13
การประชุมวิชาการและนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก” ห น า | 1222 การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุอาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี Prevalence of Dementia in Elderly; Ubon Ratchathani Province ธัญญาสิริ ธันยสวัสดิคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี โทร. 0933299986 email: [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยเชิงพรรณนา เป็น cross sectional study มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะสมอง เสื่อมในผู้สูงอายุ ที่ศึกษาชั้นประถมศึกษาและสูงกว่าชั้นประถมศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่ม ตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ จานวน 155 คน ได้ทาการสอบถามแล้ว พบว่ามีผู้สูงอายุที่ไม่สามารถอ่าน เขียน วาด ภาพ จึงได้คัดออก 16 คน ดังนั้น เหลือกลุ่มผู้สูงอายุที่เข้าทาการวิจัยได้ ตามเงื่อนไขที่กาหนด จานวน 139 คน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสุขภาพกาย และแบบประเมินภาวะสมอง เสื่อม ภาษาไทย (MMSE-Thai version 2002) ของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ ความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ เป็น เพศหญิง (ร้อยละ 59.0) อายุอยู่ในช่วงวัยต้น (60-70ปี) (ร้อยละ 46.8) สถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ 51.8) การศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 53.2) ไม่ได้ประกอบอาชีพ (ร้อยละ 51.1) เข้าร่วมกิจกรรมหมู่บ้าน (ร้อยละ 52.5) ส่วนใหญ่เป็นโรค ความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 33.1) พบว่า ผู้สูงอายุไม่มีภาวะสมองเสื่อม (ร้อยละ 68.3) สงสัยมีภาวะสมองเสื่อม ในกลุ่มที่มีการศึกษาชั้นประถมศึกษาเมื่อเทียบกับมาตรฐาน (MMSE-Thai version 2002) โดยใช้จุดตัดที<17 คะแนน (ร้อยละ 12.8) กลุ่มที่มีการศึกษาสูงกว่าประถมศึกษา จุดตัดที่ <22 คะแนน (ร้อยละ 31.8) สอดคล้องกับการศึกษาของขวัญเรือน ก๋าวิตู (2556) และลลิตา พนานคร (2558) พบว่า ปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ ไม่ได้เรียนหนังสือ ผลที่ได้จากการศึกษา สามารถ นาไปวางแผนการให้ความรู้การป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ และสนับสนุนให้ความรู้ ในการดูแล ผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยต่อไป คาสาคัญ: ความชุก, ภาวะสมองเสื่อม, ผู้สูงอายุ Abstract Descriptive research is cross sectional Study objective is to study the prevalence of dementia in elderly people with elementary and higher education, Amphur Muang, Ubon Ratchathani province Sample of the elderly, the number 155 people made inquiries and found that seniors are not able to read, write, draw pictures, so have removed 16 people. So a group of the elderly in terms of research. The total number of 139 people, which is a tool used in the research are general information. Health data and assessment of dementia language Thailand (MMSE-Thai version 2002) Institute of medicine seniors. Department of medicine Data analysis using frequency and percentage consequences, research found that the General information of the mostly female (59.0 percent). Age is in the range of ages (60- 70 years) (46.8 percent), marital status (51.8 percent), elementary education (53.2 percent) did not have a career (51.1 percent) participate in the village (52.5 percent). Mostly high blood pressure. (33.1 percent) It found that the elderly do not have dementia (68.3 percent)

การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1222

การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุอ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี Prevalence of Dementia in Elderly; Ubon Ratchathani Province

ธัญญาสิริ ธันยสวัสดิ์

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชธานี โทร. 0933299986 email: [email protected]

บทคัดย่อ การวิจัยเชิงพรรณนา เป็น cross sectional study มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความชุกของภาวะสมอง

เสื่อมในผู้สูงอายุ ที่ศึกษาชั้นประถมศึกษาและสูงกว่าชั้นประถมศึกษา อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ จ านวน 155 คน ได้ท าการสอบถามแล้ว พบว่ามีผู้สูงอายุที่ไม่สามารถอ่าน เขียน วาดภาพ จึงได้คัดออก 16 คน ดังนั้น เหลือกลุ่มผู้สูงอายุที่เข้าท าการวิจัยได้ ตามเงื่อนไขท่ีก าหนด จ านวน 139 คน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสุขภาพกาย และแบบประเมินภาวะสมองเสื่อม ภาษาไทย (MMSE-Thai version 2002) ของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ เป็น เพศหญิง (ร้อยละ 59.0) อายุอยู่ในช่วงวัยต้น (60-70ปี) (ร้อยละ 46.8) สถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ 51.8) การศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 53.2) ไม่ได้ประกอบอาชีพ (ร้อยละ 51.1) เข้าร่วมกิจกรรมหมู่บ้าน (ร้อยละ 52.5) ส่วนใหญ่เป็นโรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 33.1) พบว่า ผู้สูงอายุไม่มีภาวะสมองเสื่อม (ร้อยละ 68.3) สงสัยมีภาวะสมองเสื่อมในกลุ่มที่มีการศึกษาชั้นประถมศึกษาเมื่อเทียบกับมาตรฐาน (MMSE-Thai version 2002) โดยใช้จุดตัดที่ <17 คะแนน (ร้อยละ 12.8) กลุ่มที่มีการศึกษาสูงกว่าประถมศึกษา จุดตัดที่ <22 คะแนน (ร้อยละ 31.8) สอดคล้องกับการศึกษาของขวัญเรือน ก๋าวิตู (2556) และลลิตา พนานคร (2558) พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ ไม่ได้เรียนหนังสือ ผลที่ได้จากการศึกษา สามารถน าไปวางแผนการให้ความรู้การป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ และสนับสนุนให้ความรู้ ในการดูแลผู้สูงอายุแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยต่อไป ค าส าคัญ: ความชุก, ภาวะสมองเสื่อม, ผู้สูงอายุ Abstract

