52
การทําแผนที่ธรณีวิทยา 19 นักธรณีวิทยาสวนใหญยอมรับวา แผนที่ธรณีวิทยาเปนหัวใจของการสํารวจธรณีวิทยาในพื้นทีตางๆ ไมวาจะอีกกี่รอยป จะไมมีอะไรมาแทนแผนที่ธรณีวิทยาได (No substitute for geologic map, absolutely none! There never was and there never will be! (McClay, 1987))” 2.1 ธรรมชาติของการทําแผนที่ธรณีวิทยา (Nature of geologic mapping) หัวใจของการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามคือ การทําแผนที่ธรณีวิทยาพื้นผิว (surfacial geologic map) ซึ่งเปนแผนที่ที่แสดงขอบเขตการปรากฏของหินที่โผลที่ผิวดินหรือถูกดินปกคลุมอยูไมเกิน 1 หรือ 1.5 เมตร (1 เมตร ใชกําหนดในประเทศแถบยุโรป สวน 1.5 เมตร (5 ฟุต) ใชกําหนดในอเมริกา) และดินของพื้นที่ศึกษาที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง การทําแผนที่ธรณีวิทยาเปนการตรวจหาขอมูลตางๆ อยางเปนระบบ เพื่อศึกษาเรื่องราวของโลกที่บันทึกไวในหินของพื้นที่ศึกษานั้นๆ หรือเปนการศึกษา เพื่อนําแผนที่ธรณีวิทยามาใชประโยชนในการแสวงหา ควบคุมดูแล หรือปรับปรุงแหลงทรัพยากร การทําแผนที่ธรณีวิทยาเปนกระบวนการศึกษาดวยวิธีทางวิทยาศาสตรซึ่งประกอบดวย การ พรรณนาลักษณะของหิน และโครงสรางที่พบในหิน หรือรวมกับหิน แผนที่ธรณีวิทยาที่ดีตองมีความ สมบูรณในตัวเอง สามารถสื่อความหมายตางๆ ของสภาพธรณีวิทยาที่ผิวดิน ใตผิวดิน และสภาพของ หินในอดีตโผลเหนือผิวดิน ซึ่งตอมาถูกกัดกรอนขาดไป แผนที่ธรณีวิทยาเปนการนําเสนอขอมูลพรอม การแปลความของนักธรณีวิทยาผูทําแผนทีความละเอียดของขอมูลตางๆ ซึ่งแสดงในแผนทีบงบอกถึง ความเขาใจในเรื่องธรณีวิทยาของผูทําแผนทีวามีความใสใจและรอบคอบในระหวางสํารวจมากนอย

การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 19

“นักธรณีวิทยาสวนใหญยอมรับวา แผนที่ธรณีวิทยาเปนหัวใจของการสํารวจธรณีวิทยาในพื้นที่

ตางๆ ไมวาจะอีกก่ีรอยป จะไมมีอะไรมาแทนแผนที่ธรณีวิทยาได (No substitute for geologic map, absolutely none! There never was and there never will be! (McClay, 1987))”

2.1 ธรรมชาติของการทําแผนที่ธรณีวิทยา (Nature of geologic mapping)

หัวใจของการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามคือ การทําแผนที่ธรณีวิทยาพื้นผิว (surfacial geologic map) ซ่ึงเปนแผนที่ที่แสดงขอบเขตการปรากฏของหินที่โผลที่ผิวดินหรือถูกดินปกคลุมอยูไมเกิน 1 หรือ 1.5 เมตร (1 เมตร ใชกําหนดในประเทศแถบยุโรป สวน 1.5 เมตร (5 ฟุต) ใชกําหนดในอเมริกา) และดินของพื้นที่ศึกษาที่บริเวณใดบริเวณหนึ่ง การทําแผนที่ธรณีวิทยาเปนการตรวจหาขอมูลตางๆ อยางเปนระบบ เพื่อศึกษาเรื่องราวของโลกที่บันทึกไวในหินของพื้นที่ศึกษานั้นๆ หรือเปนการศึกษาเพื่อนําแผนที่ธรณีวิทยามาใชประโยชนในการแสวงหา ควบคุมดูแล หรือปรับปรุงแหลงทรัพยากร

การทําแผนที่ธรณีวิทยาเปนกระบวนการศึกษาดวยวิธีทางวิทยาศาสตรซ่ึงประกอบดวย การพรรณนาลักษณะของหิน และโครงสรางที่พบในหิน หรือรวมกับหิน แผนที่ธรณีวิทยาที่ดีตองมีความสมบูรณในตัวเอง สามารถสื่อความหมายตางๆ ของสภาพธรณีวิทยาที่ผิวดิน ใตผิวดิน และสภาพของหินในอดีตโผลเหนือผิวดิน ซ่ึงตอมาถูกกัดกรอนขาดไป แผนที่ธรณีวิทยาเปนการนําเสนอขอมูลพรอมการแปลความของนักธรณีวิทยาผูทําแผนที่ ความละเอียดของขอมูลตางๆ ซ่ึงแสดงในแผนที่ บงบอกถึงความเขาใจในเรื่องธรณีวิทยาของผูทําแผนที่ วามีความใสใจและรอบคอบในระหวางสํารวจมากนอย

Page 2: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

20 ธรณีวิทยาภาคสนาม

เพียงใด หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ แผนที่ธรณีวิทยาเปนตัวแทนของนักธรณีวิทยาผูที่ทําแผนที่ และสามารถบอกเลาเรื่องราวตางๆ จากอดีตถึงปจจุบันในพื้นที่บริเวณนั้นๆ แผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ใดๆ ถือเปนผลงานการคนพบทางวิทยาศาสตร (scientific discovery) ที่มีการศึกษา วิเคราะห อยางมีระบบเกี่ยวกับเรื่องราวของโลก จัดไดวามีความสําคัญมาก ซ่ึงการทําแผนที่ธรณีวิทยาภาคสนามแบงลักษณะการทํางานไดเปน 3 ขั้นตอนใหญๆ คือ

(1) การวางแผนการสํารวจ (2) การออกสํารวจและเก็บขอมูลในสนาม และ (3) การเขียนรายงาน

ทั้งสามขั้นตอนถือวามีความสําคัญเทาเทียมกัน เคล็ดลับของการทําแผนที่ธรณีวิทยาภาคสนามใหประสบผลสําเร็จ คือ นักธรณีวิทยาตองมีความตั้งใจ สํารวจหาขอมูลตางๆ ดวยความละเอียดถี่ถวน

และกระตือรือรนคนหาคําตอบถึงลักษณะความเปนมาของพื้นที่ท่ีศึกษาอยูตลอดเวลา ตองรูวากําลังศึกษาหรือคนหาคําตอบอะไร และจะหาหลักฐานอะไรที่มีความสําคัญ อันเปนประโยชนที่จะทําใหไดคําตอบ ตองเปนคนชางสังเกต ตองรูจักการควบคุมตนเองและเปนนายของตัวเอง สามารถทํางานภายใตความกดดันดวยความอดทน เพราะสภาพธรรมชาติคอนขางไมเปนใจมากนัก การโผลของหินในพื้นที่อาจโผลใหเห็นนอย แตละบริเวณที่หินโผลมีลักษณะซับซอน ไมเหมือนตัวอยางที่แสดงอยูในตํารา บางครั้งแมแตจะแยกวาเปน หินตะกอน หินอัคนี หรือ หินแปร ยังทําไดอยางไมมั่นใจ โดยเฉพาะนักธรณีวิทยาที่ไมมีประสบการณ

นอกจากนี้ลักษณะงานของนักธรณีวิทยาเปนงานที่ศึกษากลางแจง อากาศอาจรอนมาก หรือบางครั้งสภาพอากาศอาจมีถึงสามฤดูในหนึ่งวัน ดังนั้นผูที่จะเปนนักธรณีวิทยาไดจึงตองเปนผูที่มีความรักในการศึกษาธรรมชาติอยางแทจริง สุขภาพตองแข็งแรง และตองเปนผูที่มีความคิดเชิงอนุรักษ เชนไมทุบทําลายหินโผลอยางไมมีเหตุผลอันสมควร และประการสุดทายตองยอมใหแผนที่ธรณีวิทยาแสดงบทบาทมากกวาตนเองซึ่งเปนผูที่ทําแผนที่ขึ้นมา เพราะเมื่อนักธรณีวิทยานําผลงานมาเสนอในที่ประชุม ผูรวมประชุมสวนใหญมุงความสนใจมาที่แผนที่ (because your map will talk for you)

การที่จะไดแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ใดๆ จึงตองมีการศึกษาในสนามโดยนักธรณีวิทยา ซ่ึงนักธรณีวิทยาตองตรวจดูลักษณะของหินโผลในภาพกวาง ลงรายละเอียดของลักษณะปรากฏของหิน บรรยายลักษณะตางๆ ที่พบในหินโผล โดยตองทําในบริเวณที่หินโผลเพราะไมสามารถนําเอาหินโผลกลับมาศึกษาในที่ทํางานได ดังนั้นหลักปฏิบัติพื้นฐานที่สําคัญของนักธรณีวิทยาที่พึงมีในระหวางการทําแผนที่ในสนามไดกลาวมาแลวในบทที่ 1 ขอใหทบทวนอีกครั้ง เพราะเปนสิ่งที่สําคัญมาก

Page 3: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 21

2.2 ชนิดของแผนที่ธรณีวิทยา (Types of geologic maps) แผนที่ธรณีวิทยาสามารถจัดแบงชนิดได โดยพิจารณาขนาดหรือมาตราสวนของการทําแผนที่ และลักษณะการใชงาน ซ่ึงแบงได 4 กลุมใหญๆ ไดแก

(1) แผนที่สํารวจชนิดหยาบ (reconnaissance map) เปนแผนที่ที่ทําในบริเวณที่ยังไมเคยศึกษามากอนเพื่อใหทราบถึงลักษณะธรณีวิทยาคราวๆ ของพื้นที่ มาตราสวนที่ใชประมาณ 1:250,000 หรืออาจนอยกวา เชน 1:1,000,000 แผนที่นี้อาจศึกษาจากภาพถายทางอากาศ หรือภาพถายดาวเทียม เพื่อกําหนดขอบเขตและโครงสรางแนวเสนที่ปรากฏใหเห็นในภาพ แผนที่นี้แสดงขอบเขตและโครงสรางใหญๆ ของพื้นที่ที่ศึกษา

(2) แผนที่ธรณีวิทยาภูมิภาค (regional geologic map) เปนแผนที่ที่ศึกษาในรายละเอียดเพิ่มจากแผนที่ชนิดหยาบ มาตราสวนของแผนที่ประมาณ 1:25,000 หรือ 1:50,000 แผนที่นี้ขอมูลที่ไดเปนการศึกษาจากการสํารวจในสนาม ขอมูลจากการศึกษาจากภาพถายทางอากาศเปนขอมูลเสริม ขอมูลหลักคือการศึกษาจากสนามเพื่อนํามาทําแผนที่ และขอมูลท่ีศึกษาอาจมาจากการเจาะหลุมสํารวจ การประยุกตสํารวจทางธรณีฟสิกส หรือการสํารวจแบบอื่นๆ

(3) แผนที่ธรณีวิทยาชนิดละเอียด (detailed geologic map) แผนที่นี้ศึกษาในมาตราสวนที่ใหญกวาแผนที่ภูมิภาค เชน 1:10,000 หรือมากกวา เปนการเลือกศึกษาในบริเวณที่มีลักษณะทางธรณีวิทยาคอนขางซับซอน ซ่ึงเปนผลมาจากการศึกษาที่ยังไมไดคําตอบจากแผนที่ธรณีวิทยาภูมิภาค

(4) แผนที่ธรณีวิทยาเฉพาะทาง (geologic map for specific applications) เปนแผนที่ที่ตองการศึกษารายละเอียดเพื่อประยุกตใชในงานเฉพาะทาง

การกําหนดมาตราสวนขึ้นอยูกับความละเอียดของงานที่ตองการ อาจจะเปน 1:500, 1:1,000, 1: 10,000 จะมากกวาหรือนอยกวาก็ได ซ่ึงอาจนําขอมูลท่ีไดจากการศึกษาทางธรณีฟสิกส ธรณีวิทยาเคมี หรืออ่ืนๆ มาประกอบการศึกษา ตัวอยางของแผนที่ธรณีวิทยาเพื่องานเฉพาะทาง เชน แผนที่ธรณีวิทยาเพื่อการสรางเขื่อน แผนที่ธรณีวิทยาเพื่อการทําอุโมงค หรือแผนที่ธรณีวิทยาเพื่อการวางมาตรการปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติหรือเพื่อการปรับปรุงส่ิงแวดลอม เปนตน การทําแผนที่ทั้ง 4 ประเภทที่ไดกลาวมากแลวมีวิธีการศึกษาแตกตางกันในดาน รายละเอียด การเก็บขอมูล และความถูกตองแมนยํา ในลําดับที่จะกลาวตอไปนี้ เปนสวนของพื้นฐานที่สําคัญในการทําแผนที่เพราะไมวาจะทําแผนที่ประเภทใด นักธรณีวิทยาตองมีความรูพื้นฐานทางธรณีวิทยาและรูหลักการปฏิบัติที่เหมาะสม หากมีผูกลาววา “...ไดศึกษาธรณีวิทยาของพื้นที่นั้นแลว และลักษณะ

Page 4: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

22 ธรณีวิทยาภาคสนาม

ธรณีวิทยาท่ีพบเปนแบบ …” หากไมมีแผนที่แสดงลักษณะธรณีวิทยาที่ผูนั้นไดทําการศึกษา ไมถือวาเปนการศึกษาธรณีวิทยา เพราะหัวใจของการศึกษาธรณีวิทยาคือ แผนที่ธรณีวิทยา แผนที่ทําหนาที่แทนนักธรณีวิทยา แผนที่บอกเลาสภาพธรณีวิทยาประวัติความเปนมาของพืน้ที ่พรอมมีขอมูลตางๆ ประกอบ การไดดูจากแผนที่ธรณีวิทยาทําใหไดขอมูลท่ีมากมายกวาคําบอกกลาวจากปากของนักธรณีวิทยาผูทําแผนที่นั้น ผูเขียนเคยไดยินอาจารยของผูเขียน คือ Professor Peter J. Coney (ทานไดถึงแกกรรมไปแลว) และ Professor George H. Davis (ปจจุบันทานยังคงสอนที่มหาวิทยาลัยแหงรัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา) กลาวเสมอวา “แสดงแผนที่ธรณีวิทยาใหดูเทานั้น และแผน

ท่ีจะบงบอกสภาพธรณีวิทยาไดเอง ( show me your geologic map and your map will talk to me)” 2.3 อุปกรณที่ใชในสนาม (Equipment)

อุปกรณที่ใชในสนามประกอบดวย เข็มทิศ (compass) ฆอนธรณี (rock hammer) ส่ิว (chisel) แผนที่ฐาน (base map) แผนที่สนาม (field map) สมุดบันทึกในสนาม (field notebook) ไมบรรทัด ไมโปรเทรกเตอร ดินสอ ดินสอสี ปากกา แวนขยาย เทปขนาด 2 เมตร และ ขวดกรด ซ่ึงอุปกรณทั้งหมดควรพกติดตัวตลอดเวลา เพื่อความสะดวกในการหยิบใชงาน นอกจากนี้ยังมีอุปกรณอ่ืนๆ เชน กลองดูภาพถายทางอากาศ (pocket stereoscope) สเตริโอเน็ต กระติกใสน้ํา อุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตนในปา กลองถายรูป กลองสองตาสําหรับสองทางไกล หมวก เสื้อกันฝน ครีมกันแดด แวนตากันแดด จีพีเอส (GPS) หรืออ่ืนๆ

สําหรับ GPS ขอใหเรียนรูเทคโนโลยีใหมๆ ใหดีกอนคอยนํามาใช ควรคํานึงถึงความเหมาะสมวาคุมคากับการที่จะลงทุนซื้อมาใชหรือไม เพราะตามที่ผูเขียนเคยทดลองใช ในระบบพกพา พบวานอกจากจะจําหนายในราคาที่แพง ประสิทธิภาพในการกําหนดตําแหนงจริงไมแมนยํา เมื่อถึงตําแหนงที่เราไมมั่นใจ GPS ก็ไมมั่นใจตามไปดวย คนหา ดาวเทียมไมพบ ที่สําคัญใชแบตเตอรี่เปลืองมาก ตองเปล่ียนแบตเตอรร่ีทุกวัน จนในที่สุดก็เลิกใช ผูเขียนจําไดวาระหวางเพื่อนนักธรณีวิทยาดวยกันเรียก GPS แบบติดตลกกันวา “ของเลนชนิดใหม (new toy)” ดังนั้นไมวาเปนเทคโนโลยีอะไร ใหวิเคราะหและทดลองใชกอนที่จะตัดสินใจซื้อ หากจําเปนตองสํารวจในพื้นที่เปนทะเลทราย ทะเลสาบ มหาสมุทร ขั้วโลก หรือที่ราบที่ไมมีลักษณะของภูมิประเทศที่ทําใหกําหนดตําแหนงได GPS เปนสิ่งที่จําเปนและสําคัญมาก และจําเปนตองใชมากกวา 2 ระบบขึ้นไป เพื่อตรวจสอบความแมนยําของตําแหนง พรอมถายจุดจากมุดหลักฐานที่ทราบตําแหนงแนนอน ดังนั้นควรไตรตรองถึงความจาํเปนใหถ่ีถวน

