2
สอบถามรายละเอียดได้ที- ลูกสุกรอายุ 1-3 วัน ฉีดธาตุเหล็ก ตัวละ 2 ซีซี เพื่อ ป้องกันโลหิตจาง - ลูกสุกรอายุ 10 วัน เริ่มฝึกให้อาหารหมูนมหรือ หมูอ่อน - หย่านมเมื่ออายุ 28 วัน (4 สัปดาห์ หรือ 1 เดือน) 5. การจัดการลูกสุกรเมื่อหย่านม - ควรย้ายแม่สุกรออกไปก่อนให้สุกรอยู่ในคอก 3-5 วัน แล้วจึงย้ายลูกสุกรออกไป เพื่อป้องกันลูกสุกรเครียดและให้วิตามิน หรือยาปฏิชีวนะกิน - ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์สุกร เมื่อสุกรอายุ 6 สัปดาห์ - ฉีดวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื ่อย เมื่ออายุ 7 สัปดาห์ - ถ่ายพยาธิเมื่อสุกรอายุ 6 สัปดาห์ และให้ซ�้าทุกๆ 6 เดือน แสดงการฉีดธาตุเหล็ก การสุขาภิบาล การป้องกันโรคติดต่อในสุกร การสุขาภิบาล หมายถึง การจัดการเพื่อให้สัตว์อยู ่สบาย ปลอดภัยจากเชื้อโรคต่างๆ การท�าคอกให้สะอาด การให้อาหารที่ดี และการจัดการที่เป็นประโยชน์ต่อการผลิตสุกร ควรท�าความสะอาด คอกสุกรทุกวัน (โดยการกวาดให้แห้งด้วยไม้กวาด) และล้างคอกด้วย น�้าอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง และน�้ายาฆ่าเชื้อโรคเดือนละครั้ง โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร การเลี้ยงสุกร กองงานพระราชดำาริและกิจกรรมพิเศษ กรมปศุสัตว์ โทร. 0 2653 4444 ต่อ 3371 โทรสาร 0 2653 4930 E-mail : [email protected] www.royal.dld.go.th วัคซีนโรคอหิวาต์สุกร วัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อย กองงานพระราชด�าริและกิจกรรมพิเศษ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การเลี้ยงสุกรroyal.dld.go.th/webnew/images/IDP/2560/1/1.3/2.pdf- ร บน าส กรก นนมน าเหล องจากเต านมแม

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การเลี้ยงสุกรroyal.dld.go.th/webnew/images/IDP/2560/1/1.3/2.pdf- ร บน าส กรก นนมน าเหล องจากเต านมแม

สอบถามรายละเอียดได้ที่

- ลูกสุกรอายุ1-3วัน

ฉีดธาตุเหล็ก ตัวละ 2 ซีซี เพื่อ

ป้องกันโลหิตจาง

- ลูกสุกรอายุ 10 วัน

เริ่มฝ ึกให ้อาหารหมูนมหรือ

หมูอ่อน

- หย่านมเมื่ออายุ28วัน(4สัปดาห์หรือ1เดือน)

5. การจัดการลูกสุกรเมื่อหย่านม

- ควรย้ายแม่สุกรออกไปก่อนให้สุกรอยู่ในคอก 3-5 วัน

แล้วจึงย้ายลูกสุกรออกไป เพื่อป้องกันลูกสุกรเครียดและให้วิตามิน

หรือยาปฏิชีวนะกิน

- ฉีดวัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์สุกรเมื่อสุกรอายุ6สัปดาห์

- ฉดีวคัซนีป้องกนัโรคปากและเท้าเป่ือยเมือ่อายุ7สปัดาห์

- ถ่ายพยาธเิมือ่สกุรอายุ6สปัดาห์และให้ซ�า้ทกุๆ6เดอืน

แสดงการฉีดธาตุเหล็ก

การสุขาภิบาล การป้องกันโรคติดต่อในสุกร การสุขาภิบาล หมายถึง การจัดการเพื่อให้สัตว์อยู ่สบาย

ปลอดภัยจากเชื้อโรคต่างๆ การท�าคอกให้สะอาด การให้อาหารที่ดี

และการจัดการที่เป็นประโยชน์ต่อการผลิตสุกรควรท�าความสะอาด

คอกสกุรทกุวนั(โดยการกวาดให้แห้งด้วยไม้กวาด)และล้างคอกด้วย

น�้าอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้งและน�้ายาฆ่าเชื้อโรคเดือนละครั้ง

โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

การเลี้ยงสุกร

กองงานพระราชดำาริและกิจกรรมพิเศษ กรมปศุสัตว์โทร. 0 2653 4444 ต่อ 3371 โทรสาร 0 2653 4930

E-mail : [email protected]

www.royal.dld.go.thวัคซีนโรคอหิวาต์สุกรวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อย

กองงานพระราชด�าริและกิจกรรมพิเศษ

กรมปศสุตัว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Page 2: การเลี้ยงสุกรroyal.dld.go.th/webnew/images/IDP/2560/1/1.3/2.pdf- ร บน าส กรก นนมน าเหล องจากเต านมแม

1. การจัดการพ่อพันธุ ์

ควรมอีายุ8เดอืนขึน้ไปให้อาหาร

ที่มีโปรตีน16%วันละ2กก.