Descriptive research is cross sectional Study objective is to study the prevalence of dementia in elderly people with elementary and higher education, Amphur Muang, Ubon Ratchathani province Sample of the elderly, the number 155 people made inquiries and found that seniors are not able to read, write, draw pictures, so have removed 16 people. So a group of the elderly in terms of research. The total number of 139 people, which is a tool used in the research are general information. Health data and assessment of dementia language Thailand (MMSE-Thai version 2002) Institute of medicine seniors. Department of medicine Data analysis using frequency and percentage consequences, research found that the General information of the mostly female (59.0 percent). Age is in the range of ages (60-70 years) (46.8 percent), marital status (51.8 percent), elementary education (53.2 percent) did not have a career (51.1 percent) participate in the village (52.5 percent) . Mostly high blood pressure. (33.1 percent) It found that the elderly do not have dementia (68.3 percent)

Page 2: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1223

doubt have dementia in groups with elementary compared to standard (MMSE-Thai version 2002) using the intersection < 17 points ( 12. 8 percent) groups with higher education, elementary education. Dot hack < 22 points (31.8 percent) . Consistent with the study of Kwanruen Kawitu (2556) and Lalita. Pana Nakhon (2558) found that factors related to the occurrence of dementia in the elderly is not studying. The results from this study can contribute to planning, education, prevention of dementia in the elderly, and encourage the knowledge in the care of the elderly volunteer public health hospitalizations village following correctly and safety. Keywords: prevalence, dementia, elderly บทน า

ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรวัยสูงอายุในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาเป็นไปตามการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรโลก มีจ านวนและสัดส่วนผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้น (WorldPopulation Ageing, 2009) จากแนวโน้มของกลุ่มผู้สูงอายุที่เพ่ิมมากขึ้นนี้จะน ามาซึ่งภาวะเสี่ยง และปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบ รวมถึงภาวะสมองเสื่อมเป็นซึ่งโรคหนึ่งที่พบในผู้สูงอายุ ส านักงานสถิติแห่งชาติ ด าเนินการส ารวจข้อมูลด้านประชากรสูงอายุในประเทศไทยครั้งแรกในปี 2537 และครั้งนี้เป็นการส ารวจครั้งที่ 5 เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม ภาวะสุขภาพ การเกื้อหนุนตลอดจนลักษณะการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ โดยท าการเก็บข้อมูลจากครัวเรือนตัวอย่างจ านวน 83,880 ครัวเรือนในทุกจังหวัดทั่วประเทศทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลในเดือนมิถุนายน-สิงหาคม พ.ศ.2557 พบว่า โดยในปี 2537 มีจ านวนผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งประเทศ และเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 9.4 ร้อยละ 10.7 ร้อยละ 12.2 ในปี 2545 2550 2554 ตามล าดับ

ผลการส ารวจครั้งนี้ พบว่า มีจ านวนผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 14.9 ของประชากรทั้งหมด (ชายร้อยละ 13.8 และหญิงร้อยละ 16.1) จากจ านวนผู้สูงอายุทั้งสิ้น 10,014,705 คน เป็นชาย4,514,815 และหญิง 5,499,890 คน หรือคิดเป็นชายร้อยละ 45.1 และหญิงร้อยละ 54.9 ของผู้สูงอายุทั้งหมด และยังพบอีกว่า ผู้สู งอายุ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ (ร้อยละ17.0) เป็นอันดับ2 ของประเทศไทย(ส านักงานสถิติแห่งชาติ,2557) และจังหวัดอุบลราชธานี มีจ านวนผู้สูงอายุ 273,687 คน เป็นอันดับที่4 ของประเทศไทย และในกลุ่มผู้สูงอายุมีรายงานขององค์การโรคอัลไซเมอร์ระหว่างประเทศ (Alzheimer’s Disease International : ADI) ปี พ.ศ.2553 ระบุว่ามีผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมทั่วโลกมากกว่า 35 ล้านคนอยู่ในเอเชียอาคเนย์ 2.4 ล้านคน ในประเทศไทยรายงานการส ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 โดยส านักงานส ารวจสุขภาพประชาชนไทยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ซึ่งท าการส ารวจในประชากรจ านวนทั้งสิ้น 21,960 คน มีผู้ที่อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป จ านวนประมาณ 44% หรือ 9,720 คน พบว่าผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป มีภาวะสมองเสื่อม 12.4% โดยในผู้ชายพบ 9.8% ขณะที่ผู้หญิงอยู่ที่ 15.1% แบ่งตามช่วงอายุ 60 - 69 ปี อยู่ที่ 7.1% ช่วงอายุ 70-79 ปีอยู่ที่ 14.7% และอายุ 80 ปีขึ้นไปพบสูงถึง32.5% ขณะที่ข้อมูลผลการส ารวจประชากรสูงอายุ ปี พ.ศ. 2553 จากส านักงานสถิติแห่งชาติสัดส่วนผู้สูงอายุอยู่ที่ 12% ของประชากรไทย และประมาณการว่าจะเพ่ิมขึ้นถึง 17% ในปี2563 ทั้งนี้โดยประมาณของผู้ป่วยสมองเสื่อมทั้งประเทศมีอย่างน้อย 3 แสนคน และ ผู้ป่วยเหล่านี้ รวมทั้งญาติและผู้ดูแล ไม่ทราบว่าป่วยเป็นสมองเสื่อม ในปี พ.ศ. 2555 ต่อมาได้ท าการศึกษาพบว่าโรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุส าคัญของกลุ่มอาการสมองเสื่อม โดยพบได้ถึงร้อย