Page 5: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 23

สําหรับครีมกันแดด ปจจุบันเปนสิ่งที่จําเปนเพราะบรรยากาศของโลกถูกทําลายไปบางสวน ทําใหรังสีอัลตราไวโอเลตที่เปนอันตรายตอผิวหนัง ซ่ึงในอดีตไมสามารถทะลุผานชั้นบรรยากาศมาได แตปจจุบันสามารถทะลุผานลงมาสูผิวโลกได จึงควรปองกัน อีกทั้งผิวที่ถูกแดดเผาจากเปลวแดด เปนสิ่งที่อันตราย นอกจากจะไมนาดูอยางยิ่ง ยังอาจกอใหเกิดมะเร็งที่ผิวหนังได ครีมกันแดดที่ใชควรใชแบบกันได 100% (total block) หรือคาของเอสพีเอฟ (SPF, Sun Protection Factor) มากกวา 30 เปนอยางต่ํา ถาแดดแรงมากควรสวมเสื้อแขนยาว กางเกงขายาว และสวมหมวก เพื่อปองกันไมใหผิวถูกแดดโดยตรง แวนตากันแดดเปนสิ่งจําเปนมากเชนกัน เปลวแดดในฤดูรอนโดยเฉพาะเปลวแดดชวงเดือนเมษายนเปนเดือนที่รอนและแดดจัด แวนตากันแดดหากเลือกชนิดที่ตัดรังสีได จะชวยถนอมสายตาไดมากยิ่งขึ้น

ลําดับตอไปกลาวถึงรายละเอียดของอุปกรณที่จําเปนบางสวน แมผูเขียนเรียงลําดับหัวขอไว แตไมไดหมายความวาลําดับสุดทายมีความสําคัญนอยกวาลําดับตนๆ ทุกหัวขอมีความสําคัญเทาเทียมกัน

2.3.1 เข็มทิศ (Compass) เข็มทิศที่สามารถวัดมุมเทและแนวระดับที่นักธรณีวิทยานิยมใชทั่วไปในประเทศ คือ เข็มทิศ บรันตัน (Brunton) ที่ทําในอเมริกา และเข็มทิศซิลวา (Silva) ที่ทําในสวีเดน เข็มทิศบรันตันมีอยูหลายรุน และราคาสูงกวาเข็มทิศซิลวามาก (ระหวาง US$400 กับ US$40) หากเปรียบเทียบขอดีขอเสีย

ระหวางเข็มทิศทั้งสองชนิด ขอดีของเข็มทิศบรันตัน คือ มีความละเอียดและแมนยํากวา (ระหวาง ± 10

สําหรับบรันตัน และ ±20 สําหรับซิลวา) และแข็งแรงทนทานกวาเขมทิศซิลวา สวนขอดีของเข็มทิศซิลวาคือ รูปรางออกแบบเปนสี่เหล่ียมผืนผา ที่ขอบมีมาตราสวนเซนติเมตร มิลลิเมตร และนิ้ว ซ่ึงสามารถใชแทนไมโปรแทรกเตอร สามารถเขียนทิศทางมุมได และมีน้ําหนักเบา (ระหวาง 85 กรัม กับ 200 กรัม)โดยเข็มทิศซิลวาถือวาเหมาะสมสําหรับนักศึกษาเพราะสามารถวัดมุมเท และวัดแนวระดับการวางตัวของชั้นหินได รุนที่ควรใชคือ รุนเรนเจอร (Ranger) โมเดล 15 TD-CL หรือ 15T เข็มทิศของซิลวามีตัวแทนจําหนายในประเทศไทยที่รานตัวแทนจําหนวย เชน ศึกษาภัณฑ ที่เปนตัวแทนจําหนายสินคาของคุรุสภา จากการตรวจสอบราคาขายตรงทางอินเตอรเน็ตบวกคาภาษีการนําเขาและคาจัดสง พบวาราคาใกลเคียงกันกับราคาที่ศึกษาภัณฑนํามาจําหนาย จึงขอแนะนําใหซ้ือท่ีศึกษาภัณฑ แตที่ศึกษาภัณฑไมไดนําเข็มทิศบรันตันมาจําหนาย แตมีผูอ่ืนนํามาจําหนายครั้นเมื่อตรวจสอบราคาแลวคอนขางแตกตางกันอยางมากกับราคาที่เสนอขายทางอินเตอรเน็ต ดังนั้นหากตองการเข็มทิศ บรันตันจึงควรส่ังซ้ือ แตอยาลืมวาจะตองบวกคาภาษีนําเขาทางวิทยาศาสตรที่รัฐบาลเรียกเก็บรอยละ 10 และภาษีมูลคาเพิ่มรอยละ 7 พรอมคาจัดสง

Page 6: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

24 ธรณีวิทยาภาคสนาม

2.3.2 ฆอนธรณี (Geologic hammer) หากสงสัยวาทําไมตองเปนฆอนธรณี เปนฆอนชนิดอื่นไดหรือไม อยางไรก็ดีหากจะเปนนัก

ธรณีวิทยามืออาชีพ ขอแนะนําใหใชฆอนที่ออกแบบสําหรับงานธรณีวิทยา หรือถาอยากทดสอบความแตกตางของฆอน ควรทดสอบระหวางฆอนตีตะปูกับฆอนธรณีวิทยา โดยนํามาทุบ หินควอตไซต หรือฮอรนเฟลส หรือหินปูน เพื่อเปรียบเทียบ ซ่ึงจะรูทันทีถึงความแตกตาง และที่สําคัญขณะทดลองทุบควรระวังหัวฆอนตีตะปูที่อาจจะหลุดกระเด็นถูกตนเองหรือผูที่อยูใกลเคียงได

ฆอนธรณีถูกออกแบบใหมีความแข็งแกรงกวาฆอนทั่วไป นั่นคือเมื่อทุบหิน หินจะแตก แตฆอนไมหัก ฆอนธรณีวิทยามีหลายแบบ บริษัทที่ครองตลาดในอเมริกาคือ Estwing ขนาดของฆอนที่ Estwing ผลิตแบบปลายแหลมซึ่งจะมี 2 ขนาดใหเลือก คือ น้ําหนัก 580 กรัม และ 850 กรัม และแบบปลายบานคลายปลายสิ่วมีขนาดเดียว น้ําหนัก 715 กรัม ขอแนะนําใหใชแบบปลายแหลมขนาด 850 กรัม เพราะหินในประเทศไทยใหญมีทั้งหินที่มีความแข็งนอย-มากปะปนกัน หากใชฆอนขนาดใหญทุบหิน หินแตกไดเร็วกวาฆอนเล็ก แตขอเสียคือมีน้ําหนักตางกันถึง 270 กรัม

อยางไรก็ตามหากศึกษาธรณีวิทยาของหินแกรนิต และหินไนส ฆอนขนาด 850 กรัม ไมสามารถทุบหินออกจากหินโผลไดเลย เมื่อเปนเชนนี้ตองใชฆอนที่มีขนาดใหญพิเศษ เชน ฆอนปอนดขนาด 5.5 กิโลกรัม หรือใหญกวา เปนตน

สําหรับฆอนขนาด 850 กรัมนั้น ไดผานการตรวจสอบราคาจากผูที่ส่ังเขามาจําหนายในประเทศไทย และจากการสั่งซื้อทางอินเทอรเน็ต พบวาราคาแตกตางกันกวา 2 เทา ซ่ึงราคาจากอินเทอรเน็ตผูเขียนบวกคาภาษีนําเขาทางวิทยาศาสตรที่รัฐบาลเก็บและภาษีมูลคาเพิ่ม พรอมคาจัดสงเขาไปดวย สําหรับฆอนเลียนแบบสามารถหาซื้อไดในทองตลาดทั่วไป ราคาประมาณ 300-500 บาท แตฆอนเลียนแบบยอมมีคุณภาพที่ดอยกวาเพราะเมื่อไดช่ือวา “ลอกเลียน” ดังนั้นอุปกรณตางๆ ที่จําเปนไมควรประหยัดโดยการซื้อของเลียนแบบมาใช แมวาราคาแตกตางกันมาก แตเมื่อเทียบอายุการใชงาน และคุณภาพแลว ของเลียนแบบอาจจะแพงกวาดวยซํ้าไป เพราะเสียหรือชํารุดเร็วมาก การซื้อของเลียนแบบเปนการสนับสนุนใหผูทําการลอกเลียนแบบทําในสิ่งที่ไมถูกตอง ดังนั้นควรเลือกใชอุปกรณที่เหมาะสมกับงานดังหลักปฏิบัติพื้นฐานที่พึงมีของนักธรณีวิทยาที่แนะนํามาแลวในหัวขอ 1.4 2.3.3 ส่ิว (Chisel) เราใชส่ิวเพื่อชวยสกัดหินแข็งออกจากหินโผล (outcrop) ในบริเวณที่ตองการ ซ่ึงทําใหไดตัวอยางหินตรงตามตองการ และใชส่ิวในการชวยขุดดินและแคะหาซากดึกดําบรรพ แมปลายแหลมที่

Page 7: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 25

หัวฆอนถูกออกแบบเพื่อใหขุดดินได แตก็ไมดีเทาสิ่ว มีส่ิงหนึ่งที่นักธรณีวิทยาไมควรทําเปนอยางยิ่งคือ ใชฆอน 2 ดาม โดยเอาปลายแหลมของฆอนอีกดามแทนสิ่ว แลวใชฆอนอีกดามทุบที่ปลายอีกดานของฆอนดามที่ใชแทนสิ่ว เพราะหัวของสิ่ว และหัวของฆอนมีความแข็งตางกัน ที่หัวของสิ่วถูกออกแบบใหทุบไดซ่ึงทําดวยวัสดุที่ไมแข็งแกรงเทาฆอน เมื่อทุบจะไมมีเศษเหล็กหลุดออกมาจากหัวส่ิว แตถาหากเปนฆอนกับฆอนที่มีความแข็งเทากัน อาจมีเศษเหล็กกระเด็นออกมา ซ่ึงหากเศษเหล็กเขาตาจะเปนอันตรายมาก 2.3.4 แวนขยายและขวดกรด (Hand lense and acid bottle) ในสนามนักธรณีวิทยาตองมีแวนขยายติดตัวเสมอ แวนขยายที่ใชขนาด 10 เทาหรือมากกวา และควรเลือกแวนขยายที่มีคุณภาพดี อยาซ้ือแบบที่ทําดวยพลาสติก และแบบที่ใชเลนสที่ทําเพื่อใหจําหนายใหไดในราคาถูกมากนัก นักธรณีวิทยาสวนใหญมักสวมแวนขยายไวกับคอ เพราะเปนอุปกรณขนาดเล็ก หลนหายไดงาย ในสนามนักธรณีวิทยาควรมีขวดกรดที่บรรจุ 10% HCl ติดตัว ปริมาณของกรดที่ใชในแตละวันสวนใหญไมเกิน 5 มิลลิลิตร ดังนั้นขวดที่ใชไมจําเปนตองเปนขวดขนาดใหญ อาจใชขวดจากยาหยอดตา หรือยาหยอดหู ซ่ึงทําดวยแกวที่สามารถหยดได 2.3.5 เทปและไมโปรเทรกเตอร (Tape and protractor) ในสนามนักธรณีวิทยาควรมีตลับเทปขนาด 2 หรือ 3 เมตร ติดตัว และควรมีเทปขนาด 30-50 เมตร ดวย แตไมจําเปนตองพกติดตัวในการออกสนามทุกวัน ใชเฉพาะในวันที่ตองการศึกษาลําดับชั้นหินที่พบวาหินมีความหนามากๆ สวนไมโปรเทรกเตอร มีไวสําหรับวัดทิศทางการวางตัวของชั้นหิน หรือโครงสรางตางๆ ใชวัดขนาดของเม็ดตะกอนหรือวัดความหนาของการวางตัวของชั้นหิน 2.3.6 ปากกา และดินสอ (Pens and pencils) การบันทึกขอมูลตางๆ ควรบันทึกดวยปากกาลูกล่ืน ไมควรบันทึกดวยดินสอ เพราะดินสอถูกลบไดงาย และสีจากการเปอนจากดิน อาจลบเลือนสีของดินสอ ดังนั้นควรบันทึกและสเกตภาพตางๆ ดวยปากกา หากยังไมมีความชํานาญ ควรสเกตดวยดินสอแลวลงซ้ําดวยปากกา แตเมื่อชํานาญแลวก็ควรสเกตดวยปากกา และควรมีปากกาหลายๆ สี เพื่อใชแยกเขียนสัญลักษณตางๆ สวนดินสอที่นําออกสนามควรเปนดินสอสีเพื่อใชระบายบริเวณหินโผลในแผนที่หรือสิ่งที่ตองการแสดงใหเดนชัดขึ้น การ

Page 8: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

26 ธรณีวิทยาภาคสนาม

จดบันทึก และลงลักษณะตางๆ ในแผนที่ควรดูใหแนใจกอน จะไดไมตองมีรอยลบ ขีด ฆา ปรากฏในสมุดบันทึกและในแผนที่สนาม นอกจากนี้จะตองมีปากกาเมจิกสําหรับเขียนลงในหินตัวอยาง โดยควรเลือกชนิดที่กันน้ําได 2.3.7 สมุดบันทึกในสนาม (Field notebook) การเลือกสมุดบันทึกในสนามเปนส่ิงที่นักธรณีวิทยาตองใหความสําคัญ และไมควรประหยัดโดยการเลือกสมุดที่ไมเหมาะออกสํารวจ สําหรับการเลือกสมุดบันทึกเพื่อใชงานสนาม ควรเปนสมุดบันทึกที่ทําดวยกระดาษคอนขางหนา ถูกน้ําแลวไมเปอยยุย ปกสมุดควรเปนปกแข็งหุมพลาสติกเพื่อกันน้ํา กระดาษภายในเลมตองเย็บติดกันดวยลวดไมใชประเภทติดกาวที่สัน หลักสําคัญในการเลือกสมดุคอื “สมุดนั้นเมื่อถูกลมพัดแรงๆ กระดาษจะไมฉีกขาด หรือหลุดหายออกไปจากเลม และหากสมุดถูกฝน

เปยกท้ังเลมหรือสมุดตกลงไปในน้ํา ยังสามารถนํามาใชบันทึกตอไปได” ผูเขียนแนะนําสมุดที่ตีเปนชองส่ีเหล่ียมขนาดครึ่งเซนติเมตร (คลาย engineering paper) เพราะแตละชองเปนมาตราสวนที่ดี ในการสเกตรูปตางๆ ขนาดของสมุดตองไมเล็ก หรือใหญเกินไป ขนาดที่เหมาะสมควรเปนขนาดเล็กพอที่จะใสลงในกระเปาได และใหญพอที่จะจดบันทึกและวาดภาพไดอยางสบายๆ เชน สมุดขนาด 12 x 20 เซนติเมตร เปนตน อาจมีหลายคนที่คิดจะเอาคอมพิวเตอรขนาดเล็ก เพื่อนําไปบันทึกในสนามแทนสมุดบันทึก ซ่ึงผูเขียนเริ่มเห็นมีโฆษณามากขึ้นในปจจุบัน อยางไรก็ตามหากคอมพิวเตอรที่วาสามารถทนทานตอการตกกระแทกกับหิน ทนทานตอน้ํา ตอฝน ตออุณหภูมิที่รอนถึง 40-50 oC หรือมากกวาได จึงคอยนําไปทดลองใช และอยาลืมวาของที่ผลิตใหมๆ ราคาจะสูง คุณภาพกับราคายังไมสมดุล สวนใหญราคาจะสูงกวาคุณภาพ เพราะผลิตออกมานอย ประสิทธิภาพการทํางานยังไมตอบสนองตามความตองการของผูใช เพราะผูออกแบบไมไดเปนผูใช จึงไมทราบความตองการที่แทจริงของผูใช ตองใหลองใชไปกอนแลวปรับแกตาม ดังนั้นหากคิดที่จะใชควรรอใหมีการพัฒนาคุณภาพใหเปนที่ยอมรับของตลาดกอน เพราะประเทศไทยเปนประเทศที่ซ้ือเทคโนโลยีเปนสวนใหญ จึงควรเลือกซื้ออยางรอบคอบ อยาดวนวิ่งตามกระแส 2.3.8.เส้ือผาที่ใชในสนาม (Field clothing)

นักธรณีวิทยาตองรูจักเลือกเสื้อผาใหเหมาะกับสภาพอากาศ หากตองไปสํารวจที่ใดควรตองหาขอมูลเกี่ยวกับภูมิอากาศของที่นั้นๆ กอน เพื่อจะไดเตรียมเสื้อผาใหเหมาะสม เพราะหากรางกายไมมี

Page 9: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 27

ความพรอม ยอมสงผลใหประสิทธิภาพในการทํางานในสนามลดลง ทั้งยังมีผลกระทบตอการศึกษาธรณีวิทยาโดยตรงอีกดวย สําหรับประเทศไทย มีสภาพอากาศแบบรอนชื้น ดังนั้นชวงฤดูที่เหมาะสมในการศึกษาธรณีวิทยาในสนามของประเทศเราคือ ชวงฤดูรอน ซ่ึงในชวงฤดูรอนอากาศรอนมาก ดังนั้นเส้ือผาที่ใชในสนามควรเลือกเนื้อผาที่เปนฝาย 100% เพราะเนื้อผานุม ระบายอากาศไดดี ใสแลวรูสึกสบายตัวกวาผาเนื้อผสม เส้ือควรเปนเสื้อแขนยาวเพื่อกันแดดและควรสวมเสื้อยืดขางใน เส้ือยืดควรเปนผาฝาย 100% เชนกัน ควรเจาะจงหาซื้อเส้ือที่ทําดวยฝาย 100% ในการใชออกสนาม 2.4 วิธีทําแผนที่ธรณีวิทยา (Methods of geologic mapping) 2.4.1 การกําหนดมาตราสวนที่ศึกษา

