีของครอนบาค เมื่อไดเคร่ืองมือประเมินท่ีมีคุณภาพตามเกณฑแลว นําเคร่ืองมือไปใหครูผูสอนวิชาเคมีอีกทานประเมินแผนท่ีความคิด 49 แผนท่ีความคิดและวิเคราะหความสัมพันธระหวางคะแนนท่ีไดจากครู 2 คนตามสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงของเคร่ืองมือ

3. กําหนดเกณฑการแปลความหมายคะแนนของเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด

3.1 กําหนดเกณฑการใหคะแนน และกําหนดเกณฑการแปลความหมายคะแนน

3.2 ตรวจสอบคุณภาพของเกณฑโดยผู เชี่ยวชาญและปรับปรุงเกณฑการใหคะแนนใหมีความเหมาะสม

4. สรางคูมือการใชเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4

4.1 สรางคูมือการใชเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะห

4.2 นําคูมือไปใหครูผูสอนวิชาเคมีจํานวน 2 คน ทําความเขาใจและประเมิน แลวสอบถามความ

คิดเห็นในการใชคูมือและการใชเคร่ืองมือ เพื่อตรวจสอบความเปนปรนัย และความสามารถในการนําไปใช ผลการวิจัย

เคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยม ศึกษาปท่ี 4 ท่ีผูวิจัยพัฒนาข้ึนน้ันเปนเคร่ืองมือสําหรับนําไปใชประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียน ซึ่งจะเปนประโยชนกับครูท่ีจะนําผลการประเมินไปสงเสริม สนับสนุน และพัฒนานักเรียนใหมีการคิดวิเคราะหตอไป โดยกําหนดองคประกอบของการคิดวิเคราะห ออกเปน 3 องคประกอบคือ การวิเคราะห ความสําคัญ การวิเคราะหความสัมพันธ และการวิเคราะหหลักการ รูปแบบของเคร่ืองมือมีลักษณะเปนแบบประเมินการคิดวิเคราะห โดยครูเปนผูประเมินแผนท่ีความคิดท่ีนักเรียนสรางข้ึนในการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมี เน้ือหาเร่ือง สมบัติของธาตุและสารประกอบ คุณภาพของเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด

1. ความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) จากการตรวจสอบเชิงเหตุผลโดยผูเชี่ยวชาญ

ผลจากการตรวจสอบความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) ของเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 โดยใหผูเชี่ยวชาญทางดานวิชา เคมี 2 ทาน และผูเชี่ยวชาญทางดานการวัดและประเมินผลวิชาวิทยาศาสตร 1 ทาน เปนผูพิจารณา อาศัยดุลยพินิจของผูเชี่ยวชาญในการตัดสิน พบวา การนิยามศัพทท่ีเก่ียวของมีความชัดเจน เหมาะสม และครอบคลุม แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการคิดวิเคราะห และสามารถนําไปสูการสรางเคร่ืองมือเพื่อการ

Page 176: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

168  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนที่ความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ไดการใหคะแนนของเคร่ืองมือมีความเหมาะสม แผนการจัดการเรียนรูมีกระบวนการและกิจกรรมสงเสริมใหนักเรียนคิดวิเคราะห จึงสรุปไดวาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหจากแผนท่ีความคิดในวิชาเคมี ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 มีความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) โดยการวิเคราะหเชิงเหตุผล

2. ความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) จากการตรวจสอบโดยวิธีเชิงประจักษ

ผลจากการตรวจสอบความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) โดยวิธีเชิงประจักษดวยการนําเคร่ืองมือไปตรวจสอบแผนท่ีความคิดท่ีนักเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4/2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา จํานวน 49 คนเปนผูสรางแผนที่ความคิด แลววิเคราะหความสัมพันธของคะแนนในแตละองคประกอบกับคะแนนรวมทุกองคประกอบตามสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน เพื่อตรวจสอบวาเคร่ืองมือท่ีสรางข้ึน สามารถวัดองคประกอบเปนไปตามแนวคิดในการสรางเคร่ืองมือหรือไม จากการพิจารณาพบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ระหวางคะแนนในแตละองคประกอบกับคะแนนรวมทุกองคประกอบมีคาอยูระหวาง .84-.97 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางคะแนนในแตละองคประกอบมีคาอยูระหวาง .70-1.00 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 แสดงวาเคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 มีความตรงตามทฤษฎี (Construct Validity) เพราะแตละองคประกอบสามารถวัดคุณลักษณะเดียวกัน คือ การคิดวิเคราะหในวิชาเคมี

3. ความเที่ยง ผลจากการนําเคร่ืองมือไปจากการนําเครื่องมือ

ไปใชประเมินแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4/2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา

จํานวน 49 คน เพื่อตรวจสอบคุณภาพดานความเท่ียง เพื่อพิจารณาความสัมพันธของการใหคะแนนของแตละองคประกอบของการคิดวิเคราะห โดยใชวิธีการวิเคราะหหาคาความเที่ยงแบบสอดคลองภายในดวยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบแอลฟาตามวิธีของครอนบาค มีคาความเท่ียงเปน .92 และไดใหครูผูสอนวิชาเคมี 2 คนประเมินแผนที่ความคิดท่ีนักเรียนสรางข้ึน เพื่อตรวจสอบความเท่ียง ดวยวิธีการวิเคราะหความสัมพันธของคะแนนท่ีครูผูสอนวิชาเคมี 2 คนประเมินแผนท่ีความคิดในแตละองคประกอบและคะแนนรวมตามสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน พบวา แตละองคประกอบมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยูระหวาง .84-.86 และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธคะแนนรวมมีคา .88 มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 ซึ่งเมื่อพิจารณาเครื่องมือวัดและประเมินเก่ียวกับการคิดวิเคราะหท่ีมีผูสรางแลวน้ัน มีคาความเท่ียงอยูระหวาง .63-.93 จากการตรวจสอบแสดงใหเห็นวา เคร่ืองมือท่ีผูวิจัยพัฒนานั้น มีคาความเท่ียงท่ีสูงเมื่อเทียบกับเคร่ืองมือท่ีผูวิจัยทานอื่นไดสรางไวแลว ดังน้ันจึงสรุปไดวา เคร่ืองมือเพื่อการประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 อยูในระดับสูงสามารถนําไปใชได

4. เกณฑการแปลความหมาย ผลจากการที่ ผูวิจัยกําหนดเกณฑการแปลความหมายคะแนนของเคร่ืองมือประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิด แลวนําไปใหผูเชี่ยวชาญดานการสรางเคร่ืองมือวัดท่ีเก่ียวของกับการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจํานวน 3 ทานตรวจสอบคุณภาพของเกณฑท่ีกําหนด พบวา ผูเชี่ยวชาญท้ัง 3 ทาน มี ความคิดเห็นสอดคลองกันวาเกณฑการแปลความหมายคะแนนท่ีผูวิจัยกําหนดน้ันมีสัดสวนของนํ้าหนักคะแนนท่ีเหมาะสม และเกณฑการแปลความหมายท่ีผูวิจัยกําหนดขึ้นมาน้ันสามารถบอกไดถึงระดับการคิดวิเคราะหของผูเรียน จะเห็นไดวาเกณฑท่ีผูวิจัยกําหนดน้ันสามารถ

Page 177: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 169

 

แปลระดับการคิดวิเคราะหไดตรงตามวัตถุประสงคของเคร่ืองมือท่ีไดกําหนดไว

5. คูมือการใชแบบวัด ผลจากการท่ีผูวิจัยไดนําคูมือการใชเคร่ืองมือ

ประเมินและเคร่ืองมือประเมินการคิดวิเคราะหท่ีผูวิจัยสรางข้ึนไปทําการสัมภาษณครูผูสอนวิชาเคมีจํานวน 2 คน พบวาครูผูสอนวิชาเคมีท้ัง 2 คนสามารถศึกษารายละเอียดในคูมือแลวเกิดความเขาใจตรงกัน สามารถใชเคร่ืองมือประเมินการคิดวิเคราะหในวิชาเคมีจากแผนท่ีความคิดของนักเรียนไดถูกตอง สามารถตรวจใหคะแนนไดอยางถูกตองตามเกณฑการใหคะแนนท่ีกําหนด สามารถแปลความหมายคะแนนไดถูกตองตามท่ีชี้แจงไวในคูมือ สามารถนําผลการประเมินไปใชเปนขอมูลในการตรวจสอบระดับการคิดวิเคราะหของนักเรียน มีแนวทางในการสงเสริมและพัฒนาการคิดของนักเรียนจากการแปลความหมายท่ีผูวิจัยกําหนดไว การใชเวลาในการประเมินเหมาะสม และการกําหนดคําสําคัญของเน้ือหาทําใหสะดวกในการตรวจใหคะแนน จะเห็นไดวาคูมือการใชเคร่ืองมือประเมินการคิดวเิคราะหท่ีผูวิจัยพัฒนาข้ึนมีความเปนปรนัยและความสามารถในการนําไปใช ซึ่งในคูมือมีรายละเอียด ดังน้ี

1. จุดมุงหมายของเครื่องมือ 2. องคประกอบของเคร่ืองมือ 3. ประโยชนจากการใชเคร่ืองมือ 4. การพัฒนาเคร่ืองมือ 5. คุณภาพของเคร่ืองมือ 6. วิธีการใชเคร่ืองมือ 7. การตรวจใหคะแนนและการแปลผลคะแนน

ของเคร่ืองมือ 8. ตัวอยางการใชเคร่ืองมือ

ขอเสนอแนะ

1. การนําเคร่ืองมือไปใชน้ัน ส่ิงท่ีสําคัญคือตองอธิบายใหนักเรียนเขาใจถึงวัตถุประสงคของการ

ประเมิน และชี้แจงใหนักเรียนเห็นถึงความสําคัญของการสรุปเน้ือหาความรูดวยการเขียนแผนท่ีความคิด เพื่อท่ีนักเรียนจะไดมีความต้ังใจในการสรางแผนท่ีความคิด และจะทําใหผลการประเมินแสดงถึงความ สามารถของนักเรียนจริงๆ

2. กอนท่ีจะใชเคร่ืองมือน้ี นักเรียนตองมีความรูเก่ียวกับแผนท่ีความคิด ในดานวิธีการสรางแผนท่ีความคิด หลักการเขียนแผนที่ความคิด ประโยชนของการเขียนแผนท่ีความคิด เพื่อท่ีนักเรียนจะไดสรางแผนท่ีความคิดไดถูกตองตามหลักการ และวัตถุประสงคของการทํา โดยเฉพาะอยางยิ่งคือวิธีการเขียน เพราะการสรุปเน้ือหาออกมาเปนแผนผังความรูน้ันมีหลายรูปแบบ เชน Concept map ซึ่งอาจทําใหนักเรียนเขาใจคลาดเคลื่อนและสรุปออกมาเปนประโยค แตแผนที่ความคิดนักเรียนตองสรางเปน คําส้ันๆ ซึ่งทําใหผลการประเมินแผนท่ีความคิดน้ันคลาดเคล่ือน เพราะนักเรียนไมไดสรางเปนแผนท่ีความคิดตามหลักการท่ีถูกตอง

ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตอไป 1. หากมีผูสนใจตองการที่จะศึกษาในประเด็น

ท่ีเก่ียวของกับงานวิจัยของผูวิจัย ผูวิจัยขอเสนอแนะใหศึกษาและพัฒนาเคร่ืองมือตอไป โดยปรับเน้ือหาวิชาท่ีจะประเมิน เลือกเน้ือหาท่ีมีความเหมาะสมในการทําแผนท่ีความคิด ควรเลือกเน้ือหาท่ีมีการเชื่อมโยง มีความ สัมพันธกัน แผนการจัดการเรียนรูตองเนนใหนักเรียนฝกคิดวิเคราะห อาจเพิ่มกิจกรรมอื่นๆ ท่ีสงเสริมใหนักเรียนคิดวิเคราะหเพิ่มมากขึ้น ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ควรแจงวัตถุประสงคของการประเมินใหนักเรียนไดเขาใจ และเห็นความสําคัญ และแจงเกณฑการใหคะแนน เพื่อใหนักเรียนไดทราบวาตองปฏิบัติอยางไร เพื่อท่ีนักเรียนจะไดแสดงความสามารถตามจุดประสงคของการประเมิน

Page 178: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

170  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชมุนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. ขวัญฤดี ผลอนันต และธัญญา ผลอนันต. (2550). Mind Map กับการศกึษาและการบริหารความรู.

กรุงเทพมหานคร: ขวัญขาว ’๙๔. ธัญญา ผลอนันต และนพดล จําปา. (2551). คัมภีร Mind Map. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพขวัญขาว’ ๙๔. แปลจาก Buzan and Buzan. (2006). The Mind Map Book. London: BBC Worldwide. นาวิน มัตนาวี. (2546). การศึกษาเปรียบเทยีบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเคมี เรื่อง “สมบัติของธาตุและ

สารประกอบของธาตุตามหมูและคาบ” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่เรียนโดยใชชุดการสอน กับเรียนตามคูมือคร.ู วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร(เคมี), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.

ปรียา สุขเจริญ. (2549). ผลของการใชวัฎจักรการเรียนรู และการสรางแผนที่ความคิดตอผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนและเจตคติตอวิชาชีววิทยาของนักเรียน ชวงชั้นที ่4 ปที่ 1. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชัฎจันทรเกษม. พรทิพย ไชยโส. (2545). เอกสารคําสอนวิชา 153521 หลักการวัดและประเมินผลการศึกษาข้ันสูง.

ภาควิชาการศกึษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร: กรุงเทพมหานคร. ยุพิน เกตุดี. (2549). ผลของการใชกิจกรรมการสรางแผนท่ีความคดิทีม่ีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรยีน

และเจตคตติอวิชาชีววิทยา ของนักเรียนชวงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4. วิทยานิพนธครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชัฎจันทรเกษม.

สัมฤทธิ์ บุญนิยม. (2548). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องพืชและสตัว ของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปที ่6 ที่สอนดวยวิธีสอนโดยใชแผนท่ีความคิดกับวิธีสอนตามคูมือคร.ู วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อังคณา เลิศศรี. (2550). การใชแผนท่ีความคิดเพื่อเสรมิสรางทักษะการสรุปความคิดรวบยอดของนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนวัดดอนชยั จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, มหาวิทยาลัยราชัฎจันทรเกษม.

Page 179: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 171

 

สภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สริิโสภาพัณณวดี

ตามความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารยและนักศึกษา DOMESTIC ENVIRONMENT OF SIAM TECHNOLOGY COMMERCIAL COLLEGE UNDER THE PATRONAGE OF ROYAL HIGHNESS PRINCESS BEJARATANA

AS PERCEIVED BY ADMINISTRATORS, INSTRUCTOR, AND STUDENT ผูวิจัย ศิวพร ใจตุย1 Siwaporn Jaituy กรรมการควบคุม ดร. จารุวรรณ สกุลคู2 ผศ.ดร. สุชาดา สุธรรมรักษ3 Advisor Committee Dr. Jaruwan Sakulkhu Asst.Prof.Dr. Suchada Suthamrak บทคัดยอ การ วิจั ยค ร้ัง น้ีมี จุดมุ งหมาย เพื่ อ ศึกษา สภาพ แวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ตามความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารยและนักศึกษา โดยรวมและรายดาน 5 ดาน คือ ดานอาคารสถานท่ี ดาน การบริการนักศึกษา ดานการเรียนการสอน ดานสังคมกลุมเพื่อน และดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา จําแนกตาม สถานะภาพ ชั้นปและสาขาวิชา กลุมตัวอยาง ไดแก ผูบริหาร จํานวน 11 คน อาจารย จํานวน 160 คน และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปท่ี 1-2 สาขาบัญชี สาขาการตลาด สาขาคอมพิวเตอรและสาขาการโรงแรม ท่ีกําลังศึกษาอยูท่ีวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 229 คน รวมกลุมตัวอยาง

ท้ังส้ิน 400 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 50 ขอ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ .95 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถ่ี คารอยละ คาคะแนนเฉล่ียคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว และการทดสอบความแตกตางเปนรายคูโดยใชวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัย พบวา

1. ผูบริหาร อาจารยและนักศึกษามีความคิดเห็นตอส่ิงแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวมและเปนรายดาน วามีความเหมาสมในระดับปานกลางทุกดาน

2. ความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารย นักศึกษา ท่ีมี ตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตน ราช

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2,3อาจารยประจําสาขาวิชาอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 180: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

172  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

สุดา สิริโสภาพัณณวดี ผูบริหาร อาจารย นักศึกษามีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอม ภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวมมีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูบริหาร อาจารย นักศึกษามีความคิดเห็นวาสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี มีความเหมาะสม

3. นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยูในระดับการ ศึกษาท่ีตางกัน มีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภา พัณณวดี โดยรวม และเปนรายดานทุกดานไมแตกตางกัน 4. นักศึกษา ท่ีกําลังศึกษาตางสาขาวิชากัน มีความสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีโดยรวม และเปนรายดานทุกดานไมตางกัน คําสําคัญ : 1. สภาพแวดลอมภายใน 2. วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี 3. ความคิดเห็น

ABSTRACT

This research aimed to study the environment inside Siam Technology Commercial college under the patronage of Royal Highness Princess Bejaratana as Perceived by Administrators, Instructor, and Student in overall

and in five aspects: physical buildings, student services, learning and teaching, students social relation, and student activities categorized by status and by academic level and major filed for student only. The sample included 11 administrators 160 instructors and 229 vocational diploma students in the first and second year studying accounting, marketing, computer science, and hotel industry at Siam Technology Commercial College under the patronage of Royal Highness Princess Bejaratana during second semester of academia year 2012 totaling 400 participants. The instrument used to collect data was a five-point rating scale questionnaire of 50 year items with a reliability coefficient of .95 The statistical methods used to analyze data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, and Scheffe’ test. The research findings were as follows:

1. Administrators, instructors, and students found the environment at Siam technological commercial College in overall and in five aspects were at moderate level of appropriateness

2. Administrators, instructors, and students had no significant difference opions in overall environment but there were significant differences found between instructors and students on the aspects of physical buildings, learning and teaching, and student activities.

3. Students from different academic level had neither significant difference in their opinions

Page 181: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 173

 

forward the overall collage environments nor in each aspect.

4. There were no significant differences found among students from various major fields of study.

Keywords : 1. Environment inside 2. Siam Technology Commercial college under the patronage of Royal Highness Princess Bejaratana 3. Opinions of Administrators บทนํา

สภาพแวดลอมมีอิทธิพลตอชีวิตความเปนอยู ตลอดจนพัฒนาการดานตางๆ ของมนุษยเปนอยางมาก นักการศึกษาในปจจุบันก็มีความเชื่อวา สภาพแวดลอม มีอิทธิพลตอการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมมนุษยซึ่งเราสามารถจัดสภาพแวดลอมใหดีแลวก็สามารถเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของมนุษยให เปนไปในทางที่ ดีโดยงาย สภาพแวดลอมมีอิทธิพลอยางย่ิงสําหรับเยาวชนคือ บาน และสถานศึกษา โดยเฉพาะอยางย่ิงในปจจุบันสถาบันการศึกษามีบทบาทมากข้ึนในการถายทอดวิชาความรู ลักษณะนิสัย อาชีพการงาน และส่ิงจําเปนอื่นๆ ท่ีชวยใหผูเรียนสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางราบร่ืน เปนท่ียอมรับกันแลววาสถาบันการศึกษามีอิทธิพลตอผูเรียนคือ พฤติกรรมการบริหารสถาบัน พฤติกรรมผูสอน กระบวนการเรียนการสอนและพฤติกรรมของผูเรียนในสถานศึกษา ดังน้ันสภาพแวดลอมในสถาน ศึกษาจึงเปนส่ิงสําคัญประการหนึ่งท่ีมีอิทธิพลตอการเรียนรูและการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผูเรียน จึงเปนหนาท่ีของผูบริหารในสถานศึกษาโดยตรงท่ีจะสรางสภาพแวดลอมท่ีดีใหกับผูเรียน (กนกรัตน นาคหฤทัย.2540: 1) นอกจากน้ีสภาพแวดลอมสถาบันการศึกษาท่ีดี

ยอมสงผลตอความจงรักภักดีของนักศึกษาตอสถาบัน การศึกษาของตนเองดวย ในการพัฒนาประเทศนั้น สถาบันการศึกษานับวามีความสําคัญและมีสวนในการท่ีจะพัฒนาพลเมืองของประเทศใหเปนบุคคลท่ีมีคุณภาพ มีความรับผิดชอบตอสังคม มีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความสามัคคี และยึดหลักการปฏิบัติงานน้ัน ส่ิงท่ีสําคัญท่ีสุดก็คือ การจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ีเพราะการศึกษาเปนเคร่ืองมือสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีความรู ความคิด ความสามารถ และทักษะท่ีจําเปนตางๆ เพื่อการปรับตัว และดํารงอยูในสังคมยุคโลกาภิวัตนอยางมีความมั่นคง (สุวัฒน ชางเหล็ก. 2542: 27) นอกจากน้ี นักจิตวิทยาที่สนใจเก่ียวกับอิทธิพลของสภาพแวดลอมมีความเชื่อวา พฤติกรรมของนักศึกษามีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมของสถานศึกษา วิธีการพัฒนานักศึกษาไดผลทางหน่ึงจึงเกี่ยวของกับการจัดการกับปฏิกิริยาระหวางนักศึกษากับสภาพแวดลอมของสถานศึกษา เพื่อพัฒนานักศึกษาใหมีความสมบูรณทุกๆ ดาน (สําเนาว ขจรศิลป. 2538: 89)

การศึกษาสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษา จะชวยทําใหผูท่ีเก่ียวของในมหาวิทยาลัย เชน ผูบริหาร อาจารย เปนตน ไดเขาใจถึงลักษณะของมหาวิทยาลัยอยางลึกซึ้ง อีกท้ังยังไดขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการวางแผนสถานศึกษา ท้ังน้ีเน่ืองจากความสําคัญของสภาพแวดลอมจะมีผลตอประสบการณของนักศึกษา ซึ่งจะมาจากลักษณะของสถาบันหลักสูตร คณาจารย กลุมเพื่อน และการมีสวนรวมของนักศึกษา (Astin. 1993: 55) จากเหตุผลดังกลาว สามารถทําใหเชื่อไดวา องคประกอบสําคัญดานสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาท่ีมีสวนสนับสนุนในดานการเรียนการสอน การจัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสม ะสอดคลองกับความตองการนั้น สามารถกระตุนผูเรียนเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองจนสุดขีด

Page 182: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

174  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ความสามารถ เพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปสูเปาหมายตามท่ีตองการได (วิจิตร สินสิริ. 2534: 39) จากการศึกษาสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ของผูวิจัยและจากการสัมภาษณนักศึกษาในสถาบันพบวา การจัดสภาพแวดลอมวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภฯ มีปญหาท่ีสําคัญตามความคิดเห็นหลายประการ ดังตอไปน้ี

สภาพแวดลอมดานอาคารสถานท่ี พบวา อาคารและสถานท่ีบางจุดยังไมเหมาะสมและอุปกรณในการเรียนไมเพียงพอตอการจัดกิจกรรมการศึกษา เชน หองคอมพิวเตอรมีคับแคบ อุปกรณในหองคอมพิวเตอรมีจํานวนไมเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา และอยูหางจากหองเรียนทําใหเสียเวลาระหวางการเดินเปล่ียนคาบเรียน อาคารเรียนมีสภาพทรุดโทรม หองนํ้าไมสะอาด มีขยะและกนบุหร่ีจํานวนมาก ท้ังน้ีนักศึกษาไดกลาวเพิ่มเติมถึงลานกีฬาท่ีไมเพียงพอตอจํานวนนักศึกษาท่ีตองการทํากิจกรรมนันทนาการตางๆ อีกดวย (ปวิตา ออนนอม. 2555. สัมภาษณ)

สภาพแวดลอมดานการบริการนักศึกษา พบวา นักศึกษาและอาจารยมีความตองการ การคนควาหาขอมูลจากเครือขายไรพรมแดนหรืออินเตอรเน็ต และอินเตอรเน็ตไรสายเพื่อเขาสูเน้ือหาท่ีตองการสืบคนไดงายข้ึน ซึ่งทางสถาบันยังไมเปดใหใชบริการ และนักศึกษาตองการ การใหบริการดานแนะแนวทางในการศึกษาภายในสถาบันมากยิ่งขึ้น การบริการดานการประชาสัมพันธภายในสถานศึกษาท่ียังไมครอบคลุม และไมท่ัวถึงอีกหลายอาคาร ทําใหการติดตอลาชา และเสียผลประโยชนบางประการ ยกตัวอยางเชน การแจงขาวกองทุนเงินใหกูยืมทางการศึกษาของรัฐบาล หรือเงินทุนเพื่อ

การศึกษาอื่น ๆของสถาบันจึงทําใหนักศึกษาเสียประโยชน (ปุณิกา โทพิลา. 2555: สัมภาษณ)

สภาพแวดลอมดานการเรียนการสอน พบวาการจัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เนนการสอนแบบทฤษฎีมากไป ควรจะใหนักศึกษาไดลงมือปฏิบัติอยางจริงจังเพื่อเกิดความชํานาญและเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ อีกท้ังการสอนไมมีการบูรณาการหรือประยุกตส่ือการเรียนการสอนมากนัก หองเรียนมีอุปกรณอิเล็กทรอนิกสท่ีทันสมัย แตอาจารยผูสอนยังไมมีประสบการณในการใชงานมากนัก จึงไมเกิดประโยชนตอการเรียนการสอนเทาท่ีควร (ประกาศ ราชภักดี. 2555: สัมภาษณ)

สภาพแวดลอมดานสังคมและกลุมเพื่อน พบวา ปญหานักศึกษามักสรางคานิยมท่ีผิดโดยมักแบงกลุม 6-15 คน นับถือกันตามคานิยมท่ีผิด โดยรุนพี่และรุนนองไมมีวัฒนธรรมท่ีสรางความปรองดองในหมูคณะ ขาดความสามัคคีในสถาบัน มีการต้ังกลุมเพื่อกอให เกิดการทะเลาะวิวาท และรวมกันสรางสังคมท่ีผิดจารีต เชน รักในวัยเรียน นําพาเพื่อนเสพยา แตงหนาจัดจาน แตงกายลอแหลม หากเพื่อนคนใดท่ีทําตัวดีจะถูกลอเลียน เชน คนท่ีแตงกายถูกระเบียบจะดูลาสมัยในสายตาของเพื่อนสวนมาก เปนตน (ปุณิกา โทพิลา. 2555: สัมภาษณ)

สภาพแวดลอมดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา พบวา มักเกิดปญหานักศึกษาไมเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยเฉพาะกิจกรรมในสถานศึกษา เพราะไมมีการรณรงคหรือปลูกจิตสํานึกในการเขารวมกิจกรรม เชน กิจกรรมวันไหวครู กิจกรรมกีฬาภายใน กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีและกิจกรรมวันสําคัญทางศาสนาตางๆ นักศึกษาจะไมมาวิทยาลัยในวันท่ีสถาบันจัดกิจกรรมท่ีกลาวมาขางตน แตหากมีการจัดนักศึกษาไป

Page 183: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 175

 

ทัศนศึกษานอกสถานท่ี นักศึกษาจะใหความสนใจอยางมาก ท้ังน้ี นักศึกษาแนะนําวาหากสถาบันตองการใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรมในสถานศึกษามากข้ึน สถาบันควรคํานึงถึงความสนใจ และความตองการของนักศึกษาดวย กิจกรรมเหลาน้ันควรเปนกิจกรรมท่ีเกิดจากความริเร่ิมของนักศึกษาเองดวย (กิตติศักด์ิ ทับสุวรรณ. 2554: สัมภาษณ)

จากบทสัมภาษณท่ีกลาวมาน้ัน จะเห็นไดวา ปญหาท่ีเกิดขึ้นจากสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษา มีผลกระทบตอผูบริหาร อาจารย และนักศึกษา ในดานการเรียนรูและการพัฒนาศักยภาพอยางย่ิง ดังน้ัน ทางสถาบันจึงตองใหความสําคัญและพัฒนาสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองไดอยางเต็มศักยภาพ

สภาพปญหาดังกลาวมา ผูวิจัยสนใจศึกษาความพึงพอใจของผูบริหาร อาจารยและนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ใน 5 ดาน คือ ดานอาคารสถานท่ี ดานการบริการนักศึกษา ดานการเรียนการสอน ดานสังคมและกลุมเพื่อน และดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา ซึ่งสามารถเปนขอมูลสําหรับผูบริหารและผู ท่ี เ ก่ียวของในการกําหนดนโยบาย สงเสริมพัฒนาและปรับปรุงแกไขสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาตามความตองการของนักศึกษาและบุคลากรไดอยางถูกตองตอไป

ความมุงหมายของการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ีมีความมุงหมาย ดังน้ี 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผูบริหารอาจารย

และนักศึกษา ท่ีมีตอสภาพแวดลอมในวิทยาลัยเทคโนโลยี

พณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ท้ัง 5 ดาน ไดแก ดานอาคารสถานที่ ดานการบริการนักศึกษา ดานการเรียนการสอน ดานสังคมและกลุมเพื่อน และดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา

2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวมและเปนรายดาน จําแนกตามชั้นป

3. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวมและเปนรายดาน จําแนกตามสถานภาพ และสาขาวิชา สมมติฐานการวิจัย

1. ผูบริหาร อาจารย นักศึกษา มีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีโดยรวมและเปนรายดาน แตกตางกัน

2. นักศึกษาท่ีชั้นปตางกัน มีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมภายใน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวมและเปนรายดานแตกตางกัน

3. นักศึกษาท่ีมาจากตางสาขาวิชากันมีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภฯ โดยรวมและเปนรายดาน แตกตางกัน

Page 184: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

176  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

วิธีการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี ไดแก ผูบริหาร

จํานวน 11 คน อาจารยจํานวน 160 คน และนักศึกษาท่ีกําลังศึกษาอยูในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 299 รวมประชากรทั้งส้ิน 400 คนเนื่องจากผูบริหารและอาจารยและนักศึกษามีจํานวนนอย จึงใชจํานวนประชากรท้ังหมดเปนกลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

1. แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม

2. แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีตอสภาพ แวดลอมวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามใน พระอุปถัมภฯ ตามทัศนะของนักศึกษา 5 ดาน ไดแก สภาพแวดลอมดานการเรียนการสอน สภาพแวดลอมดานการบริการนักศึกษาสภาพแวดลอมดานการบริหาร สภาพแวดลอมดานการบริการ และสภาพแวดลอมดานสังคมกลุมเพื่อน

แบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ถามในเร่ืองท่ีเก่ียวกับสภาพแวดลอมวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภฯ ตามทัศนะของนักศึกษา 5 ดาน ไดแก สภาพแวดลอมดานการเรียนการสอน สภาพแวดลอมดานการบริการนักศึกษาสภาพแวดลอมดานการบริหาร สภาพแวดลอมดานการบริการ และสภาพแวดลอมดานสังคมกลุมเพื่อน ผูวิจัยไดกําหนด การใหคะแนนนํ้าหนักของตัวเลือก 5 วิธีดําเนินการวิจัย

1. กลุมตัวอยางเปนประชากรท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีไดแก ผูบริหารจํานวน 11 คน อาจารยจํานวน 160 คน และ นักศึกษาท่ีกําลังศึกษาอยูในระดับประกาศนียบัตร

วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 229 คน รวมจํานวนท้ังส้ิน 400 คน

2. เก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารยและนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอมภายใน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภฯ เปนแบบสอบถาม แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 49 ขอ ประกอบดวยดานอาคารสถานท่ี 14 ขอ ดานการบริการนักศึกษา 11 ขอ ดานการเรียนการสอน 9 ขอ ดานสังคมกลุมเพื่อน 5 ขอ และดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา 10 ขอ แบบสอบถามท้ังฉบับมีคาความเชื่อมั่นเทา กับ .92 ผู วิจัยแจกแบบสอบถามไปท้ังหมด 400 ฉบับ ไดกลับมาและมีความสมบูรณครบ 400 ฉบับ คิดเปนรอยละ 100 การวิเคราะหขอมูล

1. การวิ เคราะห ข อมู ล ท่ั วไปของผู ตอบแบบสอบถามและผู สัมภาษณ โดยใชคาความถ่ี (Frequency) และคารอยละ (Percentage)

2. ตามความมุงหมายขอท่ี 1 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารย และนักศึกษา ท่ีมีตอสภาพแวดลอมในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ท้ังโดยรวมและรายดาน โดยใชคาคะแนนเฉล่ีย (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (Ferguson. 1981: 49)

3. ตามความมุงหมายขอท่ี 2 เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอมของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวมและเปนรายดาน จําแนกตามชั้นปโดยใชการทดสอบคาที (t-test)

4. ตามความมุงหมายขอท่ี 3 เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอมของ

Page 185: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 177

 

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวมและเปนรายดานตามสถานภาพ

และสาขาวิชาโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance) (Ferguson. 1981: 190) ในกรณีท่ีพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงทําการทดสอบความแตกตางของคาคะแนนเฉล่ียเปนรายคู โดยวิธีของ เชฟเฟ (Scheffe’s Method) (Ferguson. 1981: 190) ผลการวิจัย

1. ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนนักศึกษา และสวนใหญศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปท่ี 1 สาขาวิชาท่ีศึกษา คือ การตลาด

2. ความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารย นักศึกษา ท่ีมีตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ผูบริหาร อาจารย นักศึกษามีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอม ภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภา พัณณวดี โดยรวมมีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูบริหาร อาจารย นักศึกษามีความคิดเห็นวาสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัย เทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี มีความเหมาะสม

3. ผูบริหาร อาจารยและนักศึกษามีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวม ไมแตกตางกัน และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา อาจารย

มีความคิดเห็นแตกตางกับนักศึกษาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในดานอาคารสถานท่ี ดานการเรียนการสอนและดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา

4. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผูบริหาร อาจารย นักศึกษา ท่ีมีตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัย เทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โดยรวม และเปนรายดาน จําแนกตามระดับการศึกษา สถานภาพ และสาขาวิชา

4.1 นักศึกษาท่ีกําลังศึกษาอยูในระดับการศึกษาท่ีตางกัน มีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีโดยรวม และเปนรายดานทุกดานไมแตกตางกัน

4.2 นักศึกษา ท่ีกําลังศึกษาตางสาขาวิชากัน มีความสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีโดยรวม และเปนรายดานทุกดานไมตางกัน อภิปรายผล

1. นักศึกษามีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอม ภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดีโดยรวมอยูในระดับปานกลาง ผูวิจัยขอนําเสนอการอภิปรายผลเปนรายดาน ดังน้ี

1.1 ดานอาคารสถานท่ี นักศึกษามีความคิดเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง อาจเปนเพราะวาอาคารสถานท่ีและอุปกรณตางๆ ยังมีจํานวนไมเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา เชน บริเวณสถานท่ีพักผอนหยอนใจซึ่งควรจะมีการจัดตกแตง สวนดอกไม ไมประดับใหสวยงาม หองปฏิบัติการการเรียน

Page 186: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

178  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

และการจัดตกแตงหองปฏิบัติการการเรียนเพื่อเสริม สรางประโยชน ความรูแกนักศึกษา ตลอดจนสถานที่สําหรับจอดรถ หองนํ้า และหองสุขาท่ีถูกสุขลักษณะ เปนตน หรืออาจเปนเพราะการจัดบริเวณสถานที่ภายในวิทยาลัยท่ีเอื้อตอการเดินทางเขาออก ยังอยูในสภาพท่ีไมเหมาะสมเทาท่ีควร อาทิ การจัดปายบอกอาคารหรือหองเรียนยังขาดความเดนชัด หรือไมอยูในสภาพดี และการจัดระบบ ระเบียบจราจรภายในวิทยาลัยท่ียังขาดประสิทธิภาพ ส่ิงตางๆ เหลาน้ี อาจกลาวไดวามีอิทธิพลตอพฤติกรรมของนักศึกษาอยูมาก ท่ีจะสงผลเชิงลบตอการกระตุนหรือสงเสริมใหนักศึกษาเกิดความสนใจท่ีจะเรียนรูหรือมาวิทยาลัยมากข้ึน ดังท่ี Shershill (N.d.) ไดกลาวไววา อาคารสถานที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของมนุษยท่ีอาศัยอยู หรือใชประโยชนในอาคารสถานท่ีน้ันๆ โดยท่ีควรมีการตกแตงอาคารสถานท่ีใหดูดี ไมวาจะเปนอาคารเรียน หองปฏิบัติการ หองสมุดท่ีดีเย่ียม ทันสมัยในดานส่ือตางๆ มีศักยภาพของการใหบริการ พรอมเสมอท่ีจะใหนักศึกษาเขาไปใช นอกจากน้ีตองคํานึงถึงการจัดโรงอาหาร สถานท่ีพักผอนหยอนใจ และเคร่ืองอํานวยความสะดวกตางๆ เพราะส่ิงเหลาน้ีมีสวนเสริมสรางความเจริญงอกงามและเกื้อกูลการเรียนรูของนักศึกษาอยูมาก บรรยากาศท่ีรมร่ืนจะทําใหนักศึกษาสดชื่น กระตือรือรนท่ีจะเรียน เปนแรงจูงใจใหนักศึกษาอยากมาสถาบัน ส่ิงท่ีตามมาคือ นักศึกษาจะเกิดความรักความหวงแหน ความภูมิใจในสถาบัน และ วิจิตร วรุตบางกูร (2541:บทคัดยอ) ไดใหแนวคิดไววา สถาบันการศึกษาจะมีความสมบูรณแบบน้ัน ตองมีผูท่ีเก่ียวของกับการวางแผนและการบํารุงรักษาอาคารสถานท่ี ซึ่งควรคํานึงถึงความสมดุลของปจจัย 4 ประการ คือ 1) การจัดบริเวณและความงามของบริเวณ เน่ืองจาก อาคารสถานท่ีมีบทบาทสําคัญในการชวยพัฒนาการเรียน

