33
หหหหหหหหหหหหหหหหหหห 6 หหหหหหหหห เเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเ 12 เเเเเเเ เเเเเเ 28 - 30 เ.เ. 48 , 1 - 23 เ.เ. 48 หหหห เเเเเเเเเเ เเเเเ เเเเเเเเเเเ เเเเ เเเเเเเเเเเเเเเ 2 เเเเเเเเเเเ 2 เเเเเ เเเเเ 2548 หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหห เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเ เเเเเเ เเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหห หหหหหหห 1 เเเเเเเ เ เเเ 2.1 , 3.1 เเเเเเเ เ เเเ 5.1 , 6.4 เเเเเเเ เ เเเ 8.1 หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหห หหหหหหห 1 หหหหห หหหหหหห หหหหหหหห

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 · Web viewสาระท 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เข าใจและสามารถบร

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

ชื่อหน่วย เศรษฐศาสตร์ชุมชน เวลา 12 ชั่วโมง วันที่ 28 - 30 พ.ย. 48 , 1 - 23 ธ.ค. 48

วิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548

คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้

การปฏิบัติตนตามหน้าที่ชาวพุทธเช่นการปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัย การทำบุญให้ทานเป็นหน้าที่ของชาวพุทธทุกคนพึงปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสม

หลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักในการดำเนินชีวิตอยู่อย่างพออยู่ พอกิน ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ซึ่งทำให้ชีวิตครอบครัวมีความสุข

การเรียนเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรในการผลิตและบริการ และการบริโภคอย่างฉลาด การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ทำให้ปฏิบัติตนในการผลิตและบริโภคได้อย่างเหมาะสม

บูรณาการกลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นที่ 1

มาตรฐาน ท ข้อ 2.1 , 3.1

มาตรฐาน ค ข้อ 5.1 , 6.4

มาตรฐาน ว ข้อ 8.1

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 ยึดมั่นในศีลธรรม การกระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม และศรัทธาในพระ

พุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ข้อ 1 ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต และการบริโภค การใช้

ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ

เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ข้อ 4 เข้าใจระบบและวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิต

ประจำวันได้

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ของระบบเศรษฐกิจ

และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ข้อ 1 รู้และเข้าใจการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ทั้งการผลิตและการบริการ

ข้อ 2 รู้และเข้าใจการซื้อขาย การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

ข้อ 3 ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัยได้อย่างเหมาะสม

2. บอกคุณค่าของการทำบุญให้ทานได้

3. อธิบายและปฏิบัติตนเป็นพุทธมามกะได้

ข้อ 9 เข้าใจระบบและวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิต

ประจำวันได้

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้

2. สามารถนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ข้อ 10 รู้และเข้าใจการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ทั้งการผลิตและการบริการ

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกปัจจัยในการผลิตการบริการได้

2. อธิบายถึงการมีส่วนร่วมในการผลิตได้

3.บอกความหมายของรายได้และการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ได้

ข้อ 11 รู้และเข้าใจการซื้อขาย การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการจุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกความหมายของการแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการได้

2. เข้าสภาพการซื้อขายในปัจจุบัน และรู้เท่าทันในฐานะผู้ซื้อ

3. เข้าใจความหมายของการค้าเสรี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ความประหยัด

ความสะอาด

ความรู้ทักษะพื้นฐานที่สำคัญ

1. ปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัยอย่างเหมาะสม

2. ปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

3. รู้จักเลือกซื้อสินค้าและบริการ

แผนการจัดการเรียนรู้

กำหนดแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็น 6 แผน

แผนที่ 1 ใช้เวลา 120 นาที

แผนที่ 2 ใช้เวลา 120 นาที

แผนที่ 3 ใช้เวลา120นาที

แผนที่ 4 ใช้เวลา120 นาที

แผนที่ 5 ใช้เวลา120 นาที

แผนที่ 6 ใช้เวลา 120 นาที

รวมทั้งหมด 720 นาที โดยแต่ละแผนการเรียนรู้ ดำเนินการดังนี้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เวลา 120นาที