ในการทําแผนที่ธรณีวิทยานั้น อันดับแรกตองทราบจุดประสงคหลักของการสํารวจกอน เพื่อจะไดนํามากําหนดมาตราสวน ความละเอียดแมนยํา (resolution) ของแผนที่ที่จะดําเนินการสํารวจ เพื่อทําใหไดขอมูลสอดคลองกับจุดประสงค โดยควรแยกประเภทของแผนที่ที่จะทําการสํารวจใหไดวา สํารวจเพื่อทําแผนที่ประเภทใดใน 4 ประเภทที่กลาวมาขางตน เชน หากเปนการสํารวจเพื่อทําแผนที่ธรณีวิทยาเฉพาะทาง (geologic map for special purpose) ก็ควรคํานึงสิ่งที่ตองพิจารณาลําดับตอไป คือ ความละเอียด แมนยํา ของขอมูลที่ตองการทราบ เชน หากตองการใหแสดงแผนที่ของหนวยหินที่มีความหนามากกวา 10 เมตรขึ้นไป มาตราสวนที่ควรทําการสํารวจจะตองไมนอยกวา 1:5,000 ซ่ึง 1:5,000 หมายความวา 1 เมตรในแผนที่เทากับ 5,000 เมตรในสนาม นั่นคือ 1 เซนติเมตรในแผนที่เทากบั 50 เมตรในสนาม และ 1 มิลลิเมตรในแผนที่เทากับ 5 เมตรในสนาม ซ่ึงจะตองลงหินที่หนามากกวา 10 เมตร นั่นคือขอบเขตที่แสดง 2 มิลลิเมตรในแผนที่ เมื่อลงในแผนที่ดวยปากกาขนาด 0.5 มิลลิเมตร หากขอบเขตของหินที่จะลากหางกัน 2 มิลลิเมตร จะสามารถลากไดอยางสะดวกและเห็นชัดเจน แตหากใชปากกาดวยเสนขนาด 1 มิลลิเมตร เมื่อลงขอบเขตของหินหนา 10 เมตร เสนที่ลากสองเสนจะกลายเปนเสนเดียว ทําใหแยกไมได หรือตรงกันขาม หากเราใชปากกาขนาด 0.2 มิลลิเมตร ในการทําแผนที่สนาม สามารถลงขอบเขตไดละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร เปนตน โดยทั่วไปเสนปากกาที่ใช คือ 0.5 มิลลิเมตร ดังนั้นมาตราสวนนอยที่สุดคือ 10 เมตร หากเปนแผนที่ 1:1,000,000 มาตราสวนนอยสุดที่จะลงได หรือความผิดพลาดที่ยอมรับไดคือ 2 กิโลเมตร เปนตน โดยกรอบภาพการตูนในรูปที่ 2.1 เปนสิ่งที่ตองการย้ําเกี่ยวกับการกําหนดความแมนยํา

ดังนั้นวัตถุประสงคของการทําแผนที่เปนตัวกําหนดความละเอียดแมนยํา เชน ถาสนใจทําการศึกษาผลการเกิดน้ําทวมในสนาม ส่ิงที่สนใจ คือ การตกตะกอนของแมน้ํา ไมใชหินดาน (bed

Page 10: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

28 ธรณีวิทยาภาคสนาม

rocks) ความละเอียดของการแบงหนวยหิน อาจสนใจที่ตะกอนแมน้ํา (alluvial deposits) ที่มีความหนามากกวา 1 เมตรขึ้นไป ตามความสูงต่ําที่อยูเหนือลําแมน้ํา ดังนั้นหินแข็งที่โผลในบริเวณหรือหินที่รองอยูใตดินตะกอนแมน้ํา ถึงแมสามารถแยกแยะได แตอาจรวมเปนหนวยเดียวกันได เพราะไมไดอยูในจุดที่สนใจ ในทางตรงกันขาม หากสนใจโครงสรางธรณีวิทยาของพื้นที่เดียวกันแตไมใชการวิเคราะหภัยจากน้ําทวม หินแข็งจําเปนตองแบงเปนหลายๆ หนวย ขณะที่ตะกอนแมน้ําอาจจัดรวมเปนหนวยเดียว เปนตน

สําหรับในการศึกษาหนวยหินในบางกรณีสามารถเลือกศึกษาเฉพาะหนวยหินที่สนใจได แตบางกรณีแมตองการทราบขอมูลของหินหนวยเดียวแตหินนั้นมีความสัมพันธกับหนวยหินอื่น ก็ไมอาจหลีกเล่ียงได เชน กรณีที่ตองการศึกษารอยเลื่อนในชุดหินพรีแคมเบรียน โดยจะไมศึกษาหนวยหินพาลิโอโซอิก หรือหินที่มีอายุออนกวาเลยไมได เพราะจะมีคําถามตามมาคือ รูไดอยางไรวารอยเลื่อนเกิดขึ้นเมื่อใด อาจเปนชวงพรีแคมเบรียน หรือ เพลิโอโซอิก หรือ รูไดอยางไรวารอยเลื่อนเกิดจากการคืนพลังอีกครั้งหลังยุคพรีแคมเบรียน ไมใชยุคกอนหนานั้น ซ่ึงการที่จะมองขามไมศึกษาหนวยหินอื่น บางกรณีอาจทําได ไมมีผลกระทบ แตบางกรณีแมวาจุดสนใจอยูที่หินหนวยใดหนวยหนึ่ง แตการเกิดการเปลี่ยนแปลงตามกระบวนการแปรสัณฐานของเปลือกโลกแลว หนวยหินขางเคียงก็ยอมมีผลดวยเชนกัน และบางครั้งอาจบันทึกขอมูลเก็บไวใหนํามาใชวิเคราะห หาความชัดเจนของโครงสรางที่สนใจได

การกําหนดวาจะศึกษาหนวยหินใด อยางไร จึงจําเปนตองพิจารณาจุดประสงคของการสํารวจเปนอันดับแรก เมื่อกําหนดวาจะศึกษาอยางไร แลวตองสามารถบอกไดวาทําไมจึงจําเปนตองศึกษา ถา

ไมศึกษาจะมีผลอยางไร เปนตน ขอย้ําวาควรตองตอบคําถามใหไดวา ถาไมสํารวจแลวผลกระทบหรือ

สิ่งท่ีจะเกิดขึ้นตามมามีอยางไร ซ่ึงหากผูสํารวจตอบไดชัดเจน ยอมหมายความถึงผูสํารวจเขาใจ

ความสําคัญของการเดินสํารวจภาคสนาม และอยากรูอยากศึกษาเพื่อใหไดคําตอบ แตหากผูทําการ

สํารวจไมเขาใจถึงวัตถปุระสงคของการสํารวจแลว การศึกษาภาคสนามจะกลายเปนสิ่งท่ีนาเบื่อมากกวา

สิ่งที่ทาทาย ทายท่ีสุดจะทําให ผลงานที่ปรากฏออกมาไมเปนประโยชนเต็มท่ี อุปสรรคที่คอนขางสําคัญในการทําแผนที่ธรณีวิทยาในสนามของประเทศแถบรอนชื้น เชน ที่

ประเทศไทยที่มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบถูกปกคลุมดวยดิน เทือกเขาเปนปา เถาวัลย และดินคลุมเปนสวนใหญ หินโผลมีใหเห็นนอย และบริเวณใดที่มีหินโผลก็จะพบวามีการผุกรอนมาก ทําใหใชเวลาในการสํารวจคอนขางมาก บางครั้งเมื่อหาบริเวณหินโผลไมไดจริงๆ อาจจําเปนตองขุดสํารวจ หรือสํารวจดวยวิธีทางธรณีฟสิกส ดังนั้นขอมูลที่ผิวดินที่รวบรวมมาไดคอนขางนอย จึงสงผลใหความคลุมเครือของธรณีวิทยาในหลายพื้นที่ไมถูกเปดเผย

Page 11: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 29

รูปท่ี 2.1 การกําหนดมาตราสวนของแผนที่เปนการกําหนดความแมนยําของแผนที่ที่จะทําการสํารวจ โดยเฉพาะขอบเขตของหินโผลที่จะนํามาแสดงในแผนที่

Page 12: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

30 ธรณีวิทยาภาคสนาม

2.4.2 การเตรียมแผนที่ฐาน การวางแผนและการกําหนดเวลาการสํารวจ เมื่อสามารถกําหนดมาตราสวนของแผนที่ที่จะศึกษาในสนามไดแลว จากนั้นเตรียมแผนที่ฐาน

(base map) ตรงตามมาตราสวนที่ตองการสํารวจ โดยทั่วไปแผนที่ฐานที่นิยมใชคือ แผนที่ภูมิประเทศซึ่งในประเทศไทยใชแผนที่ทหารมาตราสวน 1:50,000 จากมาตราสวนนี้สามารถนํามาขยายเพื่อใชเปนแผนที่ฐานที่นําออกไปศึกษาในสนาม เพื่อเปน แผนที่สนาม (field map) เชน นําแผนที่มาตราสวน 1:50,000 ขยายเปน 1:10,000 และนําออกไปสํารวจในสนาม แตในกรณีที่ตองการทําแผนที่ที่มีมาตราสวนขนาดใหญ มีความละเอียดสูง เชน 1:500, 1:1,000 หรือ 1:5,000 ตองทําแผนที่ภูมิประเทศขึ้นใหมเพื่อใชเปนแผนที่ฐาน โดยใชกลองวัดระดับเพื่อวัดระดับความสูง-ต่ําของภูมิประเทศ และแผนที่ฐานขึ้นมาในมาตราสวนที่ตองการ

ภาพถายทางอากาศบางครั้ง สามารถใชเปนแผนที่ฐานในการทําแผนที่ธรณีวิทยาได แผนที่ภาพถายทางอากาศจะแสดงขอบเขตของหินโผลได การหารอยสัมผัสบางครั้งสามารถหาไดจากการศึกษาทางภาพถาย ถาทําการศึกษาธรณีวิทยาในมาตราสวนเล็ก และครอบคลุมบริเวณกวาง ภาพถายทางดาวเทียมก็สามารถนําเขามาศึกษาได ขอเสียของการใชภาพถายทางอากาศคือ เสียเวลาในการถายเทขอมูลจากภาพถายลงในแผนที่ภูมิประเทศ ซ่ึงตองทําดวยความละเอียดเพื่อปองกันการคลาดเคลื่อนของผิวสัมผัสที่สังเกตไดจากภาพถาย ภาพถายทางอากาศใชในการวางแผนการสํารวจ (traverse) และการแปลความหมายทางโครงสราง เมื่อไดแผนที่ฐานพรอมขอบเขตของพื้นที่ที่ตองทําการสํารวจ ลําดับตอไปคือ

(1) การทบทวนวรรณกรรม (literature review) การสํารวจของพื้นที่นั้น โดยการศึกษารายงานทางธรณีวิทยาทองถ่ิน หรือสํารวจวามีนักธรณีวิทยาจากสวนใดกําลังศึกษาในพื้นที่เดียวกันอยูหรือไม เพื่อจะไดไมทํางานซ้ํา

(2) ศึกษารายงานธรณีวิทยาภูมิภาค เพื่อใหเขาใจในภาพรวมหรือพื้นที่ เชน บางครั้งขอบเขตของพื้นที่ทําการศึกษาเปนแขนขางหนึ่งของการคดโคง เมื่อพิจารณาจากธรณีวิทยาภูมิภาค ดังนั้นในสนามอาจสามารถคาดลวงหนาวาตองพบโครงสรางการคดโคงยอย (minor folds) ที่แขนของการคดโคงใหญเปนตน

(3) ออกไปสํารวจดูพื้นที่อยางคราวๆ สํารวจดูการโผลของหินในพื้นที่ สํารวจดูความยากงายของการเขาถึงพื้นที่ ความปลอดภัยในการเขาศึกษาภาคสนามในพื้นที่ ความเปนมิตรตอคนแปลกหนาของคนในพื้นที่ และ อุปสรรคในการทํางาน และอ่ืนๆ เพื่อจะไดนํามาชวยในการกําหนดระยะเวลาที่ใชในการสํารวจ

Page 13: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 31

(4) กําหนดระยะเวลาในการสํารวจ และเตรียมการตางๆ ลวงหนา พรอมประเมินคาใชจายตางๆ ในสนาม การเลือกระยะเวลาสํารวจควรคํานึงถึงฤดูกาลที่สํารวจดวย เพราะถือเปนเรื่องที่สําคัญ โดยเฉพาะในประเทศของเรา ชวงที่จะกําหนดการทําการสํารวจในสนาม ควรเปนฤดูหนาวและฤดูรอน เพราะทั้ง 2 ฤดูการเขาถึงพื้นที่ทําไดงายกวา และพื้นที่มีตนไมปกคลุมนอย

(5) ศึกษาภาพถายทางอากาศและภาพถายดาวเทียม ในกรณีการสํารวจในมาตราสวนขนาดเล็ก

(6) อานวรรณกรรมการสํารวจอีกครั้ง ตรวจขอเสนอแนะหรือจุดบกพรองใดในรายงานยังไมสามารถไขปญหาธรณีวิทยาไดและมีส่ิงใดที่ควรศึกษาเพิ่มเติม พรอมทบทวนความรูพื้นฐานสําคัญในการออกสนาม

การวางแผนการสํารวจขึ้นอยูกับ (1) ความละเอียดที่ตองการทราบ (2) เวลาที่ใชในการศึกษา และ (3) ความซับซอนและความยากงายของพื้นที่ เชนในพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร หากพื้นที่นั้นไมมีความตอเนื่องของชั้นหินและมีความซับซอนของโครงสรางมาก หากมีเวลาศึกษาเพียง 1 อาทิตย ความละเอียดที่ไดจากการศึกษาภายใน 1 อาทิตย คงไดนอยกวาความละเอียดที่ศึกษาในหนึ่งเดือน แตหากหินในพื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรวางตัวตอเนื่อง มีโครงสรางเฉพาะโครงสรางปฐมภูมิ โดยหินมีทิศทางการวางตัวในแนวราบ การศึกษาใน 1 อาทิตยในสนาม หรือ 1 เดือนในสนามก็อาจไดขอมูลที่ไมแตกตางกัน ดังนั้นองคประกอบของการกําหนดเวลาของการศึกษาในภาคสนามของพื้นที่ใดๆ จึงขึ้นอยูกับปจจัยทั้งสามขอที่กลาวมาแลว โดยที่การกําหนดระยะเวลาและเลือกบริเวณหินโผลที่ควรศึกษา ตองเลือกใหสอดคลองกับความละเอียดที่ตองการ โดยตองทําการสํารวจในสนามอยางคราวๆ (reconnaissance) กอน แลวจึงนํามากําหนดระยะเวลาและวางแผนศึกษาในรายละเอียด อยางไรก็ตามสําหรับนักธรณีวิทยาที่ยังดอยประสบการณในการออกสนาม ควรเลือกคูมือการสํารวจภาคสนามที่จําเปน หากไมทราบวาจะเลือกอานจากหนังสือตําราเลมใด อาจลองคนหาในอินเตอรเน็ต หรือดูจากรายชื่อหนังสือที่แสดงในบทบรรณานุกรมทายเลม 2.4.3 การสํารวจ

การทํางานในระหวางการสํารวจในสนามแบงออกไดเปน 3 ลักษณะ คือ (1) ศึกษาและบันทึกหิน-ดิน และสภาพพื้นที่ โดยบงบอกวาเปนหิน-ดิน อะไร มีลักษณะ รูปราง องคประกอบ โครงสราง

Page 14: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

32 ธรณีวิทยาภาคสนาม

หรืออ่ืนๆ อยางไร ทําไมจึงโผลใหเห็นในบริเวณนั้น (2) หาตําแหนงของหินโผล และ (3) พลอตตําแหนงของหินโผล และขอมูลทางธรณีวิทยาอื่นๆ ที่พบในหินโผลลงในแผนที่สนาม

วิธีการทําแผนที่ธรณีวิทยาทําไดหลายวิธี แตเงื่อนไขของเวลาและความพยายามที่จะศึกษานั้นเปนตัวสําคัญในการกําหนด หากเราสนใจศึกษาการทําแผนที่ ควรเริ่มดวยการศึกษาขั้นหยาบกอน เพื่อดูรอยสัมผัสของหนวยหิน หนวยหินตางๆ และลักษณะโครงสรางที่ปรากฏ จากนั้นจึงกําหนดการศึกษาขั้นละเอียดเพื่อหาการวางตัว ลักษณะสัณฐานที่พบ และความตอเนื่องของหนวยหิน แผนที่ธรณีวิทยาแสดงขอบเขตของหินที่กระจายอยูในพื้นที่ ดังนั้นรอยสัมผัสเปนสวนที่สําคัญมากในแผนที่ จึงตองลงขอบเขตใหไดถูกตองแมนยํา สามารถตรวจสอบได โดยมีความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได ซ่ึงคํานวณไดจากขนาดของมาตราสวนแผนที่ที่ทํานั่นเอง เชน 1:1,000,000 ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดคือ 2 กิโลเมตร หรือ 1:10,000 ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดคือ 20 เมตร หรือ 1:5,000 ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดคือ 10 เมตร เปนตน 2.4.3.1 การเดินสํารวจ (Traversing)

การเดินสํารวจเริ่มดวยการพิจารณาเพื่อกําหนดจุดตางๆ ที่จะใชเปนจุดหลักในการตรวจสอบความถูกตองของการวางเสนสํารวจ ควรเลือกจากลักษณะเดนชัดของพื้นที่ เชน ขอบชายฝง ตําแหนงการคดโคงของแมน้ํา รองหรือสันเขา ลําดับตอมาคือ การลงเสนทางเดิน (traverse) จะใชการนับกาวพรอมการใชเข็มทิศกําหนดทิศทางเดิน ซ่ึงการใชเข็มทิศกําหนดทิศทางเดินและนับกาวในบางพื้นที่พบวามีความจําเปนอยางยิ่ง เพราะไมมีจุดหาตําแหนงอื่นๆ ตัวอยางเชน ในบริเวณเขาที่ไมมีลักษณะภูมิประเทศเดนชัด ทุกอยางจะคลายกันหมด หรือหากตองการความละเอียด เมื่อทําการสํารวจในมาตราสวนขนาดใหญควรใชการนับกาว หรือถาสํารวจในบริเวณที่เปนแหลงแรเหล็ก บางทีเข็มทิศก็อาจใชไมได เพราะเข็มทิศไมไดช้ีไปยังที่ที่ควรจะเปนเพราะถูกรบกวนดวยแรที่เปนแมเหล็ก ทําใหการลงตําแหนงจากการใชเข็มทิศ เพื่อหาตําแหนง อาจคลาดเคลื่อนและไมถูกตอง