2) แสงสี เน่ืองจากแสงสวางมีบทบาทสําคัญในการส่ือความรู 3) เสียง เสียงภายในหองเรียนเปนส่ิงจําเปนอยางมาก ซึ่งจะตองปราศจากเสียงดังรบกวนจากบริเวณรอบๆ และ 4) อุณหภูมิและการถายเท เปนส่ิงสําคัญท่ีจะทําใหเกิดความสุขสบายทางกาย ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับงานวิจัยของ วรรณภา อิทธิไมยยะ (2537: บทคัดยอ) ไดศึกษาเร่ือง ความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอการบริหารงานอาคารสถานท่ีส่ิงแวดลอม การจัดสวัสดิการและบริการของมหาวิทยาลัยอาชีว ศึกษาภูเก็ต พบวา คุณลักษณะอาคารสถานท่ีและลักษณะส่ิงแวดลอมท่ีดี ควรมีลักษณะดังน้ี คือ 1) อาคารเรียน ควรเปนอาคารถาวรใชงานไดหลายๆ งานถูกสุขลักษณะ จํานวนและขนาดอาคารเรียนเหมาะสมกับจํานวนผูเรียน รวมท้ังอาคารประกอบ เชน หอประชุม โรงอาหาร 2) หองเรียน ควรอยูในสภาพท่ีใชงานได มีอุปกรณครุภัณฑครบครันและอยูในสภาพพรอมใชงาน 3) อาคารประกอบและหองพิเศษ เชน หองสมุด หองพยาบาล หองวิทยาศาสตร หองตางๆ เหลาน้ี จะตองมีอุปกรณท่ีจําเปนตามหลักสูตร 4) บริเวณสถานศึกษา ควรคํานึงถึงความปลอดภัยของผูเรียน มีร้ัวลอมรอบ ตกแตงบริเวณใหสวยงาม รมร่ืน เหมาะในการจัดกิจกรรม และเปนท่ีพักผอนหยอนใจของผูเรียน และ 5) สภาพแวดลอมของสถานศึกษา การจัดสภาพแวดลอมของสถาบันจะตองใหสอดคลองกับความตองการดานรางกาย จิตใจ และใหสอดคลองกับความตองการทางดานการศึกษาของผูเรียน เพราะสภาพแวดลอมมีอิทธิพลมากตอการเรียนรูและการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผูเรียน และสอดคลองกับงานวิจัยของ กมลทิพย เกตุวรสุนทร (2542: บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาสภาพแวดลอมทางสาขาวิชาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในทัศนะของนักศึกษาปริญญาโท พบวา นักศึกษาปริญญาโทมีความเห็น

Page 187: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 179

 

วา สภาพแวดลอม สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ ดานอาคารสถานท่ีมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง

1.2 ดานการบริการนักศึกษา จากการศึกษาพบวานักศึกษามีความคิดเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากนักศึกษายังไมไดรับความสะดวกในการติดตอขอรับบริการตางๆ จากงานทะเบียนและสถิติ ในเร่ืองการจัดเก็บรายละเอียดเก่ียวกับตัวนักศึกษายังไมครบถวน และผูใหบริการงานทะเบียนและสถิติ ยังขาดมนุษยสัมพันธ ท่ีดีในการบริการ รวมถึงเจาหนาท่ีสวนของหองสมุดยังไมสามารถอํานวยความสะดวกในการใหบริการแกนักศึกษาไดเปนอยางดีท้ังน้ีมีอาจมีจํานวนเจาหนาท่ีท่ีนอยเกินไป ไมเพียงพอกับปริมาณนักศึกษาท่ีมาใชบริการ ทําใหนักศึกษายังไมพึงพอใจมากนัก ขณะเดียวกันอาจเกิดจากการที่วิทยาลัยยังขาดความพรอมในการใหบริการสถานพยาบาลท่ีไดมาตรฐานถูกสุขลักษณะ และยังขาดการจัดสวัสดิการชวยเหลือนักศึกษาในดานทุนการ ศึกษาท่ีเพียงพอกับความตองการของนักศึกษา ประเด็นดังกลาวจึงไมไดชวยสงเสริมใหนักศึกษาไดรับประสบการณนอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน หรือเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ การจัดสภาพแวดลอมเพื่อการบริการนักศึกษานับเปนงานสําคัญท่ีจะชวยสงเสริมใหนักศึกษาไดรับประสบการณนอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน การจัดดําเนินการท่ีเอื้อจะสงผลตอการเรียนการสอน ไดแก การจัดบริการวิชาการ การจัดบริการดานสุขภาพ บริการใหคําปรึกษา แนะแนว บริการทุนการศึกษา บริการหองสมุด บริการหองแล็บคอมพิวเตอรบริการหองปฏิบัติการ โดยคํานึงถึงความตองการท่ีแทจริงของนักศึกษา มิใชเพียงใหนักศึกษาเกิดความพึงพอใจเทาน้ัน แตยังตองมุงท่ีจะเอื้ออํานวยความสะดวกใหแกนักศึกษาเกิดการเรียนรูมากท่ีสุด ดังท่ี เพ็ญแข ประจนปจจนึก (2544: บทคัดยอ)

ไดศึกษาไวในรายงานวิจัยเร่ืองความตองการของนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ในดานการบริการของมหาวิทยาลัย พบวา นักศึกษามีความตองการดังน้ี 1) นักศึกษาตองการบริการจากกองบริการในระดับสูงสุด คือ อํานวยความสะดวกในการลงทะเบียน ความรวดเร็วในการลงทะเบียน และการการกําหนดการลงทะเบียนท่ีแนนอนและปฏิบัติจริง 2) นักศึกษาตองการการบริการจากสํานักคอมพิวเตอรในระดับสูงสุด คือ การประสานงานกับหนวยงานอื่นใหมีการแจงผลการเรียน ใหเปนไปอยางรวดเร็ว 3) นักศึกษามีความตองการบริการจากหอสมุดกลางในระดับสูงสุด คือ ตองการส่ือและส่ิงพิมพ ท่ี ทันสมัย การจัดหาคอมพิวเตอรสําหรับการสืบคนขอมูลดวยตนเองไวในหองสมุดรวมท้ังปรับระบบหองสมุดใหทันสมัย 4) ดานบริการจากกองกิจการนักศึกษามีความตองการในระดับสูงสุด ไดแก การรวมมือกับมหาวิทยาลัยปรับปรุงโรงอาหารท้ังดานสภาพแวดลอมและการบริการใหอยูในระดับดี และการจัดหาสถานท่ีพักผอนและท่ีวางสําหรับทํากิจกรรมใหนักศึกษามีจํานวนเพียงพอกับความตองการ และ 5) ดานการบริการจากคณะ ไดแก ความสะดวกในการใชตึกเรียน และการขจัดปญหาท่ีมีในตึกเรียน ในสวนของหองสมุด พวา พันธเมฆา (2535: บทคัดยอ) ไดกลาวถึงการใหบริการในสวนของหองสมุดวา สถาบัน การศึกษาไมวาจะเปนโรงเรียน วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย จะเห็นวานักเรียน นิสิต นักศึกษา ครู อาจารย และนักวิจัยตางตองใชสารนิเทศเพื่อการเรียน การสอน และการวิจัยคนควาอยูตลอดเวลา สถาบัน การศึกษาทุกแหงจําเปนตองจัดสรางหองสมุด เพื่อรวบรวมสารนิเทศตางๆ ในรูปแบบหลากหลาย และจัดสรรเจาหนาเพื่ออํานวยความสะดวกในการให บริการแกนักศึกษาท่ีมาใชบริการอยางท่ัวถึง ในสวนทางดานทุนการศึกษาน้ัน สําเนาว ขจรศิลป (2537:64) ไดกลาววา การศึกษาใน

Page 188: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

180  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ระดับอุดมศึกษาน้ัน นักศึกษายังตองใชเงินเพื่อการศึกษาเปนคาหนวยกิต คาธรรมเนียม คาอุปกรณ คาตํารา และอื่นๆ หากนักศึกษาขาดแคลนเงินเพื่อเปนคาใชจาย นักศึกษายอมมีปญหามากมายทําใหนักศึกษาเกิดความวิตกกังวล และขาดสมาธิในการศึกษาเลาเรียน นักศึกษาบางคนอาจหยุดเรียนกลางคัน การชวยเหลือนักศึกษาในดานการเงินโดยจัดเปนการศึกษา จึงเปนสวัสดิการพื้นฐาน ท่ีสําคัญท่ีสถาบันอุดมศึกษาควรจัดใหนักศึกษา ผลการวิจัยสอดคลองกับงานวิจัยของ กมลทิพย เกตุวรสุนทร (2542) ท่ีศึกษาสภาพแวดลอมทางสาขาวิชาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในทัศนะของนักศึกษาปริญญาโท พบวา นักศึกษาปริญญาโทมีความเห็นวา สภาพแวดลอมดานการบริการนักศึกษา ยังมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง และสอดคลองกับงานวิจัยของ ประสงค วงศาโรจน (2541:บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาเร่ือง สภาพแวดลอมวิทยาลัยพลศึกษา จังหวัดสมุทรสาคร ในทัศนะของผูบริหาร อาจารย และนักศึกษา พบวา การบริการดานสุขภาพหรือบริการดานสถาน พยาบาล มีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง การใหบริการแกนักศึกษาในบางเร่ืองทําไดดีแคพอสมควร เชน การบริการดานการรักษาพยาบาล ทางวิทยาลัยไดจัดเจาหนาท่ีใหการปฐมพยาบาลแกนักศึกษาท่ีเจ็บปวยหรือบาดเจ็บจากการกีฬาและบริการสงนักศึกษาท่ีเจ็บปวยหนักไปยังโรงพยาบาล แตการจัดบริการบางประการอาจยังไมเหมาะสมตามความคาดหวังของบุคลากรท้ังสามกลุม

1.3 ดานการเรียนการสอน นักศึกษามีความคิดเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากอาจารยผูสอนเอาใจใสและติดตามผลการเรียนของนักศึกษายังไมเพียงพอ และอาจารยผูสอนยังใหความชวยเหลือนักศึกษาท่ีมีความบกพรองในการเรียนไดอยางไมท่ัวถึง หรืออาจจะเกิดจากการท่ี

อาจารยผูสอนไมไดเปดโอกาสใหนักศึกษาไดมีสวนรวมในการวัดและประเมินผลการเรียนอยางเต็มท่ี ขณะเดียว กันหลักสูตรท่ีเปดสอนยังขาดความหลากหลาย และยังไมเปนท่ีตองการของตลาดมากนัก ตลอดจนนวัตกรรมและส่ือการเรียนยังอาจะยังขาดความทันสมัย และยังมีคุณภาพท่ีไมสัมพันธกับเน้ือหาเทาท่ีควร ส่ิงตางเหลาๆ น้ียอมเปนอุปสรรคตอการสงเสริม สนับสนุน ตอการ ศึกษาคนควาของนักศึกษาเพื่อใหนักศึกษามีความเจริญงอกงามทางสติปญญา รางกาย อารมณ สังคม จิตใจ และตอการพัฒนากลอมเกลาหรือเปล่ียนแปลงบุคลิกภาพของนักศึกษาใหบรรลุเปาหมายของการ ศึกษาได ดังท่ี สุวพร ต้ังสมวรพงษ (2542) กลาววา สภาพแวดลอมดานการเรียนการสอน ไดแก การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน พฤติกรรมการสอนของอาจารย รวมท้ังการใชส่ือตาง ๆในการสอน และปฏิสัมพันธระหว างผู สอนกับผู เ รียนตองสอดคลองกันอยางเหมาะสม ซึ่งจะสงผลใหผูเรียนไดรับความรูและสามารถนําความรูไปปฏิบติัได สงผลใหนักศึกษาประสบความสําเร็จในดานการเรียน รวมท้ังการพัฒนาแนวคิด และอุดมการณตางๆ ใหเกิดขึ้นในตนเองได นอกจากน้ี อัจฉรา สุขารมณ และพรรณี บุญประกอบ (2542: 32) ไดกลาววา การจัดการเรียนการสอนและการสรางบรรยากาศในการเรียนเปนการทําใหผูเรียนไดความรูและสามารถนําไปปฏิบัติไดโดยบรรลุวัตถุประสงคท่ีต้ังไว รวมท้ังการนําส่ือการเรียนการสอนมาใชอยางถูกตองเหมาะสม จะทําใหเ กิดความสัมพันธ ท่ี ดี ระหว าง ผู เ รียนและผูสอน ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับงานวิจัยของ ประนอม วรวุฒิ (2539:บทคัดยอ) ไดวิจัยเก่ียวกับความพึงพอใจของนักศึกษาตอสภาพแวดลอมสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาคุณทหารลาดกระบัง พบวา การจัดการเรียนการสอนจะประสบผลสัมฤทธิ์ สูง สุดถาผูสอนรูจักนําอุปกรณเขามาชวยในการสอน การใชอุปกรณการสอน

Page 189: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 181

 

ชวยในการเรียนการสอนก็เพื่อเปนเคร่ืองมือในการสรางบรรยากาศท่ีเปนกันเองเทาๆ กับท่ีจะชวยใหนักศึกษาสนใจ เขาใจ และจําบทเรียนไดดี สอดคลองกับ สุนทร เอี่ยมเกษมสิน (2547: บทคัดยอ) ไดศึกษาเร่ืองสภาพแวดลอมในสถาบันราชภัฏสวนดุสิต ตามความคิดเห็นของนักศึกษา ซึ่งพบวา นักศึกษามีความคิดเห็นตอสภาพการจัดการเรียนการสอนวามีความเหมาะสมในระดับปานกลาง โดยท่ีสถาบันควรจัดสัดสวนอาจารยใหเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษาและจัดอาจารยดูแล เอาใจใสนักศึกษา และปรับวิธีการสอนของอาจารย สอดคลองกับ กิ่งแกว เอี่ยมแฉลม (2542: บทคัดยอ) ท่ีศึกษาเร่ืองสภาพการจัดการเรียนการสอนของคณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตบพิตรพิมุข มหาเมฆ ตามทัศนะของนักศึกษาดานวิธีการสอน ดานส่ือการสอน และดานกิจกรรมการเรียนการสอน พบวา อยูในระดับปานกลาง และสอดคลองกับ กิตติพร พินิชการ (2548:บทคัดยอ) ไดศึกษาเร่ืองทัศนะของนิสิตท่ีมีตอสภาพแวดลอมคณะทันตแพทย ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในดานการเรียน การสอน พบวา มีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง

1.4 ดานสังคมกลุมเพื่อน นักศึกษามีความคิดเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากนักศึกษามีความรูสึกวาความ สัมพันธอันดีตอกันระหวางรุนพี่รุนนองยังมีไมมากนัก หรือนักศึกษาท่ีเรียนดีมักไมไดใหความชวยเหลือและแนะนําการเรียนแกเพื่อนท่ีเรียนออนกวาอาจเปนไปลักษณะของตางคนตางเรียน นอกจากน้ีอาจเปนสาเหตุสืบเน่ืองมาจากการรวมกันทํากิจกรรมของนักศึกษาเพื่อเผยแพรชื่อเสียงของวิทยาลัย เชน การแขงทักษะวิชาชีพ ในดานคอมพิวเตอร พิมพดีด หรือประกวด ฟอนรํา ยังไมไดรับการสนับสนุนและสงเสริมจากวิทยาลัยอยางเต็มท่ี ความคิดเห็นตอสังคมกลุมเพื่อนท่ีอยูใน

ระดับปานกลางดังกลาวจึงอาจสงผลเชิงลบตอทัศนคติ การพัฒนาสติปญญา ความรูความสามารถ และบุคลิกภาพของนักศึกษาซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนาตัวนักศึกษาเองในอนาคต ดังท่ี วินุ ทองพวง (2542: 36) ไดกลาวถึงลักษณะกลุมเพื่อน (Peer Group) ซึ่งเปนลักษณะของวัยรุนท่ัวไปท่ีมีความตองการที่จะอยูในกลุมเพื่อน เพราะกลุมเพื่อนใหความมั่นใจและยอมรับพฤติกรรมตางๆ ของบุคคล ทําใหมีความสบายใจ มีความสุข และกลุมเพื่อนน้ียังมีอิทธิพลทําใหนักศึกษามีความเชื่อและมีพฤติกรรมไปตามลักษณะกลุมท่ีแตละบุคคลยึดอยู โดยท่ีอิทธิพลของกลุมเพื่อนมีดังน้ี คือ 1) ประสานชีวิตจากสังคมไปสูสังคมในบานไปสูสังคมมหาวิทยาลัย ทําใหนักศึกษารูสึกวาตนเองประสบความสําเร็จดานใดดานหน่ึง 2) สนับสนุน และเปนเคร่ืองมือใหบรรลุเปาหมายของพุทธิปญญาของการ ศึกษาในมหาวิทยาลัย 3) สนับสนุนสนองอารมณจิตใจ และความตองการของนักศึกษาซึ่งอาจจะไมตรงกับอาจารย หองเรียน และมหาวิทยาลัย 4) เปดโอกาสใหนักศึกษาเรียนรูและเขาใจชีวิตการอยูรวมกัน การสมาคม และการทํางานกับคนท่ีมีภูมิหลังแตกตางกันไดดี 5) ชวยใหมีการเปล่ียนแปลงในดานตางๆ กระตุนใหเกิดความคิดหรือประสบการณใหม 6) นักศึกษาท่ีเรียนไมคอยดีหรือมีความผิดหวัง กลุมเพื่อนจะชวยใหเขาเลือกทางออกทางอ่ืนหรือชวยใหเขามีภาพพจนในทางบวก นอกจากน้ี สุวพร ต้ังสมวรพงษ (2545) ไดกลาววา สภาพแวดลอมดานสังคมกลุมเพื่อนมีอิทธิพลตอความเปนอยูและพัฒนาการทางสังคม การเลือกคบเพื่อน เทคนิคการปรับตัว และอุดมคติในการเลือกคูครอง เปนตน เพราะนิสิตและนักศึกษาวัยน้ีเปนวัยท่ีตองการสังคม ตองการมีเพื่อน และมีความสัมพันธกับเพื่อนมากกวาครอบครัว ผลการวิจัยน้ีสอดคลองกับงานวิจัยของ ประสงค วงศาโรจน (2541: บทคัดยอ) ไดศึกษา

Page 190: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

182  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

เ ร่ืองสภาพแวดลอมวิทยาลัยพลศึกษา จั งหวัดสมุทรสาครในทัศนะของผูบริหาร อาจารย และนักศึกษา พบวา ดานความสัมพันธกับกลุมเพื่อนนักศึกษาในแตละชั้นปบางกลุมไมคอยมีความสัมพันธกัน รวมท้ังไมใหความรวมมือในการทํากิจกรรมท้ังทางดานวิชาการหรือดานอื่นๆ สอดคลองกับ กมลทิพย เกตุวรสุนทร (2542: บทคัดยอ) ไดศึกษาสภาพแวดลอมทางสาขาวิชาวิทยุบริการเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ในทัศนะของนักศึกษาปริญญาโท พบวา นักศึกษาปริญญาโทมีความเห็นวา สภาพแวดลอม สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติดานสังคมกลุมเพื่อนมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง เพราะฉะน้ันสังคมกลุมเพื่อนจึงเปนกลุมท่ีมีอิทธิพลตอความเปนอยูและการใชชีวิตอยูในสถาบันการศึกษา โดยจะเขามามีบทบาทท่ีสําคัญตอการดําเนินชีวิตและพัฒนานิสิตนักศึกษาใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

1.5 ด า น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม นั ก ศึ กษ า นักศึกษามีความคิดเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง อาจเปนเพราะวาทางวิทยาลัยมีการจัดอบรมหลักสูตรพิเศษตางๆ เพื่อใหนักศึกษาไดพัฒนาตนเองยังไมมากนัก หรืออาจจะมีการจัดการสงเสริมกิจกรรมตางๆ แกนักศึกษาอยูในเกณฑคอนขางนอย ท้ังกิจกรรมในเรื่องของการสงเสริมอนุรักษศิลปวัฒนธรรมตางๆ (การฟอนรํา ศิลปะ) การจัดกิจกรรมกีฬาภายในสถานศึกษา หรือการสงเสริมกิจกรรมเพื่อสังคมตางๆ ไดแก คายอาสา ปลูกปา บําเพ็ญประโยชนตอแหลงสาธารณะ ท้ังน้ีสาเหตุสวนหน่ึงท่ีกิจกรรมไมสามารถดําเนินการไดอยางเต็มท่ี อาจเปนผลเน่ืองมาจากการประชาสัมพันธเก่ียวกับการจัดกิจกรรมแกนักศึกษายังมีไมเพียงพอหรือยังไมครอบคลุมนักศึกษาไดอยางท่ัวถึง ท้ังน้ีความคิดเห็นดานการจัดกิจกรรมนักศึกษาท่ีอยูในระดับปานกลาง อาจสงผลเชิงลบตอการสงเสริม และ

พัฒนานักศึกษาในดานสติปญญา บุคลิกภาพ ทัศนคติ และการมีสวนรวมในสังคม ซึ่งเปนการพัฒนานักศึกษาในดานตางๆ นอกเหนือไปจากส่ิงท่ีบังคับใหทุกคนตองเรียนในชั้นเรียน ดังท่ี วินุ ทองพวง (2542: 45) ไดกลาววาลักษณะกิจกรรมตางๆ ท่ีจัดขึ้นเพื่อใหนักศึกษาไดรับประสบการณเพิ่มเติมนอกเหนือจากหลักสูตรท่ีเรียน เปนการพัฒนาบุคลิกภาพ และคานิยมทําใหนักศึกษามีโอกาสสัมผัสการเรียนรูสังคม รวมท้ังทําประโยชนใหแกสังคมดวย กิจกรรมนักศึกษาน้ัน มีความสําคัญ และมีความจําเปนมาก ความสําคัญของกิจกรรมนักศึกษา มีดังน้ี คือ 1) สามารถตอบสนองความตองการของนักศึกษาทางดานรางกายและความสนใจโดยชวยใหนักศึกษาไดมีโอกาสใชพลังรางกายและความคิด กระทําในสิ่งท่ีเปนประโยชนตอตนเองและสังคม 2) ชวยใหนักศึกษาสามารถคนหาอาชีพงานอดิเรก และกิจกรรมการพักผอนหยอนใจท่ีเหมาะสมกับตนเองได 3) ทําใหเกิดความสมดุลในดานความรูและความสนใจของนักศึกษา 4) นักศึกษาไดมีโอกาสเปล่ียนบรรยากาศ และอิริยาบถ ทําใหนักศึกษาไดผอนคลายความตึงเครียด จากการท่ีตองศึกษาเลาเรียนอยางหนัก 5) นักศึกษาไดมีโอกาสพัฒนาตนเอง ท้ังทางดานสติปญญา สังคม อารมณ รางกาย และจิตใจ 6) นักศึกษาไดมีโอกาสเสริมสรางประสบการณในการทํางานดานตางๆ 7) ทําใหนักศึกษาเห็นคุณคาของตนเอง และเกิดความรูสึกนึกคิดท่ีดีตอตนเอง และ สําเนาว ขจรศิลป (2538: 63) ท่ีไดกลาววากิจกรรมของนักศึกษาไดชวยแนะนําประชาชนในชนบทใหมีความรูเก่ียวกับการเกษตรแผนใหม การสาธารณสุข และการศึกษาเพื่อชวยใหชาวชนบทมีความเปนอยูท่ีดีขึ้น กิจกรรมดานศิลปะและวัฒนธรรมของนักศึกษาไดมีบทบาทอันสําคัญในการทํานุบํารุง พัฒนา และเผยแพรศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ กิจกรรมดานกีฬา กิจกรรมดานกีฬา ไดชวยใหนักศึกษาเปนกระบวนการทางการศึกษา

Page 191: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 183

 

ท่ีชวยพัฒนานักศึกษาท้ังทางดานสติปญญา สังคม อารมณ รางกาย จิตใจ ใหเปนเยาวชนท่ีมีคุณภาพ สามารถท่ีจะพัฒนาประเทศใหมีความเจริญย่ิงขึ้น กิจกรรมนักศึกษาจึงนับไดวา มีความสําคัญตอประเทศอยางมาก นอกจากน้ี วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2530: 31) ไดกลาวถึงการจัดกิจกรรมของนักศึกษาวาเปนงานท่ีนักศึกษาหรือมหาวิทยาลัยจัดขึ้นมีลักษณะเปนกิจกรรมเสริมหลักสูตรโดยมีจุดมุงหมายท่ีจะสง เส ริม และพัฒนานักศึกษาในดานสติปญญา บุคลิกภาพ ทัศนคติ และการมีสวนรวมในสังคม ไดแก กิจกรรมกีฬา กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน และกิจกรรมการสงเสริมศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมท่ีจัดขึ้นน้ันเพื่อพัฒนานักศึกษาในดานตางๆ นอกเหนือ ไปจากส่ิงท่ีบังคับใหทุกคนตองเรียนในชั้นเรียน

2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักศึกษา ท่ีมีตอสภาพแวดลอม ภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี โดยรวม และในแตละดาน จําแนกตามระดับการศึกษา และสาขาวิชา

นักศึกษาท่ีกําลังศึกษาอยูในระดับการศึกษา และสาขาวิชาตางกันมีความคิดเห็นตอสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภฯ โดยรวมและเปนรายดานในดานอาคารสถานท่ี ดานการบริการนักศึกษา ดานการเรียนการสอน ดานสังคมกลุมเพื่อน และดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา ไมตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานท่ีต้ังไว ท้ังน้ีอาจเปนเพราะวานักศึกษาชั้นปท่ี 1 และปท่ี 2 ตางมีความตองการและรับรูสภาพแวดลอมภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภฯ ในทุกดานเหมือนกัน โดยเฉพาะอยางย่ิงดานสังคมกลุมเพื่อน ดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา และดานอาคารสถานท่ี ซึ่งนักศึกษาชั้นปท่ี 1 และปท่ี 2 มีระดับความ

คิดเห็นอยูในระดับปานกลาง โดยในดานสังคมกลุมเพื่อนน้ัน วินุ ทองพวง (2542: 92) ไดกลาววานักศึกษาไมวาจะอยูในชั้นปใดตางมีความตองการที่จะอยูในกลุมเพื่อน เพราะกลุมเพื่อนใหความมั่นใจและยอมรับพฤติกรรมตางๆ ของบุคคล ทําใหมีความสบายใจ มีความสุข และมีอิทธิพลทําใหนักศึกษามีความเชื่อและมีพฤติกรรมไปตามลักษณะกลุมท่ีแตละบุคคลยึดอยู และสุวพร ต้ังสมวรพงษ (2545) ไดกลาวถึง นักศึกษาเปนวัยท่ีตองการสังคม ตองการมีเพื่อน และมีความสัมพันธกับเพื่อนมากกวาครอบครัว ดังน้ันสภาพแวดลอมดานกลุมเพื่อนจะมีบทบาทตอทัศนคติ สติปญญา ความรูความสามารถ และบุคลิกภาพของนิสิตนักศึกษาซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนานิสิตนักศึกษามาก สวนดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา วินุ ทองพวง (2542:33) ไดกลาววากิจกรรมนักศึกษาน้ันมีความสําคัญ และมีความจําเปนมากสําหรับนักศึกษาทุกชั้นป กลาวคือ ความหลากหลายของกิจกรรมนักศึกษาชวยใหนักศึกษาสามารถคนหาอาชีพงานอดิเรก และกิจกรรมการพักผอนหยอนใจท่ีเหมาะสมกับตนเองได และทําใหเกิดความสมดุลในดานความรูและความสนใจของนักศึกษา ทําใหนักศึกษาไดมีโอกาสเปล่ียนบรรยากาศ อิริยาบถ และสามารถผอนคลายความตึงเครียด จากการท่ีตองศึกษาเลาเรียน ทําใหมีโอกาสพัฒนาตนเอง ท้ังทางดานสติปญญา สังคม อารมณ รางกาย และจิตใจ สวนดานอาคารสถานท่ีน้ัน วรรณภา อิทธิไมยยะ (2537: บทคัดยอ) ไดศึกษาเร่ือง ความคิดเห็นของผูเรียนท่ีมีตอการบริหารงานอาคารสถานท่ีส่ิงแวดลอมการจัดสวัสดิการและบริการของมหาวิทยาลัยอาชีว ศึกษาภูเก็ต พบวา คุณลักษณะอาคารสถานที่ ท่ี ดีสําหรับนักศึกษา ควรเปนอาคารถาวรใชงานไดหลายๆ งาน ถูกสุขลักษณะ จํานวนและขนาดอาคารเรียนเหมาะสมกับจํานวนผูเรียน รวมท้ังอาคารประกอบ เชน หอประชุม หองเรียน โรงอาหาร โรงพลศึกษา ควรอยูในสภาพท่ีใช

Page 192: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

184  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

งานได มีอุปกรณครุภัณฑครบครันและอยูในสภาพพรอมใชงาน มีความความปลอดภัยตอผูเรียน แตผลการ วิจัยน้ีไมสอดคลองกับงานวิจัยของ สุวรรณ สุขสมภักด์ิ (2530: บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาและเปรียบเทียบทัศนะของนักศึกษา อาจารย และผูบริหารท่ีมีตอสภาพแวดลอมวิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช ในดานกายภาพ ดานการบริหาร ดานการเรียนการสอน ดานการจัดกิจกรรมของนักศึกษา และดานสังคมกลุมเพื่อน พบวา นักศึกษาชั้นปท่ี 1 กับนักศึกษาชั้นปท่ี 2 มีทัศนะตอสภาพแวดลอมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

จากการศึกษาสภาพแวดลอมภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี ผูวิจัยขอเสนอแนะการนําผลวิจัยไปใช ดังน้ี

1. ดานอาคารสถานท่ี จากผลการศึกษาพบวา นักศึกษามีความคิดเห็นวามีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง เพื่อใหความคิดเห็นในสภาพแวดลอมดานอาคารสถานท่ีมีมากข้ึน วิทยาลัยควรจัดอาคารสถานท่ีและอุปกรณตางๆ ใหสงเสริมการเรียนการสอนของนักศึกษา โดยบริเวณสถานท่ีพักผอนหยอนใจควรจัดตกแตงสวนดอกไม ไมประดับใหสวยงามมากขึ้น การจัดตกแตงหองปฏิบัติการเรียน และจัดใหมีหองนํ้า หองสุขาท่ีถูกสุขลักษณะมากข้ึน และควรปรับปรุงในสวนของการจัดปายบอกอาคารหรือหองเรียนใหมีความเดนชัด รวมถึงการจัดระบบ ระเบียบจราจรภายในวิทยาลัยใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น

2. ดานการบริการนักศึกษา จากผลการศึกษาพบวา นักศึกษามีความคิดเห็นวามีความเหมาะสมอยู

ในระดับปานกลาง เพื่อใหความคิดเห็นในสภาพแวดลอมดานการบริการนักศึกษามีมากข้ึน วิทยาลัยควรปรับปรุงการอํานวยความสะดวกในการติดตอขอรับบริการตางๆ จากงานทะเบียนและสถิติ ซึ่งรวมถึงการสรางมนุษยสัมพันธท่ีดีของเจาหนาท่ีท่ีใหบริการงานทะเบียนและสถิติ และเจาหนาท่ีสวนของหองสมุด ตลอดจนพัฒนาสถานพยาบาลของวิทยาลัยใหไดมาตรฐานถูกสุขลักษณะ และควรเพิ่มสวัสดิการชวยเหลือนักศึกษาในดานทุนการศึกษาใหเพียงพอกับความตองการของนักศึกษาท่ีมีฐานะทางการเงินไมคอยดีนัก

3. ดานการเรียนการสอน จากผลการศึกษาพบวา นักศึกษามีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง เพื่อใหความคิดเห็นในสภาพแวดลอมดานการเรียนการสอน มีมากขึ้น วิทยาลัยควรปรับปรุงโดยเพิ่มจํานวนอาจารยผูสอน เพื่อใหการติดตามผลการเรียนของนักศึกษาสามารถดําเนินการไดอยางท่ัวถึง และอาจารยผูสอนจะตองเปดโอกาสใหนักศึกษาไดมีสวนรวมในการวัดและประเมินผลการเรียนอยางเต็มท่ี ในสวนของหลักสูตรท่ีเปดสอนควรเพิ่มความหลากหลายของหลักสูตร ตลอดจนพัฒนานวัตกรรมและส่ือการเรียนใหมีความทันสมัย และใหมีคุณภาพท่ีสัมพันธกับเน้ือหามากยิ่งขึ้น

4. ดานสังคมกลุมเพื่อน จากผลการศึกษาพบวา นักศึกษามีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง เพื่อใหความคิดเห็นในสภาพแวดลอมดานสังคมกลุมเพื่อนมีมากข้ึน วิทยาลัยควรปรับปรุงโดยการสนับสนุนและสงเสริมความสัมพันธอันดีตอกันระหวางรุนพี่รุนนอง ท้ังน้ีวิทยาลัยสามารถดําเนินการดวยการสงเสริมการจัดกิจกรรมใหแกนักศึกษาเพ่ือเผยแพรชื่อเสียงของวิทยาลัย เชน การจัดใหมีการแขงทักษะวิชาชีพในดานคอมพิวเตอร พิมพดีด หรือประกวดฟอนรํา ซึ่งปจจุบันยังไมไดรับการสนับสนุนและสงเสริมจากวิทยาลัยอยางเต็มท่ี

Page 193: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 185

 

5. ดานการจัดกิจกรรมนักศึกษา จากผลการศึกษาพบวา นักศึกษามีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง เพื่อใหความคิดเห็นในสภาพแวดลอมดานการจัดกิจกรรมนักศึกษามีมากข้ึน วิทยาลัยควรปรับปรุงโดยอาจจัดใหมีการอบรมหลักสูตรพิเศษตางๆ เพื่อใหนักศึกษาไดพัฒนาตนเอง หรือจัดการสงเสริมกิจกรรมตางๆ แกนักศึกษาโดยท่ีอาจเปนกิจกรรมการสงเสริมอนุรักษศิลปวัฒนธรรมตางๆ (การฟอนรํา ศิลปะ) การจัดกิจกรรมกีฬาภายในสถานศึกษา หรือสงเสริมกิจกรรมเพื่อสังคมตาง ๆไดแก คายอาสา ปลูกปา บําเพ็ญประโยชนตอแหลงสาธารณะ โดยกิจกรรมท่ีสงเสริมดังกลาวจะตองมีการจัดการประชาสัมพันธ ใหครอบคลุมนักศึกษาอยางท่ัวถึง ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยครั้งตอไป

1. ควรศึกษาปญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการสภาพแวดลอมในปจจุบันของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี

2. ควรศึกษาระดับคาดหวังของนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอม ภายในวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ พระองคเจาภคินีเธอเจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี ประกาศคุณูปการ

ปริญญานิพนธฉบับน้ีสําเร็จลงไดดวยความกรุณาของ ดร.จารุวรรณ สกุลคู ประธานกรรมการควบคุม

วิทยานิพนธ ดร.สุชาดา สุธรรมรักษ ซึ่งไดใหคําแนะนําเพื่อแกไขปริญญานิพนธฉบับน้ีใหสมบูรณ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณดวยความเคารพอยางย่ิง

ขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัจฉรา วัฒนาณรงค และอาจารย ดร.อรรณพ โพธิสุข กรรมการท่ีแตงต้ังเพิ่มเติม ท่ีไดแตงต้ังเพิ่มเติม ท่ีไดใหความอนุเคราะหรวมเปนกรรมการสอบคร้ังน้ี

ขอกราบของพระคุณ อาจารย ดร.ราชันย บุญธิมา อาจารย ดร.กุลธิดา เทพพิทักษ อาจารย ดร.อรรณพ โพธิสุข ท่ีกรุณาใหความอนุเคราะหเปนผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย ทําใหปริญญานิพนธฉบับน้ีสมบูรณ และสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

ขอขอบคุณผูบริหาร อาจารยวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เพื่อนรวมงานและนักศึกษาทุกทาน ท่ีใหความรวมมือในการอนุเคราะหตอบแบบสอบถามในครั้งน้ี

ขอขอบพระคุณคุณพอสถาพร ใจตุย คุณแมไพฑูรย ใจตุย คุณกิตติ โลหะเวช ท่ีใหกําลังใจและสนับสนุนผูวิจัยในการทําปริญญานิพนธฉบับน้ีจนสําเร็จลุลวงดวยดี

ขอขอบคุณ พี่ๆ เพื่อนๆ การอุดมศึกษาและทุกทานท่ีมีสวนชวยเหลือและใหการสนับสนุนในการทําปริญญานิพนธฉบับน้ีจนสําเร็จ คุณคาของปริญญานิพนธฉบับน้ี ผูวิจัยมอบใหแดบิดา มารดา ครู อาจารย พี่ๆ เพื่อนๆ และผูมีพระคุณทุกทาน

Page 194: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

186  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

บรรณานุกรม กนกรัตน นาคหฤทัย. (2540). สภาพแวดลอมทางการศึกษาในวิทยาลัยพณิชยการสังกัดกรมอาชีวศึกษาเขต กรุงเทพมหานครตามความคิดเหน็ของนักศึกษาเขตกรุงเทพมหานครตามความคิดเหน็ของ

นักศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ม.(ธุรกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กมลทิพย เกตุสุนทร. (2542). สภาพแวดลอมสาขาวิทยุบริการเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ใน

ทัศนะของนักศึกษาปริญญาโท. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคําแหง. กาญจนา ศรีกาฬสินธุ. (2538). การบริหารกิจการนักเรียน เลม 2. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพมหานคร:

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กิดานันท มะลิทอง. (2540). เทคโนโลนีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. กิตติพร พินิชการ. (2548). ทศันะคติของนสิิตที่มีตอสภาพแวดลอมคณะทันตแพทยศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอดุมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. กิ่งแกว เอี่ยมแฉลม. (2542). สภาพการจัดการเรียนการสอนของคณะบริหารธุรกิจสถาบันเทคโนโลยีราช

มงคล วิทยาเขตบพิตรพิมขุ มหาเมฆตามทัศนะของนกัศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2540). รายงานกระแสปฏิรูปอุดมศึกษาของโลก. กรุงเทพฯ: สํานัก นายกรัฐมนตรี

จุลชาติ อรัญยะนาค. (2551). ความพึงพอใจของผูบริหาร อาจารยและนักศึกษาท่ีมีตอสภาพแวดลอม

ของสถาบัน. บัณฑิตพัฒนศิลป กรมศิลปากร. จํานงค อินทองคํา. (2527). การศึกษาปญหาและความตองการดานการสอนของครูผูสอนวิชาวิทยาศาสตร

ตามหลักสูตรประกาศนียบตัรวิชาชีพ พทุธศักราช 2524 ในวิทยาลัยเกษตรกรรม. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชมพันธุ กุญชร ณ อยธุยา. (2543). บทความ การพัฒนาระบบการสอน. วิชาการศึกษาศาสตร ปท่ี 1, ฉบับท่ี 2. ทบวงมหาวิทยาลัย. (2542). เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: ทบวงฯ.