1. นักเรียนดูภาพพระรัตนตรัยและบอกถึงความหมายและความสำคัญและการปฏิบัติต่อ

พระรัตนตรัย

2. นักเรียนดูภาพการปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัยแล้วฝึกปฏิบัติ

3. นักเรียนเขียนแผนผังความคิดการปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัย

4. นักเรียนและครูช่วยกันเล่านิทานหรือประสบการณ์ในการทำบุญให้ทาน

5. นักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดของการทำบุญให้ทาน

6. นักเรียนวาดภาพการทำบุญให้ทานลงในสมุดแบบฝึกหัด

7. นักเรียนดูภาพการแสดงตนเป็นพุทธมามกะและสนทนาถึงความหมายและการปฏิบัติตน

ของการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ

8. นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาขั้นตอนการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ และฝึกท่องคำนมัสการ

และคำบูชาพระรัตนตรัย แล้วสรุปให้เพื่อนฟังทีละกลุ่ม

9. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป

10. ครูมอบหมายภาระงาน

11. ผู้สอนตรวจผลงานของนักเรียน ดูข้อบกพร่องและแก้ไขให้ถูกต้อง

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เวลา 120 นาที

1. นักเรียนและครูสนทนากันถึงปัจจัยการผลิตสินค้ามีอะไรบ้าง

2. นักเรียนศึกษาปัจจัยการผลิตจากแบบเรียน

3. นักเรียนช่วยกันบอกถึงปัจจัยการผลิตพร้อมทั้งยกตัวอย่างว่ามีอะไรบ้าง

4. นักเรียนและครูสนทนากันถึงเรื่องการมีส่วนร่วมในการผลิต

5. นักเรียนเล่าถึงการมีส่วนร่วมในการผลิตที่นักเรียนมีให้เพื่อน ๆฟังและช่วยกันสรุป

6. นักเรียนและครูสนทนากันถึงการบริโภคที่ดีว่ามีหลักอะไรบ้าง

7. นักเรียนศึกษาหลักการบริโภคที่ดีจากแบบเรียนแล้วช่วยกันสรุป

8. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

9. ครูมอบหมายภาระงาน

10. ผู้สอนตรวจผลงาน สรุปข้อบกพร่องให้นักเรียนแก้ไข

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เวลา 120 นาที

1. นักเรียนและครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับความต้องการของคนเราว่ามีอะไรบ้างใคร

ต้องการอะไรบ้าง และสามารถทำขึ้นมาได้เองหรือไม่

2. นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้แต่ไม่สามารถทำขึ้นใช้เองได้จึงต้องมีการซื้อขาย

แลกเปลี่ยนสินค้าขึ้น

3. นักเรียนศึกษาความหมายของการซื้อขาย

4. นักเรียนยกตัวอย่างการนำเงินมาแลกสินค้าและบริการ

5. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

6. ครูมอบหมายภาระงาน

7. ผู้สอนตรวจผลงาน สรุปข้อบกพร่องให้นักเรียนแก้ไข

แผนการจัดกิจการเรียนรู้ที่ 4 เวลา 120 นาที

1. นักเรียนและครูสนทนาเรื่องรายได้และการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้

2. นักเรียนศึกษาเรื่องรายได้และการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ในหนังสือแบบเรียนสังคม ป.2

3. นักเรียนดูภาพการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้และอธิบายความหมาย