การเดินสํารวจแบบกําหนดเสนทางจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เพื่อศึกษาธรณีวิทยาระหวางเสนทางเดินสํารวจ พรอมลงขอมูลตางๆ ในแผนที่สนาม รูปแบบของการวางเสนทางเดินสํารวจมีหลายแบบ เชน เดินสํารวจตามทางน้ํา ตามรองเขา ตามถนน ตามแนวเหนือ-ใต หรือทิศทางใดทิศทางหนึ่ง เดินเปนตาราง ดังแสดงในรูปที่ 2.2 หรืออ่ืนๆ ขึ้นอยูกับจุดประสงค การเดินเปนตารางมักทําใหพื้นที่ที่หินโผลใหเห็นนอย มีสภาพพื้นที่เรียบไมมีรองน้ํา หรือรองเขา สําหรับในพื้นที่ของประเทศไทยเราสวนใหญนั้น ถาเปนพื้นที่เรียบ อาจสํารวจไดจากบอน้ําขุด หรือหลุมเจาะ หรืออาจสํารวจโดยใชธรณีฟสิกส

Page 15: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 33

รูปท่ี 2.2 การเดินสํารวจแบบเดินตามตาราง เนื่องจากหินโผลมีใหเห็นนอย ภาพบนเปนภาพที่ไดจากแผนที่สนาม ภาพลางเปนแผนที่ธรณีวิทยาจากภาพบน (ภาพปรับปรุงจาก Davis and Reynolds, 1996)

จากรูปที่ 2.2 เมื่อเรากําหนดที่จะเดินตามตาราง เราตองวางแนวสํารวจตามตาราง (grid line) จะ

ทําใหไดขอมูลที่ละเอียดทุกตารางที่กําหนด หรือหากไมตองการความละเอียดมากนัก แตพื้นที่มีตนไมหรือดินปกคลุมมาก ทําใหการโผลของหินมีใหศึกษานอย ดังนั้นการทําแผนที่แบบเดินตามตารางก็อาจจําเปนตองทํา สําหรับการสํารวจแบบคราวๆ ซ่ึงเสนสํารวจจะมีระยะหางกันมาก เพื่อใหไดแนวสํารวจที่ตัดผานพื้นที่ในภาพกวาง

Page 16: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

34 ธรณีวิทยาภาคสนาม

เมื่อกําหนดแนวสํารวจไดแลว การเดินสํารวจโดยทั่วไปจะเดินเปนเสนตรงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่งตามแนวที่กําหนดไว และเมื่อมีการเปลี่ยนทิศทางการเดินจุดที่เปล่ียนพอดีเรียกวา จุดเปลี่ยน (turning point) การเดินจะใชเข็มทิศในการกําหนดใหเดินไปตามทิศทางที่ตั้งใจ เมื่อพบหินโผลจะทําการบันทึกขอมูลลงในแผนที่สนาม และสมุดบันทึกในสนาม หากพบวามีหินโผลที่นาสนใจและตองการสํารวจตอ โดยแยกออกจากแนวสํารวจที่วางไว เรียกวา แนวสํารวจยอย (sub traverse) เมื่อสํารวจยอยแลวจึงเดินกลับมาหาจุดของแนวสํารวจเดิม การเดินจะตองควบคุมทิศทางและบันทึกระยะตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อประหยัดเวลาในการหาตําแหนงใหมทุกครั้งที่พบหินโผล

การหาตําแหนงควรทําเฉพาะจุดเริ่มตนของเสนสํารวจ จากนั้นจะนับกาวและเดินไปในทิศทางกําหนด แนวสํารวจอาจเปนเสนตรงไปตลอดทั้งแนว โดยอาจจะมีแนวสํารวจยอยแยกเปนแขนงออกไป หรือเปนแบบวงรอบปด การสํารวจแบบวงรอบมีขอดี คือ สามารถทราบถึงระยะความผิดพลาดของระยะทางที่นับกาวและทิศทาง แตหากลงในแผนที่แลวพบวาไดเสนที่ไมบรรจบกัน คาความผิดพลาดที่เกิดจะสามารถนํามาปรับแกโดยเทียบจากคาเฉลี่ย หรือหากเราไปสํารวจในประเทศหรือในภูมิประเทศที่ไมคุนเคยแลว การนับกาวและการกําหนดทิศทางการสํารวจจําเปนอยางยิ่ง

การเดินสํารวจในประเทศไทยของเราโดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมคอยพบอุปสรรคในการกําหนดตําแหนงตางๆ ลงในแผนที่มากนัก เพราะสภาพภูเขาไมรกทึบ และคอนขางกระจาย พรอมกับอัธยาศัยที่ดีของผูคนในพื้นที่ที่ชวยใหขอมูลตางๆ ทําใหเราสามารถกําหนดจุดสํารวจได แตหากเราตองสํารวจในพื้นที่โลง เชน ทุงกุลารองไห และใหลองกําหนดตําแหนงที่อยูในขณะนั้น โดยมีแผนที่ภูมิประเทศขนาด 1:50,000 และสมมุติวาเราอานภาษาไทยและภาษาอังกฤษไมออก (เพราะในแผนที่เขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) แลวใหเรากําหนดตําแหนงตนเองลงในแผนที่ ที่มีเสนความสูง-ต่ํา อยูเพียง 1-2 เสน ในแผนที่ 1:50,000 ทั้งแผน โดยมีเพียงเข็มทิศ เทานั้น เราอาจจะกําหนดตําแหนงตนเองไมได และหากสมมุติตอไปอีกวาใหพื้นที่บริเวณนั้นมีหินโผล อยูหลายชนิด แตหินทุกชนิดมีความผุกรอนเทาๆ กัน ทําใหพบเปนที่ราบขนาดใหญ มีรอยแตก คอนขางคลายกัน จึงทําใหสภาพภูมิประเทศเหมือนกัน หากกําหนดตําแหนงใหวาเราอยูที่ใดในแผนที่ของบริเวณนั้น และใหเราทําการสํารวจธรณีวิทยาของพื้นที่ทั้งหมดที่ปรากฏในแผนที่ วิธีที่เหมาะสมในการนํามาใชคือ การวางเสนสํารวจแบบนับกาว และการกําหนดทิศทาง มิฉะนั้นเราจะลงตําแหนงที่หินแตละชนิดโผลไมถูกตอง และตองถายตําแหนงจากจุดที่ทราบตอออกไปเรื่อยๆ ที่สําคัญควรตะหนักวางานที่เราสํารวจ ตองสามารถตรวจสอบความถูกตองได หากในแผนที่แสดงตําแหนงนั้นวาเปนรอยตอแบบรอยเลื่อนของชั้นหิน เมื่อมีผูออกไปสํารวจจะตองพบวาเปนจริงตามที่ปรากฏในแผนที่ ดังนั้นจะเห็นวาความถูกตอง

Page 17: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 35

แมนยําในการลงตําแหนง และการวัดคาตางๆ ในสนาม ที่ผูเขียนย้ํามาตลอดนั้นถือเปนสิ่งที่สําคัญมาก และอยาลืมวาความผิดพลาด หรือคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดประมาณ 2 มิลลิเมตรในแผนที่เทานั้น 2.4.3.2 การเดินสํารวจตามแนวสัมผัส (Mapping contact relationships) วัตถุประสงคของการทําแผนที่ เพื่อลงขอบเขตหนวยหินตางๆ ที่กระจายอยูในพื้นที่ การหาขอบเขตของหนวยหิน หรือรอยสัมผัส ระหวางหนวยหินสองหนวย ตองเดินสํารวจเชนกัน หากพบขอบเขต ระหวางหนวยหินโผล ในแผนที่จะตองลงดวยเสนทึบ แตหากถูกพื้นดิน หรือตนไมปกคลุม จะตองลงดวยเสนประ การลงสัญลักษณของรอยสัมผัสดังแสดงในรูปที่ 2.3

จากนิยามของรอยสัมผัสของหินคือ “ขอบเขตระหวางหินสองชนิดท่ีอยูติดกัน” จากนิยามดูเหมือนพิจารณาไดงายเพราะเมื่อสามารถบงบอกวาหินตางกันได ก็ตองสามารถหาจุดที่สัมผัสที่หินสองชนิดอยูติดกันได แตเช่ือหรือไมวาการบงบอกรอยสัมผัสคอนขางเปนส่ิงที่มีปญหาใหนักธรณีวิทยาไดคิดหาคําตอบมากมาย โดยรอยสัมผัสแบงเปน 5 ชนิด คือ

(1) รอยสัมผัสแบบสะสมตัวธรรมดา (Depositional contact) เปนการตกตะกอนแบบตอเนื่องของหินของหนวยหินตะกอน หรือหนวยหินภูเขาไฟที่มีการวางตัวเปนชั้น มีอายุใกลเคียงกัน มีการวางตัวขนานกัน (รูปที่ 2.4)

(2) รอยสัมผัสแบบรอยชั้นไมตอเนื่อง(Unconformities contact) รอยตอของหินที่เกิดจากการขาดการตอเนื่องในระหวางการสะสมตัวหรือการเกิดหิน โดยหินลางมีอายุมากกวาหินบนและหินลางตองผุกรอน กอนที่หินที่อยูขางบนวางปดทับ แบงออกเปน 3 ชนิด คือ (1) รอยช้ันไมตอเนื่องเชิงมุม (angular unconformity) (2) รอยช้ันไมตอเนื่องคงระดับ (disconformity) และ(3) รอยช้ันไมตอเนื่องบนหินอัคนี (nonconformity) ดังแสดงในรูปที่ 2.5 และ รูปที่ 2.6 แสดงภาพตัวอยางจากที่พบในสนาม

(3) รอยสัมผัสจากหินอัคนี (Igneous contacts) การทําแผนที่ธรณีวิทยาที่แสดงรอยสัมผัสจากหินอัคนีแทรกซอน หรือจากการปะทุของหินอัคนี หากเปนหินอัคนีแทรกซอน เปนการบงบอกถึงการแทรกเขามาของหินหนืดและแข็งตัวอยูในหินทองที่ ซ่ึงหินทองที่เปนหินตะกอน หินแปรหรือหนิอคันกี็ได หินทองถ่ินที่ถูกแทรกซอนจะถูกตกผลึกใหมหรือแปรสภาพ สวนหินอัคนีจะพบวามีผลึกเล็กที่ใกลเคียงกับหินทองที่ เพราะมีการเย็นตัวรวดเร็ว การแสดงรอยสัมผัสจากหินอัคนีแทรกซอนขึ้นอยูกับขนาดที่ปรากฏ เชน บาโทลิท (batholith) แลคโคลิท (laccolith) โลโพลิท (lopolith) ฟาโคลิท (phacolith) พนังแทรกชั้น (sill) หรือ พนัง (dike)

Page 18: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

36 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 2.3 สัญลักษณของรอยสัมผัส ประเภทตางๆ สําหรับรอยสัมผัสของหินอัคนีและรอยสัมผัสแบบสะสม

ตัวธรรมดาลงเสนเหมือนกัน แตหนวยหินที่แสดงบงบอกไดวาเปนรอยสัมผัสแบบใดเฉพาะระหวางรอยสัมผัสของหินอัคนีและรอยสัมผัสแบบสะสมตัวธรรมดา

รูปท่ี 2.4 ภาพซายมือรอยสัมผัสแบบสะสมตัวธรรมดา (depositional contact) ระหวางหินทรายและหินดินดานบริเวณผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี ภาพขวามือรอยสัมผัสช้ันหินทรายเฉียงระดับที่แสดงมุมเฉียงตางกัน พบที่บริเวณ เขาเฉลียง จังหวัดอุบลราชธานี (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

Page 19: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 37

รูปท่ี 2.5 รอยช้ันความไมตอเนื่อง รอยช้ันที่แสดงโดยภาพตัดขวางสังเกตไดงาย แตหากดูจากภาพมองจากที่

สูง (plan view) อาจจะสังเกตไดยาก

รูปท่ี 2.6 ภาพซายมือรอยช้ันความไมตอเนื่องเชิงมุม เปนภาพถายจาก Duncan Heron เผยแพรภาพทางอินเตอรเนต ภาพขวามือเปนรอยช้ันไมตอเนื่องบนหินอัคนีหรือหินแปร บริเวณแกรนดแคนยอนรัฐอริโซนา สหรัฐอเมริกา (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

(4) รอยสัมผัสจากรอยเลื่อน (Fault contacts) บางครั้งรอยเลื่อนสามารถสังเกตเห็นผิวระนาบรอยเล่ือนชัดเจน สามารถแสดงในแผนที่ได แตบางครั้งตองใชเปนการคาดเดา (infer) เนื่องจากพบหลักฐานที่สนับสนุนวานาจะเปนรอยเล่ือน เชน ความหนาของชั้นหินหนาหรือบางผิดปกติจากที่ควรจะเปน หรือมีการซ้ํากันของหนวยหิน เปนตน ในสนามหากพบเปนเขตรอยเลื่อน (fault zone) ที่พบเศษหินแตกหักรูปเหล่ียม (breccia) หรือ ผงรอยเล่ือน (gouge) หรือหากพบวามีความหนาพอที่จะลงในแผนที่ไดก็ควรแสดงขอบเขตของแนวรอยเลื่อน ดังตัวอยางแสดงในรูปที่ 2.7

Page 20: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

38 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 2.7 รอยสัมผัสจากรอยเลื่อนภาพซายมือพบเปนรอง หินจะผุมากวาหินขางเคียง ภาพขวามือจะเห็นระนาบการเลื่อนมีการบิด และมีความทนทานตอการผุคอนขางสูง ทําใหเห็นระนาบการเลื่อนชัดเจน ภาพซายมือถายในบริเวณรัฐยูทาร ทางตอนลาง สวนภาพขวามือถายในบริเวณพื้นที่ อําเภอแกลง จังหวัดระยอง (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

(5) รอยสัมผัสเขตรอยเฉือน (Shear zone contacts) เปนรอยสัมผัสที่เกิดจากขอบเขตรอยเฉือน ซ่ึงพบวามีลักษณะคลายรอยเล่ือน แตรอยเฉือนเกิดจากการเปลี่ยนลักษณะแบบกึ่งพลาสติก – พลาสติก หินในเขตรอยเฉือนจะแสดงลักษณะถูกรีดเปนแผนๆ ดังแสดงในรูปที่ 2.8

รูปท่ี 2.8 หินที่เกิดในเขตรอยเฉือนพบเปนแนวริ้วขนาน (foliation) ภาพซายมือเปนหินในเขตรอยเฉือนซึ่งหินเดิมเปนหินดินดาน ถูกเฉือนและมีสายแรควอตซแทรก ภาพขวามือพบในบริเวณใกลเคียงกัน ลักษณะของหินที่ถูกเฉือนแสดงริ้วขนานที่บิดไปมา แสดงวามีลักษณะเปนพลาสติกนอยกวาหินในภาพซายมือ ทั้งสองภาพถายในบริเวณแมน้ําโขง อําเภอปากชม จังหวัดเลย (เพียงตา สาตรักษ ถายภาพ)

Page 21: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 39

2.4.3.3 การทําแผนที่ในบริเวณที่ไมมีหินโผล บริเวณที่ปกคลุมดวยดินและตนไม หาหินโผลไมไดเลย หรือในทะเล จะมีวิธีการทําแผนที่ธรณีวิทยาอยางไร วิธีทํามีดังนี้

(1) กรณีท่ีสํารวจบนพื้นดิน (1.1) ดูลักษณะของดินและเศษหิน เพราะดินเปนผลจากการผุสลายของหิน ยกเวน

จะตองไมเปนดินที่เกิดจากตะกอนทางน้ํา (1.2) ดูจากลักษณะภูมิประเทศ และตนไม ที่อาจจะแตกตางกัน หากหินที่อยูใตลงไป

มีลักษณะตางกัน (1.3) ขุดหรือเจาะเพื่อดูวาจะสามารถแสดงเปนหิน หรือดิน โดยอาจตองขุดหลายๆ

หลุม (ขึ้นอยูกับความละเอียดที่ตองการศึกษา) และขุดจนถึงระดับ 1 เมตร หากกําหนดเงื่อนไขในแผนที่วา ถาพื้นที่นั้นมีดินหนามากกวา 1 เมตร จะทําการ แสดงเปนดิน เปนตน แตหากตองการทําแผนที่ในกรณีพิเศษ เชน ศึกษาหินฐาน ก็จะตองเจาะถึงหินฐานเปนตน

(1.4) ใชการสํารวจทางธรณีฟสิกส เชน การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือน การสํารวจดวยไฟฟา หรือ อ่ืนๆ

(2) กรณีการสํารวจทางทะเล

(2.1) ใชการสํารวจทางธรณีฟสิกส เชน การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือน การสํารวจ ดวยไฟฟา หรือ อ่ืนๆ

(2.2) เจาะหลุมสํารวจ 2.4.3.4 การบรรยายหิน (Rock description)

หินที่พบในหินโผลตองบรรยายในสมุดบันทึกสนามทันที ไมควรนํากลับมาทําในที่พัก เพราะยังมีหินโผลที่ตองศึกษาอีกมาก หากบันทึกทันที เมื่อเกิดขอสงสัยจะได ตรวจสอบไดทันทีในสนาม นอกจากนี้ขอมูลในสมุดบันทึกสนามจะนํามาใชประกอบการทําแผนที่ธรณีวิทยาฉบับสมบูรณ ถาความละเอียดจากสมุดบันทึกมีมาก การแปลความและเทียบความสัมพันธ (interpretation and correlation) สามารถทําไดงาย ซ่ึงการทํางานทุกอยางหากทําอยางเปนระบบยอมสงผลที่ดีตามมาเสมอ ดังนั้นการ