(สําเนา). นฤมล ขันสัมฤทธิ์. (2542). การนําเสนอแนวทางการพัฒนาอาจารยวิทยาลัยนาฏศิลป. วิทยานิพนธครุศาสตร

มหาบัณฑิต จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องตน. พิมพคร้ังท่ี 6 กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน. ------------. (2546). การวิจัยเบื้องตน. พมิพคร้ังท่ี 7 กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน. บุญชวย จินดาพันธ. (2536). การบริหารอาคารสถานทีแ่ละส่ิงแวดลอม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพการศาสนา. ประสงค วงศาโรจน. (2541). สภาพแวดลอมวิทยาลัยพละศึกษา จังหวัดสมุทรปราการในทัศนะของผูบริหาร

อาจารยและนักศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Page 195: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 187

 

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2535). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: สหมิตรออฟเซท. ------------. (2542). การจัดการบริหารอาชวีศึกษา. กรุงเทพฯ: พิมพดี. พวา พันธเมฆา. (2535). สารนิเทศกับการศึกษาคนควา. โรงพมิพกรุงเทพ: กรุงเทพมหานคร. พูลศิลป เกสร. (2536). สภาพแวดลอมวิทยาลัยพละศึกษาสมุทรสาคร ในทัศนะของผูบริหาร อาจารย และ

นักศึกษา. กศ.ม. การอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. เพ็ญแข ประจนปจจนึก. (2540). ความตองการของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตรในดาน

การบริการของมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2539). วารสารมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. กองแผนงานสํานักงาน

อธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. (2546). ประมวลบทความนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2541-2546.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เมธี ปลันธนานนท. (2528). การวางแผนอาคารสถานทีแ่ละส่ิงอํานวยความสะดวกทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:

โอเดียนสโตร. วรรณภา อิทธไิมยยะ. (2537). “ความคิดเหน็ของนักศึกษาที่มีตอการบริหารงานอาคารสถานที่สิ่งแวดลอม

การจัดสวัสดกิารและบริการของวิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต. วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต. วิจิตร วรุตบางกูร. (2524). การวางแผนและพัฒนาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ขนิษฐาการพมิพและโฆษณา.

2524. วิจิตร สินสิริ. (2534). การอุดมศึกษาเชิงรกุ. กรุงเทพฯ: เม็ดทรายพร้ินต้ิง. วิจิตร ศรีสอาน. (2519). หลักการอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. วิชัย วงษใหญ. (2540). กระบวนทัศนใหม : การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาศักยภาพของบุคคล. จุลสาร.

กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วินุ ทองพวง. (2542). การศึกษาสภาพแวดลอมวิทยาลัยพลศึกษากรุงเทพฯ ตามทศันะของอาจารยและ

นักศึกษา. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ถายเอกสาร.

วินัย วีระวัฒนานนท. (2542). การตดิตามผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สาขาวชิาการ อุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิไล ต้ังทัตสวัสด์ิ. (2536). สภาพแวดลอมของวิทยาลัยพยาบาลตํารวจในทัศนะของอาจารย และนักศึกษา พยาบาล. ปริญญานิพนธ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2530). อุดมศึกษา. ภาควิชาอุดมศึกษา ครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ศิริกาญจน จันทรเรือง. (2543). การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน. เชียงใหม: ภาควิชาการทั่วไป คณะธุระกิจศึกษา มหาวิทยาลัยแมโจ.

Page 196: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

188  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

สุจิตรา สุคนธทรัพย. (2545). การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพของนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วารสาร วิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ. ปท่ี 3 ฉบบัท่ี 1 มกราคม-มิถุนายน 2545.

สุวพร ต้ังสมวรพงษ. (2542,มิถุนายน). การพัฒนาบัณฑติในยุคโลกาภิวัฒน. ในวารสารอุดมศึกษาสัมพันธ เร่ือง อุดมศึกษาในทศวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: พร๊ินตโพธิ์.

สุวรรณ สุขสมภักด์ิ. (2530). รายงานการวิจัยเรื่องสภาพแวดลอมวิทยาลัเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ในทัศนะของนักศึกษา อาจารยและผูบริหาร. วิทยานิพนธปริญญา

มหาบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุวัฒน ชางเหล็ก. (2542). “วารสารบทบาทที่คาดหวังและบทบาทที่ปฏิบัติของอาจารยตามทรรศนะของ

นักศึกษาหรือสถาบันราชภฎัในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. สีมาจารย 14(28): 44-51. สุนทร เอี่ยมเกษมสิน. (2547). สภาพแวดลอมในสถาบันราชภัฎสวนดสุิต ตามความคิดเหน็ของนกัศึกษา.

ปริญญานิพนธ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สําเนาว ขจรศลิป. (2537). มติิใหมของกิจการนักศึกษา พื้นฐานและการบริการนักศึกษา. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. ------------. (2538). มิติใหมของกิจกรรมนกัศึกษาและการพัฒนานักศึกษา. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. อดุลย วิริยเวชกุล. (2541). คูมือการจัดการเรียนการสอนระดับบัณทติศึกษา. บณัฑิตวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยมหิดล. อรุณี โคตรสมบัติ. (2542). การศึกษาทัศนะของผูบริหาร อาจารย และนักศึกษาเก่ียวกับสภาพแวดลอมที ่

เก่ียวกับการพัฒนานักศึกษา สถาบันราชภัฎกลุมรัตนโกสินทร. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตร มหาบัณทิต จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อรพันธุ ประสิทธิรัตน. (2543). ความสัมพันธระหวางองคประกอบของสภาพแวดลอมทางการเรยีนใน

หองเรียนดานครูผูสอนกับความพึงพอใจของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อรวรรณ เมฆทัศน. (2543). ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการใหบรกิารของมหาวิทยาลัยรามคําแหง. ปริญญานิพนธ ศศ.ม. (การอุดมศึกษา). มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

อุทัยพร สุดใจ. (2545:7). ความพึงพอใจของผูบริหารทีม่ีตอการใหบริการขององคการโทรศัพทแหง ประเทศไทย. จ.ชลบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

อัจฉรา สุขารมณ และพรรณี บุญประกอบ. (2542). สภาวะแวดลอมของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที ่

สัมพันธกันภาวะเครียดในการเรียนของนสิิต. ปริญญาบณัทิต. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อํานวย นาคทัต. (2540). การประเมินผลโครงการฝกงานนักศึกษาระดับ ปวส. สาขาวิชาชางกอสราง ของ

วิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษา. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. ครุศาสตร อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

Page 197: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 189

 

อําพัน อองเอี่ยม. (2541). สภาพแวดลอมมหาวิทยาลัยศรีประทุม ในทศันะของผูบรหิาร อาจารย และ

นักศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การอุดมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

American college Personal Association. (1994). National Association of student Personal Administrator, 1987.

Astin, A.W. (1993). What matters in college? Four critical years revisited. San Fancisco: Jossey Bass. Bennett, M.E. (1952). College and Life. New York: American Council on Education. Cronbach,Lee j. (1984). Essential of psychological testing. 3rd ed. New York: Harper and Row Publishers. Ferguson, George A. (1966). Statistical Auanlasis in Psychology and Education. 2nd ed., New York:

McGraw–Hill Book Co. George D. Kuh. (1991). Involving colleges : successful approaches to fostering student learning and

development outside the classroom. San Francisco: Jossey-Bass. Harold, Silver. (1964). A higher education : the Council for National Academic Award and British higher

education 1964-89. Academic: Great Britain. Pascarella and Terenzini. (1991). How college students : fimdings and insights from twenty years of

research / Ernest T. Pascarella, Patrick T. Terenzini ; foreword by Kenneth A. Feldman. San Francisco: jossey-bass Publishers.

Ramsden, Paul. (2003). Learning to teach in higher education. 2nd ed. London: tion. 2nd ed. London: RoutledgeFalmer.

Page 198: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

190  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การพัฒนารูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

SERVANT LEADERSHIP MODEL DEVELOPMENT OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN BASIC EDUCATION

ผูวิจัย นิตย โรจนรัตนวานิชย1 Nit Rotrattanawanit สรภัคสรณ ฉัตรกมลทัศน2 Sorrapakksorn Chatrakamollathas บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน กําหนดวิธีการดําเนินการวิจัย 5 ขั้นตอน ไดแก 1) วิเคราะห สังเคราะหแนวความคิด ทฤษฎีเก่ียวกับรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ 2) การศึกษาความตองการภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในปจจุบัน 3) ออกแบบรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถาน ศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 4) ตรวจสอบรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5) ปรับปรุงรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและนําเสนอ

ในขั้นตอนศึกษาความตองการภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในปจจุบัน กลุมตัวอยาง ประกอบดวยครูผูสอนจากโรงเรียนประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ในพื้นท่ีเขตตรวจราชการกรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2553 จํานวน 375 คน กําหนดขนาดของ

กลุมตัวอยางโดยใชตารางสําเร็จรูปของเคร็จซี่และ มอรแกน (Krejcie & Morgan. 1970) โดยใชวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) กําหนด ใหโรงเรียนเปนชั้น เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถามปลายเปด สําหรับการศึกษาความตองการภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในปจจุบัน

ในขั้นตอนตรวจสอบรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดวยผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญดานการบริหารการศึกษา จากกระทรวง ศึกษาธิการ 5 คน ไดทําการตรวจสอบความสอดคลองเชิงเน้ือหาของรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เคร่ืองมือท่ีใชในขั้นตอนน้ี คือ แบบสอบถามท่ีผูวิจัยสรางข้ึน

ผลการวิจัย พบวา รูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝ

บริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน ดังน้ี มาตรฐานท่ี 1 ผูบริหารสถานศึกษารับฟงความคิดเห็นของผูอื่น (listening) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ มาตรฐานท่ี 2 ผูบริหารสถานศึกษาเปนผูมีความ เห็นใจผูรวมงาน (empathy) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้

1,2อาจารยประจํา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 199: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 191

 

มาตรฐานท่ี 3 ผูบริหารสถานศึกษาใหกําลังใจผูรวม งาน (healing) ประกอบดวย 4 ตัวบงชี้ มาตรฐานท่ี 4 ผูบริหารสถานศึกษาเปนผูมีความตระหนักรู (awareness) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ มาตรฐานท่ี 5 ผูบริหารสถาน ศึกษามีความสามารถในการโนมนาวใจผูอื่น (Persuasion) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ มาตรฐานท่ี 6 ผูบริหารสถาน ศึกษามีความสามารถในการสรุปแนวความคิด(Conceptualization) ประกอบดวย 2 ตัวบงชี้ มาตรฐานท่ี 7 ผูบริหารสถานศึกษามีความสามารถในการคาดการณ (Foresight) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ มาตรฐานท่ี 8 ผูบริหารสถานศึกษามีจิตอาสาในการดูแลชวยเหลือผูอื่น (Stewardship) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ มาตรฐานท่ี 9 ผูบริหารสถานศึกษามุงมั่นสรางความกาวหนาใหแกบุคลากร (Commitment to the Growth of People) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ และมาตรฐานท่ี 10 ผูบริหารสถานศึกษาสงเสริมการสรางชุมชน (Building Community) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ คําสําคัญ : ผูนําแบบใฝบริการ ผูบริหารสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ABSTRACT

The purpose of this research was to develop the servant leadership model of school administrators in basic education. The research method consisted of 5 steps: 1) analyzing and synthesizing concepts and theories about servant leadership model, 2) studying the present needs of servant leadership of school administrators in basic education, 3) designing servant leadership model of school administrators in basic education, 4) verifying servant leadership model of school administrators in basic education, and

5) correcting servant leadership model of school administrators in basic education and presenting it to the public.

For studying the present needs of servant leadership of school administrators in basic education step, the sample were 375 teachers from elementary and secondary schools under office of the basic education commission in Bangkok inspection area, academic year 2010. The sample size determined according to Krejcie and Morgan (1970) tables of samples. The stratified random sampling was applied. The strata were formed based on school type. The instrument of this research step was a questionnaire with open-ended questions for present needs of servant leadership of school administrators in basic education.

For examining servant leadership model of school administrators in basic education step, the index of item objectives congruence (IOC) was applied. Five experts in educational administration from the Ministry of Education were invited to verify content validity of the servant leadership model of school administrators in basic education. The instrument of this research step was the questionnaire developed by researchers.

The research result:

The servant leadership model of school administrators in basic education consisted of 10 criteria: Criterion 1-Listening consisted of 3 indicators. Criterion 2-Empathy consisted of 3

Page 200: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

192  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

indicators. Criterion 3-Healing consisted of 4 indicators. Criterion 4-Awareness consisted of 3 indicators. Criterion 5-Persuasion consisted of 3 indicators. Criterion 6-Conceptualization consisted of 2 indicators. Criterion 7-Conceptualization consisted of 3 indicators. Criterion 8-Stewardship consisted of 3 indicators. Criterion 9-Commitment to the Growth of People consisted of 3 indicators. Criterion 10-Building Community consisted of 3 indicators. Keywords : Servant Leadership Model Development School Administrators Basic Education

บทนํา

ผูบริหารสถานศึกษาท่ีดีจะสามารถโนมนาวการดําเนินงานของผูรวมงานใหชวยกันปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะทําใหนักเรียนประสบความสําเร็จอยางสูง ขณะเดียวกันจะชวยผลักดันใหสถานศึกษามีการพัฒนาไดอยางรวดเร็ว บรรลุเปาหมายและพันธกิจของสถานศึกษาโดยอาศัยภาวะผูนํา สรางความกระตือ รือรนใหผูรวมงาน สรางแรงจูงใจแกผูรวมงาน รูจักปรับเปล่ียนอารมณ สรางความคาดหวัง รูจักการวางแผนและตัดสินใจอยางมีเหตุผลเพื่อทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงท่ีดีและสามารถปฏิบัติงานไดผล (Sergiovanni, Kelleher, McCarthy, & Wirt, 2004) สอดคลองกับแนวคิดของสํานักมาตรฐานทางการศึกษา ประเทศอังกฤษ (Office for Standards in Education, 2003 as cited in Wallace, 2005) ซึ่งระบุวา ภาวะผูนําและการบริหารจัดการของผูบริหารสถานศึกษาเปนส่ิงสําคัญมาก เน่ืองจากทํา ให ท ราบ ถึ งแนวทางและวิ ธี ก า รการบ ริหารสถานศึกษาของผูบริหารสถานศึกษาใหมีคุณภาพ

ดังเชน โครงการคุณภาพแหงชาติ แบลดริจ (National Institute Standard and Technology, 2010) ไดพัฒนาปรับปรุงเกณฑการตรวจสอบคุณภาพสถานศึกษา และไดกําหนดและใหความสําคัญตอดานภาวะผูนํา (Leadership) ไวเปนองคประกอบแรก ในการขับเคล่ือนกระบวนการดําเนินงานของสถานศึกษาไปสูผลลัพธท่ีตองการ โดยกําหนดนํ้าหนักคะแนน 120 คะแนน หรือคิดเปนรอยละ 12 ซึ่งสูงเปนลําดับท่ีสองรองจากดานผลลัพธ

จากรายงานการวิจัย พบวาภาวะผูนําของสถานศึกษาเปนเง่ือนไขสําคัญของการปฏิรูปการศึกษา (Sergiovanni, Kelleher, McCarthy, & Wirt, 2004) พฤติกรรมของผูบริหารสถานศึกษา มีอิทธิพลท้ังทางตรงและทางออมตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน (Witziers, Bosker & Kruger, 2003) พฤติกรรมของผูบริหารสถานศึกษาในการมุงพัฒนาบรรยากาศในการเรียนรู เปนตัวทํานายผลการเรียนรูของนักเรียน(O’Donnell & White, 2005) สอดคลองกับแซลลิส (Sallis, 2002) ท่ีกลาววารูปแบบของคุณภาพจะไมเกิดข้ึนหากปราศจากพลังขับเคล่ือนท่ีสําคัญจากการบริหารจัดการระดับสูง ซึ่งแซลลิสกลาววาเปรียบเหมือนกฎเหล็กแหงคุณภาพ นอกจากน้ันเขากลาววามีงานวิจัยจํานวนมากพบวาภาวะผูนําท่ีเขมแข็งเปนอนาคตท่ีสําคัญของสถานศึกษา ผูนําท่ีดีจะสามารถโนมนาวการดําเนินงานของผูรวมงานใหชวยกันปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ซึ่งจะทําใหนักเรียนประสบความสําเร็จอยางสูง สอดคลองกับแนวคิดของ คาลาบรีส (Calabrese, 2002) ซึ่ งกลาวว า ผู นํ า ท่ีมีประสิทธิผลจะนําการเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีมาสูสถานศึกษา โดยจะสามารถเขาใจกระบวนการเปล่ียนแปลงวาจะเปล่ียนแปลงอะไร อยางไร รวมทั้งจะรวมงานกับครู และบุคลากรในการกําหนดเปาหมายการเปล่ียนแปลงท่ีทาทายและชัดเจน

Page 201: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 193

 

เหมาะสม โดยเนนใหครูและบุคลากรทํางานเชิงรุก เห็นความสําคัญและประโยชนของการเปล่ียนแปลง พรอมท้ังกระตุนใหผูรวมงานทุกคนเปนผูนําในการกําหนดเปาหมาย การปฏิบัติและการตัดสินใจรวมกัน รวมท้ังคอยชวยเหลือและอํานวยความสะดวกใหแกครูและผูมีสวนเกี่ยวของในการบริหารจัดการสถานศึกษาใหมีคุณภาพ

จากความสําคัญของภาวะผู นําดังกลาว ผูบ ริหารสถานศึกษาจึงตองสรางภาวะผู นํา เพื่อกอใหเกิดอิทธิพลจูงใจใหผูรวมงานมีความเขาใจในงาน มีความกระตือรือรนท่ีจะทํางานใหบรรลุเปาหมาย และสามารถเปนผูชี้ นําการปฏิบัติงานและการดําเนินกิจกรรม (Shaffer, 2000) ซึ่งภาวะผูนําสามารถเรียนรู ฝกฝนและสรางข้ึนมาได (Field, Holden, & Lawlor, 2000) ภาวะผูนําเปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จขององคการ ความรุงเรืองขององคการข้ึนอยูกับภาวะผูนําซึ่งตองอาศัยปจจัยชวยสงเสริม (Owens & Valesky, 2007) ซึ่งปจจุบันประเทศชาติและท่ัวโลก กําลังเรียกรองผูนําท่ีมีภาวะผูนําท่ีมีคุณธรรม มีจิตมุงบริการผูอื่น ภาวะผูนําแบบใฝบริการ (Servant Leadership) เปนรูปแบบภาวะผูนําประเภทหน่ึงท่ีไดรับการกลาวขานกันอยางกวางขวางวา เปนรูปแบบภาวะผูนําท่ีมีประสิทธิผล ซึ่งเปนรูปแบบภาวะผูนําท่ีผูบริหารสถานศึกษาคํานึงถึงการบริการผู ใตบั ง คับบัญชาเปนสําคัญ กรีนลีฟ (Greenleaf, 1998) รายงานวาภาวะผูนําแบบใฝบริการ เปนรูปแบบของผูนําซึ่งเร่ิมจากความรูสึกท่ีตองการบริการผูรวมงาน และเปนภาวะผูนําท่ีสงผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กรีนลีฟ (Greeleaf) เปนบุคคลแรกท่ีนําเสนอรูปแบบภาวะผูนําแบบใฝบริการ ในป ค.ศ. 1997 ปจจุบันไดรับการกลาวขานจากผู เชี่ยวชาญและงานวิจัยตางๆ จํานวนมากวาแนว ความคิดของภาวะผูนําแบบใฝบริการ เปนภาวะผูนํา

เชิงบวก (Luthans. 2002) และไดรับการยอมรับในฐานะท่ี เปนภาวะผู นํา ท่ีมีประสิทธิผล (Effective leadership) จากนักการศึกษาหลายคน ตัวอยางเชน สเพียรส (Spears. 1995) ซึ่งตามแนวคิดของ สเพียรส (Spears) กลาววาผูนําท่ีมีภาวะผูนําแบบใฝบริการ มีคุณลักษณะสําคัญ 10 ประการ ไดแก 1) การรับฟง (Listening) โดยตองเปนผูฟงท่ีดี พรอมจะรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น 2) ความเขาใจและเห็นใจผูอื่น (Empathy) กลาวคือตองยอมรับและเขาใจความแตกตางของแตละบุคคล 3) การใหกําลังใจผูอื่น (Healing) 4) ความตระหนัก (Awareness) ท้ังความตระหนักในเร่ืองท่ัวไป (General- Awareness) และความตระหนักในตนเอง (Self- Awareness) 5) การโนมนาวใจผูอื่น (Persuasion) 6) การสรุปแนวความคิด (Conceptualization) 7) การคาดการณ (Foresight) 8) การดูแลชวยเหลือ (Stewardship) 9) การมุงความกาวหนาของบุคลากร (Commitment to the Growth of People) และ 10) การสรางชุมชน (Building Community)

ในสวนของประเทศไทย สถานศึกษาข้ันพื้นฐานซึ่งเปนสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาใหกับเยาวชนสวนใหญของประเทศ ซึ่งพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545 มาตรา 27 กําหนดใหผูบริหารสถานศึกษาเปนผูบังคับบัญชาของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา และมีอํานาจและหนาท่ีในการบังคับบัญชาและบริหารสถานศึกษาใหบรรลุวัตถุประสงคของสถานศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ, 2546) นอกจากน้ันพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กําหนดใหผู บริหารสถานศึกษาตองมีมาตรฐานวิชาชีพ 3 ดาน ประกอบดวย มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการปฏิบัติ

Page 202: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

194  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ตน (สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2549) ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความเห็นวาผูบริหารสถานศึกษาตองใชภาวะผูนําผลักดันการบริหารสถานศึกษาใหบรรลุผล ซึ่งผูบริหารสถานศึกษาท่ีมีภาวะผูนําแบบใฝบริการ จะมีคุณลักษณะสําคัญท่ีพรอมจะรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น พรอมท้ังคอยชวยเหลือและอํานวยความสะดวกใหแกครูและผูมีสวนเก่ียวของ โดยมุงเนนการบริการเพื่อประโยชนสูงสุดของสถานศึกษา และคํานึงถึงประโยชนของสวนรวมเสมอ

จากความสําคัญของภาวะผูนําแบบใฝบริการของผูบริหารสถานศึกษาดังกลาว ผูวิจัยจึงตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนารูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยการสํารวจบริบทภาวะผูนําแบบใฝบริการของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และศึกษาแนวคิด ทฤษฎีภาวะผูนําแบบใฝบริการ เพื่อนําขอเท็จจริง ขอมูลเชิงประจักษ และแนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับภาวะผูนําแบบใฝบริการ มาใชในการออกแบบรูปแบบภาวะผูนําของผูบริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐานในบริบทของประเทศไทย เพื่อเปนองคความรูและ นําไปเปนแนวทางในการพัฒนาภาวะผูนําของผูบริหารสถานศึกษา เพื่อใหผูบริหารสถานศึกษาไดใชภาวะผูนําแบบใฝบริการในการบริหารสถานศึกษาและพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ บรรลุตามเปาหมายของการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทยตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย

การวิจัยคร้ังน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อออกแบบรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

วิธีการวิจัย การวิจัย น้ี ใช ระ เบียบวิธี วิ จัยและพัฒนา

(Research and Development) ดําเนินการวิจัย ตามวัตถุประสงคของการวิจัย โดยแบงขั้นตอนการวิจัยออกเปน 5 ขั้นตอน ตามลําดับดังน้ี

ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาความตองการภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในปจจุบัน

การดําเนินการวิจัยในขั้นตอนน้ี ดําเนินการ ศึกษาเพื่อใหไดขอมูลความตองการภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนํามาสรุปประเด็นภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผู บริหารสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ประชากรที่ ใชในข้ันตอนการศึกษาความตองการภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการของผูบริหารสถานศึกษา ประกอบดวยครูผูสอนจากโรงเรียนประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในพื้นท่ีเขตตรวจราชการกรุงเทพมหานคร ปการศึกษา 2553 จํานวน 12,095 คน กลุมตัวอยาง กําหนดขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชตารางสําเร็จรูปของเคร็จซี่และมอรแกน (Krejcie & Morgan. 1970) ไดจํานวน 375 คน การเลือกกลุมตัวอยาง ใชวิธีการสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) กําหนดใหโรงเรียนเปนชั้น เคร่ืองมือท่ี ใช ในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนแบบสอบถามปลายเปด ซึ่งผูวิจัยสรางข้ึน จํานวน 1 ฉบับ ดําเนินการสรางจากกรอบแนวคิดรูปแบบภาวะผูนําตามคุณลักษณะภาวะผูนําแบบใฝบริการของสเพียรส (Spears)

การเก็บรวบรวมขอมูลดําเนินการโดยผูวิจัยสงหนังสือขอความรวมมือเก็บขอมูลเพื่อการวิจัย สงไปยังสถานศึกษาโดยตรงและขอความอนุเคราะหใหจัดสงกลับ โดยผูวิจัยแนบซองไปรษณียยากรไปดวยเพื่อความ

Page 203: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 195

 

สะดวกในการจัดสงกลับมายังผูวิจัย เพื่อวิเคราะหเน้ือหาและสรุปประเด็นและสาระสําคัญ ขั้นตอนท่ี 2 วิเคราะห สังเคราะหแนวความคิด ทฤษฎีเก่ียวกับรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ

การดําเนินการวิจัยในขั้นตอนน้ี เปนการศึกษา วิเคราะห สังเคราะหแนวความคิด ทฤษฎีเก่ียวกับรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ เพื่อสรุปสาระสําคัญใหไดองคประกอบ และคุณลักษณะท่ีสําคัญของรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ โดยดําเนินการศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และรายงานการวิจัยท่ีเก่ียวของเก่ียวกับภาวะผูนําแบบใฝบริการท้ังในประเทศและ ตางประเทศ ขั้นตอนท่ี 3 ออกแบบรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ในขั้นตอนน้ีดําเนินการเพื่อใหไดรางรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผู บริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยนําสาระสําคัญท้ังหมดท่ีไดจากขั้นตอนท่ี 1 และข้ันตอนท่ี 2 มาดําเนินการรางและออกแบบองคประกอบ และตัวบงชี้ท่ีสําคัญของรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขั้นตอนท่ี 4 ตรวจสอบรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

การดําเนินการวิจัยในขั้นตอนน้ีดําเนินการเพื่อตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา ของรางรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผู บริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยการตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาโดยผูทรงคุณวุฒิ

และผูเชี่ยวชาญดานการบริหารการศึกษา จากกระทรวง ศึกษาธิการ เพื่อใหไดรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีมีความมีประโยชน สามารถนําไปใชในการกําหนดนโยบาย แผนงาน และวัตถุประสงค ในการพัฒนาภาวะผูนําของผูบริหารสถานศึกษาสถาน ศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยในข้ันตอนน้ี คือ แบบสอบถามท่ีผูวิจัยสรางข้ึนสําหรับตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาของรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การสรางแบบสอบถาม ดําเนินการสรางตามลําดับข้ันตอน ดังน้ี

1. ศึกษาหลักเกณฑการสรางแบบสอบถามเพื่อตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาจากเอกสารและตําราท่ีเก่ียวของ เพื่อใหเคร่ืองมือสามารถวัดไดครอบคลุมเน้ือหาสาระในสิ่งท่ีตองการวัด (นิโลบล น่ิมกิ่งรัตน, 2543)

2. จัดทํารางแบบสอบถามโดยจัดทํารายการขอคําถาม ใหครอบคลุมขอบขายทุกขอของรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

3. ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา ของรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดวยเทคนิคการหาคาดัชนีความสอดคลอง (Item–Objective Congruence Index: IOC) โดยใหพิจารณาวารายการใดสอดคลอง ให 1 รายการใดไมสอดคลอง ให -1 และรายการใดไมแนใจ ให 0 (Rowinelli & Hamble, 1977 อางถึงใน ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543) ผู วิจัยเลือกผูเชี่ยวชาญใหเปนผูตรวจสอบรูปแบบภาวะ

Page 204: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

196  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน จํานวน 5 คน

การวิเคราะหขอมูลในขั้นตอนน้ี ดําเนินการโดยนําขอมูลจากการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา มาหาคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอคําถามและวัตถุประสงค (Item-Objective Congruence Index: IOC) ของรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยใชสูตรของโรวิเนลลี และ แฮมเบลตัน โดยคงไวสําหรับขอท่ีมีคา IOC มากกวา 0.5 ซึ่งในการวิจัยคร้ังน้ีมีคา IOC ระหวาง 0.80-1.00 (Rowinelli and Hamble, 1977 อางถึงใน ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543) ขั้นตอนท่ี 5 ปรับปรุงรูปและนําเสนอแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผู นําแบบใฝบ ริการ ของผูบ ริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

การดําเนินการวิจัยในขั้นตอนน้ีดําเนินการเพื่อปรับปรุงรางรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยนําสาระสําคัญและมติตามขอเสนอแนะจากการสนทนากลุมผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญดานการบริหารการศึกษา มาปรับปรุงรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พรอมท้ังนําเสนอรูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ฉบับสมบูรณ ผลการวิจัย

รูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 ผูบริหารสถานศึกษารับฟงความคิดเห็นของผูอื่น (listening) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก

1.1) มีความพรอมในการรับฟงความคิดเห็นของผูรวมงาน 1.2) มีความตั้งใจรับฟงความคิดเห็นของผูรวมงาน และ 1.3) สรุปและแปลความหมายจากการรับฟงไดอยางถูกตอง มาตรฐานท่ี 2 ผูบริหารสถานศึกษาเปนผูมีความเห็นใจผูรวมงาน (empathy) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก 2.1) มีคุณธรรม จริยธรรมในการปฏิบัติงาน 2.2) รูและเขาใจผูรวมงานทุกคน และ 2.3) มีความพรอมท่ีจะชวยเหลือผูอื่นเสมอ มาตรฐานท่ี 3 ผูบริหารสถานศึกษาใหกําลังใจผูรวมงาน (healing) ประกอบดวย 4 ตัวบงชี้ ไดแก 3.1) เยียวยาผูรวมงานตามความเหมาะสม 3.2) ใหคําปรึกษา และดูแลทุกขสุขของผูรวมงาน 3.3) การกระตุนและเสริมแรงแกตนเอง และ 3.4) การกระตุนและเสริมแรงแกผูรวมงาน มาตรฐานท่ี 4 ผูบริหารสถานศึกษาเปนผูมีความตระหนักรู (awareness) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก 4.1) ตระหนักในตนเอง 4.2) ตระหนักในผูอื่น และ 4.3) มีความตระหนักในส่ิงท่ีอยูรอบตัว

มาตรฐานที่ 5 ผูบริหารสถานศึกษามีความสามารถในการโนมนาวใจผูอื่น (Persuasion) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก 5.1) มีความมุงมั่นในการปฏิบัติงาน 5.2) สงเสริมการสนองความตองการตามความแตกตางของแตละบุคคล และ 5.3) มุงประโยชนของสถานศึกษาเปนสําคัญ มาตรฐานท่ี 6 ผูบริหารสถานศึกษามีความสามารถในการสรุปแนวความคิด(Conceptualization) ประกอบ ดวย 2 ตัวบงชี้ ไดแก 6.1) วิเคราะหและมองภาพองคกรในองครวม และ 6.2) วิเคราะหปญหาในปจจุบันขององคกรไดอยางชัดเจน มาตรฐานท่ี 7 ผูบริหารสถานศึกษามีความสามารถในการคาดการณ (Foresight) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก 7.1) เขาใจสภาพเหตุการณในอดีตท่ีผานมา

Page 205: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 197

 

7.2) รูและเขาใจขอเท็จจริงของเหตุการณท่ีเกิดขึ้นในปจจุบัน และ 7.3) วิเคราะหแนวโนมเหตุการณท่ีอาจจะเกิดขึ้นภายภาคหนา มาตรฐานท่ี 8 ผูบริหารสถานศึกษามีจิตอาสาในการดูแลชวยเหลือผูอื่น ( Stewardship )ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก 8.1) เห็นคุณคาและใหความสําคัญกับบุคลากรทุกคน 8.2) ชวยเหลือและบริการตามความตองการของสวนรวมมากกวาสวนตัว และ 8.3) สรางความไววางใจเปนท่ีเชื่อถือแกบุคคลท่ัวไป มาตรฐานที่ 9 ผูบริหารสถานศึกษามุงมั่นสรางความ กาวหนาใหแกบุคลากร (Commitment to the Growth of People) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก 9.1) สนับสนุนใหผูรวมงาน สรางผลงานตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจ 9.2) แสวงหาแนวทางการพัฒนาบุคลากรเปนรายบุคคลเพื่อมุงสูคุณภาพของสถานศึกษา และ 9.3) ยกระดับคุณภาพชีวิตและคุณภาพการทํางานของบุคลากร มาตรฐานท่ี 10 ผูบริหารสถานศึกษาสงเสริมการสรางชุมชน ( Building Community ) ประกอบดวย 3 ตัวบงชี้ ไดแก 10.1) สงเสริมการทํางานเปนทีม 10.2) สงเสริมความเปนประชาธิปไตย และ 10.3) สงเสริมความรูสึกรวมในการเปนเจาของชุมชนรวมกัน อภิปรายผลการวิจัย อภิปรายผล

ผลจากการพัฒนารูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีประเด็นท่ีสามารถนํามาอภิปรายไดดังน้ี

ผูบริหารสถานศึกษารับฟงความคิดเห็นของผูอื่น (listening) ซึ่งตัวบงชี้ ไดแก มีความพรอมในการรับฟงความคิดเห็นของผูรวมงาน มีความต้ังใจรับฟงความคิดเห็นของผูรวมงาน และสรุปและแปลความหมายจากการรับฟงไดอยางถูกตอง เน่ืองดวยการฟงเปน

ทักษะสําคัญท่ีผูบริหารสถานศึกษาควรมี เพราะการฟงจะทําใหผูบริหารทราบขอมูลจากทุกฝายไมวาจะเปนครู ผูปกครอง และนักเรียน ทําใหเกิดการมีสวนรวมกับทุกฝายอยางแทจริง ดังท่ี เบคเกอรและคณะ (Becker et al., 1971 as cited in Mendez-Morse, 1992) รายงานวา คุณลักษณะดานการส่ือสารเปนคุณลักษณะของผูบริหารสถานศึกษา และทักษะดานการฟงท่ีดีมีความ สําคัญ ซึ่งผูบริหารของสถานศึกษาดีเดนสวนมาก จะใหการรับฟงอยางจริงใจตอพอแมผูปกครองนักเรียน ครูผูสอน รวมท้ังนักเรียนเปนอยางดี และนิคส (Nickse, 1977 as cited in Mendez-Morse, 1992) รายงานวา ผูบริหารสถานศึกษาในฐานะผูนําการเปล่ียนแปลงใชวิธีการส่ือสารกับครูแบบตัวตอตัว และใหการรับฟงผูอื่นเปนอยางดี สงผลใหครูเต็มใจใหความรวมมือในกระบวนการเปล่ียนแปลงตางๆ ของโรงเรียน ซึ่งผูนําแบบใฝบริการ ตองมีความสามารถในการฟง เพื่อรับรูความตองการของผูใตบังคับบัญชา และมีการมุงความ สัมพันธเปนรายบุคคล (Individual Consideration) เนนท่ีการมุงพัฒนาลูกนองเปนรายบุคคล โดยมีการเอาใจใสลูกนองแบบตัวตอตัวซึ่งชวยใหไดขอมูลในการตัดสินใจดีขึ้น ท้ังน้ีเพราะการเอาใจใสของผูบริหารตอผูใตบังคับบัญชาแบบตัวตอตัวจะทําใหมีโอกาสไดรับขอมูลอยูตลอดเวลา (Bass, 1990)

ผูบริหารสถานศึกษามีความสามารถในการโนมนาวใจผูอื่น (Persuasion) ซึ่งตัวบงชี้ ไดแก มีความมุงมั่นในการปฏิบัติงาน สงเสริมการสนองความตองการตามความแตกตางของแตละบุคคล และมุงประโยชนของสถานศึกษาเปนสําคัญ เน่ืองดวยการโนมนางใจผูอื่นเปนทักษะสําคัญของผูบริหารสถานศึกษาในการดลใจใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติงานดวยความเต็มใจ โดยมีเปาหมายเพื่อบรรลุวัตถุประสงคขององคการ ดังท่ีแบส (Bass, 1985) กลาววาการดลใจ (Inspiration) คือ การท่ีผูบริหารมีความสามารถในการโนมนาวจิตใจ

Page 206: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

198  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ลูกนองใหเปล่ียนแปลงความสนใจในการกระทําของตนเองไปสูการกระทําประโยชนเพื่อกลุมหรือเพื่อองคการโดยใชวิธีการพูดท่ีโนมนาวจิตใจในการทํางานรวมท้ังวิธีการกระตุนจูงใจใหผูตามไดรับการตอบสนองความตองการความสําเร็จ ความตองการอํานาจ และความตองการมิตรสัมพันธ

ผูบริหารสถานศึกษามีจิตอาสาในการดูแลชวยเหลือผูอื่น ( Stewardship ) ซึ่งตัวบงชี้ ไดแก เห็นคุณคาและใหความสําคัญกับบุคลากรทุกคน ชวยเหลือและบริการตามความตองการของสวนรวมมากกวาสวนตัว และสรางความไววางใจเปนท่ีเชื่อถือแกบุคคลท่ัวไป เน่ืองจากจิตอาสาในการดูแลชวยเหลือผูอื่น เปนคุณสมบัติ ท่ี สําคัญท่ีผูบริหารสถานศึกษาพึงมีตอผูใตบังคับบัญชาสอดคลองกับสเพียร (Spears, 1998) กลาววา ผูนําแบบใฝบริการเปนส่ิงท่ีเกิดขึ้นโดยความรูสึกภายใน ท่ีตองการบริการผูอื่น มากกวาความตองการของตนเอง ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

1. ผูบริหารและหนวยงานท่ีรับชอบในการพัฒนาผูบริหารสถานศึกษา.ในระดับการศึกษาข้ัน

พื้นฐาน สามารถนํารูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการไปเปนแนวทางในการฝกอบรมผูบริหารสถานศึกษาใหมีภาวะผูนําแบบใฝบริการ

2. ผูบริหารและหนวยงานท่ีรับชอบผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน สามารถนํารูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ไปเปนแนวทางในการแบบประเมินสมรรถนะภาวะผูนําของผูบริหารสถานศึกษา

3. ผูบริหารสถานศึกษา ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนํารูปแบบภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการไปเปนแนวทางในการพัฒนาตนเอง ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป

1. ควรมีการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการพัฒนาภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการของผูบริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน

2. ควรมีการศึกษาภาวะผูนําตามแนวภาวะผูนําแบบใฝบริการ ของผูบริหารการศึกษาในสวนอื่นๆ เชน ผูอํานวยการเขตพื้นท่ีการศึกษา ผูบริหารสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษา ผูบริหารสถานศึกษาในระดับการอาชีวศึกษา เปนตน

Page 207: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 199

 

บรรณานุกรม นิโลบล น่ิมกิ่งรัตน. (2543). การวิจัยการศึกษา. เชียงใหม: ภาควิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สุวีริยสาสน. สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไข

เพิ่มเติม (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2549). พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546.