4. นักเรียนเล่าประสบการณ์การหารายได้ให้เพื่อนๆฟังว่าได้มาจากไหน

5. นักเรียนและครูสนทนากันถึงรายได้ของครอบครัวได้มาจากการประกอบอาชีพใดบ้าง

6. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

7. ครูมอบหมายภาระงาน

8. ผู้สอนตรวจผลงาน สรุปผลงานและแก้ไขข้อบกพร่อง

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 เวลา 120 นาที

1. นักเรียนและครูสนทนากันถึงโครงการพระราชดำริ

2. นักเรียนดูภาพในหลวง และภาพโครงการพระราชดำริหลักเศรษฐกิจพอเพียง

3. นักเรียนดูภาพการดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงและสรุปถึงลักษณะนิสัยในการดำรง

ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

4. นักเรียนศึกษาวิธีการของหลักเศรษฐกิจพอเพียง

5. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

6. ครูมอบหมายภาระงาน

7. ผู้สอนตรวจผลงาน สรุปข้อบกพร่องให้นักเรียนแก้ไข

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 เวลา 120 นาที

1. นักเรียนและครูสนทนากันว่าใครซื้อสินค้าหรือบริการบ้างและมีวิธีการซื้ออย่างไร

2. นักเรียนวาดภาพการซื้อสินค้าและบริการแสดงให้เพื่อนๆดู

3. นักเรียนศึกษาเรื่องการค้าเสรีในหนังสือแบบเรียน

4. นักเรียนและครูดูภาพการค้าขายแบบเสรีแล้วช่วยกันอธิบายถึงเรื่องการค้าขายเสรีและ

บอกถึงวิธีการเลือกซื้อสินค้าและบริการ

5. นักเรียนแบ่งกลุ่มแสดงบทบาทสมมติโดยการหาสินค้ามาขายคนละ 1 ชนิด

6. นักเรียนช่วยกันคิดว่ามีสินค้าประเภทใดที่เป็นการค้าขายแบบเสรี

7. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

8. มอบหมายให้ทำภาระงาน

9. ผู้สอนตรวจผลงานและสรุปข้อบกพร่องให้ผู้เรียนได้แก้ไข

กิจกรรมการเรียนรู้ / ภาระงาน

ภาระงานที่ 1 หน้าที่ชาวพุทธ

ภาระงานที่ 2 การใช้ทรัพยากรในการผลิตและบริการและการมีส่วนร่วมในการผลิต

ภาระงานที่ 3 การซื้อขาย การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ

ภาระงานที่ 4 การสร้างรายได้ของตนเอง

ภาระงานที่ 5 เศรษฐกิจพอเพียง

ภาระงานที่ 6 การค้าเสรี

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

1. จากภาระงานที่ 1

10คะแนน

2. จากภาระงานที่ 2

10คะแนน

3. จากภาระงานที่ 3

10คะแนน

4. จากภาระงานที่ 4

10คะแนน

5. จากภาระงานที่ 5

10คะแนน

6. จากภาระงานที่ 6

10คะแนน

7. จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์

10คะแนน

รวม

70 ( 7 ( 10

แผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ต้องประเมิน ประเด็นการประเมิน

หลักฐานการประเมินและวิธีการ

ความรู้1. บอกคุณค่าของการทำบุญให้ทาน

2. บอกวิธีการปฏิบัติตนเป็น

พุทธมามกะได้

3. บอกปัจจัยในการผลิตและบริการได้

4. บอกถึงการมีส่วนร่วมในการผลิตได้

5. บอกความหมายของการซื้อขาย

แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการได้

6. บอกความหมายของรายได้และการ

ทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้

7. บอกวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงได้

8. บอกความหมายของการค้าเสรีได้

ตรวจผลงานจากภาระงาน โดยมีเกณฑ์การประเมิน

ทักษะ / กระบวนการ1. สาระสำคัญของการนำเสนอผลงาน จากภาระงานแต่ละขั้น

2. ผลของงานที่ได้รับมอบหมาย

ผลงานจากภาระงานโดยมีเกณฑ์ประเมิน

คุณธรรม / จริยธรรม1. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธ2. มีความประหยัด

แบบสังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การประเมิน

ประเด็นการประเมิน

ดี ( 3 )