Page 3: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1224

ละ 60 - 70 โดยทุก ๆ 68 วินาที จะมีผู้ป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์เพ่ิมขึ้นหนึ่งรายในโลก คาดว่า ทั่วโลกมีผู้ป่วยกว่า 50 ล้านคนในผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 85 ปี ในปี 2558 มีผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ประมาณ 600,000 คน และคาดว่า ในปี 2573 จ านวนจะเพ่ิมสูงขึ้นเป็น 1,117,000 คน (นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ) จากงานวิจัย เรื่อง การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จังหวัดอุบลราชธานี พบ ร้อยละ22 (ณัชชาตระการจันทร์,2557) จากข้อมูลการส ารวจประชากรผู้สูงอายุ ตามเขตการปกครองโดย รพ.สต. ชุมชนหนองแก หมู่ 3 ปี พ.ศ. 2560 พบว่า มีผู้สูงอายุทั้งหมด 5276 คน คิดเป็นร้อยละ 15.07 เพศชาย 2,354 คน(ร้อยละ1.33)เพศหญิง 2,922 (ร้อยละ2.54) และจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคสมองเสื่อมมากที่สุด คือ ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคหลอดเลือดสมอง ดังนั้นผู้วิจัยและคณะ ได้เล็งเห็นความส าคัญของปัญหาและผลกระทบดังกล่าว จึงได้ท าการศึกษา ความชุกภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุของชุมชนหนองแก หมู่ 3 ต าบลแจระแม อ าเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี เพ่ือส่งเสริมสุขภาพและป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุต่อไป

วิธีการด าเนินวิจัย 1.การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก าหนดเครื่องมือจากเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย

1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา การ ประกอบอาชีพหลัก/การท างาน และการเข้าร่วมกิจกรรมในหมู่บ้าน

2) ข้อมูลด้านสุขภาพกายผู้สูงอายุ ได้แก่ น้ าหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย(BMI) ความดันโลหิต ความสามารถในการมองเห็น ความสามารถในการได้ยิน และโรคประจ าตัว

3) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับ ภาษาไทย (MMSE-Thai 2002) ของสถาบันเวชศาสตร์ ผู้สูงอายุกรมการแด้พทย์ แบบทดสอบนี้เป็นแบบคัดกรอง การตรวจหาความบกพร่องในการท างานของสมอง เกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive impairment) ในด้านต่างๆ ได้แก่ การรับรู้เวลา สถานที่ (Orientation to time and place) ความจ า (Registration and memory) ความ ตั้ ง ใจและการค านวณ (Attention and calculation) ความเข้าใจทางภาษาและการแสดงออกทางภาษารวมถึง การจ าภาพโครงสร้างด้วยตา (Visual constructional) ประกอบด้วยค าถาม 19 ข้อ การแปลผลคะแนนต้องพิจารณาระดับการศึกษาของผู้สูงอายุ ในกรณีที่ไม่ได้ เรียนหนังสือ (อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้) ผู้สูงอายุที่ปกติจะ มีคะแนนรวมมากกว่า 14 คะแนน จากคะแนนเต็ม 23 คะแนน กรณีที่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา ผู้สูงอายุที่ปกติจะมีคะแนนรวมมากกว่า 17 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน และกรณีที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าประถมศึกษา ผู้สูงอายุที่ปกติจะมี คะแนนรวมมากกว่า 22 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน (สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ, 2548)

2.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1ประชากร (Population) ประชากรในการศึกษาคือ กลุ่มผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านหนองแก หมู่ที่ 3 ต าบลแจระแม อ าเภอเมือง

จังหวัดอุบลราชธานี จ านวน 260 คน 2.2 ขนาดตัวอย่าง (Simple Size) การค านวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของเครซี่และมอร์แกรน (krejcie and morgan, 1970)

จ านวนประชากรที่ใช้ในการวิจัยมีจ านวน 260 คน ยอมรับให้เกิดความคลาดเคลื่อนจากตัวอย่างได้ 5% ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการเท่ากับ

Page 4: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1225

X2NP(1-P) e2(N-1)+X2P(1-P)

3.841x260x0.5(1-0.5) 0.052x(260-1)+3.841x0.5(1-0.5)

499.33x0.5 0.0025x259+0.96025

249.665 1.60775

n= = 155 คน

3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.1 ใช้แบบสอบถาม ทั้งหมด 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่1.ข้อมูลส่วนบุคคล จ านวน 6 ข้ อ ส่วนที่2. ข้อมูลสุขภาพกายผู้สูงอายุ จ านวน 6 ข้อ ส่วนที่2. แบบประเมินภาวะสมองสื่เอม MMSE-2002 จ านวน 19 ข้อ เกณฑ์วัดระดับความรุนแรงของสมองเสื่อม เต็ม 30 คะแนน ประกอบด้วย Orientation for time 5 คะแนน Orientation for place 5 คะแนน Registration 3 คะแนน Attention / calculation 5 คะแนนRecall 3 คะแนน Naming 2 คะแนน Repetition 1 คะแนน Verbal command 3 คะแนน Written command 1 คะแนน Writing 1 คะแนน และVisuoconstruction skill 1 คะแนน

4. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 4.1น าแบบประเมินทั้ง2 ส่วน ไปทดลองสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง ผู้สูงอายุ จ านวน 30 คน ที่ชุมชนหนองกินเพลที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกัน และน ามาหาค่าความเท่ียง และความตรงของเนื้อหา 4.2 น าแบบประเมินที่ปรับแก้ไขแล้ว น าไปใช้จริงในกลุ่มผู้สูงอายุ ของชุมชนแห่งหนึ่ง ต าบล หนองแกอ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

5. การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยให้ความส าคัญกับการปกป้องและคุ้มครองการตอบแบบสอบถาม ของกลุ่มตัวอย่างโดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยความสมัครใจ ภายหลังที่ได้รับการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย เวลาที่ใช้ในการตอบแบบสอบถาม รวมถึงชี้แจงอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ว่า การตอบแบบสอบถาม ของการวิจัยในครั้งนี้ ไม่มีผลใดๆ ต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามไม่ต้องใส่ชื่อและ นามสกุล ผลการวิจัยจะน าเสนอในภาพรวม เพ่ือน าไปใช้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการด าเนินงานสุขภาพประชาชน หากไม่ประสงค์จะตอบแบบสอบถามสามารถที่ จะยุติการให้ข้อมูลได้ตลอดเวลา

6. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ประสานรพ.สต ประจ าต าบลหนองแก อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อขออนุมัติจัดเก็บข้อมูล 2.ประสานผู้ใหญ่บ้านและ ประธาน อสม.เพ่ือชี้แจงรายละเอียด ในการใช้แบบประเมินภาวะสมองเสื่อม และเกณฑ์การคัดเลือกกลุ่มผู้สูงอายุในการท าวิจัยครั้งนี้ 3. ท าการเก็บข้อมูลโดยใช้เป็นแบบสอบถาม 2 ชุด

Page 5: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1226

ส่วนที่1. แบบสอบถาม ส่วนบุคคล จ านวน 6 ข้อ ส่วนที่2. แบบสอบถามสุขภาพกายผู้สูงอายุ จ านวน 6 ข้อ ชุดที่2.เป็น แบบประเมิน MMSE-Thai 2002 จ านวน 19 ข้อ

4.ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล ตั้งแต่ วัน พฤหัสที่ 5 – 16 เมษายน2561 7. วิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ส าเร็จรูปทางสถิติวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ผลการวิจัย

การวิจัยเชิงพรรณนา แบบตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุที่มีการศึกษาชั้นประถมศึกษาและสูงกว่าชั้นประถมศึกษาอ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ จ านวน 139 คน โดยวิธีสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นสอบถามข้อมูลทั่วไปและแบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้น ฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai version 2002) ของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถ่ี ร้อยละ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อม ซึ่งได้น าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1 ข้อมูลคุณลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ ในอ าเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี ส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง จ านวน 82คน (ร้อยละ59.0) เพศชาย จ านวน 57 คน (ร้อยละ 41.0) มีอายุ60 – 69 ปี จ านวน 65 คน (ร้อยละ 46.8) อายุ 70 – 79ปี จ านวน 55 คน (ร้อยละ39.6) และอายุมากกว่า80 ปี จ านวน 19 คน (ร้อยละ 13.7) สถานภาพ โสดจ านวน2 คน (ร้อยละ1.4) คู่ จ านวน 72 คน (ร้อยละ 51.8) หม้าย จ านวน 64คน (ร้อยละ 46.0) แยก จ านวน 1คน (ร้อยละ 0.7)การศึกษาประถมศึกษา จ านวน 117 คน(ร้อยละ 84.17) สูงกว่าประถมศึกษา จ านวน22คน(ร้อยละ15.83) อาชีพ/การท างานปัจจุบัน ไม่ได้ท างาน จ านวน 71 คน (ร้อยละ 51.1) ท างานบ้าน จ านวน 12คน (ร้อยละ8.6) ค้าขาย จ านวน 33 (คนร้อยละ 23.7) เกษตรกรรม จ านวน 13คน (ร้อยละ 9.4) ข้าราชการบ านาญ จ านวน 10 คน (ร้อยละ 7.2) อ่ืนๆ จ านวน 21คน( ร้อยละ15.1) การเข้าร่วมกิจกรรม จ านวน 73 คน (ร้อยละ 52.5) ไม่ได้เข้าร่วม 65 คน ร้อยละ( 46.8) ตามตารางท่ี1.

Page 6: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1227

ตารางที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n = 139)

2. ข้อมูลสุขภาพของผู้สูงอายุ ด้านน้ าหนัก พบว่าผู้สุงอายุ ทีมีน้ าหนัก ระหว่าง 51 -60 กก. จ านวน 57 คน ร้อยละ 41.0 61 -70 กก.จ านวน 41 คน ร้อยละ 29.5 41-50 กก.จ านวน 30 คน ร้อยละ 21.6 71-80 กก.จ านวน 6 คน ร้อยละ 4.3 และ น้ าหนักน้อยกว่า 40กก. จ านวน 5 คน ร้อยละ 3.6 ตามตารางท่ี 2.

ตารางที ่2. ข้อมูลสุขภาพด้านน้ าหนักในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n=139)

ด้านดัชนีมวลกาย (BMI)พบว่าผู้สูงอายุมีดัชนีมวลกาย ที่มีค่าระหว่าง18.5 – 22.9 กก./ตรม.จ านวน 73 คน ร้อยละ 52.5 อยู่ในเกณฑ์ปกติ 23-24.9 จ านวน 43 คน ร้อยละ 30.9 อ้วนระดับ1. 25-29.9 จ านวน 15คน ร้อยละ 10.8 อ้วนระดับ2 และ น้อยกว่า 18.5 จ านวน 8 คน ร้อยละ 5.8 น้อยกว่ามาตรฐาน ตามตารางที่ 3.