Page 22: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

40 ธรณีวิทยาภาคสนาม

บรรยายหินจึงควรบรรยายอยางเปนระบบ เชน เร่ิมจากการบรรยายลักษณะทั่วไปของสภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ เชน เนินเขา รองน้ํา หนาผา หรืออ่ืนๆ จากนั้นบรรยายลักษณะของหินโผล ขนาด รูปราง ลักษณะของหินโผล พืชพันธุที่ปกคลุม ลักษณะของดิน หรืออื่นๆ ทั่วไป ลําดับตอมาพิจารณาเฉพาะหิน โดยบรรยายเนื้อหิน แรองคประกอบ สี การผุกรอน ความสัมพันธกับหินขางเคียง หากพบวาเปนหนิอคันีจะตองบรรยายลักษณะการเกิด เชน พบเปน พนังแทรกชั้น หรือพนัง หรืออ่ืนๆ ขนาดที่ปรากฏ รอยแตก รอยสัมผัสกับหินขางเคียง

หากพบวาเปนหินตะกอนควรบรรยาย ขนาดของเม็ดตะกอน ประเภทของหินตะกอนเชน หินตะกอนที่ตกสะสมแบบชีวภาพ หรือหินตะกอนที่ตกสะสมแบบเศษหิน หรือหินตะกอนที่เกิดจากการตกผลึก รูปรางที่ปรากฏของหินในหินโผล เชน เปนแบบเลนส แบบชั้นหินหรือแบบชั้นหินบาง เปนตน และโครงสรางตางๆ ที่พบในหินตะกอน พรอมซากดึกดําบรรพ หากพบเปนหินแปรควรตองบรรยายสภาพของการแปรวาเปนการแปรแบบใด เชน แบบไพศาล แบบแปรสัมผัส หรือแบบไดนามิก โครงสรางทุติยภูมิที่พบในเนื้อหิน เชน โครงสรางแนวแตกเรียบแบบหินชนวน โครงสรางริ้วขนานแบบชีสต หรือ อ่ืนๆ สําหรับการบรรยายหินดูจากเนื้อหิน เม็ดขนาด สี องคประกอบ ควรแยกใหไดชัดเจนระหวาง 3 ประเภท คือ หินตะกอน หินอัคนี หรือหินแปร เมื่อแยกประเภทได ตอมาจึงเรียกชื่อ และบรรยายลักษณะที่พบ ซากดึกดําบรรพ และอ่ืนๆ ซ่ึงในบทที่ 4, 5, และ 6 จะเปนบทที่กลาวถึงรายละเอียดที่ตองศึกษา-บรรยายเมื่อพบหินอัคนี หินตะกอน และหินแปรในสนาม ดังนั้นควรอานในแตละบทใหเขาใจ และสรุปถึงหลักสําคัญๆ ที่ตองพิจารณาตรวจสอบหินแตละชนิดเมื่ออยูในสนาม โดยทําเปนลําดับการตรวจสอบในสนาม เพื่อใหแนใจวาบันทึกไดสมบูรณแลว ตัวอยางของการบันทึกแสดงในรูปที่ 2.9 ซ่ึงเปนบันทึกของผูเขียนที่ไดออกสนามรวมกับนักศึกษาในบริเวณอําเภอปากชม จังหวัดเลย ลักษณะธรณีวิทยาของพื้นที่นี้ มีความนาสนใจมาก เพราะหินที่โผลในบริเวณขางถนน และในแมน้ําโขงมีการเปลี่ยนลักษณะที่นาศึกษา

อยางไรก็ตามในการบันทึกรูปแบบของการบันทึก ไมเปนการตายตัววานักธรณีวิทยาควรจะทําการบันทึก เรียงลําดับ รูปแบบ การบันทึกหรือลงรหัสของหินตัวอยาง ลงรหัสของภาพถาย หรืออ่ืนๆ อยางไร การจัดระบบและรูปแบบการบันทึกขึ้นอยูกับความพึงพอใจของเราเอง แตเมื่อเลือกที่จะมีรูปแบบของเราเอง หรือทําตามแบบใดแบบหนึ่ง ก็ตองทําไปตลอดจนกระทั่งเสร็จสิ้นการสํารวจในพื้นที่นั้นๆ สําหรับการเรียกชื่อหินที่ไมมั่นใจ ควรเรียกโดยใชคําบรรยาย เชน หินสีเขียวเนื้อผลึก หินสีขาวมีจุดเขียวไมมีผลึก ไมควรเรียกวา หิน ก. หิน ข. เพราะอานแลวไมเกิดภาพ จึงควรเขียนรายละเอียดและบรรยายใหเกิดภาพชัดเจน

Page 23: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 41

รูปท่ี 2.9 แสดงตัวอยางการจดบันทึกในสนาม ซึ่งจําเปนตองบันทึกใหละเอียด เขียนดวยลายมือที่คนอื่นๆ สามารถอานได สมุดบันทึกในสนามถือวาเปนเอกสารอางอิงได

Page 24: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

42 ธรณีวิทยาภาคสนาม

2.4.3.5 การวัดโครงสรางหินและชั้นหิน การศึกษาธรณีวิทยาเปนการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของโลก จากการสังเกต รูปราง รูปทรงสัณฐาน ขนาด ทิศทางการวางตัว ดังนั้นการหาความสัมพันธของหินกอนและหลังการเปลี่ยนแปลง เราจะตองนิยามคําตางๆ ขึ้นมา จากนั้นนํามาเปรียบเทียบ เชน เราทราบวา หินตะกอนตกตะกอนในแนวราบ แตเมื่อพบหินเอียงเท แสดงวาตองถูกทําใหเปลี่ยนลักษณะ ดังนั้นเราจะเห็นวาความสําคัญของการทราบลักษณะรูปรางเดิมของหิน ในชวงที่หินเกิด เพื่อจะไดนํามาเปรียบเทียบกับสภาพที่เห็นในปจจุบันวามีการเปลี่ยนแปลงอยางไร นิยามที่สําคัญของโครงสรางที่พบในสนามแลวตองทําการวัด ไดแก โครงสรางแนวระนาบ และโครงสรางแนวเสน

(1) โครงสรางแนวระนาบ (Planar structures) เราวัดทิศทางของแนวระดับและมุมเท (strike/dip) ของโครงสรางแนวระนาบ ดังแสดงในรูปที่ 2.6 โครงสรางที่แสดงลักษณะโครงสรางระนาบไดแก ช้ันหิน (bed) แนวแตกเรียบ (cleavage) ร้ิวขนาน (foliation) แกนการคดโคง (axial plane) รอยเล่ือน (fault) และรอยแยก (joint) เมื่อสํารวจในสนาม เราจะทําการวัดระนาบโครงสรางเหลานี้ ความถี่

ของการวัด วัดทุกๆ 1 ตารางเซนติเมตร ของแผนที่สนาม หากโครงสรางที่พบไมซับซอน เชน หากเราทําการสํารวจในมาตราสวน 1:50,000 นั่นคือ จะวัดและลงขอมูลของระนาบที่เปนตัวแทนพื้นที่ 25,000 ตารางเมตร หากระนาบของโครงสรางมีความซับซอน มีคาแตกตางกันมาก ตองวัดคาเหลานั้นมาวิเคราะหเพื่อหาคาเฉลี่ยทางสถิติ แตในสนามควรเลือกเขียนคาที่เห็นวานาจะเปนตัวแทนที่ดีของบริเวณหินโผล หลังจากวิเคราะหไดคาที่เปนตัวแทนจึงนํามาแสดงในแผนที่ธรณีวิทยาที่จําเปนตองทําหลังจากรวบรวมขอมูลทั้งในสนามและในหองปฏิบัติการ

(2) โครงสรางแนวเสน (Linear structures) เราวัดทิศทางของแนวการวางตัวของแนวเสน (trend) และมุมพลันจ (plunge) ดังแสดงในรูปที่ 2.10 สําหรับโครงสรางแนวเสนของรอยครูด (slickenside) ร้ิวรายขนาน (striation) ครีนูเลชัน (crenulation) โครงสรางแนวเสนที่เกิดจากรอยตัดกัน (intersection) ระหวางระนาบสองระนาบ เชน ระหวางแกนการคดโคงและระนาบรอยเลื่อน โครงสรางแนวเสนจากการเรียงตัวของแร (mineral lineation) โครงสรางแนวเสนจากการตัดกันของแนวเสนสองแนว เปนตน

เราวัดมุมพิทช (pitch) หรือ เรค (rake) ดังแสดงในรูป 2.10 ในแนวระนาบใดระนาบหนึ่ง ระหวางแนวระดับ (strike) ของระนาบกับเสนที่พบบนระนาบ เชน วัดรอยครูดที่ระนาบรอยเลื่อน ในหินโผล บางพื้นที่เราอาจเห็นระนาบชัดเจน แตในบางพื้นที่เราอาจตองคาดเดาวาระนาบของโครงสรางนั้นๆ วางตัวอยางไร เมื่อเราวัดไดตองเขียนลงในแผนที่สนาม หากเปนการคาดเดาเราควรใสเครื่องหมาย

Page 25: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 43

ปรัศนีย (?) เพื่อบงบอกวาไมแนใจกํากับไวที่สัญลักษณที่เราแสดงไว รวมทั้งขอมูลท่ีวัดไดจะตองบันทึกลงในสมุดบันทึกในสนามดวย ซ่ึงเนื้อหาของบทที่ 7 ไดกลาวถึงการวิเคราะหโครงสรางตางๆ ในสนาม ซ่ึงเปนอีกบทหนึ่งที่มีความสําคัญ ควรศึกษาใหเขาใจกอนออกสนาม เชนกัน

รูปท่ี 2.10 นิยามของโครงสรางระนาบ และโครงสรางแนวเสน

2.4.3.6 การเก็บหินตัวอยาง การเดินสํารวจภาคสนาม จะมีการเก็บตัวอยางหินเพื่อนํามาศึกษาทางดานศิลาวรรณนา

(petrography) หินบางชนิดนักธรณีวิทยาอาจไมมั่นใจในการเรียกชื่อ การบอกแรองคประกอบ และปริมาณของแร ดังนั้นจึงตองนําหินตัวอยางมาทําแผนหินบางและศึกษาในหองปฏิบัติการ ขนาดของหินตัวอยางควรเปนขนาดที่เรียกวา ขนาดพอเหมาะกับมือ (hand-specimen size) นั่นคือไมใหญหรือเล็กจนเกินไป ประมาณ 200-300 กรัม สําหรับหินเนื้อแนนในกรณีที่นําหินนั้นมาตัดเปนแผนหินบาง แตหากตองการนํามาวิเคราะหดานอื่นๆ เชน วิเคราะหหาอายุสําหรับหินอัคนีตองเก็บประมาณ 2-3 กิโลกรัม หรือวิเคราะหหาคากําลังเฉือนของหินทางดานวิศวกรรมตองเก็บเปนกอนขนาดใหญเพื่อนํามาเจาะเปนแทงตัวอยาง เปนตน

สําหรับการเก็บหินตัวอยางมาทําแผนหินบาง หลักในการเก็บหินตัวอยางมีดังนี้ หินที่นํามาเปนหินตัวอยางตองเก็บออกมาจากบริเวณหินโผล และเก็บใหเห็นผิวสดของเนื้อหิน และควรเลือกเก็บหินที่เปนตัวแทนของหินโผล ไมใชวาทุบไดตรงไหนเลือกตรงนั้น หรือหยิบจากเศษหินในบริเวณหินโผล หากทุบออกมาไมไดใหใชส่ิวสกัดออกมา หินที่ทุบออกมาตองวางกลับคืนในบริเวณที่ทุบออกมาได เมื่อเก็บหินตัวอยางมาแลวตองลงเลขที่ของหินตัวอยาง เขียนดวยปากกาเมจิกที่ลบไมออกดวยน้ํา พรอมบันทึกไวในสมุดบันทึกในสนามและแผนที่สนาม ควรลงเลขที่หินตัวอยางในบริเวณ ที่วางในสวนหลัง

Page 26: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

44 ธรณีวิทยาภาคสนาม

ของแผนที่สนาม เพื่อเปนดัชนีของหินตัวอยาง ถาหินตัวอยางมีทิศทางการวางตัวรวมอยู ควรวัดทิศทางการวางตัวและแสดงลูกศรชี้ถึงการวางตัวในแนวดิ่งและแนวนอนของหินในตัวอยาง (รูปที่ 2.11) กอนจะเก็บใสกระเปา หินตัวอยางที่มีซากดึกดําบรรพ หรือซากดึกดําบรรพที่สามารถเก็บแยกออกมาจากหิน ควรแยกเก็บและรักษาใหอยูสภาพเดิมหากตองการนํามาวิเคราะหหาอายุเมื่อไมสามารถบอกไดในสนาม แตถาทราบอายุและไมไดศึกษาเจาะลึกลงไปอยางละเอียด ก็ไมจําเปนที่จะเก็บตัวอยางหินไว แตเมื่อเก็บมาแลวควรมีวัตถุประสงคชัดเจนกับซากดึกดําบรรพที่เก็บมา ซ่ึงรวมทั้งหินตัวอยางดวย

รูปท่ี 2.11 การเก็บหินตัวอยางออกจากหินโผลเพื่อนํามาทําแผนหินบางในแนวตั้งฉากกับริ้วขนาน และตามแนวของริ้วขนาน ดังนั้นจึงตองลงทิศทางการวางตัวของหินตัวอยางที่เคยอยูในสนาม

2.4.3 องคประกอบของแผนที่ธรณีวิทยา (Components of a geological map) แผนที่ธรณีวิทยา สวนใหญยังนิยมใชเขียนบรรยายเปนภาษาอังกฤษ ดังนั้นผูเขียนอยากใหคง

รูปภาษาอังกฤษไว เพราะงานศึกษาธรณีวิทยา หากศึกษาเฉพาะตรงเขตพรมแดนของประเทศนั้นๆ เพียงเทานั้น จะทําใหไมไดภาพกวางของภูมิภาค สงผลใหนักธรณีวิทยาบางครั้งจําเปนตองรวมกันศึกษาระหวางประเทศ หรือภูมิภาค เพื่อใหไดแผนที่ธรณีวิทยาแบบไพศาลของภูมิภาค ดังนั้นถาเราแสดงดวยภาษาอังกฤษจะสะดวกในการหาความสัมพันธ โดยแผนที่ธรณีวิทยามีองคประกอบตางๆ ดังแสดงในรูป 2.12 และ 2.13 การกําหนดสีที่ระบายสวนใหญประเทศไทยนิยมใชของ United States Geological Surveys (USGS) สีประจําอายุหินตางๆ ก็คือสีที่ปรากฏในแผนที่ธรณีวิทยาของประเทศไทย

Page 27: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 45

รูปท่ี 2.12 องคประกอบที่ปรากฏอยูในแผนที่ธรณีวิทยา บงบอกหนวยหิน สัญลักษณ ที่เขียนในแผนที่ มาตราสวน และชื่อของแผนที่

ถาแผนที่ธรณีวิทยาพิมพดวยสีขาว-ดํา ควรใชลายเสนและสัญลักษณ แตตองพิจารณาไมให

ปดทับขอมูล และสัญลักษณของโครงสรางตางๆ ที่ลงไว หากเลือกลงดวยสัญลักษณของหิน ควรเลือกเอาหินตัวที่เดนในหนวยนั้นๆ และการเรียงลําดับอายุควรเรียงจากอายุออนไปแก และควรคํานึงวาสัญลักษณที่ปรากฏในแผนที่จะตองมีตัวแทนอธิบายในสวนประกอบของแผนที่ดวยเสมอ

สําหรับขอบเขตของหนวยหินตองลงใหชัดเจน วามีรอยสัมผัสเปนแบบใด หากคาดเดาเพราะไมพบหินโผลก็ตองลงดวยเสนประ แผนที่ธรณีวิทยาที่ดี ตองมีการลงสัญลักษณตางๆ ทางโครงสรางที่ปรากฏใหครบถวน การมีสัญลักษณมากยอมแสดงถึงความละเอียดจากสนามของผูศึกษา แตทั้งนี้ไมใชเปนการลงสัญลักษณที่แสดงโครงสรางซ้ําๆ กันที่จุดเดียวกัน

Page 28: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

46 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 2.13 ภาพตัวอยางจากผลงานการศึกษาภาคสนามของนักศึกษา ศักดิ์ชัย สุภาวรรณ วิทยา อะเฟอนรัมย และ โสรยา วงษาไฮไดทําการ ในพื้นที่บานสูบ เมื่อในภาคฤดูรอนป 2545

Page 29: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 47

ตัวอยางสัญลักษณที่ใชสําหรับ ช้ันหิน แนวแตกเรียบ ร้ิวขนาน โครงสรางแนวเสน และอื่นๆ ดังแสดงในรูปที่ 2.14 การลงมาตราสวนในแผนที่ธรณีวิทยาตองมีมาตราสวนที่เปนระบบเมตริก (กิโลเมตรหรือเมตร) ดวย หากกรณีที่ยังตองการลงในระบบอื่น

รูปท่ี 2.14 สัญลกัษณที่ใชสําหรับ ช้ันหินคดโคง (fold) ช้ันหิน (bed) แนวแตกเรียบ (cleavage) ริ้วขนาน

(foliation) และโครงสรางแนวเสน (lineation)