สืบคนเมื่อ 20 กุมภาพันธ 2550 จาก http://www.khonlung.com/law_rule/law33.pdf. Bass, B.M. (1985). Leadership and performance beyond expectations. New York: Free Press. Bass, B.M. (1990). Bass and Stogdill’s handbook of leadership: Theory, research, and applications

(3rd ed.). New York: Free Press. Calabrese, Raymond L. (2002). The school leader’s imperative: leading change. International Journal of

Educational Management. 16(7), 326-332. Field, K., Holden. P. & Lawlor, H. (2000). Effective Subject Leadership. London: Routledge. Greenleaf, Robert K. (1998). The power of servant-leadership. San Francisco: Berrett-Koehler Publishers. Krejcie, Robert V. and Morgan, Daryle W. (1970). Determinining Sample Size for Research Activities.

Educational and Psychological Measurement. (30), 607-610. Luthans, F. (2002). The need for and meaning of positive organizational behavior. Journal of

organizational Behavior. 23 (6) (2002), 695-706. Wallace, Mike. (2005). Towards Effective Management of a Reformed Teaching Profession,

Paper for the 4th seminar of the ESRC Teaching and Learning Research Programme thematic seminar series ‘Changing Teacher Roles, Identities and Professionalism’, King’s College London, 5th July 2005.

National Institute Standard and Technology. (2010). Baldrige National Quality Program Criteria for

Performance Excellence. Retrieved December 20, 2010 from www.quality.nist.gov/.../2010_Criteria_for_Performance_Excellence.ppt.

O’Donnell, R. J., & White, G. P. (2005). Within the accountability era: Principals’ instructional leadership behaviors and student achievement. NASSP Bulletin. 89 (645), 56 - 71.

Office for Standards in Education. (2003). Leadership and Management: What Inspection Tells us. Document No. HMI 1646. London: OFSTED.

Owens, Robert, & Valesky, Thomas. (2007). Organizational behavior in education. Massachusetts: Allyn & Bacon.

Page 208: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

200  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

Sallis, Edward. (2002). Total Quality Management in Education, 3rd ed. London: Kogan Page. Sergiovanni, T., Kelleher, P., McCarthy, M., & Wirt, F. (2004). Educational governance and

administration, 5th ed.. Boston: Allyn and Bacon. Shaffer, Jim. (2000). The leadership solution. New York: McGraw Hill. Spears, Larry C. (1995). Reflections on Leadership: How Robert K. Greenleaf's Theory of Servant-

Leadership Influenced Today's Top Management Thinkers. New York: John Wiley & Sons. Spears, Larry C. (1998). Insights on leadership: Service, stewardship, spirit, and servant-leadership.

New York: John Wiley & Sons. Mendez-Morse, Sylvia. (1992). Characteristics of Leaders of Change. Retrieved January 9, 2011

from http://www.sedl.org/change/leadership/characteristics_of_leaders_of_change.html Witziers, Bob, Bosker, Roel J. & Kruger, Meta L. (2003). Educational Leadership and Student

Achievement: The Elusive Search for an Association. Educational Administration Quarterly. August 2003, 39 (3), 398-425.

Page 209: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 201

 

ปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

PROBLEMS IN DOING FINE ART THESIS OF FINE ARTS STUDENTS AT SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY

ผูวิจัย สุทธิพงษ พลอยสด1 Suthipong Ploysod กรรมการควบคุม ดร. จารุวรรณ สกุลคู2 รศ.ดร. อัจฉรา วัฒนาณรงค3 Advisor Committee Dr. Jaruwan Skulkhu

Assoc.Prof.Dr. Achara Wattananarong บทคัดยอ การวิจัยคร้ังน้ีมีความมุงหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดานความพรอมของนิสิต ดานอาจารยท่ีปรึกษา ดานการบริการและส่ิงอํานวยความสะดวก ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน และดานการสนับสนุนจากครอบครัว 2) เพื่อเปรียบเทียบปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยจําแนกตาม เพศ กลุมวิชา และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน กลุมตัวอยางในการวิจัยคร้ังน้ี ไดแก นิสิตหลักสูตรปริญญาตรีชั้นปท่ี 4 คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 396 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนแบบสอบถามมาตราสวนคา 5 ระดับ ตามวิธีของไลเคิรท (Likert) สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาคะแนนเฉล่ีย (Mean) และคาความเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) t-test การวิเคราะหแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way Analysis of Variance) และการทดสอบเปนรายคูโดยใชวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยปรากฏ ดังน้ี

1. นิสิตมีปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒโดยรวมในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานความพรอมของนิสิต ดานอาจารยท่ีปรึกษา ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน ดานการสนับสนุนจากครอบครัว นิสิตมีปญหาในระดับปานกลาง ยกเวนดานการบริการและส่ิงอํานวยความสะดวกมีปญหาในระดับมาก

2. นิสิตชายกับนิสิตหญิงมีปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธโดยรวมและในแตละดานไมแตกตางกัน

3. นิสิตทุกกลุมวิชามีปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธ ดานความพรอมของนิสิต ดานการบริการและส่ิงอํานวยความสะดวก ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อนและดานการสนับสนุนจากครอบครัว และโดยรวมไมแตกตางกัน ยกเวนดานอาจารยท่ีปรึกษาท่ีพบวา นิสิตกลุมวิชาทัศนศิลปและนิสิตกลุมวิชาดุริยางคศาสตรสากลมีปญหาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

4. นิสิตท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตางกันมีปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธ ดานอาจารยท่ีปรึกษา

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต ภาคการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2,3อาจารยประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 210: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

202  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานอื่นๆไมพบความแตกตาง คําสําคัญ : ศิลปกรรมนิพนธ ความพรอมของนิสิต ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ บริการจากมหาวิทยาลัย ความสัมพันธกลุมเพื่อน การสนับสนุนจากครอบครัว ABSTRACT

The purposes of this research were first to study the problems in doing Fine Arts thesis of bachelor students in Faculty of Fine Arts at Srinakharinvirot University in five aspects; students’ readiness, characteristic of thesis advisor, university’s academic service, relation among friends, and family supporting in thesis writing, and second, to compare the problem in doing thesis in these aspects and in overall classified by gender, major field of study, and grade point average. The sample were 396 senior students in the Faculty of Fine Arts who enrolled in second semester of academic year 2012. The instrument used for date collection was a Likert-type, five-point rating scale questionnaire.The statistical procedures used for date analysis included mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, and Scheffe’ method.

The research finding revealed that: 1. The problems in doing thesis of Fine

Arts students were at moderate level, when considered in each aspect it was found that students’

readiness, university’s academic service, characteristic of thesis advisor, relation among friends, and family supporting in thesis writing were at moderate level while the university’s academic services aspect was at a high level.

2. There was no significant difference between male and female students on problem in doing thesis

3. Students of all major fields of study had no significant difference on problems in doing Fine Arts thesis as a whole and in 4 aspects: students’ readiness, university’s academic service, relation among friends, and family support in thesis writing. However these was significant difference found on the problems in aspect characteristic of thesis advisor among students from Visual Arts and Western Music fields

4. Students with different academic achievement had significant difference in overall and in the aspect of characteristic of thesis advisor and relation among friends, but these was no difference found in the aspect of students’ readiness, university’s academic service, and family supporting in thesis writing Keywords : Fine Art Thesis students readiness characteristic of thesis advisor university’s academic service relation among friends family supporting

Page 211: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 203

 

บทนํา ภูมิหลัง โลกยุคสังคมแหงการเรียนรู ความรูและภูมิ

ปญญาของแตละสังคมไดนํามาใชเปนเคร่ืองมือสําคัญในการเสริมสรางศักยภาพและความสามารถในการแขงขันกับนานาชาติไดสงผลใหหลายประเทศหันมาทบทวนบทบาทและแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศตนอยางจริงจังเพื่อเปาหมายในการสรางและพัฒนากําลังคนท่ีมีความสามารถท่ีจะนําการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมการเมือง และวัฒนธรรมของประเทศใหไดอยางมั่นคง (วิชัย วงษใหญ. 2543: 1-3) การศึกษาระดับอุดมศึกษามีบทบาทอยางย่ิงตอการพัฒนาประเทศ เพราะการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีหนาท่ีโดยตรงในการสรางความงอกงามทางปญญา ผานกระบวนการการผลิตกําลังคนระดับสูง การพัฒนาการวิจัย การสงเสริมความกาวหนาทางเทคโนโลยีฯลฯ (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2551: 3) สวนจรัส สุวรรณเวลา (2540: 12 -13) ไดต้ังขอสังเกตวาในชวงเวลาท่ีผานมา การศึกษาในมหาวิทยาลัยไทยเนนเน้ือหาวิชามากกวาการสรางวิจารณญาณ และความคิดสรางสรรค บัณฑิตตองขวนขวายสรางคุณลักษณะเหลาน้ีเองภายหลังจบการศึกษา และในระยะหลังนิสิตเพิ่มจํานวนมากข้ึนคุณภาพการศึกษาจึงดอยลงไป บัณฑิตมีความสามารถทางวิชาการต่ํากวามาตรฐานสากล และขาดคุณลักษณะท่ีจําเปนหลายประการ เชน วิจารณญาณ การรูรอบ และความสามารถในการแสวงหาความรูดวยตนเอง และเน่ืองจากการเรียนในระดับอุดมศึกษาเปนการสงเสริมใหนิสิตนักศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง รูจักคนควา รูจักใชขอมูลตางๆ ท่ีไดจากการสังเกต ซักถาม จดจํา การสํารวจ และการปฏิบัติจริงจากการอาน การเรียนในระดับน้ีจึงยากกวาระดับมัธยมศึกษาและนักศึกษาในระดับน้ีมีความใกลชิดกับอาจารยนอย

จึงตองรูจักคนควา สรางวินัยใหตนเอง ในดานการเรียนคอนขางจะอิสระไปไหนมาไหนไดสะดวก ไมมีอาจารยควบคุมดูแลหรือบังคับใหเขาชั้นเรียนจึงเปนเหตุใหหลายคนไมรูจักบังคับใจตนเอง (วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. 2530ข: 20) ดวยเหตุน้ีเพื่อใหการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีการพัฒนาทางดานคุณภาพและมีมาตรฐาน จึงมีการกําหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติขึ้นเพื่อเปนการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแตละระ ดับ คุณวุฒิ และสาขาวิชา รวมท้ังเพื่อใชเปนหลักในการจัดการศึกษามุงสูเปาหมายเดียวกันในการผลิตบัณฑิต ซึ่งมาตรฐานผลการเรียนรูแตละดานของคุณวุฒิระดับปริญญาตรี จะตองประกอบดวย ดานคุณธรรมจริยธรรมซึ่งเก่ียวกับการจัดการทางจริยธรรมวิชาชีพการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางดานคุณธรรม คานิยม การจัดลําดับความสําคัญ ความซื่อสัตยสุจริตเปนแบบอยางท่ีดีตอผูอื่น ดานความรูมีความรูในสาขาวิชาอยางกวางขวางและเปนระบบรูหลักทฤษฎีท่ีสัมพันธกันได ตอยอดองคความรูเพื่อเตรียมปฏิบัติวิชาชีพและตระหนักในธรรมเนียมปฎิบัติ กฎระเบียบ เทคนิคขอบังคับรวมถึงวิธีการปรับปรุงใหทันกาลเวลาเพ่ือตอบสนองสถานการณท่ีเปล่ียนแปลงไป ดานทักษะทางปญญาบัณฑิตจะตองสามารถทําการวิจัยและประเมินขอมูลใหมๆ สามารถปฏิบัติงานและแยกแยะสถานการณท่ีตองการแกไขดวยนวัตกรรมใหมๆ พรอมท้ังนําความรูในภาคทฤษฎีและภาคป ฎิบั ติ ม าประ ยุกต ใ ช เ พื่ อ ตอบสนองสถานการณได ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบสามารถแสดงออกในสภาวะผูนําและความคิดริเร่ิมตอบุคคลหรือสมาชิกของกลุมไดอยางสรางสรรค และมาตรฐานสุดทายท่ีบัณฑิตท่ีมีคุณภาพพึงมีคือ ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร เทคโนโลยีสารสนเทศรูจักนํามาใชไดอยาง

Page 212: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

204  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

เหมาะสมกับวิชาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดในวิชาชีพ (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2552: 9) กลาวโดยสรุปดวยเหตุดังกลาวจึงเกิดการเปล่ียนแปลงของสังคมการเรียนรูมาเปนการมุงเนนการแสวงหาความรูดวยตนเองโดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษากลาวคือในปจจุบัน กระบวนการหาความรูของนิสิตไมไดขึ้นกับการเรียนการสอนในชั้นเรียนเพียงอยางเดียวแตตองประกอบการศึกษาดวยตนเองจากภายนอกไมวาจะเปนการคนควาจากแหลงการศึกษาตางๆ หรือการสรางความ คิดริเร่ิมหาองคความรูใหม จะตองมีการกําหนดถึงขอบเขตและความชัดเจนขององคความรูเพื่อใหส่ิงท่ีศึกษามามีคุณภาพและเปนประโยชนท่ีสุดในการประกอบวิชาชีพของบัณฑิตตอไป

การจัดการศึกษาของคณะศิลปกรรมศาสตรในประเทศไทยในระยะเริ่มแรกถือกําเนิดขึ้นจากการท่ีระบบอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยในประเทศไทยไดมีการพัฒนาข้ึนโดยการเพิ่มความหลากหลายในศาสตรตางๆ ซึ่งเปนหัวใจหลักในเชิงสากลของระบบโครงสรางมหาวิทยาลัย ทําใหมหาวิทยาลัยลัยตางๆ เกิดความต่ืนตัวไมวาจะเปน ภาควิชาศิลปศึกษา หรือครุศิลป คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แผนกวิชาศิลปศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร ท่ีมุงเนนการศึกษาคนควาทางดานศิลปศึกษาในขอบเขตของครุศาสตรไดพัฒนาจนกระท่ังเปนคณะศิลปกรรมศาสตรขึ้นมาสงผลใหมหาวิทยาลัยตางๆ กอต้ังคณะศิลปกรรมศาสตรกันมากขึ้น อาทิ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนตน ซึ่งการกอกําเนิดของคณะศิลปกรรมศาสตรในมหาวิทยาลัยตางๆ เปนปรากฎการณอันดีสําหรับสังคมไทยและวงการศิลปกรรมไทย เน่ืองจากเปนการกอใหเกิดความหลายหลายใน

ชุมชนวิชาการในมหาวิทยาลัยอีกดวย ซึ่งสถาบันตางๆ ท่ีมีคณะศิลปกรรมศาสตรไดจัดการเรียนการสอนใหมุงเนนการพัฒนาความหลายหลายในการศึกษาศิลปะแขนงตาง ๆทางดานทัศนศิลป นฤมิตรศิลป ดุริยางคศาสตร รวมท้ังการผลิตบัณฑิตท่ีสามารถสรางสรรคผลงานท่ีเรียกวา ศิลปกรรมนิพนธ ซึ่งเปนสวนหน่ึงของหลักสูตรเพื่อใหบัณฑิตมีความสามารถในการประมวลความรูทางวิชาการเพื่อใชในการตอยอดและพัฒนาองคความรูใหมตามกระแสตลาดแรงงานในปจจุบันและยังเชื่อมโยงศิลปกรรมสาขาตางๆ กับสังคมเพื่อใหศิลปกรรม มีบทบาทอยูในทุกวงการธุรกิจ บทบาทของคณะศิลปกรรมศาสตรยังผลักดันศาสตรและศิลปเพื่อใชในการพัฒนาชุมชนและสังคมไทย (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2536: 136)

คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ เร่ิมเปดแผนกวิชาศิลปะศึกษาภายใตคณะวิชาการศึกษา วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ในปพุทธศักราช 2511 และผลิตบัณฑิตทางดานการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกศิลปศึกษา เปนแหงแรกในประเทศไทย เมื่อพัฒนามาเปนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในปพุทธศักราช 2518 ภารกิจทางดานศิลปกรรมศาสตรไดพัฒนาตอไป โดยการขยายโครงสรางเปนภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม และภาควิชาดุริยางคศาสตร ภายใตคณะมนุษยศาสตร ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรมไดเปดสอนหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกศิลปศึกษา และหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกศิลปะมุงเนนทางดานการออกแบบส่ือสาร สวนภาควิชาดุริยางคศาสตร เปดสอนหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต ท้ังวิชาเอกดุริยางคศาสตรไทยและดุริยางศาสตรสากลโดยเร่ิมภารกิจในโครงสรางใหม ต้ังแตปพุทธศักราช 2519 เปนตนมา ราวปพุทธศักราช 2530 แนวคิดในการขยายบทบาททางดานศิลปกรรมศาสตรไปสูการเปนคณะศิลปกรรม

Page 213: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 205

 

ศาสตรไดปรากฏชัดขึ้น หลังจากน้ันการเสนอโครงการจัดต้ังคณะศิลปกรรมศาสตร ก็เร่ิมขึ้นในปถัดมา โดยคณะบุคคลท่ีปรารถนาจะเห็นรสนิยมอันประณีตงดงามและมีระบบแบบแผนทางดานศิลปกรรมศาสตร พัฒนา ขึ้นในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒและสังคมไทย ทายท่ีสุดโครงการจัดต้ังคณะศิลปกรรมศาสตร ก็ไดรับการอนุมัติ เมื่อวันท่ี 16 มิถุนายน พ.ศ 2536 และประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันท่ี 28 มิถุนายน พ.ศ 2536 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ มี 8 สาขาวิชาดังน้ี สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป สาขาวิชาการออกแบบส่ือสาร สาขาวิชาศิลปการแสดง สาขาวิชานาฏศิลป สาขาวิชาศิลปะจินตทัศน สาขาวิชาทัศนศิลป สาขาวิชาดุริยยางคศาสตรสากล และสาขาวิชาดุริยางคศาสตรศึกษา เปนหลักสูตรปจจุบันท่ีมีนิ สิตปจจุบันเรียนอยู การศึกษาระดับปริญญาตรีระยะเวลาในการศึกษา 8 ภาคการศึกษาไมนับรวมภาคฤดูรอน จํานวนหนวยกิตรวมอยางนอย 142 หนวยกิตตลอดหลักสูตรแบงเปนหมวดวิชาดังน้ี หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 30 หนวยกิต หมวดวิชาเอก 85 หนวยกิต หมวดวิชาโท 18 หนวยกิต และหมวดวิชาเลือกเสรี 9 หนวยกิต ในหมวดวิชาเอกบังคับนิสิตท่ีศึกษาหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป สาขาวิชาดุริยางคศาสตรสากล สาขาวิชาทัศนศิลป และสาขาวิชาศิลปะการแสดง โดยมุงพัฒนาการเรียนการสอน การคนควาวิจัย การสรางสรรคศิลปกรรม การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม โดยพัฒนาการเรียนการสอนใหบรรลุเปาหมาย ความเปนเลิศ (Excellence) ความเสมอภาค (Equity) ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และความเปนสากล (Internationalization) (คณะศิลปกรรมศาสตร. 2552: ออนไลน)

ศิลปกรรมนิพนธ (Fine Art thesis) ของนิสิตปริญญาตรีหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) กําหนดศิลปกรรมนิพนธเปน 2 ภาคคือภาคนิพนธและสรางสรรค สําหรับภาคนิพนธประยุกต รูปแบบมาจากการทําวิทยานิพนธในระดับบัณฑิตศึกษา ผลักดันใหนิสิตวางแผนศึกษาคนควาวิเคราะหและสังเคราะหความรูความคิดท่ีจะเปนประโยชนกับการสรางสรรคผลงานของตน ใหมีระบบอางอิง บรรณานุกรม ท่ีถูกตองชัดเจนเพื่อฝกมารยาทและระบบระเบียบทางการศึกษาคนควา (วิรุณ ต้ังเจริญ. 2545: 164) ศิลปนิพนธท่ีมีคุณภาพเปนเคร่ืองแสดงใหเห็นถึงความสามารถและความประณีตของงานโดยท่ีคุณภาพทางดานเน้ือหาน้ันขึ้นอยูกับความถูกตองและคุณคาทางวิชาการเปนสําคัญ อยางไรก็ตามการเสนอผลการวิจัยในลักษณะรูปเลมก็ตองมีคุณภาพดวย ลักษณะตอไปน้ีเปนส่ิงบงบอกถึงคุณภาพของการนําเสนอศิลปนิพนธและในรูปเลมท่ีนักศึกษาควรคํานึงถึง ไดแก รูปเลมมีความคงทน วัสดุท่ีใชทําปกนอกและกระดาษท่ีใชในการพิมพตองมีคุณภาพดีตรงตามขอกําหนด การเขาเลมตองเรียบรอยขอบโดยรอบของเลมไมขรุขระความยาวและความหนาศิลปนิพนธท่ีดีควรมีความยาวของเน้ือหาท่ีเหมาะสมไมมากหรือนอยเกินไป อันแสดงถึงความสามารถของผูเขียนในการใชภาษาไดอยางกระชับ เพื่อใหผูอานมีความเขาใจ ภาษาและการเขียนศิลปนิพนธไดดี ตองใชภาษาเขียน ไมใชภาษาพูด ภาษาแสลง หรือภาษาสํานวน และเน่ืองจากศิลปนิพนธเปนเอกสารทางวิชาการ การใชคํา วลีและประโยคตองใชใหถูกตองโดยยึดหลักไวยากรณของภาษาท่ีใชเขียนหากไมแนใจหรือสงสัยนักศึกษาตองเปดพจนานุกรมท่ีเปนมาตรฐานตรวจสอบความถูกตองหรือปรึกษาผูเชี่ยวชาญทางภาษาน้ันๆ ความถูกตองของขอมูลและการพิมพความนาเชื่อถือของ

Page 214: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

206  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ศิลปนิพนธอยูท่ีความถูกตองท้ังความถูกตองของขอมูลและความถูกตองของการพิสูจนอักษร ดังน้ันจึงเปนภาระท่ีนักศึกษาตองรับผิดชอบในการเขียนขอมูลท่ีเปนจริงและการตรวจสอบความถูกตองของการเขียนคําศัพทและตัวเลขทุกตัว (คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน. 2547: ออนไลน) ศิลปกรรมนิพนธของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไดยึดถือหลักการขางตนท่ีวา ศิลปกรรมนิพนธประกอบไวดวยงานเขียนและงานสรางสรรค ซึ่งก็มีความสัมพันธกันหรือประเด็นเดียวกันเปาหมายก็เพื่อผลักดันใหการศึกษาคนควาและงานเขียนเปนพลังผลักดันงานสรางสรรคท่ีตามมาใหจงไดโดยมุงใหงานเขียนเกิดจากการศึกษาคนควาหรือสํารวจอยางเปนเหตุเปนผลหรือมีกระบวนการทางความคิดเชิงวิทยาศาสตร (Scientific Thinking) เพื่อกอใหเกิดงานสรางสรรคท่ีมีรากฐานความคิดและการคนควาหรือเปนงานสรางสรรคท่ีตอบคําถามได อธิบายรากความคิดไดพอสมควร สําหรับกระบวนการการศึกษาคนควาหรือสํารวจขอมูลเพื่อนําไปสูภาคนิพนธหรืองานเขียนไดปรับประยุกตมาจากกระบวนการวิจัยท่ีเชื่อวา การวิจัยเปนกระบวนการเชิงวิทยาศาสตร (Scientific Process) เพื่อแสวงหาองคความรูใหมจากกระบวนการวิจัยท่ีเปนสากลหรือขั้นตอนของกระบวนการการวิจัยทางการศึกษาคนควาในระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งกระบวนการการศึกษาคนควาการเขียนภาคนิพนธและการสรางสรรคศิลปกรรมเชนน้ี สอดคลองกับการวิจัยและพัฒนา (Research Development) หรือ R and D ในกระบวนการวิจัยน่ันเองแมการพัฒนา (Development) ในทางศิลปกรรมจะมิไดเปนวิทยาศาสตรโดยตรงแตก็เปนไปในเชิงวิทยาศาสตรในบริบทของศิลปกรรมศาสตร (วิรุณ ต้ังเจริญ. 2542: 140)

กลาวโดยสรุปจากเปาหมายหลักสูตรของคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

“การทําศิลปกรรมนิพนธ” จึงเปนส่ิงท่ีจะชวยใหบรรลุเปาหมายท่ีวางไว โดยนิสิตจะตองศึกษาในรายวิชาการทําศิลปกรรมนิพนธท่ีนิสิตแตละคน จะตองรวบรวมวิชาความรูจากการศึกษาในวิชาเอกและประสบการณตางๆ ทางศิลปะท่ีผานมา นํามาประมวลเพื่อสรางสรรคผลงานทางศิลปะ เปนวิชาฝกปฏิบัติการฝกสรางสรรคผลงานศิลปะโดยนอกเหนือจากการเรียนการสอนจากหองเรียนเพียงอยางเดียว เพื่อสรางใหนิสิตเกิดจินตนาการนํารวมกับทักษะ ประสบการณ และความรู ท่ีเกิดจากการเรียนการสอนในภาคทฤษฏี ศิลปกรรมนิพนธจัดวาเปนการศึกษาในระดับปริญญาตรีท่ีจะตองมีกระบวนการคนควาเพื่อหาแนวทางเฉพาะตนในการสรางงานทางศิลปกรรม ท่ีนิสิตแตละคนมีความสนใจอยางแทจริง และสามารถวิเคราะหแกไขปญหาตามหลักวิชาการไดอยางถูกตองเหมาะสม ซึ่งผลงานศิลปกรรมนิพนธจะเปนหลักฐานของความสามารถของนิสิตและความพยายามอดทน สรางสรรคผลงานจนประสบความ สําเร็จ เพราะการทําศิลปกรรมนิพนธนิสิตจะตองผานขั้นตอนหลายข้ันตอนเร่ิมต้ังแต การพิจารณาคณาจารยท่ีปรึกษาโครงการ การนําเสนอหัวขอศิลปกรรมนิพนธ การรวบรวมขอมูล การเขานําเสนอผลงานศิลปกรรมนิพนธตอคณะกรรมการตัดสินศิลปกรรมนิพนธ การจัดแสดงผลงานศิลปกรรมนิพนธ และการนําเสนอผลงานศิลปกรรมนิพนธเปนรูปเลม ซึ่งแตละข้ันตอนจะตองผานคณะกรรมการตัดสินศิลปกรรมนิพนธพิจารณาและปรับแกเพื่อใหศิลปกรรมนิพนธมีความถูกตองตามกฎเกณฑของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต นอกจาก น้ีศิลปกรรมนิพนธท่ีมีคุณภาพยังเปนนวัตกรรมหรือผลงานที่เปนองคความรูใหมท่ีมีประโยชนในทางวิชาการ หรือเปนประโยชนตอสังคม เมื่อสามารถถายทอดออกสูสาธารณชนในรูปแบบการจัดนิทรรศการ ก็จะสงผลใหหลักสูตรน้ันๆ เ ปนท่ียอมรับในแวดวงวิชาการมาก

Page 215: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 207

 

ยิ่งขึ้น แถาหากนิสิตคนใดไมสามารถผานกระบวนการทําศิลปกรรมนิพนธในขั้นตอนตางๆ ไดโดยไมไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตัดสินศิลปกรรมนิพนธ ก็จะกลาวไดวานิสิตไมสามารถทําศิลปนิพนธใหสําเร็จได ก็จะสงผลใหไมสามารถสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เพราะถือวาไม เปนไปตามเงื่ อนไขของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิตและปจจัยท่ีทําใหการทําศิลปกรรมนิพนธประสบความสําเร็จเปนไปอยางราบร่ืนและถูกตองตามหลักเกณฑของหลักสูตรน้ันจะตองประกอบดวยปจจัยหลายดาน จากการสัมภาษณนิสิตในการทําศิลปกรรมนิพนธพบปญหาดังตอไปน้ี

1. ดานความพรอมของนิสิต พบวา นิสิตยังขาดแรงจูงใจ และประสบการณเดิมเพื่อท่ีจะนํามาเปนความคิดริเร่ิมท่ีจะนํามาประมวลความรูจากหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิตท่ีเคยศึกษามาปฏิบัติในการทําศิลปกรรมนิพนธได เร่ิมต้ังแต ขั้นตอนการนําเสนอหัวขอ นิสิตเลือกหัวขอท่ีไมตรงกับทักษะและความรูความสามารถที่ตนเองถนัด นิสิตไมเขาใจระเบียบวิธีการทําศิลปกรรมนิพนธ นอกจากนี้นิสิตสวนใหญมีปญหาในการแบงเวลาในการทําศิลปกรรมนิพนธเน่ืองจากนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตรสวนใหญมีภาระในการทํางานโดยเฉพาะนิสิตในสาขาวิชาศิลปการแสดง ซึ่งมีเวลาในการทํางานไมแนนอนจึงเปนปญหาของนิสิตในเร่ืองการรับผิดชอบตอศิลปกรรมนิพนธ นิสิตบางสวนยังมีปญหาเร่ืองความอดทนไม เพียงพอ เน่ืองจากการทําศิลปกรรมนิพนธมีกระบวนการและขั้นตอนท่ีใชระยะเวลานานมีการปรับแกหลายคร้ังทําใหมีนิสิตบางสวนมีความรูสึกท่ีทอถอยตอการทําศิลปกรรมนิพนธ (ศุภกฤต สุวรรณวิจิตร; ดิฐฏา นุชบุษบา. 2552: สัมภาษณ)

2. ดานอาจารยท่ีปรึกษา พบวา อาจารยบางทานมีเวลาไมเพียงพอเพ่ือการปรึกษาไดเปนอยางดีแก

นิสิต ความสัมพันธระหวางคณาจารยดวยกันเองสงผลตอการใหคําแนะนําและใหคําปรึกษาแกนิสิต ทําใหนิสิตเกิดความสับสนในการเลือกคําแนะนํามาปรับใชกับศิลปกรรมนิพนธของตน เน่ืองจากอาจารยหน่ึงคนตองรับเปนท่ีปรึกษานิสิตจํานวนมากจึงทําใหเกิดปญหาอาจารยไมสามารถใหคําปรึกษาแกนิสิตไดอยางท่ัวถึงและเต็มประสิทธิภาพ และนิสิตบางคนไมสามารถเขาถึงในการปรึกษากับคณาจารยไดจึงทําใหนิสิตแก ปญหาท่ีเกิดขึ้นอยางไมตรงจุด (อาทิตยา ทรัพยสินวิวัฒ; จันจิรา กล่ินมาลี. 2552: สัมภาษณ)

3. ดานการบริการและส่ิงอํานวยความสะดวก พบวา นิสิตมีปญหาท่ีเกิดขึ้นสวนใหญจากการรับบริการจากมหาวิทยาลัยเน่ืองมาจาก นิสิตท่ีทําศิลปกรรมนิพนธจําเปนตองใชสถานท่ีบริเวณในมหาวิทยาลัยในการทํางาน ทําใหมีปญหาเร่ืองขอจํากัดในการใชสถานท่ีเร่ืองของระเบียบขอบังคับ เวลาท่ีกําหนดในการใชสถานท่ีจํากัด และการดูแลรักษาบริเวณ รวมท้ังขั้นตอนในการขอใชสถานท่ีมีความซับซอน นิสิตบางคนไมสามารถใชบ ริการในการคนคว าหาข อมู ลของมหาวิทยาลัยไดอยางเต็มท่ีเน่ืองจากไมมีความรูในขั้นตอนการรับบริการของหองสมุดและวิธีคนควาหาแหลงขอมูลท่ีถูกตอง (ณัฐพล ศรีธรรม; วณิชชา ภราดรสุธรรม. 2552: สัมภาษณ)

4. ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน พบวา นิสิตไดรับความรวมมือหรือการสนับสนุนจากเพื่อนท่ีมีความเก่ียวของในรูปแบบสนิทสนมกันหรือเกิดความขัดแยงกันจะกระทบตอการทําศิลปกรรมนิพนธ ปญหาท่ีเกิดจากความสัมพันธกลุมเพื่อนเกิดจากการมีลักษณะสวนตัวของแตละคนของนิสิตศิลปกรรมศาสตรทําใหเกิดความขัดแยงในการทํางานเปนกลุมโดยเฉพาะในกลุมท่ีมีนิสิตท่ีมีความเชื่อมั่นในความคิดของตนเองหลายคนอยูกลุมเดียวกัน และเมื่อเกิดทัศนคติในทาง

Page 216: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

208  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ลบแลวการทํางานศิลปกรรมนิพนธเปนกลุมก็จะดําเนินไปไดชา สวนการสนับสนุนจากกลุมเพื่อนรุนพี่หรือตางสาขาวิชาจะเปนส่ิงท่ีชวยเหลือในจุดท่ีขาดความถนัดของนิสิตท่ีทําศิลปกรรมนิพนธไดเปนอยางดี (วีรศิลป ธนาพุมเพ็ง; เติมพงศ มานาบ. 2552: สัมภาษณ)

5. ดานการสนับสนุนจากครอบครัว พบวา ผูปกครอง พอ แม และคนในครอบครัวมีสวนในการทําศิลปกรรมนิพนธในการใหกําลังใจ การชวยเหลือเงินทุน เพื่อใหการทําศิลปกรรมนิพนธประสบความสําเร็จ เงินทุนเปนส่ิงสําคัญในการทําศิลปกรรมนิพนธเน่ืองจากระยะเวลาในการทําศิลปกรรมนิพนธเปนระยะเวลานาน การใชทรัพยากรเพื่อใหเกิดผลงานท่ีดี จําเปนตองใชเงินมาสนับสนุนในการทํางาน นิสิตสวนใหญยังอยูในการดูแลของผูปกครองจําเปนตองไดรับการสนับสนุนในสวนน้ี แตก็มีจํานวนไมนอยท่ีนิสิตท่ีมีความสามารถในการลงทุนนอยทําใหไมสามารถทําศิลปกรรมนิพนธไดอยางเต็มศักยภาพ การใหกําลังจากครอบครัวเปนส่ิงท่ีนิสิตตองการเมื่ออยูในระหวางข้ันตอนการทําศิลปกรรมนิพนธ นิสิตท่ีไมคอยไดรับกําลังใจจากครอบครัวอาจเกิดความรูสึกเสียกําลังใจในการทํางานก็เปนได (พัชรินทร วโรทัย; อดิศักด์ิ พันพยูน. 2552: สัมภาษณ)

จากสภาพปญหาดังกลาวผูวิจัยจึงสนใจศึกษาปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธซึ่งจะเปนขอมูลสําหรับมหาวิทยาลัย อาจารย และผูท่ีเก่ียวของกับการทําศิลปกรรม นิพนธเพื่อใชเปนขอมูลสงเสริมและพัฒนาการการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตและเปนขอมูลสําหรับการวางแผนพัฒนาในการแกไขปญหาท่ีจะเกิดขึ้นในการทําศิลปกรรมนิพนธตอนิสิตท่ีจะทําศิลปกรรมนิพนธในรุนตอไป ท้ังน้ีเพื่อใหนิสิตสามารถสรางสรรคผลงานศิลปกรรมนิพนธไดอยางมีคุณภาพ และประสบความสําเร็จมากยิ่งขึ้น

ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธ

ของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒใน ดานความพรอมของนิสิต ดานอาจารยท่ีปรึกษา ดานการบริการและส่ิงอํานวยความสะดวก ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน และดานการสนับสนุนจากครอบครัว