57

8265

55

192

72 64

1

117

22

71

12

4159

46.8 39.6

13.71.4

51.8 46

0.7

84.17

15.83

51.1

8.6

020406080

100120140

เพศ

ชาย หญิง

อายุ

60-

69ปี

70-7

9ปี

>80

ปี

สถาน

ภาพ

โสด คู่

หม้าย

หย่า/

แยก

การศ

ึกษา -

ระดับ

สูง…

อาชีพ

/การ

ท างา

น …

ไม่ได

…้

ท างา

น…

ข้อมลูทัว่ไป

จ านวน ร้อยละ

5

30

57

41

63.6

21.6

41

29.5

4.3

0

10

20

30

40

50

60

< 40 กก. 41- 50 กก. 51 – 60 กก. 61 - 70 กก. 71 – 80 กก.

ข้อมูลน าหนักตัว

จ านวน ร้อยละ

Page 7: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1228

ตารางที่ 3. ข้อมูลสุขภาพด้านดัชนีมวลกาย ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n=139)

ด้านความดันโลหิต พบว่าผู้สูงอายุมีค่าความดันโลหิต ที่น้อยกว่า 120/80 มม.ปรอท จ านวน 42 คน

ร้อยละ 30.2 อยู่ในเกณฑ์ปกติ 120/80 – 129/84 มม. จ านวน37 คน ร้อยละ 26.6 ค่อนข้างสูง 130/85 – 139/89 มีจ านวน 24 คนร้อยละ17.3 อยู่ในระดับสูงกว่าปกติ 140/90 – 159/99 มีจ านวน17 คน ร้อยละ 12.2 เป็นความดันโลหิตสูงระดับ1 และมากกว่า 160/100-109 จ านวน 3 คน ร้อยละ 2.2 เป็นความดันโลหิตสูงระดับ2 และผู้สูงอายุไม่ได้รับที่การวัดความดันโลหิต จ านวน 16 คน ร้อยละ 11.5 ท่าที่ใช้ในการวัดความดันโลหิต ส่วนใหญ่ เป็นท่านั่ง จ านวน 121 คน ร้อยละ 87.05 ท่านอน จ านวน 1 ราย ร้อยละ 0.7 ตามตาราง ที่4.

ตารางที ่4. ข้อมูลสุขภาพด้านความดันโลหิต ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n=139)

ด้านความสามารถในการมองเห็นพบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความสามารถในการมองเห็น จ านวน 116 คน ร้อยละ 86.3 มองเห็นแต่ไม่ชัดเจน จ านวน 23 ราย ร้อยละ 16.5 ตามตารางท่ี5.

8

73

43

155.8

52.5

30.9

10.8

0

20

40

60

80

< 18.5 18.5 – 22.9 23 – 24.9 25 – 29.9

ดัชนีมวลกาย

จ านวน ร้อยละ

42 3724 17

316

121

1

30.2 26.6 17.3 12.22.2 11.5

87.05

0.70

20406080

100120140

ข้อมลูความดนัโลหิต

จ ำนวน/คน รอ้ยละ

Page 8: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1229

ตารางที5่. ข้อมูลสุขภาพด้านความสามารถในการมองเห็น ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n=139)

ด้านความสามารถในการได้ยิน พบว่าผู้สูงอายุมีความสามารถในการได้ยิน จ านวน 108 คน ร้อยละ 77.7 และได้ยินไม่ชัดเจน จ านวน31คนร้อยละ22.3 ตามตารางท่ี6. ตารางที ่6. ข้อมูลสุขภาพด้านความสามารถในการได้ยิน ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n=139)

ด้านโรคประจ าตัว พบว่าผู้สูงอายุมีโรคความดันโลหิตสูง จ านวน 46 คน (ร้อยละ33.1) เบาหวาน จ านวน 25คน (ร้อยละ 18.0) โรคไต จ านวน 2 คน (ร้อยละ 1.4) ข้ออักเสบ ข้อเสื่อม จ านวน 6 คน (ร้อยละ 4.3) โรคอ่ืนๆ ได้แก่โรคโลหิตจาง โรคผิวหนัง กระดุกพรุน จ านวน 21 คน (ร้อยละ 15.1) และไม่มีโรคประจ าตัว จ านวน 39 คน (ร้อยละ 28.8) ตามตารางท่ี 7.

116

83.5

23 16.5

0

20

40

60

80

100

120

140

จ านวน รอ้ยละ

ความสามารถในการมองเห็น

ผูส้งูอำยุมองเหน็ไดช้ดั ผูส้งูอำยุมองเหน็แต่ไม่ชดั

10877.7

31 22.3

0

50

100

150

จ ำนวน รอ้ยละ

ความสามารถในการได้ยิน

ผูส้งูอำยุไดย้นิชดัเจน ผูส้งูอำยุไดย้นิไม่ชดั

Page 9: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1230

ตารางที่ 7. ข้อมูลสุขภาพด้านโรคประจ าตัว ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n=139)

ข้อมูลผลการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมแบบประเมินฉบับภาษาไทย(MMSE -Thai 2002) พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ตอบถูก ในเรื่อง รู้วันเวลา ปัจจุบัน จ านวน134 คน(ร้อยละ96.4)รู้สถานที่

ปัจจุบันจ านวน 138คน(ร้อยละ99.3) ความจ า 3 อย่าง จ านวน 132คน(ร้อยละ 95.0) การสื่อสารภาษา จ านวน 113 คน(ร้อยละ81.3) และส่วนใหญ่ตอบผิดในเรื่องการคิดค านวณเลข จ านวน 83คน(ร้อยละ59.7) และความจ าระยะสั้น (นึกออก) จ านวน 60คน(ร้อยละ43.2) ตามตารางท่ี 8. ตารางที่ 8. ข้อมูลผลการคัดกรองภาวะสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ (n=139)