กรอบของแผนที่และชื่อของแผนที่ในบริเวณที่ศึกษาควรตองลงใหชัดเจน โดยทั่วไปชื่อของแผนที่จะลงไวดานลาง สวนใหญบอกเปนชื่อของบริเวณที่ศึกษา นอกจากนี้ตองบอกชื่อของผูทําการศึกษาไวดวย อาจอยูใตช่ือแผนที่ หรืออยูที่มุมลางขวาของแผนที่ สวนแหลงที่มาของแผนที่ฐาน (base map) ควรอยูที่มุมลางซาย สําหรับนักธรณีวิทยาที่ยังไมมีประสบการณ ควรศึกษาตัวอยางแผนที่ธรณีวิทยาที่สมบูรณซ่ึงไดรับการตีพิมพเผยแพร นํามาศึกษาและหารูปแบบที่พึงพอใจ และใชเปนตัวอยางในการวางรูปแบบของแผนที่ที่จะนําเสนอ สําหรับภาพตัดขวางนิยมแสดงอยูใตแผนที่ โดยเลอืกตัดบริเวณที่เปนตัวแทนที่ดีที่สุดในแผนที่ อาจแสดงภาพตัดขวางตั้งแตหนึ่ง ถึงหลายๆ แนวก็ได ซ่ึงขึ้นอยูกับความซับซอนของโครงสราง แตหากสภาพธรณีวิทยาโครงสรางไมซับซอน การใชภาพตัดขวางเพียงแนวเดียวก็ถือวาเพียงพอ

Page 30: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

48 ธรณีวิทยาภาคสนาม

2.5 แผนที่สนาม และสมุดบันทึกในสนาม 2.5.1 แผนที่สนาม แผนที่สนามถือวาเปนเอกสารที่มีคาสําหรับนักธรณีวิทยามาก เพราะไดบันทึกขอมูลตางๆ ที่พบในสนาม รวมทั้งการแปลความของนักธรณีวิทยา หากนักธรณีวิทยาผูนั้นทํางานใหกับบริษัทก็จะถือวาเปนสมบัติของบริษัท เพื่อเก็บไวใหผูอ่ืนที่ตองการศึกษาพื้นที่นั้นไดตรวจสอบจากขอมูลตางๆ ที่บันทึกในแผนที่สนามซึ่งไดทําไวแลว เมื่อตองการสํารวจเพิ่มเติมในพื้นที่นั้น 2.5.1.1 การเตรียมแผนที่สนาม หากแผนที่สนามมีขนาดใหญ เชน 1 x 1 เมตร เมื่อนํามากางในสนามจะไมสะดวก ควรตัดเปนแผนขนาดเล็กๆ เทากระดาษ A4 หรือ A3 จากนั้นทําเปนดัชนีแผนที่ (index map) ที่แสดงแผนที่แตละแผนที่ตัดวาอยูสวนใดของแผนที่แผนใหญ โดยเขียนกํากับไวดานหลัง แผนที่ที่ตัดเปนแผนๆ ตองติดกับไมแผนเรียบ หรือในคลิปบอรดที่เปนแผนแข็งที่มีที่ยึดแผนที่ได กันฝนได และมีแผนแข็งอีกแผนปดดานบน แตสวนใหญในประเทศของเรา ผูเขียนยังไมพบการจําหนายคลิปบอรดในลักษณะดังกลาว เห็นเฉพาะคลิปบอรดแบบรองเขียนแผนเดียวที่ไมมีแผนปดทับดานหนา ซ่ึงไมเหมาะที่จะนําไปใชในสนาม แผนที่อาจหลุดและขาดงาย เพราะไมมีส่ิงใดปกปด ดังนั้นอาจจะทําขึ้นมาใชเองได

เมื่อสํารวจแผนที่สนามเสร็จเรียบรอยไมควรนําแตละแผนมาติดกันใหมดวยเทปใส เพราะเมื่อนํามาคลี่ดูภายหลัง กระดาษจะยนบริเวณรอยที่ติดดวยเทป เพราะเทปจะหดตัว อีกทั้งหากติดไมดีจะทําใหพบรอยยนมากยิ่งขึ้น เมื่อทิ้งไปหลายๆ ป เทปจะเสื่อมคุณภาพและหลุดออกไป เหลือคราบเหนียวๆ ที่มีสวนทําลายแผนที่มากกวารักษาแผนที่ ดังนั้นควรเก็บแยกเปนแผนๆ ชวยถนอมแผนที่ไวไดยาวนานมากกวา 2.5.1.2 ขอมูลที่บันทึกในแผนที่สนาม แผนที่สนามเปนส่ิงที่ชวยทําใหนักธรณีวิทยามีการศึกษาเก็บขอมูลอยางเปนระบบ แผนที่จะแสดงหลักฐานตางๆ ที่ปรากฏในสนามรวมทั้งการแปลความของผูสํารวจ ผูอานจะมองเห็นลักษณะตางๆ ที่ปรากฏอยูในพื้นที่นั้นและมองเห็นบริเวณที่คาดวาจะมีเนื่องจากไมปรากฏหินโผล รอยสัมผัสของหนวยหินที่ปรากฏในพื้นที่ แผนที่สนามไมใชทําเพียงเพื่อเอาขอมูลมาถายลงในแผนที่ธรณีวิทยาที่จําเปนตองทําหลังจากเก็บขอมูลในสนามเรียบรอยแลว และแผนที่ถือเปนเอกสารที่ตองเก็บไวตรวจสอบหรือนํามาอางถึงได ทุกอยางที่แสดงในแผนที่สนามตองผานการกลั่นกรองและเห็นจริงมาแลวจากพื้นที่ที่ออกสํารวจ ดังนั้นไมควรมีการขูดลบ ขีดฆา หรือเพิ่มเติมขอมูลใดๆ ภายหลัง หามทํา

Page 31: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 49

โดยเด็ดขาด! แมคิดวาจําไดแตลืมลงขอมูลในขณะที่อยูในบริเวณหินโผลก็ไมควรทําเชนกัน โดยขอมูลที่ควรลงบันทึกในแผนที่สนามมีดังนี้

(1) ตําแหนงของหินโผล (location of outcrop) ทุกๆ ตําแหนงที่ไดทําการศึกษา (2) ลงบันทึก หรือตัวยอเกี่ยวกับหินที่พบในแผนที่ เชน br sst ยอมาจาก brown sandstone,

bl fos lst ยอมาจาก black fossiliferous limestone เปนตน (3) สัญลักษณของโครงสรางที่พบ และคาที่วัดไดตางๆ เชน แนวระนาบละมุมเท (dip/strike)

ระนาบการคดโคง (axial surface) แนวแตกเรียบ (cleavage) โครงสรางแนวเสน (lineation) เปนตน

(4) ตําแหนงที่ไดเลือกศึกษาอยางละเอียดที่ทําลงในสมุดบันทึก (5) ตําแหนงของหินตัวอยางและซากดึกดําบรรพที่เก็บ (6) ตําแหนงที่ถายภาพประกอบ และบันทึกไวในสมุดบันทึก (7) ลักษณะสภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนไป เนื่องจากแผนที่สนามที่ใชถายขอมูลมาจากแผนทีภ่มูิ

ประเทศไดทํามานานแลว เชน อางเก็บน้ําที่พึ่งสรางเสร็จและมีน้ําขังทวมพื้นที่ที่ในแผนที่ยังปรากฏเปนที่ราบ เปนตน

(8) รอยสัมผัสตางๆ เชน รอยสัมผัสจากรอยเลื่อน จากความไมตอเนื่อง จากหินอัคนี จากเขตรอยเฉือน หรือจากการตกสะสมของตะกอนที่แตกตางกัน โดยตองแยกวาเปนรอยสัมผัสที่เห็นไดจากหินโผล (observed boundary) หรือเปนรอยสัมผัสที่คาดวาจะมี (inferred boundary)

(9) หากมีการเจาะหลุมสํารวจตองลงบริเวณที่มีการเจาะหลุมสํารวจ หรือหากมีการสํารวจทางธรณีฟสิกสตองลงแนวสํารวจทางธรณีฟสิกส

(10) ลักษณะของที่ราบตะพักน้ํา ลักษณะและรูปรางของตะกอนปจจุบัน และบริเวณแผนดินถลม (ถามี)

(11) บันทึกอื่นๆ ที่เปนสิ่งเฉพาะที่เห็นวาสําคัญและเปนประโยชนทั้งสําหรับตนเองและสําหรับผูอ่ืน

แผนที่สนามควรพยายามรักษาใหสะอาด ไมมีรอยเทาของผูสํารวจเองประทับอยูบนแผนที่ หรือรองรอยของเศษอาหารที่ผูสํารวจรับประทานติดอยูกับแผนที่ หรือไมควรทําใหเปยกน้ํา-ฉีกขาด ทั้งหมดที่กลาวมา ผูเขียนพบเสมอจากงานของนักศึกษา และขอมูลท่ีเขียนลงแผนที่สนามตองเขียนดวยความประณีต บรรจง อานงาย เขียนใหผูอ่ืนอานแลวเขาใจ อยาลืมวาทํางานในสนาม อากาศทั้งรอนและ

Page 32: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

50 ธรณีวิทยาภาคสนาม

ตองอยูกลางแดด การที่จะมานั่งบรรจงเขียนคงไมใชเร่ืองที่นาอภิรมยนัก แตเมื่อจําเปนที่ตองทํา ดังนั้นจึงควรฝกใหเปนคนที่ทํางานเร็ว เขียนเร็ว แตสวยงาม และถูกตอง ในสวนการวาดรูปก็เชนกัน ตองหัดฝกวาดและหัดฝกสเกตจากภาพถายใหคลอง เมื่ออยูในสนามจะไดไมตองเสียเวลากับการมาขูดลบเสนตางๆ ที่วาด และควรเขียนดวยปากกา ดังนั้นจึงควรฝกทักษะเหลานี้ใหคลองแคลว

ผูเขียนขอย้ําอีกครั้งวา การทําแผนที่ธรณีวิทยาตองทําในสนาม ไมใชนํากลับเขามาทําบนโตะที่ทํางานหลังจากเสร็จงานในสนามแลว แตตองทํางานใหเสร็จในแตละวัน การลงรอยสัมผัส การลงการวางตัวของ ร้ิวขนาน ช้ันหินคดโคง แนวแตกเรียบ รอยแตกเฉือน หรือโครงสรางอื่นๆ ตองกําหนดลงใหชัดเจน ไมควรจดเพียงขอมูลการวางตัว แลวนํากลับมาลงในแผนที่ภายหลัง และการวัดทิศทางการวางตัวของหินนั้นตองลงในแผนที่ทันที เพื่อจะไดเห็นการวางตัวเปรียบเทียบบริเวณอื่นๆ ที่ไดศึกษามาแลว ซ่ึงจะทําใหสามารถเห็นความตอเนื่อง หรือไมตอเนื่องและสามารถอธิบายถึงสภาพที่ปรากฏได ชวยใหเกิดการวิเคราะหและการคิดรวบยอด ทําใหมองหาจุดที่ตองศึกษาเพิ่มเติมในบริเวณอื่นๆ ตอไป

นอกจากนี้บริเวณที่วางของแผนที่ดานแผนหลัง ควรจดบันทึกขอมูลตางๆ เพื่อเตือนความจํา เชน หินโผลมีขอบเขต หรือขนาดเทาไรจึงจะสามารถทําศึกษา (mapping) ลงในแผนที่สนามได และหากการลงสัญลักษณตางๆ เชน อักษรยอที่ไมใชอักษรยอสากล ควรเขียนกํากับวาสัญลักษณ หรือระบุวาอักษรยอแตละตัวหมายความวาอยางไร โดยอาจจะเขียนไวในกรอบขางๆ ของแผนที่ หรือบริเวณที่วางเพื่อใหผูอ่ืนอานไดชัดเจนและเขาใจในความหมายที่ใชแสดงในแผนที่ 2.5.1.3 การเขียนคาตางๆ ลงในแผนที่สนาม แผนที่สนามจะบันทึกขอมูลทั้ง 11 ขอท่ีกลาวมาแลว โดยจะตองลงดวยสัญลักษณ อักษรยอ และลงสีเพื่อใหเห็นชัดเจน เชน แนวระดับและมุมเท (strike/dip) ของชั้นหินควรใชอีกสี รอยแยกควรเขียนอีกสี อักษรยอ เชน fg สําหรับ fine grained, lam สําหรับ lamination, หรือ rip สําหรับ ripple mark เปนตน ถาหากหินโผลมีพื้นที่ขนาดกวางมาก ในแผนที่ใหระบายสีและลงขอบเขตใหชัดเจน แตถาขนาดเล็กตองลงจุด ก็ควรลงดวยจุดโดยใชสีที่มองเห็นงาย และตําแหนงที่ลงในแผนที่ก็ตองบันทึกลงในสมุดบันทึกดวย สําหรับการลงรอยสัมผัสควรลงดวยเสนทึบถาเห็นชัดเจน ถาคาดเดาก็ลงดวยสัญลักษณที่แตกตาง เชน ใชเสนประ และบงบอกวาเปนรอยสัมผัสประเภทใด strike/dip ของรอยเลื่อนลงใหแตกตางจาก strike/dip ของชั้นหิน เชน อาจจะใหคนละสีหรือกํากับดวย f แทน fault ตัวอยางแผนที่สนาม และเมื่อนํามาถายขอมูลใหเปนแผนที่สมบูรณแสดงในรูปที่ 2.15

Page 33: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 51

2.5.14 การลงตําแหนงของแผนที่และสมุดบันทึก ตําแหนงของแผนที่สนามควรระบุเปนจุดอางอิง (grid reference) เพราะจะทําใหลงตําแหนงและตรวจสอบไดงาย ตําแหนงใหระบุลงในสมุดบันทึกในสนาม และควรเขียนหนาของสมุดบันทึกดวย เชน ในแผนที่สนามลงตําแหนง L9/45 หมายความวา ตําแหนงที่ 9 บันทึกในสมุดหนา 45 สวนในสมดุก็จะลง L9: Grid Reference 8564 3271 เปนตน 2.5.2 สมุดบันทึกในสนาม สมุดบันทึกในสนามอาจถูกนํามาอานและอางถึงได หากมีผูใดที่เขามาทําการสํารวจในพื้นที่เดียวกัน ดังนั้นจึงตองบันทึกดวยความประณีต เชนเดียวกับแผนที่สนาม ซ่ึงหากสเกตภาพใหอยูในมาตราสวนไดจะถือวาดีอยางยิ่ง บริเวณปกของสมุดควรเขียนโครงการที่สํารวจ ช่ือ ที่อยูของผูสํารวจ ซ่ึงหากสูญหายอาจมีผูสงกลับคืนมาใหได สมุดตองลงเลขหนา เพื่อจะไดนําไปเชื่อมตอขอมูลกับแผนที่สนาม ตัวอยางการบันทึกแสดงในรูปที่ 2.9 ขอย้ําอีกครั้งวาสมุดบันทึกในสนามไมใชเขียนใหเราอานเพียงคนเดียว ตองใหคนอื่น อานดวย ดังนั้นจึงควรเขียนอธิบายใหละเอียด และนึกถึงคนอานเสมอ และในสมุดตองบันทึกเลขที่ของหินตัวอยางและซากดึกดําบรรพดวย จุดประสงคของการบันทึกในสมุดบันทึกในสนามเพื่อขยายขอมูลเพิ่มเติมจากแผนที่สนาม ที่มีเนื้อที่คอนขางจํากัด แผนที่สนามมีความสําคัญมากกวาสมุดบันทึกในสนาม ในแผนที่สนามเราตองลงขอมูลที่สําคัญกอน จากนั้นจึงจดบันทึกลงในสมุดบันทึก และควรบันทึกลักษณะปรากฏทุกอยางที่พบในบริเวณหินโผล สเกตรูปหินโผลหรือลักษณะพิเศษอื่นๆ ที่พบในบริเวณนั้น เมื่อสเกตภาพควรคาํนงึถึงมาตราสวน และตองลงมาตราสวนกํากับใหไดสัดสวนที่ถูกตองไวในภาพที่สเกต การสเกตภาพถือเปนส่ิงจําเปนของนักธรณีวิทยา

ภาพสเกต จะบงบอกถึงความละเอียดถ่ีถวน ชางสังเกต ความรอบคอบของนักธรณีวิทยาไดเปนอยางดี อยาลืมวา “รูปมีคามากกวาคําอธิบายหลายพันคํา (A picture is worth a thousand words)” และรูปจะชวยประหยัดเวลาในการเขียนอธิบาย ขอย้ําอีกครั้งวาควรสเกตภาพหินโผลทุกครั้ง แมวาจะไดถายรูปไวแลวก็ตาม ทั้งนี้เพราะความละเอียดและการ เขียนเนนสวนสําคัญๆ ของหินโผล ทําไดโดยการในการสเกตภาพ โดยภาพที่สเกตจะมีทั้งมุมกวางหรือแคบและยอ-ขยายไดทุกมาตราสวน

Page 34: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

52 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 2.15 ภาพบนตัวอยางแผนที่สนาม และภาพลางเมื่อขอมูลจากแผนที่สนามนํามาทําเปนแผนที่ธรณีวิทยา

ของพื้นที่นั้น

Page 35: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 53

กรณีใชกลองถายภาพลักษณะตางๆ ของหินโผล ควรตองมีมาตราสวนกํากับไวดวย เพื่อไมตองมากําหนดมาตราสวนในการบรรยายภาพใตภาพภายหลัง อยางไรก็ดีไมควรใชการถายภาพมาทดแทนการบรรยายลักษณะตางๆ ที่ตองบรรยายในสมุดสนามของหินโผลไปทั้งหมด เปนการไมควรทําเปนอยางยิ่ง เพราะการบรรยายหินจากภาพถาย ความชัดเจน ขนาด สี และอื่นๆ ในบริเวณหินโผลนั้น ไมเดนชัดเทากับการพบในสนาม การบันทึกในสมุดเราใชอักษรยอและสัญลักษณได แตจะตองบอกผูอานกอนวา อักษรยอแตละตัวหรือสัญลักษณตางๆ นั้นหมายถึงอะไร หากนอกเหนือจากสัญลักษณสากลที่ทุกคนคุนเคย 2.6 ภาพตัดขวางธรณีวิทยา (Geologic cross sections)