2. เพื่อเปรียบเทียบปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในแตละดานและโดยรวม จําแนกตาม เพศ กลุมวิชา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสําคัญของการวิจัย

ผลของการศึกษาเปนประโยชนตอ นิ สิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตรเพื่อเปนแนวทางในการวางแผนการทําศิลปกรรมนิพนธของตนเองใหเหมาะสม เปนประโยชนตอคณาจารยท่ีปรึกษาศิลปกรรมนิพนธในการพิจารณาใหคําแนะแนวการทําศิลปกรรมนิพนธ และเปนแนวทางใหมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พัฒนาหนวยงานที่ใหบริการแกนิสิตท่ีทําศิลปกรรมนิพนธ เพื่อสงเสริมคุณภาพในการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตใหมีความเปนเลิศทางวิชาการ วิธีดําเนินการวิจัย

1. กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีคือ นิสิตหลักสูตรปริญญาตรีชั้นปท่ี4 คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 จํานวน 396 คน

2. เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนแบบสอบ ถามปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ใน

Page 217: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 209

 

5 ดาน คือ ดานความพรอมของนิสิต ดานอาจารยท่ีปรึกษา ดานการบริการและสิงอํานวยความสะดวก ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน และดานการสนับสนุนจากครอบครัว จํานวน 48 ขอ ลักษณะของแบบสอบถามมาตราสวนคา 5 ระดับ ตามวิธีของไลเคิรท (Likert) แบบสอบถามมีคาความเชื่อมั่นเทากับ 1.761

ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยมีการสงแบบสอบถามออกไป 396 ฉบับ และไดรับคืน 396 ฉบับ คิดเปนรอยละ 100 การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลดังน้ี 1. ขอมูลท่ัวไปของนิสิตผูตอบแบบสอบถาม

วิเคราะหโดยการแจกแจงความถ่ี และหาคารอยละ 2. ศึกษาปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของ

นิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโฒ ดานความพรอมของนิสิต ดานอาจารยท่ีปรึกษา ดานการบริการและส่ิงอํานวยความสะดวก ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน และดานการสนับสนุนจากครอบครัวโดยรวมและในแตละดาน วิเคราะหโดยการหาคาคะแนนเฉล่ีย (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

3. การเปรียบเทียบปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยรวมและในแตละดาน จําแนกตามเพศ กลุมวิชา โดยใชการทดสอบที (t-test) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะหขอมูลโดยหาคาแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way Analysis of Variance) ในกรณีท่ีพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงทําการทดสอบเปนรายคูโดยใชวิธีของเชฟเฟ

สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธ

ของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ผลการวิจัยสรุปไดดังน้ี

1. นิสิตมีปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิต โดยรวมในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานความพรอมของนิสิต ดานอาจารยท่ีปรึกษา ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน ดานการสนับสนุนจากครอบครัวมีปญหาในระดับปานกลาง ยกเวนดานการบริการและส่ิงอํานวยตวามสะดวกมีปญหาในระดับมาก

2. นิสิตชายกับนิสิตหญิงมีปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธโดยรวมและในแตละดานไมแตกตางกัน

3. นิสิตทุกกลุมวิชามีปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธ ดานความพรอมของนิสิต ดานการบริการและส่ิงอํานวยความสะดวก ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน ดานการสนับสนุนจากครอบครัว และโดยรวมไมแตกตางกัน ยกเวนดานอาจารยท่ีปรึกษาท่ีพบวา นิสิตกลุมวิชาทัศนศิลปและนิสิตกลุมวิชาดุริยางคศาสตรสากลมีปญหาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

4. นิสิตท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตางกันมีปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธ ดานอาจารยท่ีปรึกษา ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานอื่นๆ ไมพบความแตกตาง

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลงานวิจัยไปใช

จากผลการศึกษาปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบวา

Page 218: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

210  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

1. ดานความพรอมของนิสิต จากการศึกษาพบวานิสิตมีปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธอยูในระดับปานกลาง ท้ังน้ีเพื่อใหนิสิตมีปญหาดานความพรอมนอยลง ผูท่ีมีสวนเก่ียวของกับการทําศิลปกรรมนิพนธของนิ สิตคณะศิลปกรรมศาสตรควรมีการปรับปรุงหาแนวทางแกไขเร่ืองการบริหารเวลาของนิสิตใหเพียงพอตอการทําศิลปกรรมนิพนธ ใหคําแนะนําเก่ียวกับนิสิตในการวางแผนใชงบประมาณในการทําศิลปกรรมนิพนธอยางเหมาะสมและสรางกําลังใจแกนิสิตเพื่อใหนิสิตเกิดความมุงมั่นและมีความพยายามตอขั้นตอนและกระบวนการทําศิลปกรรมนิพนธเพื่อใหนิสิตมีเปาหมายในการสําเร็จการศึกษามากย่ิงขึ้น

2. ดานอาจารยท่ีปรึกษา จากการศึกษาพบวานิสิตมีปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธอยูในระดับปานกลางเพื่อใหเกิดการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพในการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตอาจารยควรมีการแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหวางอาจารยกับนิสิตใหมากข้ึนซึ่งจะชวยใหอาจารยไดทราบถึงปญหาและขอมูลตางๆ ท่ีบกพรองของนิสิตท่ีเกิดขึ้นระหวางการทําศิลปกรรมนิพนธและแนะนําใหนิสิตแกไขปญหาไดอยางราบร่ืนและผลักดันศักยภาพของนิสิตในการสรางสรรคผลงานออกมาไดอยางเต็มความสามารถ และควรเพิ่งจํานวนอาจารยใหเหมาะสมและเพียงพอตอจํานวนนิสิตท่ีเพิ่มขึ้น

3. ดานบริการและส่ิงอํานวยความสะดวก จากการศึกษาพบวามีปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธอยูในระดับมาก ท้ังน้ีคณะศิลปกรรมศาสตรควรมีการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดลอมตางๆ เก่ียวของกับการทําศิลปกรรมนิพนธเชน สถานท่ีแสดงผลงาน วัสดุอุปกรณสําหรับสรางผลงาน การอํานวยความสะดวกในดานบุคลากร แหลงคนควาหาขอมูล เปนตนใหมีความทันสมัยและเพียงพอตอความตองการของนิสิต เพื่อใหการทําศิลปกรรมนิพนธมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4. ดานความสัมพันธในกลุมเพื่อน จากการ ศึกษาพบวามีปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธอยูในระดับปานกลาง เพื่อใหเกิดความสัมพันธอันดีในกลุมเพื่อนรวมคณะศิลปกรรมศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตรควรมีกิจกรรมท่ีนิสิตตางสาขาวิชาไดทํารวมกันอยางตอเน่ืองตลอดหลักสูตรเพื่อเพิ่มการแลกเปล่ียนทัศนคติ ความรูระหวางสาขาวิชา ซึ่งจะนําไปสูการชวยเหลือกันซึ่งกันและกันในระหวางการทําศิลปกรรมนิพนธ

5. ดานการสนับสนุนจากครอบครัว จากการ ศึกษาพบวามีปญหาในการทําศิลปกรรมนิพนธในระดับปานกลาง ท้ังน้ีเพื่อการทําศิลปกรรมนิพนธไดอยางเต็มศักยภาพครอบครัวมีสวนสําคัญเปนอยางมาก เพราะเปนกลไกท่ีใหท้ังกําลังใจและแหลงเงินทุนสําหรับนิสิต ครอบครัวควรจะมีการติดตามการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิตอยางใกลชิดเพื่อใหนิสิตมีกําลังใจในการสรางผลงานอยางมีประสิทธิภาพ ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป

1. ควรศึกษาการประเมินติดตามคุณภาพของการทําศิลปกรรมนิพนธ เพื่อทราบขอบกพรอง จุดออนของการทําศิลปกรรมนิพนธ และหาแนวทางในการแกไขปรับปรุงการทําศิลปกรรมนิพนธใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น

2. ควรศึกษาความคิดเห็นของนิสิตของมหาวิทยาลัยอื่นๆ ท่ีเปดสอนคณะศิลปกรรมศาสตร และมีการทําศิลปกรรมนิพนธ เพื่อประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนาการวางแผนและนโยบายท่ีตรงตามความตองการของผูเรียนและตลาดที่จะรองรับนิสิตท่ีจบการศึกษา

3. ควรศึกษาเปรียบเทียบปญหาการทําศิลปกรรมนิพนธของนิสิต โดยจําแนกตามตัวแปรอื่นๆ เชน อายุ ประสบการณทางศิลปะ เปนตน เพื่อทราบอิทธิพลท่ีสงผลตอการทําศิลปกรรมนิพนธมากยิ่งขึ้น

Page 219: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 211

 

บรรณานุกรม คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. (2547). แนวปฎิบัติในการทําศิลปะนิพนธ. สืบคนเมื่อ 30 มิถุนายน

2553. จาก www.kku.ac.th. คณะศิลปกรรมศาตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2536). สถาปนาคณะศิลปกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ:

บริษัท เจ.ฟลม โปรเซส จํากัด. ------------. (2552). ประวัติความเปนมา. สืบคนเมื่อ 7 พฤษภาคม 2552. จาก www.swu.ac.th. จรัส สุวรรณเวลา. (2540). บนเสนทางอดุมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จันจิรา กล่ินมาลี. (2552, 10 กรกฎาคม). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ณัฐพล ศรีธรรม. (2552, 25 สิงหาคม). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ดิฐฎา นุชบุษบา. (2552, 10 มิถุนายน). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เติมพงศ มานาบ. (2552, 10 มิถุนายน). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พัชรินทร วโรทัย. (2552, 15 พฤษภาคม). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2530ข). อดุมศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วณิชชา ภราดรสุธรรม. (2552, 7 พฤษภาคม). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิชัย วงศใหญ. (2543). ปฎิรปูการเรียนรู ผูเรียนสําคัญที่สุด สูตรสาํเร็จหรือกระบวนการ. กรุงเทพฯ:

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิรุณ ต้ังเจริญ. (2542). รายงานคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2536-2542. กรุงเทพฯ:

คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ------------. (2545). ทัศนศิลปวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสันติศิริ. วีรศิลป ธนาพุมเพ็ง. (2552, 22 เมษายน). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศุภกิจ สุวรรณวิจิตร. (2552, 5 พฤษภาคม). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สํานักงานคณะกรรมการการอดุมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552.

กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องคการมหาชน). (2551). คูมือการประเมนิคุณภาพ

ภายนอกระดบัอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. อดิศักด์ิ พันพยูน. (2552, 16 สิงหาคม). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ. อาทิตยา ทรัพยสินวิวัฒ. (2552, 18 พฤษภาคม). สัมภาษณโดย สุทธิพงษ พลอยสด ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครทรวิโรฒ.

Page 220: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

212  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

A STUDY ON SOCIAL CULTURE BEHAVIORS OF STUDENTS AT THE FACULTY OF FINE ARTS SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY

ผูวิจัย อภิโชติ เกตุแกว1 Apichot Katekeaw กรรมการควบคุม ดร. สุวพร ต้ังสมวรพงษ2 รศ.ดร. อัจฉรา วัฒนาณรงค3 Advisor Committee Dr. Suwaporn Tungsomworapongs Assoc.Prof.Dr. Achara Wattananarong

บทคัดยอ

การวิจัยเร่ืองการศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตโดยรวมและในแตละดาน คือ ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย และดานความรับผิดชอบ จําแนกตามเพศ ชั้นป สาขาวิชา สถานภาพทางเศรษฐกิจครอบครัว วิธีการอบรมเล้ียงดู และรูปแบบของส่ือท่ีไดรับ กลุมตัวอยางเปนนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรม-ศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ระดับปริญญาตรี ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 จํานวน 452 คน ไดมาโดยการสุมแบบแบงชั้น เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามจํานวน 60 ขอ โดยมีคาความเชื่อมั่นท้ังฉบับ เทากับ 0.93

คําสําคัญ : พฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย ดานความรับผิดชอบ

ABSTRACT This study is aimed at studying and

comparing the social culture behaviors of Faculty of Fine Arts at Srinakharinwirot University students in overall four aspects and each aspect; compliance, consideration, orderliness, and responsibility. The six independent variables are gender, years of study, major fields of study, family economic status, family nurturing characteristics, and forms of media received

The samples consisted of 452 Faculty of Fine Arts at Srinakharinwirot University students enrolling in the first semester of the 2011 academic year. The instrument used in the study was the Social culture behavior questionnaire with 60 items. The overall reliability was at 0.93.

Keywords : The Social Culture Behavior Compliance Consideration Orderliness, Responsibility

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาการอุดมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2,3อาจารยประจําคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 221: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 213

 

บทนํา ในปจจุบันน้ีวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมี

ความเจริญกาวหนาไปอยางไมหยุดยั้งทําใหโลกมีการเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็วไรขีดจํากัด พรอมสูการเปนสังคมไรพรมแดน (globalization) ความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและวิทยาการดานตางๆ สามารถเชื่อมตอกันไดท่ัวทุกมุมโลก เชน การคมนาคมขนสง การติดตอส่ือสารไดอยางรวดเร็ว สะดวกสบาย มีการแขงขันทางดานเศรษฐกิจ เปดการคาเสรี เปนตน (มณีรัตน รูปประดิษฐ. 2550: ออนไลน) สงผลทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางดานเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและสังคมของโลกซึ่งการเปล่ียนแปลงดังกลาวสงผลกระทบท้ังทางตรงและทางออมกับชีวิตของบุคคลท้ังส้ิน

ดวยความเจริญทางเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือสารดังกลาวทําใหเกิดการแพรกระจายของวัฒนธรรมของแตละสังคมไปยังท่ีตางๆ โดยท่ีสังคมแตละสังคมยากท่ีจะสกัดก้ันหรือหลีกหนีจากผลกระทบของการแพร กระจายทางวัฒนธรรมได การท่ีสังคมจะปรับเปล่ียนจากสภาวะเดิมไปสูภาวะทันสมัยได จะตองอาศัยส่ิงท่ีเ รี ยกว า “กระบวนการก าว ไป สู ความทันสมัย ” (Modernization) คือ การเปล่ียนแปลงไปสูความเปนตะวันตก ซึ่งประเทศไทยก็ไมตางจากประเทศอื่นท่ีไดรับผลกระทบจากการไหลบาของวัฒนธรรมท่ีสวนใหญแลวเปนวัฒนธรรมตะวันตก (พิศมัย รัตนโรจนสกุล. 2552: 6) อีกท้ังสังคมไทยเปนสังคมท่ีเปดกวางทําใหเกิดการซึมซับไดอยางรวดเร็ว ทําใหวัฒนธรรมและอุดมการณบางอยางของไทยไดหายไป (ทอทหาร. 2549: ออนไลน) นอกจากน้ีโสภา ชูพิกุลชัย ชปลมันน (2552: ออนไลน) สังคมแหงโลกาภิวัตนทําใหนิสัยของคนไทยเปล่ียนแปลงไปมาก จากท่ีเคยเปนคนเอื้ออาทร เรียบงาย ยึดถือในขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม เชื่อบาปบุญคุณโทษและมีความกตัญู ก็กลายเปนคนท่ี

ทําทุกอยางเพื่อผลประโยชนของตนเอง ใชจายฟุงเฟอ ชอบแขงขันเอาชนะและใหความสําคัญกับวัตถุนิยม ซึ่งถือเปนวิกฤติท่ีอันตรายมากท่ีสุดของสังคมไทย วิกฤตท่ีเห็นไดชัด คือ การขาดคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทย สภาพสังคมไทยในปจจุบันมีความเส่ือมถอยทางดานคุณธรรมจริยธรรมเปนอยางมาก ดังสะทอนไดจาก ปญหาความรุนแรงท่ีเพิ่มขึ้นของสังคม ปญหาการขาดความซื่อสัตยสุจริตและคุณธรรมจริยธรรม ปญหาการทุจริตคอรัปชั่น ปญหาความเกียจคราน อยากรวยทางลัด ปญหาขาดการประมาณตน ขาดความยับยั้งชั่งใจ ความฟุงเฟอฉาบฉวยในสังคม เปนตน ซึ่งปญหาดานคุณธรรมจริยธรรมน้ีจะสงผลโดยตรงตอการพัฒนาคนในสังคมไทยในอนาคต (ทอทหาร. 2549: ออนไลน) สถาบันอุดมศึกษาในฐานะท่ีเปนสถาบัน การศึกษาระดับสูงสุดของประเทศท่ีมีภารกิจหลักตามหลักสากล 4 ประการ ไดแก การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการถายทอดวัฒนธรรม ตองทําหนาท่ีผลิตกําลังคนเพื่อรับใชประเทศ รวมท้ังเปนแหลงวิทยาการความรูและมีภารกิจท่ีตองสืบทอดศิลปวัฒนธรรมใหดํารงอยูในสังคม (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2542: 2) สถาบันอุดมศึกษา นอกจากจะเปนองคกรท่ีใหความรูตาง ๆแลว ยังมีความสําคัญในดานการเปล่ียนแปลง พฤติกรรม ทัศนคติและแนวทางความคิดของบุคคล โดยมหาวิทยาลัยมีจุดมุงหมาย เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถในสาขาท่ีเรียน มีความคิด ความประพฤติท่ีดีงาม รวมท้ังมีความเขาใจตนเองและผูอื่น สามารถปรับตัวใหเขากับสังคมไดดี ปลูกฝงเจตคติ คานิยมและสามารถเสริมสรางความเจริญใหแกผูเรียน การมีความรูความสามารถดานวิชาการอยางเดียว อาจกอใหเกิดปญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะอยางย่ิง นิสิตในสถาบันสวนใหญท่ีมีอายุระหวาง 17-22 ป จะเปนชวงวัยท่ีสําคัญของชีวิต เปนวัยแหงการ

Page 222: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

214  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ปรับตัววัยรุนสวนมากจะประสบปญหาดานสังคม อารมณ รางกาย ในดานอารมณน้ันวัยรุนเปนวัยท่ีมีอารมณเปล่ียนแปลงงาย โดยไมสมเหตุผลและคาดการณไมได (สําเนาว ขจรศิลป. 2539: 59) ดังน้ัน สถาบันอุดมศึกษานอกจากเปนแหลงท่ีใหความรูตางๆ แลว ยังมีความสําคัญในดานการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ทัศนคติ และแนว ความคิดของบุคคล โดยมหาวิทยาลัยมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถในสาขาท่ีเรียน มีความคิด ความประพฤติท่ีดีงาม รวมท้ังเขาใจตนเองและผูอื่น การมีความรู ซึ่งการท่ีมีความสามารถทางดานวิชาการอยางเดียว อาจกอใหเกิดปญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรมได การจัดหลักสูตรในระดับอุดมศึกษา จึงมุงเนนใหบัณฑิตมีคุณลักษณะและคุณสมบัติท่ีดี มีความรูความสามารถผนวกกับมีคุณธรรมจริยธรรมควบคูกันไป (ไพฑูรย สินลารัตน. 2542: คํานํา)

จากสภาพปญหาดังกลาวขางตัน ผูวิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม เพื่อนําผลการวิจัยไปเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับบุคลากร ท่ีปฏิบั ติงานเกี่ยวของกับการพัฒนานิ สิต ในการวางแผนนโยบาย กฎระเบียบ และจัดดําเนินโครงการตางๆ ท่ีเ ก่ียวของกับการสงเสริมพัฒนาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมใหแก นิ สิต เพื่ อให นิ สิตเปนทรัพยากรมนุษยท่ีถึงพรอมดวยคุณธรรมจริยธรรม และความสามารถทางวิชาการ ความมุงหมายของการวิจัย

1. ศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย และดานความรับ ผิดชอบ

2. เปรียบเทียบพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร

วิโรฒ โดยรวมและในแตละดาน จําแนกตาม เพศ ชั้นป สาขาวิชา สถานภาพทางเศรษฐกิจครอบครัว วิธีการอบรมเล้ียงดู และรูปแบบของส่ือท่ีไดรับ ความสําคัญของการวิจัย

ผลของการศึกษาคนควาคร้ังน้ี อาจใชเพื่อเปนแนวทางใหคณาจารย ผูปกครองและผูมีหนาท่ีในการอบรมนิสิต ไดนําไปใชในการวางแผนพัฒนา รวมท้ังปลูกฝงสงเสริม ออกกฎ ระเบียบท่ีชวยในการเผยแพรวัฒนธรรมไทยแกเยาวชนใหเปนผูมีจิตสํานึกท่ีดีตอวัฒนธรรมทางสังคมไทยอันถูกตองเหมาะสม เพื่อจะไดเปนอนาคตท่ีมีคุณคาสามารถชวยพัฒนาประเทศชาติตอไป และเอื้อประโยชนเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับผูท่ีสนใจที่ตองการศึกษาวิจัยเร่ืองเกี่ยวกับพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตตอไป นิยามศัพทเฉพาะ

พฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม หมายถึง การกระทําท่ีแสดงออก หรือความประพฤติตางๆ ในชีวิต ประจําวันของนิสิต ท่ีทําใหคนอยูรวมกันอยางผาสุก ถอยทีถอยอาศัยกัน โดยปฏิบัติตอครอบครัว สถาบัน การศึกษาสาธารณชน สามารถวัดไดจากแบบสอบถามพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม โดยแบงออกเปน 4 ดาน

1. พฤติกรรมความเคารพเชื่อฟงผูใหญ คือ การเคารพ นับถือ เชื่อฟงปฏิบัติตามและสํารวมกิริยาวาจาตอบิดา มารดา ครูอาจารย ญาติผูใหญ พฤติกรรมดานน้ีวัดโดยการรายงานตนถึงการแสดงออกของนิสิต ท้ังทางดานวาจาและการกระทําตอบิดา มารดา ครูอาจารย ญาติผูใหญ ในการเชื่อฟง ปฏิบัติตาม ใหความเคารพนับถือ

2. พฤติกรรมความมีมารยาทในการพูด คือ การพูดดวยถอยคํา ท่ีสุภาพ ประกอบดวยกิริยาท่ีน่ิม

Page 223: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 215

 

นวล เหมาะสมแกบุคคลและโอกาส พฤติกรรมดานน้ีวัดโดยจากการรายงานตนถึงการแสดงออกนิสิต ในการพูดคุย การสนทนา กิริยาทาทางตอบุคคลตางๆ ท่ีประสบกับนิสิตไดอยางเหมาะสม

3. พฤติกรรมความมีระเบียบวินัย คือ การประพฤติตนใหมีระเบียบเรียบรอยและปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ แบบแผน ขอบังคับท่ีกําหนดข้ึนโดยชอบธรรม พฤติกรรมดานน้ีวัดโดยการรายงานตนถึงการแสดงออกของนิสิตในขณะท่ีอยูในสถานศึกษา หรือสถานท่ีตางๆท่ีกฎระเบียบขอบังคับตาง ๆวาประพฤติตนถูกตองเหมาะสมหรือไม

4. พฤติกรรมความรับผิดชอบ คือ การปฏิบัติหนาท่ีการงานท่ีไดรับมอบหมายใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี โดยเต็มความสามารถ และยอมรับผลแหงการกระทําของตน พฤติกรรมดานน้ีวัดโดยจากการรายงานตนถึงการแสดงออกของนิสิตตอหนาท่ีและงานท่ีไดรับมอบ หมายอยางเต็มท่ีและเต็มความสามารถ สมมุติฐานการวิจัย

นิสิตชายและหญิง นิสิตท่ีศึกษาอยูในชั้นปตางกัน นิ สิตท่ีเ รียนในสาขาวิชาตางกัน นิ สิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวตางกัน นิสิตท่ีไดรับการอบรมเลี้ยงดูตางกัน และนิสิตท่ีไดรับขอมูลจากส่ือตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมในแตละดานและโดยรวม แตกตางกัน วิธีการดําเนินการวิจัย

การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง

ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี เปนนิสิตคณะ

ศิลปกรรมศาสตร ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นปท่ี 1-4 ท่ีกําลังศึกษาอยูใน 8 สาขาวิชา ไดแก สาขาวิชาการ

ออกแบบทัศนศิลป สาขาวิชาการออกแบบส่ือสาร สาขาวิชาดุริยางคศาสตรศึกษา สาขาวิชาดุริยางคศาสตรสากล สาขาวิชานาฏศิลป สาขาวิชาศิลปศึกษา สาขาวิชาศิลปะการแสดง และสาขาวิชาศิลปะจินตทัศน ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 จํานวนท้ังส้ิน 1,615 คน

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยน้ีเปนนิสิตคณะ

ศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นป 1-4 ท่ีกําลังศึกษาอยูใน 8 สาขาวิชา ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 โดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง (Sample Size) ตามสูตรของยามาเน (Yamane. 1967: 886) ท่ีระดับความเชื่อมั่น 95% (α = .05) ไดจํานวนนิสิตท่ีเปนกลุมตัวอยางจํานวน 452 คน การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เปนแบบสอบถามพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒท่ีผูวิจัยสรางข้ึนโดยดําเนินการตามลําดับข้ันตอนดังตอไปน้ี

1. ผูวิจัยศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในหัวขอตางๆ เพื่อเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถาม

2. ศึกษาวิธีการสรางเคร่ืองมือแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตามแบบของไลเคิรท (Likert. 1967: 375)

3. นําขอมูลจากขอ 1 และขอ 2 มาสรางแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับใหครอบคลุมเน้ือหาท่ีจะศึกษา

Page 224: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

216  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

4. การหาคุณภาพเคร่ืองมือ ผูวิจัยดําเนินการ ดังน้ี

4.1 ผูวิจัยดําเนินการโดยเชิญผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน เพื่อตรวจสอบความชัดเจนของภาษาในขอคําถาม ความครอบคลุมของเนื้อหา และวิเคราะหความเท่ียงตรงดานเน้ือหา จากน้ันนําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไข ตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญแลวนําเสนอตอคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ เพื่อพิจารณาความสมบูรณอีกคร้ังหน่ึง

4.2 นําแบบสอบถามท่ีแกไขปรับปรุงสมบูรณแลวไปทดลองใช (Try–out) กับนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จํานวน 50 คน และหาคาอํานาจจําแนกของแบบสอบถามเปนรายขอ โดยวิธีการหาคารอยละ 25 ของกลุมสูงและกลุมตํ่าแลวใชการทดสอบที (t-test) วิเคราะหคาอํานาจจําแนก เลือกขอคําถามท่ีมีคาอํานาจจําแนกต้ังแต 1.75 ขึ้นไปไวใชเปนแบบสอบถาม (Ferguson. 1981:180) ไดขอคําถามจํานวน 56 ขอ มีขอคําถามจํานวน 4 ขอ ไดแกขอ 4,7,11,41 ท่ีมีคะแนนตํ่ากวาเกณฑ ผูวิจัยจึงใชวิธีปรับขอคําถามใหม โดยปรึกษากับประธานกรรมการ รวมไดคําถามท้ังส้ิน 60 ขอ จากน้ันหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวิธีการหาคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha-Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach. 1984: 161) ไดคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามรวมท้ังฉบับเทากับ .93

5. เมื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามเรียบรอยแลวนําเสนอตอประธานและกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ เพื่อปรับปรุงแกไขพิจารณาใหสมบูรณกอนนําไปใชในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางตอไป

การจัดกระทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล ในการจัดกระทําขอมูล ผูวิจัยดําเนินการ

ดังตอไปน้ี

1. วิเคราะหขอมูลท่ัวไปของผูตอบสอบถาม โดยการแจกแจงความถ่ีและหาคารอยละ

2. จากจุดมุงหมายของการวิจัยขอ 1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย และดานความรับผิดชอบ โดยการหาคาคะแนนเฉล่ีย (Mean) และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Diviatilon) (Ferguson 1981: 46, 68)

3. จุ ดมุ ง หมายของกา ร วิ จั ย ข อ 2 เ พื่ อเปรียบเทียบพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในแตละดานโดยรวมจําแนกตาเพศ และรูปแบบของส่ือท่ีไดรับโดยใชการทดสอบ ที (t-test for independent sample) สวนตัวแปร สาขาวิชา ชั้นป สถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว และวิธีการอบรมเล้ียงดู ใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way Analysis of Variance หรือ ANOVA) เมื่อพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงทําการทดสอบความแตกตางของคาคะแนนเฉล่ียเปนรายคู โดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe ’s Method) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

1. สถิติพื้นฐาน 1.1 คาความถ่ี (Frequency) 1.2 คารอยละ (Percentage) 1.3 คาคะแนนเฉล่ีย (Mean) 1.4 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard

Diviation)

Page 225: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 217

 

2. สถิติท่ีใชหาคุณภาพของแบบสอบถาม มีดังน้ี

2.1 หาคาอํานาจจําแนกของแบบสอบถาม (Discrimination Power) โดยการทดสอบที (t-test) (Ferguson. 1981: 180)

2.2 หาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ใชสูตรการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Alpha–Coefficient) (Cronbach. 1970: 161)

3. สถิติท่ีใชในการทดสอบสมมติฐาน

3.1 ทดสอบความแตกตางของคาคะแนนเฉล่ียของกลุมตัวอยาง 2 กลุมใชการทดสอบ ที (t-test) (Ferguson. 1981: 178)

3.2 ทดสอบความแตกตางของคาคะแนนเฉล่ียของกลุมตัวอยางมากกวา 2 กลุมใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One–Way Analysis of Variance) ในกรณีท่ีพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จึงทําการทดสอบคาคะแนนเฉล่ียเปนรายคู โดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe‘ s Method)(Ferguson. 1981: 190) สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนคริ-นทรวิโรฒ ในดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย ดานความรับผิดชอบ ผลการวิจัยสรุปได ดังน้ี

1. นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมโดยรวมทุกดานอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแตละดาน พบวานิสิตมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด และดานความรับผิดชอบ อยูในระดับมาก สวนดานความมีระเบียบวินัย อยูในระดับปานกลาง

2. การเปรียบเทียบพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยรวมและในแตละดาน พบวา

2.1 นิ สิตชายและหญิง มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ในดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมารยาทในการพูด และดานความมีระเบียบวินัย แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 สวนดานความรับผิดชอบ ไมพบความแตกตาง

2.2 นิ สิ ต ท่ี ศึ กษ า ในชั้ น ป ต า ง กั น มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมในแตละดานและโดยรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

2.3 นิ สิต ท่ี เ รียนสาขาวิ ชาต า ง กัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ในแตละดานและโดยรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

2.4 นิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานความรับผิดชอบไมพบความแตกตาง

2.5 นิสิตท่ีมีวิธีการอบรมเล้ียงดูจากครอบครัวตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ในแตละดานและโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

2.6 นิสิตท่ีมีรูปแบบของส่ือท่ีใชรับขอมูลขาวสารตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ในดานความมีมารยาทในการพูด ดานความรับผิดชอบ และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ และดานความมีระเบียบวินัย ไมพบความแตกตาง

Page 226: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

218  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การอภิปรายผล 1. การศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม

ของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ พบวา นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความเคารพเช่ือฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด และดานความรับผิดชอบ อยูในระดับมาก สวนดานความมีระเบียบวินัย มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมอยูในระดับปานกลาง ผูวิจัยขอนําเสนอการอภิปรายผล ดังน้ี

1.1 นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม โดยรวมอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเปนเพราะ นิสิตมีความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมใหเปนไปตามท่ีมุงหวังไว โดยมิไดถูกบังคับจากภายนอกแตเกิดแรงกระตุนจากภายในตัวบุคคลใหประพฤติปฏิบัติตนไปตามกฎเกณฑระเบียบแบบแผนภายในสังคม โดยไมกอใหเกิดความยุงยากตอตนเอง และไมละเมิดสิทธิผูอื่น

1.2 นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ อยูในระดับมาก อาจเน่ืองมา จาก ปจจุบันสถาบันอุดมศึกษาตางๆ ไดเล็งเห็นความ สําคัญในการปลูกฝงใหนิสิตเปนท่ียอมรับของคนในสังคมมากขึ้น ท้ังกิริยา มารยาท การออนนอมถอมตนตอผูใหญ การประพฤติปฏิบัติตามวัฒนธรรมอันดีงาม ควบคูไปกับความรูความสามารถท่ีมีคุณภาพ

1.3 นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความมีมารยาทในการพูดอยูในระดับมาก ท้ังน้ีอาจเปนเพราะ นิสิตสวนใหญไดรับการปลูกฝงพฤติกรรมวัฒนธรรมอันดีมาต้ังแตในวัยเด็ก โดยเร่ิมจากครอบครัว

จนกระท่ังไดเขารับการศึกษาในโรงเรียน ครูผูสอนไดปลูกฝงใหผูเรียนรูจักมีมารยาทในการพูดตอ บิดา มารดา ครู อาจารย ผูใหญท่ีเคารพนับถือ และบุคคลท่ีเก่ียวของ เมื่อเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา การศึกษาในระดับอุดมศึกษา มุงเนนใหนิสิตฝกการทํางานรวมกับผูอื่น มีการติดตอประสานงานกับบุคลากรจากหนวยงานตางๆ ทําใหนิสิตเรียนรูท่ีจะใชวิธีการพูดติดตอระหวางบุคคลในสังคม ส่ิงตางๆ เหลาน้ีทําใหนิสิตเกิดการซึมซับคุณลักษณะดานธรรมเนียมประเพณีจากครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถาบันทางสังคม

1.4 นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความมีรับผิดชอบ อยูในระดับมาก อาจเน่ืองมาจาก คณะศิลปกรรมศาสตรในแตละสาขาวิชาตางๆ มีหลักสูตรและวิธีการสอนท่ีมุงเนน ใหนิสิตมีองคความรูอยางถองแทในแตละแขนงทางดานศิลปะ ท่ีตองมีการฝกทักษะอยางสม่ําเสมอ เพื่อพัฒนาจนเกิดความชํานาญพรอมสูการทํางานจริงในอนาคต ตลอดจนในเน้ือหาแตละวิชามีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมไปในองคความรูตางๆ โดยเฉพาะดานความรับผิดชอบตอตนเองและบุคคลอื่น ซึ่งเปนส่ิงจําเปนของผูประกอบอาชีพในสายงานทางดานศิลปะ

1.5 นิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ในดานความมีระเบียบวินัย อยูในระดับปานกลาง อาจเน่ืองมาจาก สภาพปจจุบันคนในสังคมมีการการดําเนินชีวิตท่ีเนนความสะดวกสบายมากข้ึน ประกอบกับคนรุนใหมใสใจกับความมีระเบียบวินัยนอยลง จึงทําใหนิสิตไมคํานึงถึงกฎระเบียบขอบังคับตางๆ ปลอยปละละเลยในหนาท่ีของตนและในกระแสโลกาภิวัฒนท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว พฤติกรรมการเลียนแบบของวัยรุนก็เปนปจจัยหน่ึงท่ีทําใหนิสิตน้ันมักจะหาทาง

Page 227: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 219

 

ฝาฝนกฎระเบียบขอบังคับของมหาวิทยาลัย เชน การแตงกายเลียนแบบดารา นักรอง หรือมีพฤติกรรมท่ีเลียนแบบบุคคลท่ีตนเองชื่นชอบ ซึ่งนิสิตในวัยน้ี กลุมเพื่อนจะเปนปจจัยหน่ึงท่ีมีอิทธิพลมากตอทัศนคติ คานิยมและการใชชีวิต

2. การเปรียบเทียบพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยรวมและในแตละดาน ไดแก ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย และดานความรับผิดชอบ จําแนกตามเพศ ชั้นป สาขาวิชา สถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว วิธีการอบรมเล้ียงดู และรูปแบบส่ือท่ีไดรับ ดังน้ี

2.1 นิ สิตชายและหญิง มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย และโดยรวม แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท้ังน้ีอาจเปนเพราะเพศหญิงมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมแตกตางจากเพศชาย เน่ืองมาจากบรรทัดฐานทางครอบครัวและคานิยมของเพศหญิงในสังคมวัฒนธรรมไทยไดถูกหลอหลอมใหมีความออนนอมถอมตน สุภาพเรียบรอย มีพฤติกรรมอันดีงาม รวมท้ังการอบรมส่ังสอนใหเชื่อฟงคําส่ังสอนของผูใหญ ตลอดจนวิธีการดําเนินชีวิตจะตองอยูในขอบเขตปฏิบัติตนไปตามกฎเกณฑตางๆ ท่ีครอบครัวไดวางไว เชน เพศหญิงตองอยูกับเหยาเฝากับเรือน มีหนาท่ีตองดูแลบานและบุตร จะตองมีกิริยาสุภาพสํารวมกาย วาจา ใจ ซึ่งเปนส่ิงท่ียึดถือปฏิบัติ ของความเปนกุลสตรีไทยท่ีดี สวนดานความรับผิดชอบไมพบความแตกตาง อาจเน่ืองมาจาก สภาพสังคมไทยในปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงบทบาทของเพศชายและเพศหญิงใหมีความสามารถเทาเทียมกันในสังคมมากขึ้น ต้ังแตการอบรมเล้ียงดู การศึกษา ศาสนา การเมือง

และการปกครอง ทําใหนิสิตท่ีศึกษาอยูในสถานศึกษายอมไดรับการหลอหลอมใหมีความเสมอภาคเทาเทียมกัน