ค่าคะแนนที่สงสัยภาวะสมองเสื่อม กับระดับการศึกษา ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม พบว่า ผู้สูงอายุที่มีการศึกษาชั้นประถมศึกษา อยู่ในระดับคะแนนจุดตัด น้อยกว่าหรือเท่ากับ17คะแนน จ านวน 20คน(ร้อยละ14.4) และผู้สูงอายุที่มีการศึกษาชั้นสูงกว่าชั้นประถมศึกษา อยู่ในระดับคะแนนจุดตัดน้อยกว่าหรือเท่ากับ 22คะแนน จ านวน 78 คน (ร้อยละ56.1) ตามตารางที่ 9.

46

256

213933.1

184.3

15.128.8

0

20

40

60

ข้อมลูโรคประจ าตวั

จ านวน รอ้ยละ

134 138 132

5686

1137996.4 99.3 95

40.361.9

81.356.8

020406080

100120140160

ผลการประเมินภาวะสมองเส่ือม

ตอบถกู จ านวน ตอบถกู รอ้ยละ

Page 10: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1231

ตารางที่9. ข้อมูลค่าคะแนนที่สงสัยภาวะสมองเสื่อม กับระดับการศึกษา ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อม (n=139)

สรุปและอภิปราย จากการศึกษา ผลการประเมินภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ในชุมชนแห่งหนึ่ง ต าบลหนองแก อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1.พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง จ านวน 82คน (ร้อยละ59.0) มีอายุ 60 – 69 ปี จ านวน 65 คน (ร้อยละ 46.8) สถานภาพ คู่ จ านวน 72 คน (ร้อยละ 51.8) และหม้าย จ านวน 64คน (ร้อยละ 46.0) การศึกษาระดับประถมศึกษา จ านวน 117 คน (ร้อยละ 84.17) ระดับสูงกว่าประถมศึกษาจ านวน22 คน (ร้อยละ 15.83) มีอาชีพและการท างานปัจจุบัน ค้าขายจ านวน 33คน(ร้อยละ 23.7) ไม่ได้ท างาน จ านวน 71 คน (ร้อยละ 51.1) และ การเข้าร่วมกิจกรรม จ านวน 73 คน (ร้อยละ 52.5) 2.ข้อมูลสุขภาพกายของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุมีน้ าหนัก ระหว่าง 51 -60 กก. จ านวน 57 คน (ร้อยละ 41.0) รองลงมามีน้ าหนัก 61 -70 กก.จ านวน 41คน (ร้อยละ29.5) ด้าน ดัชนีมวลกาย 18.5 – 22.9 กก./ตรม.จ านวน 73 คน (ร้อยละ 52.5) อยู่ในเกณฑ์ปกติ และ ผู้สูงอายุ มีดัชนีมวลกาย 23-24.9 จ านวน 43 คน (ร้อยละ 30.9) อยู่ในเกณฑ์อ้วนระดับ1 ด้านความดันโลหิต 120/80มม.ปรอท จ านวน 42 (ร้อยละ 30.2) เกณฑ ์ปกติ และผู้มีความดันโลหิต 120/80 – 129/84 มม. จ านวน 37 คน (ร้อยละ 26.6) ในเกณฑ์ ค่อนข้างสูง ด้านความสามารถในการมองเห็น พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความสามารถในการมองเห็นมากสุด จ านวน 116 คน (ร้อยละ 86.3) และด้านความสามารถในการได้ยิน พบว่า ผู้สูงอายุมีความสามารถในการได้ยิน จ านวน 108 คน (ร้อยละ 77.7) ด้านโรค ผู้สูงอายุมีโรคความดันโลหิตสูง จ านวน 46 คน (ร้อยละ33.1) 3.ข้อมูลประเมินภาวะสมองเสื่อมของMMSE -Thai 2002 พบว่า ผู้สูงอายุตอบถูกในเรื่องรู้วันเวลา ปัจจุบัน จ านวน 134 คน (ร้อยละ 96.4) รู้สถานที่ปัจจุบัน จ านวน 138 คน (ร้อยละ 99.3) ความจ า 3 อย่าง ( ดอกไม้ แม่น้ า รถไฟ) จ านวน 132 คน (ร้อยละ 95.0) และการสื่อสารภาษา จ านวน 113 คน (ร้อยละ81.3) ตามล าดับ ในขณะเดียวกัน ผู้สูงอายุตอบผิดมากสุด ในเรื่อง การค านวณเลข จ านวน 83 คน (ร้อยละ 59.7)