พอใช้ ( 2 )

ปรับปรุง ( 1 )

1. ความรู้

1.1 บอกคุณค่าของการทำบุญให้ทานได้

บอกได้ถูกต้องชัดเจนบอกได้ถูกต้องพอ

สมควร

บอกได้ไม่ชัดเจน

1.2 บอกวิธีการปฏิบัติตนเป็นพุทธมามกะได้

บอกได้ถูกต้องชัดเจน

บอกได้ถูกต้องเป็นบางส่วน

บอกได้ไม่ชัดเจน

1.3 บอกปัจจัยในการผลิตและบริการได้

บอกได้ครบถ้วน

บอกได้เป็นบางส่วน

บอกไม่ค่อยได้

1.4บอกถึงการมีส่วนร่วมในการผลิตได้

บอกได้ถูกต้องชัดเจน

บอกได้พอสมควร

บอกไม่ค่อยได้

เกณฑ์การประเมิน

ประเด็นการประเมิน

ดี ( 3 )

พอใช้ ( 2 )

ปรับปรุง ( 1 )

1.5 บอกความหมายของการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและ

บริการได้

บอกได้ถูกต้องชัดเจน

บอกได้พอสมควร

บอกไม่ค่อยได้

1.6 บอกวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงได้

บอกได้ถูกต้องชัดเจน

บอกได้พอเข้าใจ

บอกไม่ค่อยได้

1.7 บอกความหมายของการค้าเสรีได้

บอกได้ถูกต้องชัดเจน

บอกได้พอเข้าใจ

บอกไม่ค่อยได้

2. ทักษะ / กระบวนการ

2.1 สาระสำคัญของการนำเสนอผลงานจากภาระงานแต่ละชิ้น

- ได้สาระตามที่กำหนด

- ตรงประเด็น

ได้สาระงานบางส่วนแต่ไม่ครบด้าน

ไม่ตรงประเด็น

2.2 ผลของงานที่ได้รับมอบหมาย

ทำงานได้ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมาย

ทำงานได้เกือบครบตามที่ได้รับมอบหมาย

ไม่ส่งงานตามกำหนด

3. คุณธรรม / จริยธรรม

3.1 เห็นคุณค่าและความสำคัญของการปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธ

เห็นคุณค่าและความสำคัญมาก

เห็นคุณค่าและความสำคัญพอสมควร

ไม่ค่อยเห็นคุณค่าและความสำคัญ

3.2 มีความประหยัด

- รู้จักใช้จ่ายด้วยความประหยัด

- ซื้อของที่จำเป็น

- รู้จักซ่อมแซม

ขาด 1 ประเด็น

ขาด 2 ประเด็น

แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ป.2

2. ภาพหน้าที่ชาวพุทธ

3. ภาพสินค้าและการซื้อขาย

การวัดและประเมินผล

1. ตรวจผลงาน

2. ประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

ภาระงานที่ 1 หน้าที่ชาวพุทธผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน

1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อพระรัตนตรัยได้

2. บอกคุณค่าของการทำบุญให้ทานได้

3. อธิบายและปฏิบัติตนเป็นพุทธมามกะได้

เป้าหมายการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนสามารถปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ได้

2. นักเรียนสามารถบอกประโยชน์ของการทำบุญให้ทานได้

3. นักเรียนสามารถบอกวิธีการปฏิบัติตนเป็นพุทธมามกะได้

ขั้นตอนการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนดูภาพการปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัย เช่น การกราบ การไหว้ การทำบุญตักบาตร

เป็นต้น แล้วให้นักเรียนบอกว่าเป็นภาพเกี่ยวกับอะไร

2. นักเรียนดูภาพพระรัตนตรัยแล้วช่วยกันบอกถึงความสำคัญและบอกถึงการปฏิบัติตนว่า

ควรทำอย่างไร

3. นักเรียนเขียนแผนผังความคิดการปฏิบัติตนต่อพระรัตนตรัย

4. นักเรียนออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการทำบุญให้ทานให้เพื่อนฟังแล้วช่วยกันสรุป