2.2 นิ สิ ต ท่ี ศึ กษ า ในชั้ น ป ต า ง กั น มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมในแตละดานและโดยรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่ไดกําหนดไว โดยพบวา นิสิตชั้นปท่ี 2 คณะศิลปกรรมศาสตร มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมในการประพฤติปฏิบัติตนดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ ดานความมีมารยาทในการพูด ดานความมีระเบียบวินัย และดานความรับผิดชอบ แตกตางจากนิสิตชั้นปอื่นๆ ท้ังน้ีอาจเปนเพราะ นิสิตชั้นปท่ี 2 เพิ่งไดผานประสบการณในการเรียน ตลอดระยะเวลา 1 ป ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ ซึ่งนิสิตทุกคนตองอยูในหอพัก กอนยายมาศึกษาตอในชั้นปท่ี 2 ท่ีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ทําใหนิสิตมีโอกาสในการเรียนรูการใชชีวิตในมหาวิทยาลัยท่ีตองรวมมือพึ่งพาอาศัยกัน เรียนรูประสบการณและศึกษากับบุคคลวัยใกลเคียงกัน มีการปรับตัวในการอยูรวมกัน ซึ่งเปนการเตรียมพรอมสูความเปนผูนําในอนาคต เพื่อเปนรุนพี่ในการควบคุมดูแลรุนนองป 1 ท่ีกําลังเขามาศึกษาตอในปตอไป สวนนิสิตชั้นปท่ี 1 นิสิตเพิ่งเร่ิมตนการปรับตัวในการเรียนและการใชชีวิตจากโรงเรียนมาสูระดับมหาวิทยาลัย นิสิตจึงตองอาศัยระยะเวลาในการปรับตัวท้ังเร่ืองการเรียนและการใชชีวิตในระดับมหาวิทยาลัย มากข้ึน สวนนิสิตชั้นปท่ี 3 มีการมุงเนนการเรียนวิชาเอกในสาขาเฉพาะทางมากข้ึน มุงการฝกทักษะการปฏิบัติมากกวาปอื่นๆ รวมถึงมีการเขารวมกิจกรรมตางๆ ภายนอกมหาวิทยาลัย จึงเร่ิมจุดประกายความเปนศิลปน โดยอาจละเลยพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมท่ีควรปฏิบัติลงไป สวนนิสิตชั้นปท่ี 4 มุงเนนใหความสําคัญกับการทําปริญญานิพนธผลงานสรางสรรค ท่ีมีการ

Page 228: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

220  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

คนควาหาขอมูล การศึกษาลงพื้นท่ี การฝกการปฏิบัติ งานนอกสถานท่ี เพื่อนําความรูท่ีไดมาพัฒนาในการทําผลงานตามวัตถุประสงคของหลักสูตรในการวัดผลสัมฤทธิ์ จึงอาจเล็งเห็นความสําคัญของพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมท่ีควรปฏิบัติลดลงไป

2.3 นิสิตท่ีศึกษาในสาขาวิชาตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมในแตละดานและโดยรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก นิสิตไดรับประสบการณตางๆ จากแตละสาขาวิชาแตกตางกัน และในสาขาวิชาท่ีนิสิตไดเลือกศึกษาตางก็มีความเปนศาสตรเฉพาะทางท่ีแตกตางท้ังในสวนของเน้ือหาวิชา วิธีการสอนและมีจุดเนนท่ีแตกตางกันออกไป มีกิจกรรมระหวางการเรียนท่ีเปดโอกาสใหนิสิตแตละสาขาไดแสดงออกแตกตางกันไปตามธรรมชาติของสาขาวิชาน้ันๆ

2.4 นิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมโดยรวมและเกือบทุกดานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ยกเวน ดานความรับผิดชอบท่ีไมพบความแตกตาง อาจเน่ืองมาจาก บทบาทและฐานะเศรษฐกิจของครอบครัวมีผลตอการปลูกฝงทัศนคติและคานิยมท่ีดีงามใหกับเยาวชน เชน นิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวตํ่า บิดามารดาหรือผูปกครองมีรายไดนอย จึงมีขอจํากัดในการใชจาย สามารถใชจายเฉพาะส่ิง ของที่จําเปนเทาน้ัน ชีวิตความเปนอยูจึงดําเนินไปอยางเรียบงาย สมควรตามอัตภาพ ทุกคนในครอบครัวจึงมีความใกลชิด ดูแลและชวยเหลือกันและกัน มีการทํากิจกรรมในครอบครัวรวมกัน ทําใหเด็กไดมีโอกาสไดเรียนรูและปลูกฝงความเชื่อ ความคิด ทัศนคติท้ังโดยการส่ังสอนบอกกลาว ตางจากนิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวสูงและนิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวปานกลาง เพราะสวนใหญ

ครอบครัวของนิสิตกลุมน้ีจะประกอบอาชีพท่ีมีรายไดสูงกวาและอาศัยอยูในสังคมเมืองซึ่งมีความพรอมในปจจัยทางดานตางๆ รูปแบบการดําเนินชีวิตจึงมีความซับซอนกวา บิดามารดาหรือผูปกครองจึงเล้ียงลูกในรูปแบบวัตถุนิยมบริโภคนิยม โดยท้ิงภาระในการดูแลลูกใหแกคนอื่นๆ หรือลูกจาง ทําใหครอบครัวตางคนตางดําเนินชีวิตกันอยางอิสระ จากสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวท่ีตางกันดังกลาวจึงสงผลใหนิสิตมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมท่ีแตกตางกันสวนดานความรับผิดชอบไมพบความแตกตาง อาจเน่ือง มาจาก นิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวสูง จะไดรับการเลี้ยงดูและเอาใจใสจากบุคคลในครอบครัว อีกท้ังบิดามารดาเปนตัวอยางเร่ือง ความขยัน ความรับผิดชอบตอหนาท่ีท้ังการงานและหนาท่ีในครอบครัว ส่ิงเหลาน้ีจึงเปนการปลูกฝงทางออมทําใหลูกซึมซับความรับผิดชอบไปกับการดําเนินชีวิตต้ังแตเล็ก จนโต สวนนิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัวตํ่า และนิสิตท่ีมีสถานภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว ปานกลาง สวนใหญมาจากครอบครัวท่ีมีจํานวนสมาชิกในครอบครัวโดยประมาณ 3-5 คน หรืออาจจะมาจากครอบครัวท่ีมีอาชีพเกษตรกรรมหรือรับจางซึ่งเปนครอบครัวท่ีทุกคนตองคอยชวยกันทํางาน มีการแบงภาระหนาท่ี และความรับผิดชอบตางๆ ภายในบานใหทุกคนทํา ซึ่งการแบงงานใหทุกคนในบานไดทําน้ัน เปนการปลูกฝงความรับผิดชอบโดยทางออม

2.5 นิสิตท่ีมีการอบรมเล้ียงดูตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมในแตละดานและโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ อาจเน่ือง มาจาก สถาบันครอบครัวเปนสถาบันท่ีมีความสําคัญยิ่งของสมาชิกในครอบครัว เปนสถาบันแรกท่ีสรางบุคลิกภาพ พฤติกรรม และสติปญญา ดังน้ันครอบครัวจึงมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาดานตางๆ ของสมาชิก

Page 229: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 221

 

การอบรมเล้ียงดูแบบปลอยปละละเลยจึงเปนรูปแบบในการอบรมเล้ียงดูท่ีพอแมใหอิสระกับลูก และมักไมเรียกรองใหลูกมีวุฒิภาวะ หรือควบคุมพฤติกรรมลูก พอแมจะใหความรัก ความอบอุนและตามใจลูก ยอมใหลูกควบคุมตนเองมากกวาการควบคุมลูกและไมคอยลงโทษลูก ทําใหนิสิตไมสามารถควบคุมอารมณและพฤติกรรมของตนเองได ไมรูจักประมาณตนในส่ิงตางๆ และไมแนใจวาส่ิงท่ีตนทําไปน้ันถูกหรือผิด จึงมีผลทําใหนิสิตท่ีไดวิธีการอบรมเล้ียงดูแบบปลอยปละละเลย มีพฤติกรรมทางสังคมแตกตางกับ นิสิตท่ีไดรับวิธีการอบรมเล้ียงดูแบบประชาธิปไตยและนิสิตท่ีไดรับวิธีการอบรมเล้ียงดูแบบเขมงวดกวดขัน

2.6 นิสิตท่ีไดรับขอมูลจากส่ือตางกัน มีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานมารยาทในการพูด ดานความรับผิดชอบ และโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ และดานความมีระเบียบวินัย ไมพบความแตกตาง ท้ังน้ีเปนเพราะ ขอมูลขาวสารและส่ือตางๆ มีอิทธิพลตอนิสิตมากในปจจุบัน โดยเฉพาะขอมูลขาวสารจากส่ือท่ีไดรับจากส่ืออิเล็กทรอนิกสไดครอบงําการดําเนินชีวิตของคนยุคใหม โดยมีการติดตอส่ือสารไดอยางรวดเร็วมากขึ้น เห็นไดจาก ส่ือทางอินเตอรเน็ต ส่ือทางโทรทัศน เปนตน จึงสามารถทําใหนิสิตผูรับสารอาจถูกชักจูงไดโดยงาย รวมท้ังมีการใชภาษาท่ีผิด โดยเฉพาะอิทธิพลคานิยมในการตามกระแสสังคมออนไลน สวนดานดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ และดานความมีระเบียบวินัย ไมพบความแตกตาง อาจเปนเพราะสังคมไทยมีขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีถูกปลูกฝงมาต้ังแตบรรพบุรุษ โดยเร่ิมจากครอบครัวในการอบรมส่ังสอนรวมถึงการปฏิบัติตามจารีตประเพณีอันดีงามตางๆ เห็นไดจากการไหว ซึ่งแสดงออกถึงการมีความสุภาพออนโยน มีสัมมาคาระตอผูใหญ ตลอดจนสอดแทรกการเรียนรู

การดําเนินชีวิตตามกฎระเบียบการอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

จากการศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทร วิโรฒ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังน้ี

1. ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญ จากผลการ ศึกษาพบวา นิสิตท่ีมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญอยูระดับมาก เพื่อสงเสริมใหนิสิตเกิดพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความเคารพเชื่อฟงผูใหญมากขึ้น จึงควรจัดใหมีกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยผูสอนควรสอดแทรกวัฒนธรรมอันดีงามคุณธรรมจริยธรรม ตามบทบาทหนาท่ีของสถาบัน อุดมศึกษา เขาไปในเน้ือหาของบทเรียน รวมถึง คําพูด การแสดงออก กิริยามารยาท เพื่อเปนตัวอยางท่ีดีใหนิสิต นอกจากน้ีคณะควรมีการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมวัฒนธรรมอันดีงามระหวาง ผูสอนและนิสิตอยางสม่ําเสมอเพื่อเปนการแลกเปล่ียนทัศนะในแงมุมตางๆ เพื่อสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางผูสอนและนิสิต ซึ่งจะสงผลใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากย่ิงขึ้น หากทุกอยางท่ีกลาวมามีการปฏิบัติไปในแนวทางที่เหมาะสม ก็จะสงผลใหพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตดานเคารพเชื่อฟงผูใหญดําเนินไปในทิศทางท่ีเหมาะสมยิ่งขึ้น

2. ดานความมีมารยาทในการพูด จากผลการ ศึกษาพบวา นิสิตท่ีมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความมีมารยาทในการพูดอยูระดับมาก เพื่อสงเสริมใหนิสิตเกิดพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความมีมารยาทในการพูดใหสูงข้ึน ควรใหสงเสริมบุคคลท่ีมีความประพฤติ ดานความมีมารยาทในดานการพูดท่ีดีตอ

Page 230: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

222  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ครูบาอาจารย เพื่อน และบุคคลอื่นๆ รวมถึงการใชภาษาถูกตองเหมาะสมตามกาลเทศะ ในรูปของประกาศ การยกยองชมเชย ใบรับรอง ทุนการศึกษา เหรียญรางวัลเชิดชูเกียรต์ิ เพื่อเปนแบบอยางท่ีดีแกนิสิตในมหาวิทยาลัย

3. ดานความมีระเบียบวินัย จากผลการศึกษาพบวา นิสิตท่ีมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความมีระเบียบวินัยอยูระดับปานกลาง เพื่อสงเสริมใหนิสิตเกิดพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมดานน้ีใหสูงขึ้นจึงควรกําหนดแนวทางเพื่อแกไข โดยมีนโยบายปลูกจิตสํานึก การตรงตอเวลา การแตงกายใหเหมาะสมกับสถานท่ี กาลเทศะ การปฏิบัติตามกฎระเบียบตางๆ ของสังคมสวนรวม เพื่อนิสิตจะไดมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมดานความมีระเบียบวินัยท่ีดีขึ้น ท้ังน้ีอาจจะตองมีบทลงโทษ สําหรับผู ท่ีไมปฏิบั ติตามกฎของมหาวิทยาลัย หรือกฎระเบียบในแตละคณะ เพื่อเปนการสรางจิตสํานึกท่ีดีตอการมีระเบียบวินัยในตนเอง และไมทําใหคณะและมหาวิทยาลัยเส่ือมเสียชื่อเสียง

4. ดานความรับผิดชอบ จากผลการศึกษาพบวา นิสิตท่ีมีพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความรับผิดชอบอยูระดับมาก เพื่อสงเสริมใหนิสิตเกิดพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมดานน้ีใหมากข้ึน จึงควรสงเสริมใหนิสิตมีความรูความเขาใจในหนาท่ี ความรับผิดชอบของตนเอง คณะควรจัดการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงการมีสวนรวมของนิสิตทุกคนโดยสงเสริมให นิ สิตทํางานรวมกันโดยนิสิตแตละคนจะได รับ

มอบหมายแบงหนาท่ีการทํางานซึ่งเปนสวนหนึ่งของงานท่ีทุกคนตองมีสวนรวมกัน ดัง น้ันเพื่อใหงานสวนรวมสําเร็จลุลวงไปดวยดี นิสิตแตละคนจะตองมีความรับผิดชอบงานในสวนของตนเองอยางเต็มท่ีเพื่อเปนการปลูกฝงความรับผิดชอบ ผูสอนควรมีการกําหนดวางแผนระยะเวลาในการสงงานท่ีแนชัด เพื่อเปนการพัฒนาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคม ดานความรับผิดชอบ ใหมีคุณภาพมากข้ึน ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป

1. ควรมีการศึกษาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิต ในมหาวิทยาลัยเอกชน เพื่อทราบถึงจุดออนและจุดแข็งของปญหาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิต และเพื่อหาแนวทางปรับปรุง แกไข และพัฒนาพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตใหเปนท่ียอมรับและความตองการของสังคม

2. ควรมี กา ร ศึกษาแนวทางพฤ ติกร รมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตท่ีพึงประสงคในอนาคต เพื่อปรับปรุงและวางแนวทางพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิตใหตรงกับความตองการและทันยุคสมัย

3. ควรมีการศึกษาถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมพฤติกรรมวัฒนธรรมทางสังคมของนิสิต เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนารูปแบบกิจกรรมตางๆ ใหสงเสริมพฤติกรรมใหเปนไปในแนวทางที่ถูกตองและสงเสริมวัฒนธรรมอันดีงามของไทยมากยิ่งขึ้น

Page 231: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 223

 

บรรณานุกรม ชัยอนันต สมุทรวณิช. (2534). ความสัมพันธของการพัฒนาตนเองกับการเปล่ียนแปลงในโลกาภวัิตน. สืบคน

เมื่อ 20 เมษายน 2552, จาก elearning.spu.ac.th/allcontent/hrm483 /text /01.htm. ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2544). การวิจัยและการพัฒนาบุคลากรทฤษฎีตนไมจริยธรรม. กรุงเทพฯ: สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. ดวงมาลย แสงไกร. (2551). เอกสารการสอนรายวิชาทกัษะชีวิต. แผนกวิชาสามัญสัมพันธ วิทยาลัยเทคนิค

ขอนแกน. สืบคนเมื่อ 20 เมษายน 2552, จาก http://www.nsdv.go.th/personal/annouce/duongman.htm. ทอทหาร. (2549). ความม่ันคงแหงชาติ ปจจัยที่มีผลกระทบกับสังคมไทยในอนาคต. สืบคนเมื่อ 23 เมษายน

2552, จาก http://www.tortaharn.net/conten ts/index.php?option. พิศมัย รัตนโรจนสกุล. (2552). เอกสารประกอบ การสอนรายวิชาพื้นฐานสังคมที่เก่ียวของกับการศึกษา

กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไพฑูรย สินลารัตน. (2542). การพัฒนาหลกัสูตรและการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มณีรัตน รูปประดิษฐ. (2550). ผลของโลกาภิวัตน. สืบคนเมื่อ 23 เมษายน 2552, จาก

http://gotoknow.org/blog/kroomaneerat/140313. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2542). แผนพัฒนาการศึกษาระดับอดุมศึกษา ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2545).

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กองแผนงาน ฝายแผนและพัฒนา: สํานักงานอธิการบดี. รัชนีกร เศรษโฐ. (2523). สังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ. โสภา ชูพิกุลชยั ชปลมันน. (2552). ปญหาตางๆ ในปจจบุนักับอัตราความเครียดทีเ่พิม่มากข้ึน. สืบคนเมื่อ

23 เมษายน 2552, จาก http://www.dailynews.co.th/web/html/ popup_news/Default. aspx?Newsid= 138381&NewsType=1&Template=1.

สําเนาว ขจรศิลป. (2539). มติิใหมของกิจการนักศึกษา 1: พื้นฐานและบริการนักศึกษา. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

Cronbach, Lee J. (1970). Essentials of Psychological Testing. 3rd ed. New York: Harper. Ferguson, George A. (1981). Statistical Analysis in Psychology and Education. 5th ed.Tokyo: McGrawHill. Likert, R. (1967). The Human Organization : Its Management and Value. New York: McGraw-Hill. Yamane, Taro. (1967). Statistics : An Introductory Analysis. 2nd ed. New York: Harper.

Page 232: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

224  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การสังเคราะหงานวิจัยเรื่องปจจัยที่มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรมการสอน ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู

SYNTHESIS OF RESEARCH STUDIES RELATING TO CHILD-CENTERED TEACHING BEHAVIOR IN TEACHERS

ผูวิจัย ดร. อาพัทธ เตียวตระกูล1, ชนัดดา ภูหงษทอง2 Dr. Arphat Tiaotrakul, Chanadda Poohongtong บทคัดยอ

การสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู 2. ศึกษาผลของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู 3. สรุปปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผู เ รียนเปนสําคัญของครู โดยการสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ีเปนการสังเคราะหเชิงคุณภาพ ทําการสังเคราะหงานวิจัยระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต ท่ีศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู ในฐานะตัวแปรตามและเปนงานวิจัยเชิงปริมาณชวงระหวางป พ.ศ. 2544 จนถึงพ.ศ. 2555 รวม 12 ป จากสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 5 แหง ไดแก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยรามคําแหง จํานวน 15 เร่ือง โดยสืบคนจากระบบสืบคนทรัพยากรสารสนเทศของสํานักหอสมุด กลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (OPAC) และฐาน ขอมูลอิเล็กทรอนิกสของมหาวิทยาลัยในประเทศ (TDC: ThaiLIS Digital Collection) ผูวิจัยใชเทคนิคการวิเคราะหเน้ือหา (content analysis) ในการสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ี

สรุปผลการวิจัยไดดังน้ี

คุณลักษณะของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครูแบงเปน 10 เร่ือง ดังน้ี 1) ระดับงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญพบในระดับปริญญาโทจํานวนสูงท่ีสุด 2) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒผลิตงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมากท่ีสุด 3) สาขาวิชาการบริหารการศึกษาผลิตงานวิจัยท่ีเ ก่ียวของกับ “ปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ”มากที่สุด 4) การต้ังวัตถุประสงคของการวิจัยท่ีพบมากท่ีสุด คือ มีวัตถุประสงคเพื่ออธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรหรือเพื่อการทํานาย 5) โดยสวนใหญกลุมตัวอยางท่ีศึกษาในงานวิจัย คือ ครูระดับประถมศึกษาและมัธยม ศึกษา รวมท้ังส้ินจํานวน 3,715 คน 6) วิธีการคํานวณขนาดกลุมตัวอยาง พบวา ตารางสําเร็จของเครจซี และมอรแกน ใชในการคํานวณกลุมตัวอยางมากท่ีสุด7) การสุมแบบแบงชั้นเปนวิธีการที่ ใชในการสุมกลุมตัวอยางสูงท่ีสุด 8) แนวคิดท่ีใชอธิบายตัวแปรพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมากท่ีสุด คือ แนวคิดของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 9) เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยสูงท่ีสุดคือ แบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Likert scale) 10) การหาคุณภาพของแบบวัด พบวา การหาความตรงแบบคาดัชนี

1อาจารยประจําภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร 2อาจารยประจําภาควิชาศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

Page 233: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 225

 

ความสอดคลองและการหาความเ ท่ียงแบบคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Cronbach’s Alpha-Coefficient) ถูกใชมากท่ีสุด

ผลของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู พบวา1) การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางปจจัยตางๆ ท่ีเ ก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ พบวาในดานปจจัยทางชีวสังคม ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ เพศ ชวงชั้นการสอน อายุราชการ และระดับการศึกษาของครูผูสอน ในปจจัยดานจิตลักษณะเดิม ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ อิทธิบาท 4 และความใกลชิดศาสนา แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์และเหตุผลเชิงจริยธรรม ในปจจัยดานจิตตามสถานการณ ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ ความต้ังใจสอนและเจตคติตอการสอน ในปจจัยภายนอก (ดานสถานการณ) ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ การสนับสนุนทางสังคมและภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงของผูนํา 2) ตัวแปรท่ีมีคาสัมพันธกับตัวแปรพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเ รียนเปนสําคัญในระดับสูง ไดแก แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญความพอใจในหนาท่ีการงาน ความเปนผูนําทางวิชาการของผูบริหารฯ การสนับสนุนทางสังคมของครู บรรยากาศในการทํางาน สัมพันธภาพระหวางครูกับนักเรียน และการไดรับการฝกอบรมของครู 3) ตัวแปรทํานายพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ คือ ภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงของผูนํา การสนับสนุนทางสังคม ความสุขใจ ความเชื่ออํานาจในตน และเจตคติตอการสอน รวมกันทํานายพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญรวมกันได 4) ขอเสนอ แนะท่ีถูกนําเสนอมากท่ีสุด คือ ควรมีการศึกษาปจจัยดานอื่น เชน ดานความรูในการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ดานจิตลักษณะ และดานการเห็นคุณคาในตนเอง

ปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครูสามารถแบงออก 4 ปจจัยดังน้ี 1) ปจจัยดานชีวสังคม ไดแก เพศ ชวงชั้นการสอน อายุ วุฒิการศึกษาหรือระดับการศึกษา เงินเดือน สถานภาพของครู และประสบการณสอนของครู 2) ปจจัยดานจิตลักษณะเดิม ไดแก อิทธิบาท 4 หรือความใกลชิดศาสนา แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เหตุผลเชิงจริยธรรม ความต้ังใจสอน ความพอใจในหนาท่ีการงาน ความสุขใจ ความเชื่ออํานาจในตน และลักษณะมุงอนาคตควบคุมตน 3) ปจจัยดานสถานการณ ไดแก การรับรูภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงของผูนําของครู ความเปนผูนําทางวิชาการของผูบริหาร การสนับสนุนทางสังคมของครู บรรยากาศในการทํางาน สัมพันธภาพระหวางครูกับนักเรียน การไดรับการฝกอบรมของครู ความสัมพันธระหวางครูกับผูบริหาร และคุณลักษณะดานวิชาชีพ4) ปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณ ไดแก เจตคติตอการสอน เจตคติตอการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ และเจตคติตอวิชาชีพครู คําสําคัญ : การสังเคราะหงานวิจัยพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ABSTRACT

The purposes of this research were 1) to study the characteristics of researches in the child-centered teaching behavior in teachers 2) to study the results of research in the child-centered teaching behavior in teachers and 3) to classify the factors in the child-centered teaching behavior in teachers. This research was a qualitative synthesis of research using content analysis. The research was synthesized consisted of

Page 234: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

226  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

15 theses and dissertations in Master’s degree and Doctorate degree that studied the child-centered teaching behavior in teachers as a dependent variable, and these were published during 2001 - 2013 on OPAC and ThaiLIS Digital Collection databases. The research was found from 5 universities: Srinakharinwirot university, Silpakornuniversity, Khonkaen university, Burapha university, and Ramkhamhaeng university.

The results of research synthesis were: The characteristics of researches in the

child-centered teaching behavior in teachers were divided in 10 topics: 1) the most highly research level in the child-centered teaching behavior in teachers found in theses in the master’s degree. 2) Srinakharinwirot University has highly produced research in the child-centered teaching behavior in teachers. 3) The field of Educational administration has highly produced research in the child-centered teaching behavior in teachers. 4) the most highly setting research objective was to explain the correlation in variables or to predict. 5) the most participants were 3,715 teachers in primary and secondary schools. 6) the method of sample size calculation based on a table for determining sample size by Krejcie& Morgan. 7) Stratified Random Sampling was the most highly method for sampling. 8) The concept of the child-centered teaching behavior in teachers was highly based on Office of the National Education Commission. 9) The highest instrument in research was questionnaire with

Likert scale. 10) the validity and reliability of instrument found that the highest using method were Index of Consistency in the validity and Cronbach’s Alpha-Coefficient in the reliability.

The results of research in the child-centered teaching behavior in teachers found that 1) comparison of difference in factors in the child-centered teaching behavior in teachers showed that in biologicalfactor, the significant variables were sex, class level, teaching experience, and education qualifications of teacher. In psychological traits factor, the significant variables wereaccomplishment in Buddhism or Iddhipada, achievement motivation and moral reasoning. In psychological state factor, the significant variables were attention in teaching and attitudes towards teaching. In situational factor, the significant variables were social support and transformational leadership of the leader. 2) The variables highly correlated with the child-centered teaching behavior in teachers were achievement motivation, attitude toward child centered teaching, work satisfaction, the academic leadership of educational institution administrators, social support, work climate, relationship among students and teachers, and teachers' educational training. 3) The predictor variables of the child-centered teaching behavior in teachers were transformational leadership of the leader, social support, subjective well-being, internal locus of control, and attitude toward teaching, can predict the child-centered teaching

Page 235: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 227

 

behavior in teachers. And 4) the most recommendation in research was the future research should study other factors such as knowledge in the child-centered teaching, psychological trait factors in teachers, and self-esteem. The relevant factors in the child-centered teaching behavior in teachers were divided in 4 factors: 1) the variables in biologicalfactors were gender, class level, age, education qualifications, the amount of salary, teacher status, and teaching experience. 2) the variables in psychological traits factors were accomplishment in Buddhism or Iddhipada, achievement motivation, the morale of the teachers, teachers' behaviors focusing on learners, job satisfaction, subjective well-being, internal locus of control. 3) situational factors were , the teacher’s perception of transformational leadership from their leader, the academic leadership of educational institution administrators, social support, work climate, relationship among students and teachers, teachers' educational training, the relationship between teachers and school administrators, and the characteristics of teaching profession.And 4) psychological state factors were attitude toward teaching, teaching attitude toward child centered teaching, and attitudes towards teaching career. Keywords : Research Synthesis Child-centered Teaching Behavior

บทนํา ครูเปนวิชาชีพท่ีสําคัญอยางย่ิงตอการพัฒนา

ผูเรียนใหเปนคนดี คนเกง และมีความสุข การท่ีผูเรียนจะเติบโตและเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศตอไปในอนาคตไดน้ัน ครูถือเปนผูท่ีมีบทบาทสําคัญในการถายทอดท้ังศิลปวิทยาการในแงของความรูเชิงวิชาการและความรูท่ีจะทําใหผูเรียนสามารถดํารงตนใหอยูในสังคมไดอยางเปนปกติสุข

อยางไรก็ตาม ในชวงไมกี่ป ท่ีผานมา ผลสะทอนจากการถายทอดความรูเชิงวิชาการของครูไดปรากฎถึงภาวะวิกฤต (เบลลันกา และแบรนต, 2554) โดยพบวา ผลการสอบมาตรฐานตางๆ ท้ังในประเทศ เชน O-NET และในตางประเทศ เชน TIMSS และ PISA ของนักเรียนไทยตกตํ่าลง (สมเกียรติ ต้ังกิจวานิชย และศุภณัฏฐ ศศิวุฒิวัฒน,2555) สาเหตุสําคัญประการหน่ึงของการลดลงของคุณภาพทางการศึกษามาจากทักษะการจัดการเรียนการสอนของครู โดยนักวิชาการและนักการศึกษาเชื่อวา การปรับเปล่ียนกระบวนการถายทอดความรูจากผูสอนสูผูเรียน กลายเปนผูสอนและผู เ รียนรวมเ รียนรู ไปดวย กันและผูสอนเปนผูออกแบบกระบวนการเรียนรูใหแกผูเรียน จะนําไปสูการเรียนรูอยางแทจริง (เบลลันกา และแบรนต, 2554) ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 และในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดระบุถึงความสําคัญของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยผูวิจัยขอนําเสนอใจความท่ีเก่ียวของกับการวิจัยคร้ังน้ี ดังสรุปไดวา การท่ีจะพัฒนาผูเ รียนใหมีคุณภาพมีลักษณะของการเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพไดน้ัน ตองอาศัยครูหรือผูสอนท่ีมีทักษะใน

Page 236: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

228  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

กลุมปจจัย 1. กลุมปจจัยดานจิตลักษณะเดิม 2. กลุมปจจัยดานสถานการณ 3. กลุมปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณ 4. กลุมปจจัยดานชีวสังคม

พฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสาํคัญของคร ู

คุณลักษณะของงานวิจัย สาขาวิชา/ ปท่ีพิมพ/ สถาบันหรือหนวยงาน/

ตัวแปรท่ีศึกษา/ ประเภทงานวจิัย/ กลุมตัวอยาง/ วิธีการสุมกลุมตัวอยาง/ แบบแผนการวิจัย/

คุณภาพของเคร่ืองมือ/ สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

การจัดการเรียนรูใหแกผูเรียนโดยคํานึงถึงการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียน การเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีสวนรวมและมีบทบาทสําคัญในกิจกรรมการเรียนรูดวยความต่ืนตัว ลักษณะเหลาน้ีจะนําผูเรียนไปสูการเกิดการเรียนรูอยางแทจริง ซึ่งเปนลักษณะของการจัดการเ รียนรู ท่ี เนนผู เ รียนเปนสําคัญ (student-centered instruction) (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)

แมประเด็นการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมีความสําคัญอยางมากตอการศึกษาไทยในปจจุบันและอนาคต แตกระน้ันก็ยังขาดการรวบรวมผลงานวิจัยและการสังเคราะหงานวิจัยท่ีจะนําไปสูการสรางองคความรูใหม จากเหตุดังกลาว ผูวิจัยจึงสนใจท่ีจะรวบรวมงานวิจัยท่ี

เก่ียวของกับปจจัยท่ีมีความเกี่ยวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู เพื่อเปนประโยชนตอการพัฒนาพฤติกรรมการสอนที่ เนนผู เรียนเปนสําคัญของครูในอนาคตตอไป

กรอบความคิดในการวิจัย

จากการสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยไดศึกษางานวิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู โดยสังเคราะหคุณลักษณะของงานวิจัย และจัดกลุมปจจัยท่ีเก่ียวของ4 กลุมดังแสดงภาพ1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ภาพ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

Page 237: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 229

 

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะของงานวิจัยเก่ียว

กับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู 2. เพื่อศึกษาผลของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรม

การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู 3. เพื่อสรุปปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการ

สอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู ขอบเขตการสังเคราะห

การวิจัยคร้ังน้ีมุงสังเคราะหงานวิจัยเฉพาะงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู โดยนักวิจัยไดนํารูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธนิยม (Interactionism model) (Endler & Magnusson, 1976; Walsh, Craik, & Price,2000; Tett & Burnett, 2003 อางใน ดุจเดือน พันธุมนาวิน, 2550) มาเปนกรอบความคิดหลักในการจัดประเภทของตัวแปรเชิงเหตุ เพื่อศึกษาวิจัยสาเหตุของพฤติกรรมของมนุษย โดยในการคร้ังน้ี นักวิจัยไดแบงกลุมของปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครูเปน 4 กลุม โดย 3 กลุม มาจากรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธนิยม ไดแก กลุมปจจัยดานจิตลักษณะเดิม (Psychological traitsfactors) กลุมปจจัยดานสถานการณ (Situational factors) และกลุมปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณ (Psychological statefactors) สวนสาเหตุท่ีเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางจิตลักษณะเดิมและสถานการณ (Mechanical interaction) นักวิจัยไมไดนํามาศึกษาดวย เน่ืองจากในการศึกษาคร้ังน้ีไมไดมุงวิเคราะหปฏิสัมพันธระหวางตัวแปร และอีก 1 กลุม นักวิจัยไดนํามารวมศึกษาดวย ไดแก กลุมปจจัยดานชีวสังคม (Biological factors) วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยน้ีเปนการสังเคราะหงานวิจัยในเชิงคุณภาพ (qualitative synthesis)โดยใชการวิเคราะห

เน้ือหา (content analysis) ดังมีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังน้ี 1. แหลงขอมูล

แหลงขอมูลท่ีใชในการวิจัย เปนปริญญานิพนธ วิทยานิพนธ และสารนิพนธของนิสิตนักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย ท่ีเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครูในฐานะตัวแปรตาม ท่ีมีการตีพิมพเผยแพรแลวในรูปเลมและ/หรือเผยแพรผานทางระบบสืบคนทรัพยากรสารสนเทศของสํานักหอ สมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (OPAC) และฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสของมหาวิทยาลัยในประเทศ (TDC: ThaiLIS Digital Collection) ชวงระหวางป พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2555 รวม 12 ป จากสถาบัน อุดมศึกษา จํานวน 5 แหง ไดแก มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยรามคําแหง ศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู ชวงระหวางป พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2555 รวม 12 ป ในฐานะตัวแปรตาม จํานวน 15 เร่ือง การคัดเลือกงานวิจัยน้ัน นักวิจัยไดนําเกณฑการประเมินงานวิจัยของ อุทุมพร จามรมาน (2527) มาใชในการคัดเลือกงานวิจัยคร้ังน้ี รายละเอียดของเกณฑมีดังน้ี 1) ความชัดเจนในปญหาวิจัย สมมติฐาน ขอตกลง ความจํากัดของการวิจัย ความสมบูรณของการวิจัย 2) นิยาม/คําจํากัดความท่ีใชในรายงานไดรับการระบุอยางชัดเจน 3) การออกแบบการวิจัยมีการบรรยายอยางครบถวนและถูกตอง 4) ประชากร กลุมตัวอยาง และการสุมตัวอยาง ถูกตอง 5) เคร่ืองมือวิจัยมีความเท่ียงตรง 6) เทคนิคการรวบรวมขอมูลเหมาะสมกับงานวิจัยคร้ังน้ี 7) เทคนิคการวิเคราะหขอมูล ถูกตอง เหมาะสม ตรงตามกระบวนการขอมูลตัวแปร และวัตถุประสงคการวิจัย 8) การเสนอผลวิจัยครบถวน ไมลําเอียง และถูกตอง 9)

Page 238: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

230  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

การสรุปผลวิจัยชัดเจน ถูกตอง ครบถวน และอานงาย ถึงแมวาเกณฑท่ีนักวิจัยนํามานั้นจะเปนเกณฑท่ีใชในการคัดเลือกงานวิจัยท่ีจะนําไปสังเคราะหดวยวิธีการวิเคราะหอภิมาน แตนักวิจัยเชื่อวา เปนเกณฑท่ีมีคุณภาพสําหรับการนําไปคัดเลือกในการสังเคราะหงานวิจัยเชิงคุณภาพเชนเดียวกัน 2. ตัวแปรที่ศึกษา

1. คุณลักษณะของงานวิจัยไดแกสาขาวิชา/ ป ท่ีพิมพ /สถาบันหรือหนวยงาน / ตัวแปรท่ีศึกษา / ประเภทงานวิจัย/กลุมตัวอยาง/วิธีการสุมกลุมตัวอยาง/แบบแผนการวิจัย/คุณภาพของเคร่ืองมือ/สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

2. กลุมปจจัย ไดแกกลุมปจจัยดานจิตลักษณะเดิมกลุมปจจัยดานสถานการณกลุมปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณและกลุมปจจัยดานชีวสังคม

3. พฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู 3. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

สําหรับกระบวนการเก็บรวบรวมขอมูลในการสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ี มีดังตอไปน้ี

1) เมื่อไดตัวแปรท่ีสนใจแลว คือ “พฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ” โดยศึกษาในฐานะตัวแปรตาม ผูวิจัยไดนําคําสําคัญดังกลาวไปคนในฐาน ขอมูล จํานวน 2 ฐาน ไดแก ระบบสืบคนทรัพยากรสารสนเทศของสํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ (OPAC) และฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสของมหาวิทยาลัยในประเทศ (TDC: ThaiLIS Digital Collection)

ผลจากการสืบคนโดยใชคําสําคัญวา “พฤติกรรม

การสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ” ในฐานขอมูล ThaiLIS มีรายงานการวิจัย งานปริญญานิพนธ วิทยานิพนธ

สารนิพนธท่ีเก่ียวของกับคําสําคัญ ในชวงป พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2555 มีจํานวน 3 เร่ือง เมื่อใชคําวา “การสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ” จะพบรายงานการวิจัย งานปริญญานิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธท่ีเก่ียวของกับคําสําคัญ ในชวงป พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2555 มีจํานวน 281 เร่ือง

สําหรับฐานขอมูล OPAC พบวา เมื่อใชคําสําคัญวา “การสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ” พบรายงานการวิจัย งานปริญญานิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธท่ีเก่ียวของกับคําสําคัญ ในชวงป พ.ศ. 2544 จนถึง พ.ศ. 2555 มีจํานวน 77 เร่ือง

2) อยางไรก็ตาม งานวิจัยท่ีพบท้ังหมดในขอ 1) ผูวิจัยไดนํามาพิจารณาคัดเลือก โดยใชเกณฑในการศึกษา คือ ประการที่ 1: ตองเปนงานวิจัยท่ีศึกษาการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู ในฐานะตัวแปรตาม ประการที่ 2: เปนงานวิจัยเชิงปริมาณ ประการที่ 3: เปนปริญญานิพนธ วิทยานิพนธ สารนิพนธของนิสิตนักศึกษาระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย

3) ผูวิจัยนํางานวิจัยท่ีผานเกณฑตามขอ 2) ซึ่งมีท้ังหมด จํานวน 15 เร่ือง มาบันทึกขอมูลตามแบบบันทึกขอมลูท่ีกลาวไปขางตน

4) ผูวิจัยตรวจทานความครบถวนถูกตองของการบันทึกขอมูล

4. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยไดนําแบบบันทึกขอมูลท่ีดัดแปลงขึ้น

จาก อังศินันท อินทรกําแหง (2551) เพื่อใชในการเก็บขอมูล จดบันทึกรายละเอียดของงานวิจัยท่ีไดผานการคัดเลือกในการสังเคราะหคร้ังน้ี โดยหัวขอหรือประเด็นท่ีผูวิจัยไดเก็บขอมูลจากงานวิจัยตางๆ ไดแก

Page 239: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 231

 

1) สวนของแหลงท่ีมา ไดแก ชื่องานวิจัย ชื่อผูทําวิจัย ระดับงานวิจัย สาขาวิชา ปท่ีพิมพ สถาบันเจาของงานวิจัย/หนวยงานท่ีสังกัด

2) สวนของระเบียบวิธีวิจัย ไดแก วัตถุประสงคงานวิจัย ลักษณะของตัวแปรอิสระท่ีศึกษา ลักษณะของตัวแปรตามท่ีศึกษา ประเภทงานวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง วิธีการคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง วิธีการสุมกลุมตัวอยาง/การเลือกกลุมตัวอยาง เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

3) สวนของผลการวิเคราะหและขอเสนอแนะไดแก คะแนนการวัดระดับพฤติกรรม ผลการวิเคราะหท่ีสําคัญ และขอเสนอแนะในงานวิจัยท่ีนาสนใจ 5. การวิเคราะหขอมูล

การ สั ง เ ค ร าะห ง านวิ จั ยค ร้ั ง น้ี เ ป นกา รสังเคราะหเชิงคุณภาพ โดยใชเทคนิคการวิเคราะหเน้ือหา (content analysis) วิเคราะหขอมูล ดังน้ี

1) การสรุปเชิงบรรยายผลการสังเคราะหงานวิจัย โดยจําแนกตามคุณลักษณะของงานวิจัย

2) การสรุปเชิงบรรยายผลการสังเคราะหงานวิจัยเก่ียวกับตัวแปรท่ีผูวิจัยสนใจศึกษา โดยมีการจัดกลุมตัวแปรเชิงปจจัยดานตางๆ ขึ้นใหมตามรูปแบบปฏิสัมพันธนิยม สรุปผลการวิจัย 1. คุณลักษณะของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู

สําหรับคุณลักษณะของงานวิจัยเ ก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครูผูวิจัยไดแบงการนําเสนอคุณลักษณะออกเปน 10 เร่ือง ดังตอไปน้ี

1.1) ระดับงานวิจัยพบวา ระดับงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญในระดับปริญญาโทมีจํานวนงานวิจัยมากกวาปริญญาเอกซึ่งงานวิจัยในระดับปริญญาโทแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) ปริญญานิพนธหรือวิทยานิพนธ และ 2) สารนิพนธ และพบวางานวิจัยแบบปริญญานิพนธหรือวิทยาพนธมีจํานวนงานวิจัยมากกวาสารนิพนธ

1.2) สถาบันเจาของงานวิจัย/หนวยงานท่ีสังกัดพบวา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒผลิตงาน วิจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมากท่ีสุด

1.3) สาขาวิชาและปท่ีพิมพเผยแพรพบวา สาขาวิชาท่ีผลิตงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับ “ปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ” คือ สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและงานวิจัยถูกเผยแพรในป 2548 มากท่ีสุด เปนจํานวน 2 เร่ือง รองลงมา คือ สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา มีงานวิจัยท่ีเผยแพรในป 2544 จํานวน 2 เร่ือง สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตรประยุกต มีงานวิจัยท่ีเผยแพรในป 2547 และ 2552 จํานวนปละ 1 เร่ือง และ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มีงานวิจัยท่ีเผยแพรในป 2547 และ 2548 จํานวนปละ 1 เร่ืองเชนเดียวกัน

1.4) วัตถุประสงคงานวิจัยพบวา งานวิจัยท่ีผานการคัดเลือกท้ังหมด 15 เร่ือง มีการต้ังวัตถุประสงคของการวิจัยท่ีพบมากที่สุด คือ มีวัตถุประสงคเพื่ออธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรหรือเพื่อการทํานาย

1.5) ลักษณะของกลุมตัวอยาง พบวา กลุมตัวอยางในการศึกษาของงานวิจัยท้ัง 15 เร่ือง ในการ ศึกษาคร้ังน้ีผูวิจัยไดจําแนกลักษณะของครู เปน 2 กลุมใหญ ไดแก 1) ครูในโรงเรียนระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา แบงออกเปนครูในกรุงเทพมหานคร ภาคตะวันออกและตะวันตก ภาคอีสาน และภาคใต และ 2) อาจารยมหาวิทยาลัย

Page 240: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

232  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

(มหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน) ซึ่งจํานวนรวมของกลุมตัวอยางท้ังหมดในงานวิจัย 15 เร่ือง มีจํานวนท้ังส้ิน จํานวน 3,775 คน โดยสวนใหญกลุมตัวอยางท่ีศึกษาเปนครูระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จํานวน 3,715 คน

1.6) วิธีการคํานวณขนาดกลุมตัวอยางพบวางานวิจัยจํานวน 5 เร่ืองมีวิธีการคํานวณกลุมตัวอยางโดยใชตารางสําเร็จของเครจซี และมอรแกน (Krejcie and Morgan, 1970) ถือวาเปนวิธีท่ีใชในการคํานวณกลุมตัวอยางมากท่ีสุดสําหรับการวิจัยในคร้ังน้ี

1.7) วิธีการสุม/เลือกกลุมตัวอยาง พบวา งานวิจัยจํานวน 12 เลมใชวิธีการสุมตัวอยางแบบอาศัยความนาจะเปน โดยการสุมแบบแบงชั้นสูงท่ีสุด

1.8) แนวคิดในการอธิบายตัวแปรพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญพบวา แนวคิดท่ีใชอธิบายตัวแปรพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมากท่ีสุดในงานวิจัยจํานวน 15 เร่ืองท่ีผูวิจัยไดคัดเลือกมามากที่สุด คือ แนวคิดของสํานักงานคณะกรรม การการศึกษาแหงชาติ ท่ีประกอบดวย จํานวน 17 ตัวบงชี้ ใน 4 องคประกอบ

1.9) เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยพบวา งาน วิจัยสวนใหญใชเคร่ืองมือวัดเปนแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Likert scale) รองลงมา ไดแก การใชแบบสัมภาษณและแบบสังเกต

1.10) การหาคุณภาพของแบบวัดในตัวแปรตาม พบวาการหาความตรงของแบบวัดในตัวแปรพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมีงานวิจัยจํานวน 14 เร่ือง ท่ีมีการหาความตรงของเคร่ืองมือ โดยการหาความตรงแบบคาดัชนีความสอดคลอง ถือวาใชวิธีการน้ีมากท่ีสุดในการหาความตรง รองลงมา คือ การหาคาอํานาจจําแนกและ Item-total correlation สําหรับการหาความเที่ยงของแบบวัดในงานวิจัยท่ีนํามาสังเคราะห

สวนใหญใชแบบคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Cronbach’s Alpha-Coefficient) ร อ ง ล ง ม า คื อ แ บ บ Scott’s Coefficient และแบบ Rater Agreement Index 2. ผลของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู

สําหรับผลของงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครูผูวิจัยไดแบงการนําเสนอออกเปน 4 ประเด็น ดังตอไปน้ี

2.1 การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางปจจัยตางๆท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญพบวา ในปจจัยดานชีวสังคม ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ เพศ ชวงชั้นการสอน อายุราชการ และระดับการศึกษาของครูผูสอน ในปจจัยดานจิตลักษณะเดิม ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ อิทธิบาท 4 และ ความใกลชิดศาสนา แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์และเหตุผลเชิงจริยธรรม ในปจจัยดานสถานการณประกอบดวย ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ การสนับสนุนทางสังคมและภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงฯในปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณประกอบดวย ตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญ คือ เจตคติตอการสอน

2.2 การอธิบายความสัมพันธระหวางปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญพบวา ตัวแปรท่ีมีคาสัมพันธกับตัวแปรพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญในระดับสูง ซึ่งเห็นไดจากคา r มีคามากกวา .50 ขึ้นไป ไดแก แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญความพอใจในหนาท่ีการงาน ความเปนผูนําทางวิชาการของผูบริหารฯ การสนับสนุนทางสังคมของครู บรรยากาศในการทํางาน สัมพันธภาพระหวางครูกับนักเรียน และการไดรับการฝกอบรมของครู

Page 241: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 233

 

2.3 การทํานายผลของปจจัยตาง ๆท่ีรวมทํานายพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญพบวา ตัวแปรทํานายรวมกันทํานายหรืออธิบายตัวแปรตาม โดยภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงฯ การสนับสนุนทางสังคม ความสุขใจ ความเชื่ออํานาจในตน และเจตคติตอการสอนฯ รวมกันทํานายพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญรวมกันไดมากท่ีสุดในการสังเคราะหคร้ังน้ี รองลงมา คือ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ บรรยากาศในการทํางาน และสัมพันธภาพระหวางครูกับนักเรียน

2.4 ขอเสนอแนะท่ีสําคัญของงานวิจัยท่ีนํามาสังเคราะห ขอเสนอแนะท่ีถูกนําเสนอมากท่ีสุดในการสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ี อันดับหน่ึง คือ ควรมีการ ศึกษาปจจัยดานอื่น เชน ดานความรูความสามารถ ดานจิตลักษณะท่ีเก่ียวของโดยตรงกับตัวครู ดานแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ดานการเห็นคุณคาในตนเอง ดานคุณลักษณะของครู เปนตน อันดับสอง ไดแก ควรศึกษาพฤติกรรมการสอนของครูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ดวยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงทดลอง และ ควรศึกษาปญหาในการประยุกตและแนวทางพัฒนาการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ อันดับสาม ไดแก ควรมีการจัดฝกอบรม จัดทําหลักสูตรการเสริมสราง และ พัฒนาลักษณะทางสังคม ลักษณะทางจิต และลักษณะทางพุทธของครู อันดับส่ี ไดแก ควรศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญในกลุมนิสิตนักศึกษาครูและควรสงเสริมใหพฤติกรรมน้ีเกิดขึ้นในนิสิตนักศึกษาครู รวมถึงควรใหผูเรียนมีสวนรวมในการสะทอนผลการจัดการเรียนการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญดวยและอันดับหา คือ ควรมีการศึกษารูปแบบของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญในโรงเรียนท่ีประสบผลสําเร็จ (Best practice) 3. สรุปปจจัยที่เก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของครู

ตาราง 1 สรุปปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญโดยจําแนกตามสถิติท่ีใชวิเคราะหและจําแนกตามปจจัยในแตละดานและสมการการทํานายตัวแปรตาม

ปจจัยที่เก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การวิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA)

การวิเคราะหความสัมพันธ (ลําดับตามคา R2ท่ีสูงท่ีสุดตามปจจัย)

การวิเคราะหพหุคูณถดถอย (ลําดับตามคา R2ท่ีสูงท่ีสุด)

ปจจัยดานชีวสังคม เพศ, ชวงชั้นการสอน, อายุ, วฒุิการศึกษาหรือระดับการศึกษา,ประสบการณในการสอน ปจจัยดานจิตลักษณะเดิม อิทธิบาท 4 หรือความใกลชิดศาสนา, แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์,เหตุผลเชิงจริยธรรม, ความต้ังใจสอน,

ปจจัยดานชีวสังคม เงินเดือน,สถานภาพของครู,ประสบการณการสอนของครู ปจจัยดานจิตลักษณะเดิม แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์,ขวัญ,ความพอใจในหนาท่ีการงาน

- ภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงฯ+การสนับสนุนทางสังคม+ความสุขใจ+ความเชื่ออํานาจในตน+เจตคติตอการสอนฯ

- แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์+เจตคติตอการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ+บรรยากาศในการทํางาน+สัมพันธภาพระหวางครูกับนักเรียน

Page 242: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

234  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ปจจัยที่เก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การวิเคราะหความแปรปรวน (ANOVA)

การวิเคราะหความสัมพันธ (ลําดับตามคา R2ท่ีสูงท่ีสุดตามปจจัย)

การวิเคราะหพหุคูณถดถอย (ลําดับตามคา R2ท่ีสูงท่ีสุด)

ปจจัยดานสถานการณ การสนับสนุนทางสังคม,ภาวะผูนําการเปล่ียนแปลงฯ ปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณ เจตคติตอการสอน

ปจจัยดานสถานการณ ความเปนผูนําทางวิชาการของผูบริหารฯ,การสนับสนุนทางสังคมของครู,บรรยากาศในการทํางาน,สัมพันธภาพระหวางครูกับนักเรียน,การไดรับการฝกอบรมของครู,ความสัมพันธระหวางครูกับผูบริหาร ปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณ เจตคติตอการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ, เจตคติตอวิชาชีพครู

- ประสบการณการสอนของครู+การไดรับการฝกอบรมของครูเจตคติตอวิชาชีพครู+การสนับสนุนทางสังคมของครู+ความเปนผูนําทางวิชาการของผูบริหารฯ

- ความต้ังใจในการสอน+ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์+ เจตคติตอการสอน+ความใกลชิดศาสนา+ลักษณะมุงอนาคตควบคุมตน

- การสนับสนุนการทํางานของครู+ เจตคติตออาชพีครู+ คุณลักษณะดานวิชาชพี+ เจตคติตอการสอน+ ความพึงพอใจในงาน

จากตาราง 1เปนการสรุปปจจัยท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยจําแนกตามสถิติท่ีใชวิเคราะหและจําแนกตามปจจัยในแตละดาน และสมการการทํานายตัวแปรตาม โดยในตารางของการวิเคราะหความสัมพันธและการวิเคราะหพหุคูณถดถอย ผูวิจัยไดไลเรียงตัวแปรตามลําดับของคาท่ีมีตอตัวแปรตามสูงและตัวแปรท้ังหมดในตาราง 1 น้ีเปนตัวแปรท่ีผูวิจัยคัดเลือกจากการมีนัยสําคัญทางสถิติแลวเทาน้ัน อภิปรายผล

1) จากผลการวิจัยในขอท่ี 1 ผลการศึกษาในประเด็นสาขาวิชาท่ีผลิตงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผู เ รียนเปนสําคัญ พบวาสาขาบริหารการศึกษามีการผลิตงานวิจัยมากท่ีสุด ซึ่งเปนส่ิงท่ี

กอใหเกิดความสงสัยวา เหตุใดจึงเปนเชนน้ัน เพราะในความเขาใจของผูวิจัยไดคาดวาควรเปนสาขาทางจิตวิทยาศึกษาหรือสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนมากท่ีสุด อยางไรก็ตาม เมื่อผูวิจัยไดพิจารณาตัวแปรท่ีถูกผลิตจากงานวิจัยในสาขาน้ีจึงพบวา ตัวแปรภาวะผูนําของผูบริหารโรงเรียนและการสนับสนุนทางสังคม ซึ่งเปนตัวแปรในปจจัยดานสถานการณ ผูวิจัยพบวา สองตัวแปรน้ีเปนตัวแปรท่ีโดดเดนท่ีสุดและมีคาสหสัมพันธท่ีคอนขางสูงเมื่อเทียบกับตัวแปรจากปจจัยดานจิตลักษณะเดิม และเมื่อไดศึกษาแนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวของจะพบวา การสนับสนุนทางสังคมของโรงเรียนตอครูผูสอนสามารถเทียบเคียงไดกับแนวคิด ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางดานสังคม (social support) โดยแรงสนับสนุนทางดานสังคมหมายถึงส่ิงท่ีผูรับไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมในดานความชวยเหลือทางดาน

Page 243: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 235

 

ขอมูลขาวสารวัตถุส่ิงของหรือการสนับสนุนทางดานจิตใจจากผูใหการสนับสนุนซึ่งอาจเปนบุคคลหรือกลุมคนและเปนผลใหผู รับไดปฏิบัติหรือแสดงออกทางพฤติกรรมไปในทางท่ีผูรับตองการในที่น้ีหมายถึงแรงสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อนรวมงานและหัวหนางานของครูสงผลตอพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู

นอกจากน้ี จากการศึกษาในประเด็นกลุมตัวอยางของงานวิจัยท่ีนํามาสังเคราะห พบวา กลุมตัวอยางของภาคเหนือท่ีไมพบวาปรากฎในการศึกษาคร้ังน้ี แตมิไดหมายความวาครูในจังหวัดภาคเหนือจะไมมีปญหาเร่ืองพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ แตแทท่ีจริงแลวดวยจํานวนงานวิจัยท่ีนํามาสังเคราะหในงานวิจัยคร้ังน้ีมีจํานวนจํากัดเพียง 15 เร่ือง ดังน้ัน จึงไมสามารถสรุปไดวา สถานการณของครูในเขตภาคเหนือเก่ียวกับพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญน้ันเปนอยางไรจากผลการศึกษาในประเด็นเร่ืองวิธีการสุมกลุมตัวอยาง นักวิจัยพบวา วิธีการของเครซซี่และมอรแกนเปนวิธีการท่ีพบสูงสุดในการสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ี อยางไรก็ตาม ไดมีอาจารยและนักวิชาการผูเชี่ยวชาญในเร่ืองสถิติและการสุมกลุมตัวอยางของมหาวิทยาลัยชั้นนําของประเทศเทศ ไดใหคําแนะนําแกนักวิจัยรุนใหมวาควรหันมาใชการสุมตัวอยางของ Cohen เพราะเน่ืองจากเปนท่ีนิยมของการวิจัยในระดับสากลและมีความนาเชื่อถือมากกวาวิธีอื่นๆ ในการเลือกกลุมตัวอยางดวยวิธีการเลือกแบบเจาะจงของงานวิจัยสวนใหญ ไมพบการอธิบายเหตุผลของการใชวิธีการน้ี หรือการกําหนดเกณฑในการเลือกลุมตัวอยาง ดังน้ันจึงไมสามารถสรุปไดอยางชัดเจนวา งานวิจัยท่ีใชการเลือกกลุมตัวอยางดวยวิธีการเลือกแบบเจาะจงน้ีจะมีความเปนตัวท่ีแทนของประชากรท่ีดีหรือไม

2) จากผลการวิจัยในขอท่ี 2 ดังปรากฎขางตนน้ันจะพบวา ท้ังผลการวิจัยท่ีศึกษาเปรียบเทียบความแตกตาง ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆ ท่ีเก่ียวของกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ และศึกษาการทํานายผลของปจจัยตางๆ ท่ีรวมทํานายพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญมีตัวแปรท่ีมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีสามารถแบงกลุมตัวแปรตางๆ ตามรูปแบบปฏิสัมพันธนิยมไดท้ังหมด 4 กลุมปจจัยไดแก กลุมปจจัยดานจิตลักษณะเดิม กลุมปจจัยดานสถานการณ กลุมปจจัยดานจิตลักษณะตามสถานการณ และกลุมปจจัยดานลักษณะชีวสังคมน่ันอาจหมายความไดวา พฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญจะเกิดขึ้นไดยอมตองประกอบดวยปจจัยท้ัง 4 กลุมน้ี ซึ่งสอดคลองกับการอธิบายตามรูปแบบปฏิสัมพันธนิยม(Endler& Magnusson, 1976; Walsh, Craik, & Price, 2000; Tett & Burnett, 2003 อางใน ดุจเดือน พันธุมนาวิน, 2550)

3) จากผลการวิจัยในขอท่ี 3 ในการวิเคราะหความสัมพันธท่ีมีการเรียงลําดับคา R-square ซึ่งไลเรียงตามลําดับของคาท่ีมีตอตัวแปรตามสูงสุดและมีการแบงกลุมตัวแปรตามรูปแบบปฏิสัมพันธนิยม จะพบวา เงินเดือนของครูมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญสูงสุดในปจจัยดานชีวสังคม ผลการวิจัยน้ีนําเสนอความสําคัญของเงินเดือนของครู เชนเดียวกับผลการวิจัยของชนิตา รักษพลเมือง และคณะ (2547) ท่ีศึกษาเร่ือง สภาวะการขาดแคลนครูระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีพบวาสาเหตุสําคัญท่ีวิชาชีพครูไมเปนท่ีนาสนใจและไมนาดึงดูดใจสําหรับคนรุนใหม รวมถึงการไมสามารถรักษาครูประจําการไวได สวนหนึ่งมาจากปจจัยท่ีเก่ียวกับเงินเดือนของครูท่ีมีอัตราตํ่ากวาอาชีพอื่น ในดานจิตลักษณะเดิมและปจจัยดานจิตตามสถานการณท่ีพบวา แรงจูงใจใฝ

Page 244: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

236  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

สัมฤทธิ์และเจตคติตอการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญสูงสุดน้ันสอดคลองกับรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธนิยมท่ีนําเสนอวา แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ท่ีจัดอยูในดานจิตลักษณะเดิม และเจตคติตอเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงท่ีจัดอยูในดานจิตตามสถานการณน้ันเปนปจจัยสาเหตุของพฤติกรรมของบุคคล (Endler & Magnusson, 1976; Walsh, Craik, & Price, 2000; Tett& Burnett, 2003 อางใน ดุจเดือน พันธุมนาวิน, 2550) ขอเสนอแนะ ขอเสนอเชิงปฏิบัติ

1) เน่ืองจากการสังเคราะหงานวิจัยคร้ังน้ีเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตัวแปรเก่ียวกับการทํางาน ซึ่งผูวิจัยไมไดเขมงวดในเรื่องของจํานวนงานวิจัยท่ีนํามาศึกษามากนัก รวมถึงมีขอจํากัดเกี่ยวกับการนํางานวิจัยมาจากฐานขอมูลเพียงสองฐานงานวิจัยเทาน้ัน ดังน้ัน การจะนําผลการวิจัยท่ีสังเคราะหไดศึกษาตอ ผูสนใจควรพิจารณาถึงขอจํากัดน้ีใหดีวามีผลกระทบทางลบตอการทําวิจัยของนักวิจัยหรือไม

2) การพัฒนาพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครูควรพัฒนาปจจัยทุกดานควบคูกันอันไดแก ปจจัยดานจิตลักษณะเดิม ปจจัยดานจิตตามสถานการณ และปจจัยดานสถานการณ สวนปจจัยดานชีวสังคมผูวิจัยเห็นวาเปนกลุมตัวแปรท่ีไมสามารถเปล่ียนแปลงได ดังน้ัน การใหความสําคัญกับ 3 กลุม

ปจจัยหลักจึงมีความเปนไปไดในการพัฒนามากกวาและสามารถนําไปสูการเกิดพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยครั้งตอไป

1) เ น่ืองดวยขอจํากัดของการสังเคราะหงานวิจัยในคร้ังน้ีดังกลาวไปขางตน ดังน้ันในงานวิจัยคร้ังตอไป ผูสนใจควรทําการวิเคราะหองคประกอบของคุณลักษณะของพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญท่ีผูวิจัยไดสรางตารางข้ึนจากการแจกแจงความถ่ี และการนําสถิติมาใชในการวิเคราะหรวมดวยจะทําใหองคประกอบ (factor analysis) ดังกลาวมีความนาเชื่อถือมากข้ึน

2) แนวโนมในการศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญควรมุงไปสูการวิจัยในลักษณะอื่น เชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม การวิจัยและพัฒนา เปนตน และการใชสถิติท่ีสามารถทํานายตัวแปรตามได เชน การวิเคราะหถดถอยพหุคูณ หรือ SEM ซึ่งเปนการวิจัยท่ีมีรูปแบบท่ีนอกเหนือไปจากการเปรียบเทียบและการหาความสัมพันธ ท่ีมีการ ศึกษาอยางซ้ําซอนกันคอนขางมาก

3) ในการเลือกกลุมตัวอยางดวยวิธีการเลือกแบบเจาะจงของงานวิจัยควรมีการอธิบายเหตุผลของการใชวิธีการน้ีหรือการกําหนดเกณฑในการเลือกลุมตัวอยาง เพื่อความนาเชื่อถือของงานวิจัย

Page 245: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 237

 

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวคิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. เขาถึงเมื่อ 21 มิถุนายน 2556, จาก http://lms.thaicyberu.go.th/officialtcu/main/advcourse/presentstu/course/

ww521/joemsiit/joemsiit-web1/ChildCent/Child_Center1_1.htm. จันทรจิรา พลนงค. (2544). ปจจัยทางสถานการณและจิตลักษณะทีม่ีผลตอพฤตกิรรมการสอนแบบเนน

ผูเรียนเปนสําคัญของครูมัธยมศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ม (จิตวิทยาการศึกษา). ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน.

เจมส เบลลันกา และรอน แบรนต. (2554). ทักษะแหงอนาคตใหม: การศึกษาเพ่ือศตวรรษที่ 21. แปลและ เรียบเรียงโดย วรพจน วงศกิจรุงเรือง และอธิป จิตตฤกษ. กรุงเทพฯ: โอเพนเวิลดส.

ชนิตา รักษพลเมือง, จรูญศรี มาดิลกโกวิท, อุบลวรรณ หงษวิทยากร, และชิตชยางค ยมาภัย. (2547). สภาวะการ ขาดแคลนครรูะดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. เขาถึงเมื่อ 1 มกราคม 2557, จาก http://www.edu.chula.ac.th/resch/new%20reseach1/2549.4.htm.

ชุลีกร ยิ้มสุด. (2552). การพัฒนาการคดิไตรตรองและพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคญัของครู

ประถมศึกษาโดยใชเทคนิคการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม. ปริญญานิพนธ วท.ด. (การวจิัย พฤติกรรมศาสตรประยุกต). กรุงเทพฯ: มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดุจเดือน พันธมุนาวิน. (2550). รูปแบบทฤษฎีปฎิสัมพันธนิยม (Interactionism model) และแนวทางการงสมมติฐาน ในการวิจัยสาขาจิตพฤติกรรมศาสตรในประเทศไทย. วารสารพัฒนาสังคม. 9 (1),85-117.

ธัญญรัตน ลุนานัต. (2550). การสังเกตพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรยีนเปนสําคัญของครูผูสอนกลุมสาระการ

เรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนพญาไท กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ บธ.ม. (ธุรกิจ ศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิรมล สังธิกุล. (2547). ปจจยับางประการที่สัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน

สําคัญของครูกลุมศรีนครินทร สังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การวจิัยและสถติิ ทางการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นฤพนธ วัลลภวิสุทธิ์. (2548). การสนับสนนุพฤติกรรมการสอนของครูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของผูบริหาร

โรงเรียนเขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประพัฒน คหินทรพงศ. (2545). พฤติกรรมความเปนผูนาํทางวิชาการของผูบริหารโรงเรียนที่สงผลตอการ จัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญในโรงเรยีนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขต การศึกษา 5. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ราตรี เจริญบุตร. (2544). ตัวบงชี้ทางจติสังคมของพฤติกรรมการสอนแบบเนนผูเรยีนเปนสําคัญใน

ขาราชการครสูังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). ขอนแกน: มหาวทิยาลัยขอนแกน. (ถายเอกสาร).

Page 246: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

238  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

วัลยา นิหมัด. (2548). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอนของครูตอการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน

สําคัญของโรงเรียนเอกชนระดับประถมศกึษา อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุร.ี ปริญญานิพนธ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). ชลบรีุ: มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิญู เมอืงนาค. (2546). ปจจัยที่เอื้อตอการจัดการเรียนการสอนทีเ่นนผูเรียนเปนสําคัญในโรงเรียน

ประถมศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา 1 จงัหวัดหนองบัวลาํภู. สารนิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ศักด์ิสิทธิ์ แรทอง. (2549). ตวัแปรที่พยากรณพฤติกรรมการสอนของครูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญในสถานศึกษา

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชุมพร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมเกียรติ ต้ังกิจวานิชย และศุภณัฏฐ ศศิวฒุวิัฒน. (2555). ความลมเหลวของระบบการประเมินผลการศึกษา ไทย: สาเหตุและขอเสนอแนะ. เขาถึงเมื่อ 23 กุมภาพันธ 2555, จาก http://thaipublica.org/2012/02/failure-thai-educational-system/.

สาวิตรี ยิ้มแยม. (2554). การวิเคราะหปจจัยของพฤติกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของครู สังกัด

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 3. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การวจิัยและประเมินผล การศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวทิยาลัยรามคําแหง.

สุธาสิณี กระสินธุ. (2547). การสํารวจความเชื่อของครูผูสอนภาษาอังกฤษในระดับอุดมศึกษาท่ีมตีอแนวการ จัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ. สารนิพนธ กศ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะ ภาษาตางประเทศ) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุภาพ เต็มรัตน. (2550). ปจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคญัของครูสังกัดสํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. ปริญญานิพนธ กศ.ด. (วิจัยการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

อนุรักษ นอยเล็ก. (2548). ความสัมพันธระหวางขวัญกับการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญของ

ครูโรงเรียนในกลุมกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อังศินันท อินทรกําแหง. (2551). การสังเคราะหงานวิจัยทีเ่ก่ียวกับความเครียดและการเผชิญความเครียดของ

คนไทย: รายงานการวิจัยฉบับที่ 115. กรุงเทพฯ: สถาบันวจิยัพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัจฉราพร บุญญพนิช. (2547). ปจจัยทางจติสังคมที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน

สําคัญของครูประถมศึกษาปที่ 1-6 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต1. ปริญญานิพนธ วท.ม. (การวิจยัพฤติกรรมศาสตรประยุกต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อุทุมพร จามรมาน. (2527). การสังเคราะหงานวิจัย: เชงิปริมาณ. กรุงเทพฯ: จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย. Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational

and Psychological Measurement. 30(3), 608.

Page 247: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 239

 

ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เรื่องความนาจะเปนที่มีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร ความสามารถในการแกปญหา

ทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิดและความมีวินัยในตนเอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5

THE EFFECT OF COGNITIVELY GUIDED INSTRUCTION ACTIVITIES IN PROBABILITY UPON MATHEMATICS LEARNING ACHIEVEMENT, MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING ABILITY,METACOGNITION

AWARENESS AND SELF–DISCIPLINEOF MATHAYOMSUKSA V STUDENTS ผูวิจัย อําภารัตน ผลาวรรณ1 Amparat Palawan กรรมการควบคุม รศ.ดร. สมชาติ ชูชาติ2 รศ.ดร. สมสรร วงษอยูนอย3

Advisor Committee Assoc.Prof.Dr. Somchai Chuchat Assoc.Prof.Dr. Somson Wongyounoi บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร และความ สามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรความตระหนักในการรู คิดและความมีวินัยในตนเองของนักเรียนกอนและหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ืองความนาจะเปน และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ืองความนาจะเปนกับเกณฑกลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนโยธินบํารุง จังหวัด นครศรีธรรมราช โดยการสุมแบบ

กลุม (Cluster Random Sampling) จํานวน 1 หองเรียน 30 คน เวลาท่ีใชในการสอน 17 คาบ แบบแผนการการวิจัยคร้ังน้ีเปนแบบ One–Group Pretest–Posttest Design วิเคราะหขอมูลโดยใชคาสถิติ t–test for Depentdent Sample และคาสถิติ t–test for One Sample ผลการวิจัยพบวา1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิด และความมีวินัยในตนเองของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรและความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของ

1นิสิตระดับมหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2อาจารยประจําภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3อาจารยประจําสํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 248: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

240  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

นักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวาเกณฑรอยละ 70อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ.01 คําสําคัญ : กิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรความ สามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิด ความมีวินัยในตนเอง ABSTRACT

The purposes of this research were to compare students’ mathematics learning achievement, mathematical problem solving ability, matacognition awareness and self–discipline before and after being provided cognitively guided instruction activities in “Probability”, and to compare students’ mathematics learning achievementand mathematical problem solving ability after being provided cognitively guided instruction activities in “Probability” with a criterion.The subjects of this study were 30 mathayomsuksa V students in the second semester of 2012 academic year from Yothinbamrung Nakhonsrithammarat Province. They were selected through cluster random sampling technique. The experiment lasted for 17 hours. The One–Group pretest–posttest design was used for this study. The data were analyzed by using t–test for dependent samples and t–test for one sample.