15 12.87

31.82

05

101520253035

จ านวน รอ้ยละ จ านวน รอ้ยละ

≤ 17 ≤ 22

คะแนนจดุตดั

ค่าคะแนนท่ีสงสยัภาวะสมองเส่ือม

ประถมศึกษา 117 84.17 สูงกว่าประถมศึกษา 22 15.83

Page 11: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1232

รองลงมา เรื่อง ความจ าระยะสั้น (นึกออก) เป็นค าที่ให้กล่าวตาม ให้จ าไว้ และถามเรื่องอ่ืนต่อไปโดยทิ้งช่วงเวลาเล็กน้อย และกลับมาถาม ค าเดิม จะจ าไม่ได้ จ านวน 60 คน (ร้อยละ 43.2) 4.ค่าคะแนนที่สงสัยภาวะสมองเสื่อมและระดับการศึกษา ในผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินภาวะสมองเสื่อมพบว่า คะแนนจุดตัดที่ ≤ 17 มีการศึกษาชั้นประถมศึกษา จ านวน 15 คน ร้อยละ12.8 และ คะแนนจุดตัดที่ ≤ 22 มีการศึกษาสูงกว่าชั้นประถมศึกษา จ านวน 7 คน ร้อยละ 31.82 อภิปรายผล กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้สูงอายุอาศัยในชุมชนแห่งหนึ่ง ต าบลหนองแก อ าเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ59.0 อายุในช่วงวัยต้น 60 – 69 ปี (ร้อยละ 46.8) สถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ51.8) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย ณัชชา ตระการจันทร์, 2557 ศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุอ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง (ร้อยละ 63.3) อายุอยู่ในช่วงวัยต้น (60-70ปี) สถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ68.4) การศึกษาชั้นประถมศึกษา (ร้อยละ 84.17) สูงกว่าระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 15.83) เมื่อน ามาตรฐานการประเมินด้วยแบบประเมินภาวะสมองเสื่อมฉบับภาษาไทย (MMSE -Thai 2002)ได้ก าหนดคะแนนจุดตัดร่วมกับการศึกษาระดับประถมศึกษา จุดตัดคะแนนที่<17 คะแนน (ร้อยละ 12.8)ส่วนระดับการศึกษาสูงกว่าประถมศึกษา จุดตัดคะแนนที่ <22 คะแนน(ร้อยละ 31.82) ปัจจัยที่ท าให้เกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ การเรียนหนังสือน้อย ท าให้การตอบผิดมาก ในเรื่องการคิดค านวณโดยการนับเลข 100-7 ไปเรื่อยๆ (ร้อยละ 59.7)และความจ าระยะสั้น (นึกออก) ผู้สูงอายุจะนึกไม่ออกและตอบไม่ได้ (ร้อยละ 43.2) สอดคล้องกับงานวิจัยของขวัญเรือน ก๋าวิตและคณะ, 2556 และลลิตา พนาครและคณะ,2558 ศึกษาภาวะสมองเสื่อม ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันโรคสมองเสื่อม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 60-69 ปี (ร้อยละ45.00) เป็นเพศหญิง (ร้อยละ78.33) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์การเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ การไม่ได้เรียนหนังสือหรือเรียนน้อยและสอดคล้องงานวิจัยของอาคม บุญเลิศ,2557 ศึกษาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเขตรับผิดชอบของสถานบริการปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมการศึกษาครั้งนี้ คิดเป็นอัตราการตอบรับร้อยละ 100 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 92 ราย (ร้อยละ 70.8) อายุเฉลี่ย 69.1 ± 7.04 ปี ด้านการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของผู้สูงอายุ จ านวน 73 คน ร้อยละ 52.5 การพูดคุยพบปะผู้อ่ืนบ่อยๆเช่น ไปวัด ไปงานเลี้ยงต่างๆหรือเข้าชมรมผู้สูงอายุช่วยการป้องกันภาวะสมองเสื่อม (วิไลวรรณ ทองเจริญ,2558) ด้านดัชนีมวลกาย ควบคุมน้ าหนักตัวไม่ให้เกินเกณฑ์ โดยควบคุมดัชนีมวลกายไม่เกิน 25 งานวิจัย ของ ขวัญเรือน ก๋าวิตู๋ , 2556 ศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ จังหวัดล าปาง พบว่า ดัชนีมวลกาย 18.5-23.9 กก.ม2 ร้อยละ 47.7 มีความสัมพันธ์กับสมองเสื่อม ในการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยดูแลตนเองให้ได้มากที่สุด โดยเฉพาะในเรื่องการท ากิจวัตรประจ าวัน เช่น การท าความสะอาดร่างกาย การอาบน้ า จัดเตรียมอุปกรณ์ตามล าดับก่อนหลัง ใช้อุปกรณ์ที่คุ้ น เค ย ส ะด วก ไม่ ซั บ ซ้ อ น บ อก เป็ น ขั้ น ต อน ช้ า ๆ ก าห น ด เวล าอ าบ น้ า ก า ร เข้ าห้ อ งน้ า ให้สอดคล้องกับชีวิตประจ าวันที่เคยท า ระวังเรื่องน้ าร้อนลวก ให้เลือกเสื้อผ้าที่จะใส่เองเท่าที่จะท าได้ จนกระทั่ งท า เองไม่ ได้ จั ดอาหารให้ พอดี ในแต่ละมื้ อ ก าหนดเวลาในการอาบน้ า การขับถ่าย โดยสังเกตดูและเลือกเวลาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย ตามความพร้อมของผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกับการจัดกิจกรรม คนในครอบครัว พยายามคงความสามารถของผู้สูงอายุที่มีอยู่ ชะลอความเสื่อมของสมอง ซึ่งในระยะเริ่มแรกอาจจัดกิจกรรมให้ผู้สูงอายุ ท า การใช้ภาพเป็นตัวสื่อ ทายภาพคนเด่น คนดัง ดาราภาพยนตร์ สมาชิกใครอบ