2. การจัดการแม ่สุกร

ให้อาหารที่มีโปรตีน16%วันละ

2 กก. ควรมีอายุ 7-8 เดือน

น�้าหนัก 100-120กก. จึงน�ามาผสมพันธุ์ (เป็นสัดครั้งที่ 2-3) เมื่อ

ผสมพันธุแ์ล้วควรลดอาหารให้เหลอื1.5-2กก.เมือ่ตัง้ท้องได้90-108วนั

เพิ่มอาหารเป็น 2-2.5 กก. และเมื่อตั้งท้องได้ 108 วัน-คลอด

ลดอาหารลงเหลือ1-1.5กก.(ปกติสุกรตั้งท้อง114วัน)

3. การจัดการลูกสุกรเมื่อคลอด

- เช็ดตัวลูกสุกรให้แห้งควักน�้าเมือกในปากและจมูกออก

- การตัดสายสะดือ ใช้ด้ายผูกสะดือให้ห่างจากพื้นท้อง

ประมาณ1-2นิ้วทารอยแผลด้วยทิงเจอร์ไอโอดีนเพื่อฆ่าเชื้อโรค

- ตัดเขี้ยวออกให้หมดโดยใช้กรรไกรตัดเขี้ยวหรือคีมปอก

สายไฟหรือกรรไกรตัดเล็บขนาดใหญ่เพื่อป้องกันสุกรกัดเต้านมแม่

- รีบน�าสุกรกินนมน�้าเหลืองจากเต้านมแม่สุกร

4. การจัดการลูกสุกรแรกคลอด-หย่านม

- ให้ความอบอุ่นสุกร

ในระยะ15วันแรกโดยใช้ไฟฟ้า

กกหลอดไฟขนาด100วตัต์หลงั

จากผ่าน 15 วันไปแล้วใช้กล่อง

หรือกระสอบแทนไฟกกก็ได้

การปฏิบัติเลี้ยงดู และการจัดการสุกรข้อดีของการเลี้ยงสุกร - เป็นสัตว์เลี้ยงง่ายใช้แรงงานน้อย

- ให้ลูกดกขยายพันธุ์ได้เร็วคืนทุนได้ในเวลาสั้น

- ใช้พื้นที่ในการเลี้ยงน้อย

- มูลใช้เป็นปุ๋ยอย่างดีใช้เลี้ยงปลาเพิ่มผลผลิตได้

- เป ็นอาชีพที่ เกษตรกรนิยมเลี้ยงเพื่อใช ้ เป ็นอาหาร

ในครอบครัว หรือขายเพื่อเป็นรายได้เสริม มีการปรับปรุงพันธุ์สุกร

ให้เหมาะสมยิ่งขึ้นโดยมีปัจจัยส�าคัญในการเลี้ยงสุกรดังนี้

พันธุ์สุกร 1. พันธุล์าร์จไวท์ (Large White) เป็นสกุรดัง้เดมิขององักฤษ

ตัวผู้โตเต็มที่มีน�้าหนัก 250 ถึง 300 กิโลกรัม ตัวเมียมีน�้าหนัก

150ถึง220กโิลกรมัมหีตูัง้ชดัเจนมลี�าตวัยาว

เด่นชดัขาแขง็แรงเต้านมสม�า่เสมอมคีวาม

สามารถในการเป็นแม่ที่ดีเลี้ยงลูกเก่งและ

เหมาะใช้เป็นแม่พันธุ์

2. สุกรพันธุ์แลนด์เรซ มีถิ่นก�าเนิดจากประเทศเดนมาร์ก

มสีขีาวหปูรกล�าตวัยาวขาแขง็แรงเต้านม

สม�า่เสมอมคีวามสามารถในการเป็นแม่ทีด่ี

เลีย้งลกูเก่งเลีย้งง่ายข้อเสยีมกัจะมปัีญหา

เรื่องขาอ่อนขาไม่ค่อยแข็งแรง

โรงเรือนสุกร

โรงเรอืนสกุรทีด่จีะสะดวกในการจดัการดแูลสกุรจะอยูภ่ายใน

คอกอย่างสบายซึ่งมีข้อพิจารณาดังนี้

1. สถานทีก่่อสร้างโรงเรอืนเป็นทีด่อนน�า้ไม่ท่วมระบายน�า้ได้ดี

2.สร้างตามแนวตะวันออก-ตะวันตกเป็นสัดส่วน

3.ลักษณะของหลังคาโรงเรือนสุกร มี 5 แบบ คือ แบบ

เพิงหมาแหงน เพิงหมาแหงนกลาย หน้าจ่ัว จั่วสองช้ัน และแบบ

จั่วสองชั้นกลาย

4. วัสดุมุงหลังคา ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และควรใช้วัสด ุ

ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นเช่นหญ้าคาแฝกหรือสังกะสีเป็นต้น

5. ความสูงและความกว้างของโรงเรือน พอประมาณเพื่อให้

อากาศถ่ายเทได้สะดวก

6. พื้นคอก ควรเป็นพื้นคอนกรีต ท�าความสะอาดง่ายและ

ประหยัด

7. ผนงัคอกท�าด้วยอฐิบลอ็กหรอืไม้เนือ้แขง็สงู1-1.2เมตร

3. พนัธุด์รูอ็คเจอร์ซี่(Duroc-Jersey)

มีสีแดงปัจจุบันมีสีตั้งแต่น�้าตาลฟางข้าวถึง

น�า้ตาลแดงเข้มแขง็แรงบกึบนึเลีย้งลกูเก่ง

หน้าหกัเล็กน้อยโคนหตูัง้ปลายหปูรกเล็กน้อย

หใูหญ่ปานกลางให้เนือ้ดีเหมาะใช้เป็นพ่อพนัธุ์

4. สุกรพันธุ์พื้นเมืองไทย เป็นสุกรท่ีเลี้ยงตามหมู่บ้านชนบท

ล�าตัวสั้นหัวค่อนข้างใหญ่ไหล่และสะโพก

แคบหลังแอ่นท้องยานขาและข้อขาอ่อน

ตัวเล็ก ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศ

ให้ลูกดกเลี้ยงลูกเก่ง