The findings were as follows : 1. The mathematics learning achievement,the problem solving ability, the metacognition awareness and

the self–discipline for students after being provided cognitively guided instruction activities was statistically higher than that before being provided at the .01 level of significance. 2. The mathematics learning achievement and the problem solving ability for students after being provided cognitively guided instruction activities statistically passed the 70 percent criterion at the .01 level of significance. Keywords : Cognitively Guided Instruction Activities The Mathematics Learning Achievement The Problem Solving Ability The Metacognition Awareness The Self–Discipline. บทนํา

การศึกษาเปนเคร่ืองมือสําคัญในการสรางคนซึ่งเปนผลผลิตของระบบการศึกษาใหปรับตัวและแกไขปญหา ท่ีมี ค วามหลากหลาย ในสภาพการณ ท่ีเปล่ียนแปลงไปอยางรวดเร็ว สามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน ตลอดจนประเทศชาติใหกาวหนาไปอยางพึงประสงค การจัดการศึกษาจึงควรเปนไปตามท่ีกําหนดไวในพระราชบัญญัติทางการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 ซึ่งกลาววา “การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผู เ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ” (กระทรวงศึกษาธิการ. 2542: 12) ดังน้ันการจัดการเรียนรูของกลุมวิชาคณิตศาสตรจะคําถึงถึงผูเรียนเปนสําคัญ ตองสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาท้ังทางดานความรู ทักษะกระบวนการและดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม (สิริพร ทิพยคง. 2545: 97)

Page 249: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 241

 

อยางไรก็ตามการเรียนการสอนคณิตศาสตรแมวาจะมีการปรับปรุงแกไขมาเปนเวลานานตราบจนปจจุบันก็ยังคงพบอุปสรรคอีกมากมาย จากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในระดับประเทศ พบวา ผลสัมฤทธิ์ทาง การศึกษายังไมเปนท่ีนาพอใจ กลาวคือ ผลการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติขั้นพื้นฐานหรือโอเน็ต(O-NET) ระดับประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปท่ี 3 และมัธยม ศึกษาปท่ี 6 ต้ังแตป พ.ศ. 2549 – 2554 คะแนนเฉล่ียตํ่ากวารอยละ 50 ของคะแนนเต็มทุกป (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. 2554: ออนไลน) การท่ีผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนอยูในระดับตํ่าน้ันอาจเกิดจากหลายสาเหตุ ซึ่งสาเหตุหน่ึงเกิดจากความสามารถในการแกปญหาของนักเรียนยังอยูในระดับไมนาพอใจคอนขางมาก นักเรียนสวนใหญมีความสามารถแกโจทยปญหาไดดีเฉพาะโจทยท่ีงาย และคอนขางงายเทา น้ัน แตเมื่อไปพบกับโจทย ท่ีซับซอน ตองใชความคิด ความรู ความเขาใจพื้นฐานในเร่ืองตางๆ มากขึ้น ก็จะประสบกับปญหาทันที (วิชัย พาณิชยสวย. 2546: 8) และมาจากปญหาของการเรียนการสอนสวนหนึ่งเกิดจากการท่ีนักเรียนไมมีวินัยในตนเอง มีปญหาดานพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคดานการเรียนเชนมาสายเขาหองเรียนไมพรอมเพรียงกันไมสงการบานสงเสียงดังในหองเรียนไมนําอุปกรณการเรียนมาเรียน (ชัยวิชิต เชียรชนะ. 2548: 20)

การจัดการเรียนรูเพื่อสงเสริมผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนคณิตศาสตร ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิดและความมีวิ นัยในตนเองของนักเรียนท่ีบกพรองดังกลาวน้ัน สอดคลองกับแนวการจัดการเรียนรูแบบการสอนแนะใหรูคิด (Cognitive Guided Instruction : CGI) ซึ่งเปนแนวการจัดการเรียนรูท่ีอยูบนพื้นฐานของความรูและ

ความเชื่อของครูท่ีเกิดจากการทําความเขาใจการคิดและการใหเหตุผลเชิงคณิตศาสตรของนักเรียนและการเรียนคณิตศาสตรไดดีท่ีสุดตองเรียนรูผานการแกปญหา แลวนํามาพิจารณาใชในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู เพื่อพัฒนาความเขาใจทางคณิตศาสตรและความสามารถในการคิดของนักเรียน (Carpenter et al. 1989: 499-531:Fennema et al. 1993: 555-583) หนาท่ีสําคัญของครูจะประกอบดวยการวางแผนการแกปญหา การเปดโอกาสใหนักเรียนไดเรียนรูถึงเน้ือหาสําคัญ โดยการสํารวจปญหา การศึกษาคนควา และการปฏิบัติตามยุทธวิธีของตนเอง (NCTM. 2000: 34) ใหนักเรียนไดทํางานในแนวทางของตนเองเพ่ือหาคําตอบโดยครูจะชวยเมื่อจําเปนแตไมใชดวยการบอกคําตอบ (สเตซีและโกรฟ. Schoenfeld. 1989: 83–103) เมื่อนักเรียนไดมีโอกาสรวมงานกับคนอื่นหรือมีสวนรวมในการคิดกฎเกณฑตางๆ ตลอดท้ังใหใชความรูทางคณิตศาสตรแกปญหาตางๆ เก่ียวกับการคํานวณอยูเสมอ (นภาพร วรเนตรสุดาทิพย. 2541: 12–15) รวมถึงการจัดบรรยากาศท่ีสนับสนุนและสงเสริมใหผูเรียนไดพูดอธิบายและแสดงเหตุผลของแนวคิดไดกระทําและสรุปพรอมท้ังแสดงการยืนยันขอสรุปของแนวคิดน้ันๆ (Rowan; & Morrow. 1993: 16-18) เพื่อใหนักเรียนไดเคยชินกับการคิดอยางมีเหตุผลและการชี้แจงนี้จะเปนโอกาสใหนักเรียนไดยอนกลับมาพิจารณาแนวคิดของตนเองทําความเขาใจใหแจมชัดขึ้นและปรับแตงแนวคิดไดอยางมีเหตุผลตลอดจนประเมินเหตุผลของผูอื่นวาควรเชื่อถือหรือไม(สถาบันสงเสริมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 2547: 18)ดวยเหตุน้ีผูวิจัยจึงพิจารณาการจัดการเรียนรูแบบการสอนแนะใหรูคิดโดยมีขั้นตอนของการจัดการเรียนรู ดังน้ี 1. ครูนําเสนอปญหา 2. นักเรียนทําการแกปญหา 3. นักเรียนรายงานคําตอบและวิธีการแกปญหาเปนรายบุคคล และ 4. ครูและนักเรียนท้ังชั้น

Page 250: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

242  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

เรียนชวยกันอภิปรายคําตอบและวิธีการท่ีใชในการแกปญหา โดยครูจะเปนผูนําใหเกิดการอภิปรายโดยใชคําถาม (Carpenter et al. 1999: 60-85; 2000: 4-5; Hiebert et al. 1997)

จากเหตุผลดังกลาว จึงทําใหผูวิจัยสนใจท่ีศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ือง ความนาจะเปน ระดับมัธยมศึกษาปท่ี 5 เพื่อเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ท่ีเอื้ อตอการ ท่ีจะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเ รียนคณิตศาสตร ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิด และความมีวินัยในตนเองของผูเรียนดีขึ้น อีกท้ังเพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ท่ีจะไดนําไปประยุกตใชกับเ น้ือหาอื่นๆ เพื่อจะได นํามาปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนคณิตศาสตรใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 กอนและหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI)

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรู คิด (CGI) กับเกณฑรอยละ 70

3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 กอนและหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI)

4. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก ปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) กับเกณฑรอยละ 70

5. เพื่อเปรียบเทียบความตระหนักในการรูคิดของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 กอนและหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI)

6. เพื่อเปรียบเทียบความมีวินัยในตนเองของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 กอนและหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI)

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด

(Cognitive guided instruction)

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร 2. ความสามารถในการแกปญหาทาง

คณิตศาสตร 3. ความตระหนักในการรูคิด 4. ความมีวินัยในตนเอง

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

Page 251: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 243

 

สมมติฐานของการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของ

นักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวาเกณฑรอยละ 70

3. ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนได รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

4. ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวาเกณฑรอยละ 70

5. ความตระหนักในการรู คิดของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

6. ความมีวินัยในตนเองของนักเรียนมัธยม ศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีดําเนินการวิจัย

ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี เปนนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีกําลังเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 ของโรงเรียนโยธินบํารุง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีจํานวนหองเรียน 7 หองเรียนจํานวนนักเรียน 275 คน

กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุม ตัวอยาง ท่ี ใช ในการวิจัยค ร้ัง น้ี เปน

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 ท่ีกําลังเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 ของโรงเรียนโยธินบํารุง จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งไดมาจากการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) โดยใชหองเรียนเปนหนวยการสุม (Sampling Unit) จากการจับฉลาก 1 หองเรียนจากนักเรียนท้ังหมด 8 หองเรียนซึ่งโรงเรียนจัดหองเรียนแบบคละความสามารถของนักเรียนไดกลุมตัวอยาง 1 หองเรียน จํานวน 30 คน

ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ตัวแปรอิสระคือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

แบบแนะใหรูคิด (CGI) ตัวแปรตาม ไดแก 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร 2. ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร 3. ความตระหนักในการรูคิด 4. ความมีวินัยในตนเอง

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยไดดําเนินการทดลองตามข้ันตอน ดังน้ี 1. ขอความรวมมือกับโรงเรียนโยธินบํารุง

อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีทําการทดลองสอนซึ่งเปนกลุมตัวอยางของการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยดําเนินการทดลองสอนดวยตนเองดวยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ือง ความนา จะเปน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5

2. ชี้แจงใหกลุมตัวอยางทราบถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ือง ความนา จะเปน เพื่อใหผูเรียนไดปฏิบัติตนถูกตอง

3. นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก ปญหาทางคณิตศาสตร แบบสอบถามความตระหนัก

Page 252: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

244  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

ในการรูคิด และแบบสอบถามความมีวินัยในตนเอง ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนมาทดสอบกับนักเรียนกลุมตัวอยางแลวบันทึกคะแนนกลุมตัวอยางท่ีไดรับจากการทดสอบคร้ังน้ีเปนคะแนนทดสอบกอนเรียน (Pretest) โดยใชเวลา 2 คาบ

4. ดําเนินการจัดกิจกรรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด เร่ือง ความนาจะเปน ตามแผนการจัดการเรียนรูท่ีสรางข้ึน โดยใชเวลาในการสอน 13 คาบ

5. เมื่อดําเนินการสอนครบตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเรียบรอยแลว ทําการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการแก ปญหาทางคณิตศาสตรดวยแบบทดสอบ ความตระหนักในการรูคิด และความมีวินัยในตนเองดวยแบบสอบถาม ท่ี ผูวิจัยสรางข้ึนซึ่งเปนแบบทดสอบชุดเดียวกับท่ีทดสอบกอนเรียน (Pretest) อีกคร้ัง ใชเวลา 2 คาบ และบัน ทึกผลการทดสอบให เป นคะแนนหลัง เ รี ยน (Posttest)

6. เมื่อตรวจใหคะแนนแบบทดสอบ แลวนําคะแนนท่ีไดมาวิเคราะหดวยวิธีการทางสถิติเพื่อตรวจสมมติฐาน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

1. แผนการจัดการเรียนรูโดยใชการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI)

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร

3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก ปญหาทางคณิตศาสตร

4. แบบสอบถามวัดความตระหนักในการรูคิด 5. แบบสอบถามวัดความมีวินัยในตนเอง

การวิเคราะหขอมูล

ในการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยมีลําดับขั้นตอนในการวิเคราะหขอมูลดังน้ี

1. ใชคาสถิติ t–test for Dependent Sample เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิด และความมีวินัยในตนเอง กอนและหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ือง ความนาจะเปน

2. ใชคาสถิติ t–test for One Sample เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร และความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ือง ความนาจะเปน กับเกณฑ (รอยละ 70) สรุปผลการวิจัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวาเกณฑรอยละ 70 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

3. ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนได รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

4. ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวาเกณฑรอยละ 70 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

5. ความตระหนักในการรู คิดของนักเรียนมัธยมศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการ

Page 253: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 245

 

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

6. ความมีวินัยในตนเองของนักเรียนมัธยม ศึกษาปท่ี 5 หลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 อภิปรายผล

ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ือง ความนาจะเปน ท่ีมีตอผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ความตระหนักในการรูคิดและความมีวินัยในตนเอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 สามารถอภิปรายผลไดดังน้ี

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร ของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ืองความนาจะเปน ปรากฏวา นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 1 ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก

1.1 กิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เปนกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือโดยจัดกลุมนักเรียนแบบคละความสามารถใหนักเรียนในกลุมมีสวนรวมในการคิดและแกปญหารวมกัน นักเรียนแลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอันจะนําไปสูการเรียนรูท่ีเหมาะสม ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ เพรสคอตต (Prescott. 1961: 14–16) กลาวไววาองคประกอบทางความสัมพันธในเพื่อนวัยเดียวกัน ไดแก ความสัมพันธของนักเ รียนกับเพื่อนวัยเดียวกันท้ัง ท่ีบานและท่ีโรงเรียนมีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ

สอดคลองกับวิชัย วงษใหญ (2542: 9) ท่ีกลาววานักเรียนจะเกิดการเรียนรูจากกลุมเพื่อนและคนรอบดาน เมื่อมีการชวยเหลือเอื้ออาทร รวมมือรวมใจ และมีความสุขในการเรียนเมื่อมีสภาพแวดลอมทางการเรียนท่ีไมกอนใหเกิดความเครียด ความต่ืนเตน ความคาดหวังและการเอาชนะ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของชานนท ศรีผองงาม (2549: 77) พบวา นักเรียนท่ีเรียนดวยชุดการเรียนแบบแบงกลุมสัมฤทธิ์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

1.2 กิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เปนกิจกรรมท่ีครูจะนําเสนอปญหาตามวัตถุประสงคและความมุงหมายท่ีต้ังไวโดยเลือกปญหาท่ีนาสนใจและท่ีใหนักเรียนมีประสบการณในการแก ปญหาท่ีหลากหลาย ปญหาท่ีเลือกมีความสอดคลองกับในชีวิตประจําวันของนักเรียน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ อับเบิรตและแอนโตส (Albert & Antos. 2000: 530) ท่ีกลาววา การเรียนการสอนท่ีกับชีวิตจริงจะชวยพัฒนามโนทัศนและความคิดของนักเรียน และสอดคลองกับผลงานวิจัยของ ฟอรแมนและสตีน(Forman; & Steen. 2000: 140) ท่ีกลาววา ปญหาท่ีมาจากสถานการณในชีวิตจริงกระตุนใหมีการคิดท่ีซับซอนขยายความเขาใจของนักเรียน และทําใหนักเรียนเขาใจคณิตศาสตรวามีความเกี่ยวพันกันอยางสมเหตุสมผลสงผลใหนักเรียนเขาใจคณิตศาสตรอยางลึกซึ้งขึ้น

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสอนแนะใหรูคิด (CGI) ผานเกณฑรอยละ 70 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 2 โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรเฉล่ียรอยละ 73.50 ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) ท่ีผูวิจัยสรางข้ึนไดผานการปรับปรุงแกไข ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ

Page 254: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

246  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

รวมท้ังนักเรียนไดลงมือปฏิบัติกิจกรรม ทําเอกสารแนะแนวทาง ทําแบบฝกทักษะระหวางเรียน และเมื่อเรียนจบแตละเน้ือหา นักเรียนจะไดมีการอภิปรายเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็น ทําให นักเ รียนไดทราบความกาวหนาหรือขอบกพรองของตนเอง ทําใหสามารถแกไขขอบกพรองไดทันที สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไว ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของจรรยา ภูอุดม (2544: 110) ท่ีพบวานักเรียนท่ีเรียนตามรูปแบบการเรียนการสอนคณิตศาสตรท่ีเนนผูเรียนเปนผูสรางความรูมีความเขาใจมโนมติและสามารถนําความรูไปใชไดดีกวานักเรียนท่ีเรียนตามปกติรวมท้ังกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เปนกิจกรรมเชื่อมโยงกับประสบการณหรือชีวิตประจําวัน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ บพิธ กิจมี (2551: บทคัดยอ) พบวา การใชการเรียนรูแบบบริบทเปนฐานสงผลใหนักเรียนเกิดความสนใจในคณิตศาสตรและตระหนักถึงประโยชนของคณิตศาสตรอยางนาพอใจ โดยทําใหนักเรียนมีความรู สึกสนุกและอยากศึกษาหาความรูเ ก่ียวกับคณิตศาสตรมากข้ึนและนักเรียนสามารถมองเห็นความรูทางคณิตศาสตรท่ีเรียนมาน้ันสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดจริง

3. ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร ของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ืองความนาจะเปน ปรากฏวา นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 3 ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก

3.1 กิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) ผูวิจัยกําหนดมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม

การเรียนรูตามแนวทางของชั้นเรียน CGI ท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ีออกเปน 4 ขั้นตอน ท่ีชวยสงเสริมพัฒนาทักษะการแกปญหาของนักเรียน ดังน้ี ขั้นนําเสนอปญหา ขั้นการวิเคราะหขอมูลขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู ขั้นการบูรณาการซึ่งสอดคลองกับ หลักการในการจัดการเรียนการสอนแบบ ของคารเพนเทอรและคณะ (Carpenter et al. 1989: 499-531) ท่ีกลาววา การจัดการเรียนการสอนควรพัฒนาความเขาใจของนักเรียนโดยเนนท่ีความสําคัญระหวางทักษะและการแกปญหา ใชการแกปญหาเปนศูนยรวมของการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอนควรจัดสถานการณใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมใหนักเรียนไดสรางความรูดวยตนเองดวยความเขาใจ นักเรียนควรสามารถเชื่อมโยงปญหามโนทัศนห รือทักษะกับความรู เ ดิม ท่ีมีอยูเน่ืองจากการจัดการเรียนการสอนแบบน้ีอยูบนพื้นฐานของความรูและความคิดของนักเรียนจึงตองมีการประเมินอยางสม่ําเสมอๆโดยไมไดประเมินเพียงวานักเรียนแกปญหาน้ันๆ ไดแตประเมินดวยวานักเรียนมีวิธีแกปญหาอยางไรวิธีการประเมินการคิดของนักเรียนท่ีไดผลก็คือการถามคําถามท่ีเหมาะสมและฟงคําตอบของนักเรียน สอดคลองกับงานวิจัย ของ คารเพนเทอรและคณะ (Carpenter et al. 1989 : 499–531) ท่ีพบวานักเรียนท่ีไดรับการสอนแบบการสอนแนะใหรูคิด (CGI) มีคะแนนความสามารถทางการบวก การลบ และความสามารถในการแกปญหาสูงกวานักเรียนท่ีไดรับการสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

4. ความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตรของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสอนแนะใหรูคิด (CGI) ผานเกณฑรอยละ 70 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 4 โดยมีคะแนนความสามารถในการแกปญหาทางคณิตศาสตร เฉล่ียรอยละ 74.94 ท้ังน้ีอาจเน่ือง

Page 255: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 247

 

มาจาก กิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เปนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีผูวิจัยสงเสริมใหเกิดการเรียนรูรวมกัน ใหทํางานเปนกลุม ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติตามข้ันตอน ไดรวมกันฝกปฏิบัติจริง รวมกันทํากิจกรรม ทําใหเกิดประสิทธิภาพในการเรียน เกิดความสนใจและเรียนรูอยางมีความสุข สนุกสนาน เกิดความกระตือรือรนในการเรียนมากขึ้น ตลอดจนมีปฏิสัมพันธท่ีดีกับเพื่อนในชั้นเรียน ชอบชวยเหลือเพื่อน ชอบอธิบายความรูใหเพื่อนฟงหรือนําเสนอผลงานของตนเองหรือของกลุมหนาชั้นเรียน สอดคลองกับ เดวินสัน (Davison. 1990: 4) ไดกลาววา การเรียนรูทางคณิตศาสตรจะตองแลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน ซักถามปญหากันอยางอิสระ อธิบายใหสมาชิกในกลุมไดเขาใจถึงแนวคิดและมโนคติของตนเองใหกระจางชัดขึ้นตลอดจนไดสรางความรูสึกเก่ียวกับการเรียนรูของเขา สอดคลองกับคํากลาวของคารเพนเทอรและเลซเซอร (Carpenter & Lehrer. 1999: 20-23) ท่ีกลาววา กิจกรรมการเรียนรูท่ี เนนการเขียนหรือการอภิปรายเพื่อสะทอนส่ิงท่ีนักเรียนรูชวยสงเสริมความเขาใจทางคณิตศาสตรของนักเรียน นอกจากน้ี

5. ความตระหนักในการรูคิดของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหคิด (CGI) เร่ืองความนาจะเปน ปรากฏวา นักเรียนมีคะแนนความตระหนักในการรูคิดหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 3 ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจาก

5.1 กิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เปนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีผูวิจัยเปดโอกาสใหนักเรียนนักเรียนเก็บรวบรวมขอมูลตามสถานการณ/ปญหาหรือนักเรียนวิเคราะหขอมูลจากสถานการณ/ปญญาเพื่อนํามาอภิปรายหาคําตอบ โดย

ในระหวางนักเรียนทํากิจกรรม ครูจะเปนผูอํานวยความสะดวกและใชคําถามกระตุนใหนักเรียนคิด รวมท้ังใหคําแนะนําเมื่อนักเรียนเกิดขอคําถามหรือปญหาเมื่อแกปญหาแลวนักเรียนนําเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมพรอมท้ังเหตุผลท่ีใช จากน้ันครูและนักเรียนท้ังชั้นรวมกันถามใหนักเรียนไดแสดงความคิดหรือเหตุผลท่ีใช เพื่อใหเกิดการแสดงเหตุผลท่ีครอบคลุมและสมบูรณท่ีสุด ซึ่งสอดคลองกับคํากลาวของ ชนาธิป พรกุล (2554: 204) ท่ีกลาววา การคิดดังๆ เปนเทคนิคท่ีนํามาใชเพื่อพัฒนาการคิดของผูเรียน การคิดดังๆ เปนวิธีทําใหความคิดถูกเปดเผย หรือมองเห็นได การคิดดังๆ เกิดขึ้นในขณะท่ีกําลังปฏิบัติการคิดอยู ถาเกิดขึ้นภายหลังเปนการจําส่ิงท่ีคิดได บางคนใหความหมายวาการคิดดังๆ เปนการกระทําของการคิดของคนที่รูตัววาคิดอยางไร และคิดอะไร ฉะน้ัน การคิดดังๆ จึงเปนการบันทึกส่ิงท่ีเกิดขึ้นขณะคิด เพื่อนําออกมาตรวจสอบ และวิเคราะหเพื่อสรุปเปนความรูและกระบวนการ ซึ่งการใชเทคนิคการคิดดังๆ เปนการบรรยาย หรือบอกส่ิงท่ีกําลังปฏิบัติ การในสมองขณะทําการคิดเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ประโยชนของการคิดดังๆ คือการชวยผูเรียนพัฒนา หรือปรับปรุงการคิด การคิดดังๆ เปนวิธีท่ีผูเรียนเปดเผยวิธีคิด โดยบรรยายการคิดทีละข้ันวากําลังคิดอะไร เก่ียวกับอะไร จะคิดแบบใด เหตุใดจึงคิดแบบน้ัน

5.2 กิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เปนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีผูวิจัยมุงสงเสริมใหผูเรียนไดฝกการตระหนักรูเก่ียวกับกระบวน การคิดและการแกปญหาของตน ฝกการกํากับควบคุมตนเองในขณะทํางานหรือในขณะท่ีแกปญหา อันจะสงผลตอความสําเร็จในการแกปญหาของผูเรียนไดเปนอยางดี สอดคลองกับแนวคิดของเบเกอรและบราวน(Baker; & Brown. 1984: 21–24) ท่ีกลาววาการคิดแกปญหาซึ่งเปนทักษะท่ีจะทําใหบุคคลทํางานอยางมี

Page 256: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

248  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

แผน เพราะจะทําใหรูวางานน้ันจะตองประกอบดวยส่ิงใดบาง ท่ีจะทําใหงานน้ันเกิดประสิทธิภาพ และทําใหสถานการณน้ันมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น และสอดคลองกับงานวิจัยของ มยุรี บุญเย่ียม (2545: 96–97) พบวาการเรียนดวยชุดการเรียน เร่ือง ความนาจะเปน โดยใชวิธีการแกปญหา เพื่อสงเสริมความตระหนักในการรูคิด ผลการวิจัยพบวา ความตระหนักในการรูคิดของนักเรียนหลังการศึกษาหลังการทดลองใชชุดการเรียนสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

6. ความมีวินัยในตนเองของนักเรียนหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เร่ืองความนาจะเปน ปรากฏวา นักเรียนมีคะแนนความมีวินัยในตนเองหลังไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) สูงกวากอนไดรับการจัดกิจกรรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 3 ท้ังน้ีอาจเน่ืองมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) เปนการจัดการเรียนรูท่ีมีกิจกรรมใหนักเรียนจัดแบงและวางแผนการทํางานเปนกลุมท่ีตองรับผิดชอบตอตนเอง และหนาท่ีของตน เพื่อแกปญหาทางคณิตศาสตรท่ีกําหนดใหและนําเสนอขอมูลท่ีไดหนาชั้นเรียน ทําใหเกิดความมีวินัยในตนเองไดดี สอดคลองกับ มุสเสน (รัตนา นภารัตน. 2531: 59; อางอิงจาก Mussen. 1975: 335) นักเรียนเกิดพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองดังน้ี มีความเชื่อมั่นในตนเอง นักเรียนประพฤติตามกฎ ระเบียบขอบังคับของกลุมเปนอยางดีทําใหเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรับผิดชอบ ดวยการปฏิบัติตนตามหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายภายในกลุม สามารถควบคุมตนเองได นักเรียนสามารถตัดสินใจกระทําหรือไมกระทําตอกิจกรรมท่ีไดรับกิจกรรมเหลาน้ีสงผลใหนักเรียนไดมีพฤติกรรมท่ีตองควบคุมดูแลตนเองใหมีความรับผิดชอบในหนาท่ีของตนท่ีมีตอกลุม การออก

ความเห็น การเขารวมอภิปราย รวมท้ังรูจักเคารพกติกาในสังคม เชน นักเรียนท่ีมีความสามารถสูงจะใหความชวยเหลือนักเรียนท่ีมีความสามารถตํ่าภายในกลุมของตนเพื่อใหเกิดความสําเร็จอันเปนสวนหน่ึงท่ีทําใหเกิดความมีวินัยในตนเอง ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะทั่วไป 1. ครูผูสอนควรศึกษาความรูเก่ียวกับหลักการ

จัดการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) ใหเขาใจอยางถองแท เพื่อท่ีจะไดนําความรูไปใชในการจัดกาเรียนการสอนใหนักเรียนประสบผลสําเร็จในการแก ปญหาตางๆ ในชั้นเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ครูผูสอนควรจัดบรรยากาศในการเรียน การสอนท่ีเอื้อตอการพัฒนาการเรียนรูความเขาใจแกนักเรียน เพื่อใหนักเรียนเกิดความรูสึกและเจตคติท่ีดีตอการเรียนวิชาคณิตศาสตรและเอื้ออาทรและเขาใจในความแตกตางในความสามารถของแตละบุคคล

3. ครู ผู สอนตองอดทนในการรอฟ งการอภิปรายแสดงความคิดเห็นของนักเรียนเพื่อสงเสริมใหเกิดการส่ือสารอยางเต็มท่ี และใหผูเรียนคนพบขอสรุปดวยตนเอง

4. กิจกรรมบางกิจกรรมตองใชเวลาคอนขาง มาก ครูควรจัดสรรเวลาใหเหมาะสมกับแตละกิจกรรม หรืออาจมอบหมายบางกิจกรรมเปนการบานหรืองานนอกเวลาเรียน

ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป 1. ควรศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) ในเนื้อหาคณิตศาสตรอื่นๆ เชน โจทยปญหาสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว อัตราสวนและรอยละ พื้นท่ีผิวและปริมาตร สถิติ ฯลฯ เพื่อใหนักเรียนเกิดการเชื่อมโยงสิ่งท่ีเรียนกับชีวิตจริง สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

Page 257: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 249

 

2. ควรศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) แบบบูรณาการกับหลักสูตรทองถิ่น โดยสามารถปรับเปล่ียนสถานการณไดตามความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและชุมชนท่ีนักเรียนอาศัยอยู

3. ควรศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบแนะใหรูคิด (CGI) ท่ีมีตอตัวแปรอื่น เชน ทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร ทักษะการส่ือสารทางคณิตศาสตร ความคงทนในการเรียนรูคณิตศาสตร เปนตน

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: วัฒนาพาณิช. จรรยา ภอูุดม. (2544). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนผูสรางความรู. ปริญญานิพนธ

กศ.ด. (คณิตศาสตรศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ชนาธปิ พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิดทฤษฎีและการนาํไปใช. กรุงเทพฯ: แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชัยวิชิต เชียรชนะ. (2548). การพัฒนาแบบวัดความมีวินัยในตนเองของนักเรียนชวงชั้นที่สาม: กรณีศึกษา

จังหวัดนครนายก. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

ชานนท ศรีผองงาม. (2549). การพัฒนาชุดการเรียนแบบแบงกลุมสัมฤทธ์ิ (Stusent Teams Achievement Division : STAD) เพื่อสงเสริมทักษะทางคณิตศาสตรเรื่องจํานวนจรงิของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 4. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

นภาพร วรเนตรสุดาทิพย. (2541). หลักการสอนคณิตศาสตร. คนเมื่อ 12 มีนาคม 2551, http://www.thaiedresearch.org/result/info2.php?id=976.

บพิธ กจิมี. (2551). การใชการเรียนรูแบบบริบทเปนฐานในการจัดกิจกรรมชุมนุมคณิตศาสตรสาํหรับ

นักเรียนชวงชัน้ที่ 3 โรงเรียนบานเมอืงคอง จังหวัดเชยีงใหม. วิทยานิพนธ ศศม. (คณิตศาสตรศึกษา). เชียงใหม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถายเอกสาร.

มยุรี บุญเย่ียม. (2545). การพัฒนาชดุการเรียนเรื่อง “ความนาจะเปน” ของนักศึกษาประดบั ประกาศนียบตัร

วิชาชีพชัน้สูง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

Page 258: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

250  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

รัตนา นภารัตน. (2531). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความมีวินัยในตนเองของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนวิชาสังคมศึกษาโดยใชการสอนแบบบูรณาการกับการสอนตามคูมือแนว การสอนของหนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

วิชัย พาณิชยสวย. (2546). สอนอยางไรใหเด็กเกงโจทยปญหาคณิตศาสตร. กรุงเทพฯ: บริษทัพฒันาคุณภาพ วิชาการ (พว.) จํากัด. วิชัย วงษใหญ. (2542). พลังการเรียนรู: ในกระบวนทัศนใหม (พิมพครั้งที่ 4). นนทบุรี: SR Printing

Partnership. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. (2554). คาสถิติพืน้ฐานคะแนน O-NET มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา

2554. สืบคนเมื่อ 12 กุมภาพนัธ 2555 จาก http://www.niets.or.th/. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2547). การใหเหตุผลในวิชาคณติศาสตรระดับประถม

ศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ: เอส.พี.เอ็น. การพิมพ. สิริพร ทิพยคง. (2545). หลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. Albert, R.L. Antos, J. (2000). Daily journals teaching in the middle school. Mathematics Teaching in Middle

School. 5(8): 526-531. Baker,L.& Brown, A.L. (1984). Handbook of Reading Reading Research. New York: Longman Press. Carpenter, T.P. et al. (1989). Using knowledge of children’ s mathematics thinking in

classroomteaching:Anexperimental study. American Educational Research Journal. 26(4):499-531.

------------. (1999). Children’ s Mathematics: Cognitively Guided Instruction. Portsmouth, NH:Heinemann. Davidson, N. (1990). Small Group Cooperative Learning. In Teaching and Learning Mathematics in The

1990s. 1990 Yearbook. pp. 52-61. Reston, VA: National council of Teachers of Mathematics. Fennema et al. (1993). Using Children’s knowledge in instruction. American Educational Research

Journal. 27(4): 555-583. Forman, L Susan. (2000). Beyound Eight Grade Functional Mathematics for Life and Work. In Learning

Mathematics for a New Century.P. 140. Virginia: National Council of Teacher of Mathematics. Hiebert, E.R. (1997). Introduction to Psychology. NY: Harcourt, Brace and World. Mussen, Paul H. and John Janeay Conger. (1969). Child Development and Personality. New York :

Harper and Row. National Council of Teachers of Mathematics. (2000). Principles and Standards for school Mathematics.

Reston,Virginia : The National Council of Teachers of Mathematics. Inc. Prescott, Daniel A. (1961). Report of conference on child study. Education Technology Pubilcation.

New York: Englewood Cliff.

Page 259: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556 251

 

Rowan, Thomas E.; & Morrow, Lorna J. (1993). Implementing the K-8 Curriculum and Evaluation

Standards Readings Arithmetic Teacher. Reston, Virginia: National Council of Teacher of Mathematics.

Schoenfeld, A.H. (1989). Teaching Mathematics in the Elementary School. New York : Ronal Press, 1967.

Page 260: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

252  วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เมษายน 2556 – กันยายน 2556

กระบวนการพิจารณาบทความ

บทความ ไดรับบทความ เสนอบรรณาธิการพิจารณา

คืนผูเขียน รับ / แกไข

กองบรรณาธิการเสนอรายช่ือผูทรงคุณวุฒิ/สงใหผูทรงคุณวุฒิ

ไดรับผลการพิจารณาคืนจากผูทรงคุณวุฒิ 2 ทาน

ผลการพิจารณาโดยไมแกไข

กองบรรณาธิการตรวจสอบความถูกตองของบทความที่แกไขแลว

ผาน

บรรณาธิการแจงใหเจาของบทความตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง

บรรณาธิการแจงการยืนยันการรับบทความลงตีพิมพใหเจาของบทความ

พิมพเผยแพร

ไมรับตีพิมพ

ไมผาน 2 ทาน

ไมผาน 1 ทาน

พิจารณาผูทรงคุณวุฒิทานที่ 3

เจาของบทความตรวจสอบอีกครั้ง

มีขอแกไข

Page 261: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 7 ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2555 – มีนาคม 2556 253

 

รูปแบบการเขียนบทความในวารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มศว วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มศว จัดทําโดยคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วารสารฯ รับบทความจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยฯ บทความท่ีเสนอมาเพ่ือตีพิมพอาจเขียนเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได แตบทคัดยอตองมีท้ัง 2 ภาษา จัดพิมพปการศึกษาละ 2 ฉบับ เมษายน–กันยายน, ตุลาคม-มีนาคม ผูสนใจสามารถสงตนฉบับไดโดยตรงท่ีบรรณาธิการวารสารวิจัยทางการศึกษา ตามท่ีอยูในฉบับ นโยบายการจัดพิมพ นโยบายและวัตถุประสงคการจัดพิมพวารสารวิจัยทางการศึกษา เพ่ือเปนสื่อกลางการเผยแพรผลงานวิจัย บทความวิชาการ พัฒนาทางสหสาขาวิชา เชน ศึกษาศาสตร สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เปนการบูรณาการนโยบายทางการศึกษา การเรียนการสอนและบริการวิชาการแกชุมชน เปนตน วารสารฯ รับตีพิมพบทความวิจัย และบทความวิชาการ โดยท่ีบทความดังกลาวจะตองไมเคยเสนอ หรือกําลังเสนอตีพิมพในวารสารวิชาการใดมากอน ผลงานท่ีไดรับการพิจารณาตีพิมพในวารสารอาจถูกดัดแปลงแกไขรูปแบบและสํานวนตามท่ีเห็นสมควร ผูประสงคจะนําขอความใดๆ ไปพิมพเผยแพรตอไป ตองไดรับอนุญาตจากผูเขียนตามกฎหมายลิขสิทธิ์ การพิจารณาตนฉบับ

บทความท่ีตีพิมพจะตองไดรับความเห็นชอบจากกองบรรณาธิการ และผานการกลั่นกรองจากผูทรงคุณวุฒิ (Peer Review) จากภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยในสาขาที่เกี่ยวของ อยางนอย 2 ทาน/บทความ กรณีท่ีตองปรับปรุงแกไข จะสงกลับไปยังผูเขียนเพ่ือดําเนินการตอไป การสงบทความเพื่อตีพิมพ บทความที่สงตีพิมพควรมีรายละเอียดดังนี้

1. ชื่อเร่ือง : กระชับ ชัดเจน ครอบคลุมเน้ือหาสําคัญ (ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ) 2. ชื่อผูเขียน : ระบุชื่อ นามสกุล วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด ตําแหนงทางวิชาการ(ถามี) และหนวยงานท่ีสังกัดของผูเขียนครบ

ทุกคน สถานท่ีทํางาน หรือท่ีอยู และเบอรโทรศัพท ท่ีสามารถติดตอได (ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 3. ผูสนใจเสนอบทความตองสงตนฉบับ 3 ชุด พิมพหนาเด่ียว โดยใชกระดาษขาว A4 พิมพดวยอักษร Cordia New ขนาด

16 pt. ความยาวของตนฉบับรวมท้ังตาราง แผนภูมิ และเอกสารอางอิงไมเกิน 20 หนากระดาษพิมพ พรอมกับบันทึกบทความลงในซีดี ตนฉบับของทานจะถูกสงไปใหผูทรงคุณวุฒิในสาขานั้นๆ พิจารณาอยางนอย 2 ทาน ผูเขียนจะไดรับวารสารฉบับท่ีลงพิมพเร่ืองของผูเขียนจํานวน 3 เลม ถาบทความน้ันไดรับพิมพ

4. ตองเปนบทความท่ีไมเคยตีพิมพ หรือกําลังเสนอตีพิมพในวารสารวิชาการใดมากอน 5. กองบรรณาธิการขอใชสิทธิในการนําบทความที่ตีพิมพในวารสารวิจัยทางการศึกษาเผยแพรลงเว็บไซควารสารวิจัย

ทางการศึกษาออนไลน รูปแบบการเขียนบทความในวารสารวิจัยทางการศึกษา รูปแบบการเขียนบทความในวารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มศว ประยุกตมาจากรูปแบบการเขียนบทความงานวิจัยของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.) โดยมีองคประกอบของบทความงานวิจัย ดังน้ี

1. ช่ือเรื่อง : กระชับ ชัดเจน ครอบคลุมเน้ือหาสําคัญ (ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2. ช่ือผูทําวิจัย : ระบุชื่อ นามสกลุ (ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 3. ช่ือที่ปรกึษา : ระบุชื่อ นามสกลุ (ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

Page 262: วารสารวิจัยทางการศ ึกษา ISSN 1905-5536 คณะศึกษาศาสตร ... · วารสารวิจัยทางการศ

254 วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปที่ 7 ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2555 – มีนาคม 2556

- วุฒิการศึกษาขั้นสูงสุด ตําแหนงทางวิชาการ(ถามี) หนวยงานท่ีสังกัด และท่ีอยู ของผูเขียนครบทุกคน

(ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 4. บทคัดยอ: (ภาษาไทย) บทคัดยอตองมีท้ังภาษาไทย และภาษาอังกฤษ เน้ือหาในบทคัดยอควรระบุวัตถุประสงคโดยยอ

ผลการวิจัยและบทสรุปโดยยอ (ไมเกิน 250 คํา) 5. คําสําคัญ : (ภาษาไทย) 6. บทคัดยอ: (ภาษาอังกฤษ) (ไมเกิน 250 คํา) 7. คําสําคัญ :(ภาษาอังกฤษ)

เนื้อหาของบทความวิจัย

8. บทนํา : กลาวถึงเฉพาะภูมิหลังของงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ และวัตถุประสงคการวิจัย 9. กรอบความคิดในการวิจัย (ถามี) 10. วัตถุประสงคของการวิจัย 11. สมมติฐานการวิจัย (ถามี) 12. วิธีดําเนินการวิจัย

- ประชากรและกลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย/กรณีศึกษา (ระบุรายละเอียดของการไดมาและการสุมกลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย/กรณีศึกษา)

- ตัวแปรท่ีศึกษา - วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล - เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย (ระบุคุณภาพของขอมูล) - การวิเคราะหขอมูล

13. สรุปผลการวิจัย : เขียนบรรยาย หรือสรุปเปนขอๆ โดยยอ ถึงผลงานท่ีสําคัญ และตองการเนน 14. อภิปรายผล 15. ขอเสนอแนะ 16. บรรณานุกรม : การอางอิงในบทความใหผูเขียนระบุท่ีมาของขอมูล/เน้ือเร่ืองท่ีอางอิง โดยบอกช่ือ-นามสกุล (หรือ

เฉพาะนามสกุลถาเปนภาษาอังกฤษ) และปท่ีพิมพของเอกสาร (และหนา กรณีอางอิงขอความเฉพาะบางสวน) การอางอิงแบบเชิงอรรถใหใชไดในกรณีท่ีตองการขยายความ สําหรับการเขียนเอกสารอางอิงทายบทความ ใหใชดังตัวอยางตอไปน้ี 1. หนังสือใหเรียงลําดับ ดังน้ี ชื่อผูแตง. (ปท่ีพิมพ). ช่ือเรื่อง. (ฉบับท่ีพิมพ). สถานท่ีพิมพ: ผูจัดพิมพ. อํานวย แสงสวาง. (2544). การจัดการทรัพยากรมนุษย. (พิมพคร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน. 2. วารสารภาษาไทย ใหเรียงลําดับดังน้ี ชื่อตัว ชื่อสกุล. (ป พ.ศ.ท่ีพิมพ). ชื่อเร่ือง. ช่ือหรือช่ือยอวารสาร, ปท่ี (ฉบับท่ี), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน

อรัญญา จิวาลักษณ. (2544). ความฉลาดทางอารมณ: ปจจัยแหงความสําเร็จในการทํางาน.วารสารสมาคมพยาบาลสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 23(1), 42-49. 3. วารสารตางประเทศ ใหเรียงลําดับดังน้ี ชื่อสกุล, ชื่อนํายอ ชื่อตามยอ. (ป ค.ศ.ท่ีพิมพ). ชื่อเร่ือง : ช่ือหรือช่ือยอวารสาร, ปท่ี (ฉบับท่ี), หนาแรก-หนาสุดทาย. ตัวอยางเชน

Hartman,L.M. (1979). The preventive reduction of psychological risk in asymptomatic adolescents. American Journal of Orthopsychiatry, 49(1),121-135. 4. แหลงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ระบบออนไลน (Online) ใหเรียงลําดับดังน้ี

ชื่อผูเขียน. (ปท่ีเผยแพร). ชื่อเร่ือง. แหลงท่ีเขาถึง: [วัน เดือน ป ท่ีเขาถึงเอกสาร] ตัวอยางเชน Oconnor, R.M. (2003). Emotional intelligence and academic success: examining the transition from high

school to university. (Online).Available:http://www.sciencedirect.com. Accessed [25/3/2003]. - ท้ังน้ี การอางอิงบทความควรระบุเปนภาษาอังกฤษ