Page 12: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1233

ครัว หรือการจัดภาพอัลบั้มของคนในครอบครัว การคิดเลขบวกเลข การเล่นเกมส์ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นการพัฒนาสมองของผู้สูงอายุ ดังนั้น แนวทางการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ การออกก าลังกายการออกก าลังกายมีส่วนช่วยอย่างมากในการชะลอภาวะสมองเสื่อม และยังเพ่ิมประสิทธิภาพในการท างานของสมองได้มากอีกด้วย ควรออกก าลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 30 นาทีต่อครั้งส าหรับผู้ที่ไม่สามารถออกก าลังกายด้วยการวิ่งได้ควรเลือกการเต้นแอโรบิค กายบริหาร ว่ายน้ าปั่นจักรยานหรือเดินเร็ว นอกจากนี้การท างานบ้านเอง พรวนดินปลูกต้นไม้ท าสวนในรั้วบ้าน และใช้วิธีเดินแทนการนั่งรถในระยะใกล้ยังถือเป็นการออกก าลังกายที่ดีได้อีกด้วย จากงานวิจัยหลายชิ้นพบว่าการออกก าลังกายแบบแอโรบิคนานประมาณ 30 นาทีและให้มีความถี่ 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของสมองได้ดีกว่าเมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้ออกก าลังกายเลย การฝึกสมองประลองเชาว์ ได้แก่ ฝึกหัดท ากิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดและเพ่ิมความสามารถในการท างานของสมองด้านต่างๆเช่น บวก ลบ คูณ หาร ตัวเลข หรือวาดรูปเพ่ือกระตุ้นให้ใช้้ความคิด ฝึกความจ า ความคิดสมาธิและการแก้ไขปัญหาด้วยการเล่นเกมลับสมองที่ ไม่ยากเกินไปจนท าให้เกิดความเครียดตามมา ควรเล่นเกมเพ่ือให้เกิดการฝึกใช้ความคิดและผ่อนคลาย สามารถฝึกเล่นคนเดียวหรือเล่นร่วมกันเป็นกลุ่มก็ได้ และยังสามารถเล่นเกมได้ทั้งบนกระดาษ บนคอมพิวเตอร์ และบนแท็บเลตมีหลายผลงานวิจัยยืนยันว่า การฝึกการท างานของสมองด้วยเกมที่ต้องใช้ความคิดเหล่านี้อย่างสม่ าเสมอจะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการท างานของสมองได้ดี ทดลองฝึกสรุปใจความส าคัญของข่าวสารต่างๆ ที่ได้ยินได้ฟังจากโทรทัศน์และวิทยุ รวมทั้งฝึกเล่นดนตรี เต้นร า ลองเขียนหนังสือหรือแปรงฟันด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด ทั้งหมดนี้จะช่วยเสริมสร้างและกระตุ้นสมองได้ดีในผู้สูงอายุ ข้อเสนอแนะ

ปัจจัยที่พบจากงานวิจัยนี้ ที่จะท าให้เกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ การเรียนหนังสือน้อย(ชั้นประถมศึกษา) จึงมีข้อเสนอแนะ ในเรื่อง การให้ความรู้ป้องกันภาวะสมองเสื่อม ต้องควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รับประทานอาหาร บ ารุงสมอง หลีกเลี่ยงยา อาหาร หรือกิจกรรมที่เป็นอันตรายต่อสมอง ท ากิจกรรมสม่ าเสมอ เข้าสังคม ฝึกสติปัญญา และตรวจสุขภาพประจ าปีและรักษาโรคประจ าตัวอย่างสม่ าเสมอ และให้การสนับสนุนกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้านให้มีสิ่งเอ้ืออ านวยในการออกเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชนให้เพียงพอและเหมาะสม ข้อเสนอแนะการท าวิจัยครั งต่อไป

ควรศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในชุมชนอ าเภอใกล้เคียงในภาพกว้างเพ่ือเป็นตัวแทนกลุ่มตัวอย่างระดับจังหวัดและวางแผนการส่งเสริมป้องกันภาวะสมองเสื่อมร่วมกับผู้เกี่ยวข้องต่อไป

เอกสารอ้างอิง ขวัญเรือน ก๋าวิตและคณะ. (2556). ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะสมองเสื่อมใน

ผู้สูงอายุจังหวัดล าปาง.วารสารมฉก.วิชาการ,17(3),1-9. ชุติมา ทองวชิระและคณะ.(2559).ความชุก ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุและการ

พัฒนาคู่มือการให้ความรู้.กรุงเทพมหานคร:ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ณัชชา ตระการจันทร์.(2557).ความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

วารสารมหาวิทยาลัยราชธานี.2557 นารีรัตน์ จิตมนตรี.(2558).ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ:เอนเพลส.กรุงเทพมหานคร

Page 13: การศึกษาความชุกของภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุอ าเภอเมือง ...jes.rtu.ac.th/rtunc2018/pdf/Poster

การประชุมวิชาการและน าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานวีิชาการ คร้ังที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”

ห น้ า | 1234

นพมาศ กุลคงและคณะ.(2556).ศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอ านาจต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ต าบลปากโทก อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.

รัชนี นามจันทรา.(2553).ศึกษาการฟ้ืนฟูสภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม.วารสารมฉก.วิชาการ , 14(27),137-149.

ลลิตา พนาครและคณะ.(2558).ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ต าบลหลักหก อ าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี.วารสารสาธารณสุข,45(2),197-209.

วัลลภา อันดาราและคณะ.(2559).ศึกษาภาวะสมองเสื่อม ความรู้เรื่องโรคและป้องกันโรคสมองเสื่อม. วารสารพยาบาลต ารวจ,8(1), 1-13. วิไลวรรณ ทองเจริญ.(2558).ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ.เอนเพลส.กรุงเทพมหานคร. สมทรง จุไรทัศนีย์.(2555).การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม.ภาควิชาการพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. อาคม บุญเลิศ.(2559).ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเขต

รับผิดชอบของสถานบริการปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น.วารสารศรี นครินทร์,3(1) อาทิตยา สุวรรณ์และสุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค.(2558).ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์

กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ต าบลหลักหก อ าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี.วารสารสาธารณสุข ,5(2) 21-29.