การสรางภาพตัดขวางธรณีวิทยา เทียบไดเหมือนกับการตัดตั้งฉากลงไปในแผนที่เพื่อแสดงรูปดานขางของพื้นดินและใตผิวดิน-หินลึกลงไป ภาพตัดขวางเปนสวนที่สําคัญในการแสดงลักษณะ การวิเคราะหธรณีวิทยาโครงสรางของพื้นที่ที่ศึกษา ในสมุดบันทึกควรวาดภาพตัดขวางในบริเวณตางๆ ไวดวย ถาสามารถวาดใหอยูในมาตราสวนไดจะดีมาก และมาตราสวนที่วาดควรวาดแบบ 1:1 เพราะสะดวกและดูงาย ไมตองมีการปรับแกคามุมเท แตถาไมไดวาดตามมาตราสวนควรลงระยะตางๆ กํากับไวในภาพดวย หากเลือกใชสมุดที่มีชองสี่เหล่ียมขนาดครึ่งเซนติเมตร การวาดรูปตามมาตราสวนทําไดงาย เมื่อเก็บขอมูลในสนามเสร็จสิ้น นักธรณีวิทยาตองนําเสนอแผนที่ธรณีวิทยา ซ่ึงในแผนที่ธรณีวิทยาตองมีภาพตัดขวางแสดงไว หากแผนที่ธรณีวิทยาไมมีการแสดงภาพตัดขวาง ถือวาแผนที่นี้ยังไมมีความสมบูรณ นักธรณีวิทยาตองแสดงภาพตัดขวางประกอบแผนที่อยางนอยหนึ่งภาพ ซ่ึงแสดงขอมูลบนพื้นผิว ใตผิวดิน และ/หรือขอมูลที่โปรเจกตใหขึ้นไปสูอากาศ เพื่อแสดงถึงการผุกรอนออกไป และในภาพตัดขวางยังแสดงลําดับชั้นหินในพื้นที่ที่ปรากฏในแนวที่ตัดผานดวย ตัวอยางของแผนที่ธรณีวิทยาที่เสนอใหแกไขการโผลของหนวยหินบางพื้นที่ และภาพตัดขวางในพื้นที่ที่เสนอแกไข แสดงในรูปที่ 2.16 และ 2.17 ซ่ึงสภาพธรณีวิทยาของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดวาไมซับซอนยุงยากเหมือนภาคอื่นๆ อยางไรก็ดี หากมีขอมูลสํารวจใตผิวดินเสริม ดังแสดงในรูปที่ 2.16 และ 2.17 ก็จะสามารถนํามาชวยในการปรับปรุง แกไขขอบเขตของหมวดหินใหถูกตอง เหมาะสมได ซ่ึงการปรับปรุงแกไขแผนที่ธรณีวิทยาที่ไดทําไปแลว ถือเปนเรื่องปกติทั่วไป โดยเฉพาะแผนที่ธรณีวิทยาที่มีโครงสรางทางธรณีวิทยาที่ซับซอน การเดินสํารวจบนพื้นดินทําไดยากลําบาก เพราะเปนปารกทึบ ดังนั้นความผิดพลาดในแผนที่ยอมมีมากเปนธรรมดา

Page 36: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

54 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 2.16 ภาพบนแผนที่ธรณีวิทยามาตราสวน 1:1,000,000 ของกรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2542 สังเกตขอบเขตของหนายหินภูกระดึง (Pk) และขอบเขตของหมวดหินน้ําพอง (Np) ภาพกลางภาพของคลื่นสั่นสะเทือนแบบสะทอนใตผิวดินตามแนว A-A’ ภาพลางเปนภาพตัดขวางแสดงการคดโคงของกลุมหินโคราช หมวดหินที่อยูยอดการคดโคงผุกรอนออกไป เหลือใหเห็นเปนหมวดหินอายุแก ภาพตัดขวางสรางจากภาพคลื่นสั่นสะเทือนแบบสะทอน

Page 37: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 55

รูปท่ี 2.17 ภาพบนแผนที่ธรณีวิทยามาตราสวน 1:1,000,000 ของกรมทรัพยากรธรณี พ.ศ. 2542 โดยปรับเปลี่ยนขอบเขตของหมวดหินน้ําพอง (Np) บริเวณเขื่อนอุบลรัตน (เปรียบเทียบกับรูปที่ 2.14) ภาพกลางภาพของคลื่นสั่นสะเทือนแบบสะทอนใตผิวดินตามแนว B-B’สํารวจตามสันของการคดโคง ภาพลางเปนภาพตัดขวางสรางจากภาพคลื่นสั่นสะเทือนแบบสะทอน

Page 38: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

56 ธรณีวิทยาภาคสนาม

สําหรับการสรางภาพตัดขวางเพื่อนําเสนอพรอมกับแผนที่ธรณีวิทยา ภาพตัดขวางที่ดีตองแสดงรายละเอียดตางๆ ที่พบในสนามใหมากที่สุด โครงสรางตางๆ ควรแสดงใหเห็นในภาพ วิธีการสรางภาพตัดขวางมีดังนี้

(1) การเลือกแนวที่จะสรางภาพตัดขวางตองเลือกแนวที่ตั้งฉากกับโครงสราง เชน ถาเปนโครงสรางการคดโคง ควรสรางภาพตัดขวางในแนวที่ตั้งฉากกับแกนการคดโคง ถาเปนรอยเล่ือนตองสรางในแนวที่ตั้งฉากกับระนาบการเลื่อน ดังนั้นกอนสรางจึงตองวิเคราะหดูโครงสรางในแผนที่ที่ทํากอนวา มีโครงสรางอะไรเปนโครงสรางเดน และมีทิศทางอยางไร กอนที่จะเลือกแนวภาพตัดขวาง และตองใหไดโครงสรางที่เปนตัวแทนมากที่สุด แตหากเปนบริเวณที่มีการเปลี่ยนลักษณะหลายครั้ง อาจตองแสดงภาพตัดขวางหลายภาพ

(2) ควรสรางภาพตัดขวางในบริเวณที่มีขอมูลที่สมบูรณในการอธิบายทางธรณีวิทยา ปรับคามุมเท ถาหากไมไดตองตั้งฉากกับแนวระดับและใชความหนาปรากฏใหถูกตอง

(3) ควรสรางภาพตัดขวางที่มีมาตราสวนในแนวดิ่งและแนวนอนในสัดสวนเดียวกันเสมอ และถาเปนไปไดใหสรางในมาตราสวนเดียวกันกับแผนที่ หากจะขยายมาตราสวนใหนํามาขยายหลังจากที่ทําการสรางในมาตราสวน 1:1 มาแลว

(4) เขียนทิศทางการเคลื่อนที่ของรอยเลื่อน (ถามี) (5) สรางภาพที่เปนตัวแทนของลักษณะธรณีวิทยาของพื้นที่ ซ่ึงหากมีโครงสรางยอยจะปรากฏ

อยูในโครงสรางใหญ (6) ถาเปนไปไดใหทําการวิเคราะหความสมดุลของภาพตัดขวาง (balanced cross section) (7) ถาหากพื้นที่นั้นมีการคดโคง ที่มีมุมพลันจ (plunge) การสรางภาพตัดขวางควรโปรเจกตไป

ตามมุมพลันจ เพื่อใหไดภาพที่ตัดตั้งฉากกับแกนการคดโคง เพราะหากแสดงภาพตัดขวางในแนวดิ่งจะทําใหไดภาพรูปรางการคดโคง ผิดรูป

ภาพตัดขวางสวนใหญแสดงในลักษณะสองมิติโดยมีวิธีการทําตามที่กลาวมาขางตน แตภาพตัดขวางสามารถแสดงในรูปสามมิติได เชน แสดงในรูปของแบบภาพรั้ว (fence diagram) และ บลอกไดอะแกรม (block diagram) ดังรูปที่ 2.18 ซ่ึงจะทําใหมองเห็นภาพตางๆ ทางธรณีวิทยาไดชัดเจน หากพ้ืนที่ที่มีความซับซอนทางธรณีวิทยามาก ควรเลือกใชภาพตัดขวาง แบบบลอคไดอะแกรม จะชวยทําใหผูอานเขาใจไดอยางรวดเร็ว ซ่ึงนิยมทํากันมากวาแผนภาพรั้ว อีกทั้งในปจจุบันมีโปรแกรมที่ชวยทําแผนที่ธรณีวิทยาและการสรางภาพตัดขวางพรอมวิเคราะหความสอดคลองของภาพตัดขวาง อยางไรก็ตามทุกอยางก็ตองอยูภายใตขอมูลที่เก็บมาจากสนาม

Page 39: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 57

การสรางภาพตัดขวางธรณีวิทยาที่ถูกตองแมนยํานั้นเปนสิ่งที่คอนขางยาก เพราะเราอาศัยขอมูลที่ไดจากการสังเกตที่ผิวดิน ภาพตัดขวางจึงอาศัยสมมติฐานของขอมูลที่ปรากฏจากผิวดิน หากการโผลของโครงสรางไมชัดเจนมีการคาดเดาหรือจิตนาการเขาชวย จะทําใหไดภาพตัดขวางที่คาดเคล่ือนจากความเปนจริง อยางไรก็ตามการสรางภาพตัดขวางที่ดีตองมีความสอดคลองกับขอมูลทางธรณีวิทยาที่พบเห็น อีกทั้งการมีหลุมเจาะในบริเวณที่ศึกษาจะสามารถชวยใหการสรางภาพตัดขวางถูกตองใกลเคียงความเปนจริงมากขึ้น

รูปท่ี 2.18 ภาพตัดขวางแบบบล็อคไดอะแกรม (block diagram) ของบริเวณน้ําตกลานสาง จังหวัดตาก

(ภาพจาก Satarugsa, 1986)

2.6.1 การปรับแกมุมเทปรากฏ (Correction for apparent dip)

บางครั้งไมสามารถสรางภาพตัดขวางที่ตั้งฉากกับแนวระดับได ดังนั้นการลงมุมเทของชั้นหินจําเปนตองมีการปรับแก มีวิธีที่นิยมทําอยู 2 แบบ คือ ใชการทําบนแผนภูมิสามมิติหรือที่เรียกทับศัพทวาสเตริโอเนต (stereonet) หรืออานจากแผนภูมิการปรับแกมุมเท ซ่ึงมุมเทที่มากที่สุดคือ มุมเทที่เกิดจากจากการสรางภาพตัดขวางตั้งฉากกับแนวระดับ ดังนั้นมุมที่ไมไดตัดตั้งฉากกับแนวระดับ จะไดมุมที่

Page 40: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

58 ธรณีวิทยาภาคสนาม

นอยกวามุมเทจริง วิธีการใชแผนภูมิการปรับแกมุมเท คือ ตองหามุมเทจริงลงไปในคอลัมนของมุมเทและตองหามุมที่เอียงไปจากแนวระดับ เขียนลงในคอลัมนของมุมฉาย จากนั้นลากเสนตรงตอจุด 2 จุดตัดคอลัมนตรงกลางที่ตําแหนงใด ตําแหนงนั้นคื อ มุมเทที่ควรลงในภาพตัดขวาง

2.6.2 การทําภาพตัดขวางแบบยืดขยาย (Preparing vertically exaggerated factions)

วิธีที่ควรทําคือ สรางภาพที่ไมมีการยืดขยายกอนคือ ใชมาตราสวนของแนวตั้งและแนวนอนเทากัน จากนั้นวาดลงในโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สามารถยืดขยายไดตามที่ตองการ ซ่ึงเราจะไดทั้งมาตราสวนแบบ 1:1 (true scale) และมาตราสวนแบบยืด (exaggeration scale)

ในการทําภาพตัดขวางในบริเวณที่มีการคดโคง ควรเลือกสรางภาพตัดขวางบริเวณโครงสรางที่เปนแนวตั้งฉากกับแกนโดยเฉลี่ยของการคดโคง การหาแกนโดยเฉลี่ยของการคดโคงจะหาไดโดยการเขียนในแผนภูมิสามมิติ การสรางภาพตัดขวางลําดับบริเวณที่มีความคดโคง ที่เปนการตัดแบบไมตั้งฉาก การเลือกสรางภาพตัดขวางในบริเวณที่มีการคดโคงที่มีการเอียงเทของแกน (plunging) และการสรางภาพตัดขวางใหมีแนวไปตามทิศทางมุมพลันจ (plunge) ตองสรางแบบระนาบเอียง (inclined plane) ซ่ึงวิธีการทํา ใหศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือการทําแผนที่ธรณีวิทยา 2.7 การแสดงสภาพพื้นที่แบบ 3 มิติ โดยความเปนจริงแลวแผนที่เปนการแสดงภาพ 3 มิติ แตสําหรับคนที่ไมคุนเคยการอานแผนที่ อาจจะมอง 3 มิติไมถนัดนัก แตในปจจุบันมีโปรแกรมสรางภาพกราฟฟกแบบ 3 มิติ ดวยคอมพิวเตอร ดังนั้นหากจะนําขอมูลสภาพธรณีวิทยาของพื้นที่ที่ศึกษามาสรางเปนภาพ 3 มิติ ก็สามารถทําไดงาย และรวดเร็วยิ่งขึ้น อยางไรก็ดีอยาลืมวา การสรางภาพกราฟฟกตางๆ จะไมเกิดประโยชนหากแผนที่ที่ทําไมถูกตอง เพราะกราฟฟกที่สรางขึ้นมานั้นสรางจากขอมูลของแผนที่ที่ศึกษา ความสําคัญจึงอยูที่การสรางแผนที่ธรณีวิทยาใหถูกตองนั่นเอง ขอย้ําอีกครั้งแมวาภาพกราฟฟกจะสวยอยางไร หากขอมูลไมถูกตองแลวก็ไมมีความหมายอะไรเลย ผูเขียนเนนจุดนี้เพราะพบเห็นบอยครั้งที่ผูสํารวจใหความสนใจในการสรางภาพใหเกิดความสวยงาม หรือเสียเวลาไปกับการสรางภาพกราฟฟก ในขณะที่แผนที่ที่ศึกษานั้นยังไมเสร็จสมบรูณ

รูปที่ 2.19 เปนตัวอยางการศึกษาขอบเขตของเกลือหินใตผิวดินในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ แบบหยาบ ซ่ึงแสดงสภาพภูมิประเทศ และแองที่มีเกลือหินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบบภาพ 3 มิติ

Page 41: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 59

รูปท่ี 2.19 ลักษณะสภาพภูมิประเทศ (ภาพบน) สภาพใตผิวดิน (ภาพกลาง) และขอบเขตของพื้นที่ที่มีเกลือหินในหมวดหินมหาสารคามในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในแองโคราชและแองสกลนคร (เพียงตา สาตรักษ และคณะ2548)

Page 42: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

60 ธรณีวิทยาภาคสนาม

2.8 ความคดิรวบยอดสูการศึกษาภาคสนาม การศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามไดดีควรตองมีความรูเร่ือง “หิน” แตการที่จะศึกษาหินไดดีตองรู

พื้นฐานเรื่อง “แร” เพราะหิน คือ ของแข็งที่ประกอบดวยมวลของแรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยจะเรียก สสาร วาแรก็ตอเมื่อมีคุณสมบัติครบ 5 ประการ คือ (1) มีองคประกอบทางเคมี (2) มีโครงสรางของผลึกชัดเจน (3) เปนของแข็ง (4) เปนสารอนินทรีย และ (5) เกิดเองตามธรรมชาติ คุณสมบัติขอที่ 1 และ 2 เปนสวนสําคัญที่สุดของคุณสมบัติของแร สวนหลักของการพิจารณาหินในสนามอยางงายๆ และเหมาะสมในการปฏิบัติในสนามมีดังนี้ (1) ตองแยกใหไดกอนวาเปนหินอะไรในสามประเภท คือ หินอัคนี หินตะกอน หรือ หินแปร สวนใหญหินทั้งสามประเภทแยกออกจากกันไดโดยงาย โดยพิจารณาที่เนื้อหิน เมื่อแยกประเภทของหินได จึงเรียกชื่อหินนั้นๆ โดยปกติการเดินสํารวจธรณีวิทยาในสนาม จะมีหลักฐานมาชวยประกอบในการพิจารณาเรียกชื่อหินไดมากมาย หากกรณีที่ยังไมแนใจวาเปนหินอะไร เมื่อเดินสํารวจตอๆ ไป คําตอบ

จะคอยๆ ปรากฏ หากเดินสํารวจไปดวยและคิดไปดวย เพราะหินที่พบจะมีความสัมพันธกัน ตัวอยางเชน กรณีที่เกิดความสงสัยระหวางหินทรายที่มีสารซิลิกาเปนตัวเชื่อมประสาน กับหินทรายที่ถูกแปรสภาพ ซ่ึงหินทั้งสองมีลักษณะคลายคลึงกันมาก เชน มีเนื้อแนน แข็ง ทุบใหแตกไดยาก และจะแตกผาเขาไปในเม็ดแร แตเมื่อเดินสํารวจตอไปพบรอยสัมผัสของหินที่สงสัยกับหินแกรนิตมีผลึกใหญและพบเปนบริเวณกวาง แสดงวาหินที่สงสัยคือหินแปร ที่เกิดจากผลของการแทรกซอนของหินแกรนิต แตถาหากพบรอยสัมผัสเปนแบบรอยเลื่อน อาจยังตอบไมไดวาหินที่สงสัยเปนหินตะกอนหรือหินแปร ดังนั้นตองทําการสํารวจตอไป อาจไดหลักฐานอื่นในสนามมาชวยบงชี้ เชน เดียวกับหินเชิรต ซ่ึงจัดเปนหินตะกอน เมื่อหินเชิรตถูกแปรสภาพ จะไดเปนหินควอตไซต หรือ เมตาเชิรต แตเนื่องจากหินเชิรตมีลักษณะผลึกละเอียดมาก หากพบในสนามระหวางหินเชิรตและเมตาเชิรตอาจแยกไมได แตเมื่อดูจากหินขางเคียงจะบงบอกได ผูเขียนเห็นนักศึกษาบรรยายหิน เชน พบ หินฮอรนเฟลสแทรกสลับกับหินเชิรต ซ่ึงไมถูกตอง เพราะที่ถูกตองนั้นควรเปนหินฮอรนเฟลสแทรกสลับกับหินเมตาเชิรตหรือ ควอตไซต เปนตน หินที่เรียกชื่อกันสวนใหญในสนามสําหรับหินตะกอนไดแก หินกรวด หินทราย หินทรายแปง หินดินดาน หินดินเหนียว หินปูน และหินโดโลไมต