ข้อคิด

5. นักเรียนวาดภาพการทำบุญ

6. นักเรียนดูภาพการเป็นพุทธมามกะ แล้วสนทนาเกี่ยวกับความหมายของการแสดงตน

เป็นพุทธมามกะ

7. นักเรียนศึกษาขั้นตอนการแสดงตนเป็นพุทธมามกะและสิ่งที่จำเป็นต้องใช้ในพิธี

8. นักเรียนแบ่งกลุ่มฝึกท่องคำบูชาพระรัตนตรัย คำนมัสการ คำปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ

9. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

10. ครูมอบหมายภาระงาน

11. ครูตรวจการทำกิจกรรม ตรวจความถูกต้อง และแก้ไขปรับปรุง

แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือแบบเรียนสังคม ป .2

2. ภาพพระรัตนตรัยและภาพการปฏิบัติต่อพระรัตนตรัย

3. ตัวอย่างคำบูชาพระรัตนตรัย และการแสดงเป็นพุทธมามกะ

หลักฐานการเรียนรู้

ผลงานนักเรียนในสมุดแบบฝึกหัด

การประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ประเมิน

ผู้ประเมิน

ประเด็นการประเมิน

วิธีการ / เครื่องมือ

1. ผลงาน

ผู้สอน

1. สะอาด

2. เป็นระเบียบ

3. สวยงาม

4. ถูกต้อง

ตรวจผลงาน

2. คุณธรรม / จริยธรรม

ผู้สอน

ความตั้งใจเรียน

สังเกตพฤติกรรม

บันทึกหลังการสอน

ลงชื่อ

ผู้วางแผนการเรียนรู้

( นางสาวขนิษฐา รัตตะมณี)

ลงชื่อ

หัวหน้ากลุ่มสาระ ฯ

( นายจิรวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ )

ลงชื่อ

หัวหน้าฝ่ายวิชาการ

( นางซ่อนกลิ่น ภิรมย์รัตน์ )

ลงชื่อ

ผู้อำนวยการ

( นายชำนาญ เหล่ารักผล )

ภาระงานที่ 2 การใช้ทรัพยากรในการผลิตและบริการ การมีส่วนร่วมในการผลิตและบริโภคผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

รู้และเข้าใจการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ทั้งการผลิตและการบริการ

1. บอกปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการได้

2. อธิบายถึงการมีส่วนร่วมในการผลิตได้

เป้าหมายการปฏิบัติภาระงานของผู้เรียน

1. นักเรียนสามารถบอกปัจจัยการผลิตและบริการได้

2. นักเรียนสามารถอธิบายถึงการมีส่วนร่วมในการผลิตได้

ขั้นตอนการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนและครูสนทนากันถึงการผลิตสินค้า ซึ่งต้องมีปัจจัยในการผลิต นักเรียนคิดว่า

ในการผลิตสินค้าต้องมีปัจจัยอะไรบ้าง

2. นักเรียนศึกษาปัจจัยการผลิตจากแบบเรียนสังคม ป. 2

3. นักเรียนและครูสนทนากันถึงปัจจัยต่าง ๆในการผลิตพร้อมทั้งยกตัวอย่างและ

ดูภาพปัจจัยการผลิต

4. นักเรียนศึกษาการใช้ทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตมาผลิตสินค้า และบริการจากหนังสือ

สังคม ป. 2 และช่วยกันสรุป และทำแบบฝึกหัด

5. นักเรียนและครูสนทนากันถึงการมีส่วนร่วมในการผลิตและบริการ

6. ครูยกตัวอย่างเรื่องเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการผลิตให้นักเรียนฟังแล้วให้นักเรียนเล่า

ประสบการณ์การมีส่วนร่วมในการผลิตให้เพื่อนฟังเช่นการทำอาหารรับประทานในครอบ

ครัวนักเรียนมีส่วนร่วมทำอะไรบ้างทำหน้าที่อะไร เป็นต้น

7. นักเรียนและครูสนทนากันถึงเรื่องการบริโภค ว่ามีอะไรบ้างที่เป็นการบริโภค

8. นักเรียนศึกษาการบริโภคที่ดีจากแบบเรียนสังคม ป.2

9. นักเรียนช่วยกันบอกถึงหลักการบริโภคที่ดี และทำแบบฝึกหัด

10. นักเรียนและครูช่วยกันสรุปบทเรียน

11. ครูตรวจผลงานและแก้ไขปรับปรุง

แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือแบบเรียนสังคม ป .2

2. รูปภาพการผลิตการบริโภคและกระบวนการผลิต

3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต

หลักฐานการเรียนรู้

ผลงานนักเรียนในสมุดแบบฝึกหัด

การประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ประเมิน

ผู้ประเมิน

ประเด็นการประเมิน

วิธีการ / เครื่องมือ

1. ผลงาน

ผู้สอน

1. สะอาด

2. เป็นระเบียบ

3. สวยงาม

4. ถูกต้อง

ตรวจผลงาน

2. คุณธรรม / จริยธรรม

ผู้สอน

· ความตั้งใจเรียน

· ความประหยัด

สังเกตพฤติกรรม

บันทึกหลังการสอน

ลงชื่อ

ผู้วางแผนการเรียนรู้

( นางสาวขนิษฐา รัตตะมณี)

ลงชื่อ

หัวหน้ากลุ่มสาระ ฯ

( นายจิรวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ )

ลงชื่อ

หัวหน้าฝ่ายวิชาการ

( นางซ่อนกลิ่น ภิรมย์รัตน์ )

ลงชื่อ

ผู้อำนวยการ

( นายชำนาญ เหล่ารักผล )

ภาระงานที่ 3 การซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

รู้และเข้าใจการซื้อขาย การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ

1. บอกความหมายของการซื้อ การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการได้

2. เข้าใจสภาพการซื้อขายในปัจจุบันและรู้เท่าทันในฐานะผู้ซื้อ

เป้าหมายการปฏิบัติภาระงานของผู้เรียน

1. นักเรียนบอกความหมายของการซื้อ การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ

2. นักเรียนเข้าใจสภาพการซื้อขายในปัจจุบันและรู้เท่าทันในฐานะผู้ซื้อ

ขั้นตอนการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนและครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับความต้องการของคนเราว่ามีอะไรบ้างใคร

ต้องการอะไรบ้าง และสามารถทำขึ้นมาได้เองหรือไม่ เช่น การรับประทานอาหาร

สวมใส่เสื้อผ้า สมุด ดินสอสำหรับนักเรียน เป็นต้น

2. นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้แต่ไม่สามารถทำขึ้นใช้เองได้จึงต้องมีการซื้อขาย

แลกเปลี่ยนสินค้าขึ้น

3. นักเรียนศึกษาความหมายของการซื้อขายและเรื่องน่ารู้ในการซื้อขายจากหนังสือแบบ

เรียนสังคม ป. 2

4. นักเรียนยกตัวอย่างการนำเงินมาแลกสินค้าและบริการ และบอกหลักในการพิจารณา

เลือกซื้อสินค้าและบริการ

5. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

6. ครูมอบหมายภาระงาน

7. ผู้สอนตรวจผลงาน สรุปข้อบกพร่องให้นักเรียนแก้ไข

แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือแบบเรียนสังคม ป .2

2. ตัวอย่างสินค้า

หลักฐานการเรียนรู้

ผลงานนักเรียนในสมุดแบบฝึกหัด

การประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ประเมิน

ผู้ประเมิน

ประเด็นการประเมิน

วิธีการ / เครื่องมือ

1. ผลงาน

ผู้สอน

1. สะอาด

2. เป็นระเบียบ

3. สวยงาม

4. ถูกต้อง

ตรวจผลงาน

2. คุณธรรม / จริยธรรม

ผู้สอน

ความตั้งใจเรียน

สังเกตพฤติกรรม

บันทึกหลังการสอน

ลงชื่อ

ผู้วางแผนการเรียนรู้

( นางสาวขนิษฐา รัตตะมณี)

ลงชื่อ

หัวหน้ากลุ่มสาระ ฯ

( นายจิรวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ )

ลงชื่อ

หัวหน้าฝ่ายวิชาการ

( นางซ่อนกลิ่น ภิรมย์รัตน์ )

ลงชื่อ

ผู้อำนวยการ

( นายชำนาญ เหล่ารักผล )

ภาระงานที่ 4 การสร้างรายได้ของตนเอง

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ทั้งการผลิตและการบริการ

- บอกความหมายของรายได้และการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ได้

เป้าหมายการปฏิบัติภาระงาน

นักเรียนบอกความหมายของรายได้และการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ได้

ขั้นตอนการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนและครูสนทนาเรื่องรายได้และการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้

2. นักเรียนศึกษาเรื่องรายได้และการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ในหนังสือแบบเรียนสังคม ป.2

3. นักเรียนดูภาพการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้และอธิบายความหมาย

4. นักเรียนเล่าประสบการณ์การหารายได้ให้เพื่อนๆฟังว่าได้มาจากไหน

5. นักเรียนและครูสนทนากันถึงรายได้ของครอบครัวได้มาจากการประกอบอาชีพใดบ้าง

6. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

7. ครูมอบหมายภาระงาน

8. ผู้สอนตรวจผลงาน สรุปผลงานและแก้ไขข้อบกพร่อง

แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือแบบเรียนสังคม ป .2

2. ภาพอาชีพการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้

หลักฐานการเรียนรู้

ผลงานนักเรียนในสมุดแบบฝึกหัด

การประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ประเมิน

ผู้ประเมิน

ประเด็นการประเมิน

วิธีการ / เครื่องมือ

1. ผลงาน

ผู้สอน

1. สะอาด

2. เป็นระเบียบ

3. สวยงาม

4. ถูกต้อง

2. คุณธรรม / จริยธรรม

ผู้สอน

ตั้งใจทำงาน

สังเกตพฤติกรรม

บันทึกหลังการสอน

ลงชื่อ

ผู้วางแผนการเรียนรู้

( นางสาวขนิษฐา รัตตะมณี)

ลงชื่อ

หัวหน้ากลุ่มสาระ ฯ

( นายจิรวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ )

ลงชื่อ

หัวหน้าฝ่ายวิชาการ

( นางซ่อนกลิ่น ภิรมย์รัตน์ )

ลงชื่อ

ผู้อำนวยการ

( นายชำนาญ เหล่ารักผล )

ภาระงานที่ 5 เศรษฐกิจพอเพียงผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

เข้าใจระบบและวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้

1. บอกหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้

2. สามารถนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

เป้าหมายการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนบอกหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้

2. นักเรียนสามารถนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ขั้นตอนการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนและครูสนทนากันถึงโครงการพระราชดำริ ของพระเจ้าอยู่หัวว่ารู้จักหรือไม่

2. นักเรียนดูภาพในหลวง และภาพโครงการพระราชดำริหลักเศรษฐกิจพอเพียง

3. นักเรียนดูภาพการดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงแล้วช่วยกันบอกถึงความหมายของคำ

ว่าเศรษฐกิจพอเพียง

4. นักเรียนศึกษาวิธีการของหลักเศรษฐกิจพอเพียงและสรุปถึงลักษณะนิสัยในการ ดำรง

ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

5. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

6. ครูมอบหมายภาระงาน

7. ผู้สอนตรวจผลงาน สรุปข้อบกพร่องให้นักเรียนแก้ไข

แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือแบบเรียนสังคม ป .2

2. ภาพการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

หลักฐานการเรียนรู้

ผลงานนักเรียนในสมุดแบบฝึกหัด

การประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ประเมิน

ผู้ประเมิน

ประเด็นการประเมิน

วิธีการ / เครื่องมือ

1. ผลงาน

ผู้สอน

1. สะอาด

2. เป็นระเบียบ

3. สวยงาม

4. ถูกต้อง

ตรวจผลงาน

2. คุณธรรม / จริยธรรม

ผู้สอน

- ตั้งใจทำงาน

- ความประหยัด

สังเกตพฤติกรรม

บันทึกหลังการสอน

ลงชื่อ

ผู้วางแผนการเรียนรู้

( นางสาวขนิษฐา รัตตะมณี)

ลงชื่อ

หัวหน้ากลุ่มสาระ ฯ

( นายจิรวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ )

ลงชื่อ

หัวหน้าฝ่ายวิชาการ

( นางซ่อนกลิ่น ภิรมย์รัตน์ )

ลงชื่อ

ผู้อำนวยการ

( นายชำนาญ เหล่ารักผล )

ภาระงานที่ 6 การค้าเสรี

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจการซื้อขาย การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ

- เข้าใจความหมายของการค้าเสรี

เป้าหมายการปฏิบัติภาระงาน

- นักเรียนเข้าใจความหมายของการค้าเสรี

ขั้นตอนการปฏิบัติภาระงาน

1. นักเรียนและครูสนทนากันว่าใครชอบซื้อสินค้าหรือบริการบ้างและมีวิธีการซื้ออย่างไร

2. นักเรียนวาดภาพการเลือกซื้อสินค้าและบริการพร้อมกับแสดงให้เพื่อนๆดู

3. นักเรียนศึกษาเรื่องการค้าเสรีในหนังสือแบบเรียนสังคม ป.2

4. นักเรียนและครูดูภาพการค้าขายแบบเสรีแล้วช่วยกันอธิบายถึงเรื่องการค้าขายเสรีและ

บอกถึงวิธีการเลือกซื้อสินค้า และบริการ

5. นักเรียนแบ่งกลุ่มแสดงบทบาทสมมติโดยการหาสินค้ามาขายคนละ 1 ชนิด

6. นักเรียนช่วยกันคิดว่ามีสินค้าประเภทใดที่เป็นการค้าขายแบบเสรี

7. นักเรียนและครูช่วยกันสรุป

8. มอบหมายให้ทำภาระงาน

9. ผู้สอนตรวจผลงานและสรุปข้อบกพร่องให้ผู้เรียนได้แก้ไข

แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือแบบเรียนสังคม ป .2

2. ภาพการค้าขายแบบเสรี

หลักฐานการเรียนรู้

ผลงานนักเรียนในสมุดแบบฝึกหัด

การประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ประเมิน

ผู้ประเมิน

ประเด็นการประเมิน

วิธีการ / เครื่องมือ

1. ผลงาน

ผู้สอน

1. สะอาด

2. เป็นระเบียบ

3. สวยงาม

4. ถูกต้อง

ตรวจผลงาน

2. คุณธรรม / จริยธรรม

ผู้สอน

ตั้งใจทำงาน

สังเกตพฤติกรรม

บันทึกหลังการสอน

ลงชื่อ

ผู้วางแผนการเรียนรู้

( นางสาวขนิษฐา รัตตะมณี)

ลงชื่อ

หัวหน้ากลุ่มสาระ ฯ

( นายจิรวัฒน์ ศรีสวัสดิ์ )

ลงชื่อ

หัวหน้าฝ่ายวิชาการ

( นางซ่อนกลิ่น ภิรมย์รัตน์ )

ลงชื่อ

ผู้อำนวยการ

( นายชำนาญ เหล่ารักผล )