หินที่เรียกชื่อกันสวนใหญในสนามสําหรับหินอัคนีไดแก หินแกรนิต หินไดออไรต หินแกบโบร หินไรโอไรต หินแอนดีไซต หินบะซอลต หินออปซิเดียน หินทัฟฟ และ หินพัมมิส หรือเรียกแบบ IUGS ซ่ึงคอนขางไดภาพลักษณของแรองคประกอบมากกวา มองเห็นลักษณะของหินไดดีกวา หินที่

Page 43: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 61

เรียกชื่อกันสวนใหญในสนามสําหรับหินแปร ไดแก หินชนวน หินฟลไลต หินชีสต หินไนส หินออน หินควอรตไซต และหินฮอรนเฟลส

หินที่เกิดระหวางรอยเลื่อน ไดแก หินกรวดเหลี่ยมรอยเลื่อน คาตาคลาไซต และไมโลไนต หินในเขตรอยเลื่อน หรือเขตรอยเฉือน ถือวาเปนหินแปรซึ่งเปนการแปรสภาพแบบไดนามิกหรือพลวัต โดยมีความรอนจากการขัดสีหรือครูดของหินดวย หินอาจจะแสดงริ้วขนาน หรือแนวแตกเรียบแบบหินชนวน การเรียกชื่อหินในเขตรอยเฉือนควรบงบอกชื่อใหชัดเจน ผูเขียนพบวาบอยครั้งที่นักศึกษาบรรยายและเรียกชื่อหินที่พบในเขตรอยเฉือนวาเปนหินชนวน หินฟลไลต หรือหินชีสต และเมื่ออานตอไปพบวาการโผลของหินพบบริเวณแคบประมาณ 50-500 เมตร ซ่ึงในความหมายของหิน หินชนวน หินฟลไลต หรือหินชีสต จะหมายถึงหินแปรที่ถูกแปรสภาพแบบไพศาลนั่นคือหินนั้นจะตองถูกความรอนและความดัน จากการจมตัวลงที่ระดับความลึกมากกวา 5-10 กิโลเมตร และสวนใหญเกิดในบริเวณกวางแบบคอยเปนคอยไป การที่จะเอาหินแปรที่ระดับลึกขึ้นมากเพียง 100-500 เมตร และขนาบกับหินตะกอนทั้งสองขางเปนสิ่งที่ขัดกับธรรมชาติ หรือบางครั้งเขียนวา พบหินชนวน ตอมาเปนหินชีสต และกลับเปนหินชนวน ซ่ึงลักษณะเชนนี้ไมใชหินที่เกิดจากการแปรแบบไพศาล จากคําบรรยายอาจเปน (1) หินในเขตรอยเฉือน หรือ (2) นักศึกษาเรียกชื่อหินผิด การเรียกชื่อหินในเขตรอยเฉือนจึงควรเรียกใหถูกตอง เชนเมื่อหินมีร้ิวขนาน ควรเรียกเปนหิน ไมโลไนต ไมมีร้ิวขนานเรียกเปน คาตาคลาไซต หรือจะใชคําขยาย เพื่อใหผูอานเขาใจ และเกิดภาพลักษณ เชน หินกรวดถูกรีดจากการเฉือน หินไนสถูกเฉือนในเขตรอยเฉือนเปนไมโลไนต (mylonitic gneiss) หินชีสตถูกบดอัดและเชื่อมประสานในเขตรอยเฉือน (cataclastic schist) หินควอรตไซตถูกบดอัดและเชื่อมประสานในเขตรอยเฉือน (cataclastic quartzite) หินโคลนมีรอยแตกแบบเฉือนคลายการแตกแบบหินชนวน (mudstone with shear fractures developed like slaty cleavage) เปนตน

สรุปอีกครั้งคือ ควรเขียนขยายความลักษณะ สี รูปราง เม็ดแรประกอบในหินใหชัดเจน โดยเฉพาะหินที่อยูในเขตรอยเฉือน และอยาลืมวาหินในเขตรอยเฉือนเกิดในสภาพที่เปนแบบออนนิ่มหรือพลาสติก ซ่ึงเกิดที่ความลึกตั้งแต 5 กิโลเมตรลงไป ดังนั้นหินที่ถูกเฉือนจึงมักเปนหินแปรแบบไพศาลดวย ดังนั้นจะเห็นการเปลี่ยนลักษณะสองครั้งคือ (1) หินถูกแปรแบบไพศาลและ (2) หินถูกแปรแบบไดนามิกหรือพลวัต เชน หินไนสถูกเฉือนในเขตรอยเฉือนเปนไมโลไนต (mylonitic gneiss) การเปลี่ยนลักษณะแรกคือการแปรสภาพเปนหินไนส จากนั้นหินไนสถูกเฉือน แตหากเปนเขตรอยเลื่อนจะพบหินกรวดเหลี่ยมรอยเลื่อน (fault breccia) นอกจากนี้รอยเฉือนเกิดในโครงสรางที่มีการคดโคงได

Page 44: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

62 ธรณีวิทยาภาคสนาม

นั่นคือเฉือนไปตามระนาบการไถล (slip plane) และแนวแตกเรียบแบบหินชนวนเกิดจากผลของการคดโคงได เชนกัน หินโคลนเมื่อมีการคดโคงมากจากพัฒนาแนวแตกเรียบแบบหินชนวนไดเชนกัน 2.8.1 การศึกษาลักษณะของหินโผล

การศึกษาหินโผลในสนามตองบรรยายลักษณะตางๆ ของหินโผล รวมทั้งการบรรยายสี ซ่ึงการบรรยายสีของหินดูเหมือนเปนเรื่องงายๆ แตเมื่อคนสองคนบอกสีที่พบอาจไดสีที่แตกตางกัน ดังนั้นหากบรรยายสีหินควรใชตารางเทียบสีหิน (rock-color-chart) เขามาชวย แตปรากฏวาไมนิยมนํามาใชเทียบสี การบอกสีของหินมีความสําคัญ ทําใหทราบถึง ปริมาณมากหรือนอยของแรองคประกอบในหิน การผุกรอน การตกตะกอนอยูในสภาวะแบบใดและมีสีใด รวมถึงการเคลื่อนยายของตะกอนจากแหลงกําเนิดมากนอยเพียงใด ดังตัวอยางของสีตอไปนี้ สีดํา สีเทา และสีน้ําตาลดํา หากพบในหินอัคนีทําใหเราทราบวาหินนั้นมีองคประกอบของแรพวกไบโอไทต ฮอรนเบลนด ออไจต และ แมกนีไทต เปนตน หรือหากพบหินดินดานสีเทา หินปูนสีเทา อาจมีพวกคารบอนปะปนอยูในหินทําใหไดสีเทา หรือหากพบสีน้ําตาลดําของหินทราย อาจเปนผลของการผุกรอนในบริเวณหินโผลของอากาศรอนแหงแลง หรือเปนไปไดที่จะพบสีน้ําตาลดําที่เกิดจากการเคลือบของแรเหล็กและแมงกานิส

สีเหลือง และสีน้ําตาล มักจะเปนสีที่เกิดทีหลังโดยเกิดจากการออกซิเดชันและไฮเดรชัน (oxidation and hydration) ของแรที่มีองคประกอบของเหล็กอยู เชน ไบโอไทต ฮอรนเบลนด ออไจต การเนต และ ไพไรต หรืออ่ืนๆ เพราะแรที่มีเหล็กเปนองคประกอบจะสลายตัวไดงาย ยกเวนสีเหลืองของแร คารโนไทต (carnotite ตระกูลของ ยูเรเนียม) ที่พบเปนแบบสีดั้งเดิม

สีแดงและสีชมพู มักพบในหินอัคนี โดยเฉพาะหินแกรนิต หรือสีที่พบไมถึงกับแดงเปนแบบกึ่งแดง (reddish) เพราะมีแรเฟลดสปารเปนองคประกอบ เมื่อพบสีแดงและสีชมพูในหินตะกอนแสดงวาเปนสีดั้งเดิมซึ่งมีองคประกอบของตะกอนที่มาจากพวกสีแดงและสีชมพูนั่นเอง เชน สีชมพูของแรเฟลดสปารที่อยูในหินทรายทําใหพบเปนหินทรายสีชมพู หรือพบสีชมพูออกมวง (pinkish and purplish) ของหินทรายแสดงวาตะกอนทรายมีการปะปนของเม็ดแรการเนต

สีขาวหรือสีขาวออกเทา สวนใหญพบในหินปูน หินดินดาน หินทราย หินทรายแปง หินเกลือ และ แอนไฮไดท ถาเปนสีดั้งเดิม คือ ขาวหรือขาวออกเทา เมื่อหินเกิดการผุกรอนสีขาวอาจเปลี่ยนไปเปนขาวจางลง เนื่องจาก (1) เม็ดแรเฟลดสปารสลายเปนคาโอลิน (kaolin) (2) มีการละลายออกไปของสารเคลือบผิว เชน CaCO3 ทําใหไดสีจางลงไปจากเดิม (3) สีของพวกสารอินทรีย (organic matter) ถูก

Page 45: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 63

ฟอกออกจากตะกอน (4) กรณีมีน้ําเขาแทรกระหวางเม็ดตะกอนอาจจะมีการเคลือบของสารละลายที่มีสีจาง

สีเขียว แรที่ใหสีเขียว ไดแก คลอไรต เอพิโดต กลอโคไนต และ เซอรเพนทีน ซ่ึงบางทีพบสีเขียวออกเทา (grayish green) ซ่ึงหินที่มีสีเหลานี้นาจะเปนหินอัคนีและหินแปรเปนสวนใหญ หินตะกอนที่มีแรกลอโคไนต จะมีสีเขียวเชนกัน ซ่ึงแรนี้เกิดในทะเล หินที่มีสีเขียวอาจมีพวกสารอินทรียปะปนอยูเปนจุดๆ หรือเปนแถบยาว แลวตอมาเกิดการรีดักชัน (reduction) ของพวกเหล็กออกไซด เขาไปในบริเวณของสารอินทรีย ทําใหตรงบริเวณนั้นมีปฏิกิริยากันทําใหไดสีเขียวเกิดขึ้น

การเปลี่ยนสีของหินอาจเกิดจากบริเวณผิวหินในบริเวณพื้นที่นั้นมีรอยแตก รอยแยก รอยเล่ือน หรือมีรอยสัมผัสของหินอัคนีกับหินทองถ่ิน ทําใหพบเห็นสีแตกตางไป 2.8.2 ลักษณะอื่นๆ ที่นอกเหนือจากสี

ความราบเรียบของผิวหินและความราบเรียบจากการขัดสี (Smoothness and polish) ความราบเรียบของผิวหินเนื่องจากคุณสมบัติของหิน แตกตางจากความราบเรียบที่เกิดจากการขัดสี หินบางชนิดมีความราบเรียบที่ผิวของตัวเอง ตัวอยางเชน หินชนวนตามแนวของเรียบหินชนวน แตหนิบางชนดิไมมี หากพบแสดงวาเกิดการขัดสี โดยอาจเกิดจากการขัดสีของตะกอนที่มากับน้ํา ลม ธารน้ําแข็ง เปนตน หรือผิวราบเรียบจากการขัดสีที่เกิดจากการเลื่อน

ความเปนเม็ดเมื่อมีการผุสลายของเนื้อหิน (Granularity) ลักษณะของความเปนเม็ดเมื่อมีการผุสลายของเนื้อหิน กรณีการผุสลายของหินแกรนิตจะไดลักษณะของเม็ดขนาดใหญ แตกออกมาตามแนวแตกเรียบของแร (mineral cleavage) หรือลักษณะของแนวแตกแบบหัวหอม (exfoliation) ทําใหไดลักษณะปรากฏของเม็ดแตกตางออกไปจากหินประเภทอื่น เมื่อนํามาเปรียบเทียบกัน

การขรุขระของผิวหินที่โผล (Surface irregularity) การพิจารณาผิวหินที่โผล เชน ในกรณีของลาวาพบผิวของหินมีความขรุขระมากกวาผิวหินประเภทอื่นๆ ยิ่งโดยเฉพาะหินลาวาที่พนและแข็งตัวบนพื้นผิวโลก จะมีผิวขรุขระมากกวาแบบที่เปนพนังแทรกชั้น (sills) หรือหินที่ถูกทําใหผุสลายหรือแตกหักโดยผลจากการแตก

รอยขีดขวน (Scratches) โดยที่รอยขีดเกิดจากการครูด (abrasion) ของธารน้ําแข็ง ลม โคลนไหล ดินถลม รอยเล่ือน หรือมนุษยกระทํา พบเปนรอง

หลุมและรู (Pits and hollows) โดยที่หลุมและรูเมื่อเกิดแบบปฐมภูมิจะพบในกรณีของฟองอากาศจากการไหลของลาวา รอยประทับของสิ่งมีชีวิต เชน รอยเทา ขณะที่ตะกอนยังไมแข็งตัว แต

Page 46: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

64 ธรณีวิทยาภาคสนาม

กรณีที่เปนหลุมหรือรูจากโครงสรางแบบทุติยภูมิเปนผลจากการถูกขัด หรือ การผุกรอน ถาหากลักษณะของหลุมและรู ที่มีความสัมพันธกับรูปรางของเม็ดขนาด เชน เม็ดกรวด ซากพืชซากสัตว ส่ิงแปลกปลอม หรือรูปรางอื่นๆ ที่ปรากฏในหิน แสดงวา เม็ดกรวด ซากพืชซากสัตว ส่ิงแปลกปลอม เคยมีอยูในเนื้อหินแตไดหลุดหายไป ทําใหพบเปนหลุม หรือรู กรณีที่มีขอบผิวกลมเรียบ อาจเปนหลุมที่เกิดจากลมและน้ํา หรือถากรณีมีขอบผิวแหลมและขรุขระ อาจเกิดจากการละลายออกไปของสารละลายและเม็ดขนาดหลุดหายไป ถาหลุมที่พบไมสัมพันธกับเม็ดขนาด หรืออื่นๆ ที่เปนองคประกอบในหิน นาจะแสดงวาเกิดจากการละลายของหิน สวนในกรณีของการผุกรอนของหินทําใหไดลักษณะการผุแบบรวงผึ้งจะไดเปนหลุมที่ผิว แบบตะปุมตะปา ซ่ึงพบในหินทรายหรือหินดินดานปนทราย หรือบางบริเวณหลุมและรูอาจเกิดจากรากพืชที่ฝงลึกในดินเกิดการผุสะลายไปเหลือเพียงรองรอยเปนโพรงไว หรือการละลายของเปลือกหอยที่เคยฝงอยูในเนื้อหินทําใหไดเปนโพรง เปนตน

2.8.3 เศษหนิ และอนุภาคหิน (Rock fragments and rock particles) หินอาจถูกทําใหแตกออกเปนชิ้นเล็กๆ เรียกวา เศษหิน (fragments) จากแรงกระทําตามธรรมชาติ หรือจากการผุกรอน โดยการขัดสี และครูด ทําใหไดเศษหินมีรูปรางแตกตางกันออกไป เชน เศษหินอันเกิดจากหินที่อยูในบริเวณทะเลทราย พบผิวเรียบขัดมันแบบรูปสามเหลี่ยม (triangular facets) หรือเศษหินที่เกิดบริเวณธารน้ําแข็ง จะพบลักษณะของรอยครูดเปนแนวยาวเล็กๆ ที่ผิวหิน เพราะเกิดจากเม็ดตะกอนที่มากับน้ําแข็งครูดผิว เปนตน การสังเกตลักษณะของเศษหินที่พบในสนามจึงสามารถบงบอกสภาพของสิ่งแวดลอมที่ทําใหไดเศษหินเหลานั้น สําหรับขนาดของเศษหิน ถาใชมาตรวัดของเวนทเวิรท (Wentworth scale) มาจัดแบง จะไดวาหากพบวามีขนาดใหญกวาทรายหยาบ (coarse sand) เรียกวาเศษหิน ดังนั้น กรวดเม็ดเล็ก (pebbles) กรวดเม็ดกลาง (cobbles) และ กรวดเม็ดใหญ (boulders) จึงจัดเปนเศษหิน 2.8.4 การพิจารณารูปรางของเศษหิน

♦ ถาพบเปนแบบรูปเหล่ียม (angular fragments) อาจจะมาจากกระบวนการผุกรอน การเลื่อนซ่ึงจะได กรวดเม็ดเหลี่ยม (breccia)

♦ ถาพบเปนแบบกรวดเม็ดเล็กรูปเหลี่ยม (faceted pebbles) จะเกิดจากผลของลมขัดสีใหไดผิวมันรูปเหล่ียม

Page 47: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 65

♦ ถาพบเปนรอง แนวเสนใย หรือแนวขีดขวน หากพบมีหลายทิศทางของแนวขีดแสดงวานาจะเปนจากธารน้ําแข็ง แตถาพบแนวเดียวและเพียงดานเดียว แสดงวาเปนผลจากการเล่ือน (slickenlines)

♦ ถาพบเปนกอนยาวรี หรือแบนราบ อาจจะเปนผลมาจากการถูกเฉือน

♦ ถาพบเปนหลุมเล็กๆ (pit) หรือคลายรอยกระแทกเปนรองเล็กๆ นาจะเกิดจากการกระแทกหรือขัดสีจากกระบวนการของลม

♦ ถาพบเปนกอนกลม ผิวเรียบ นาจะเกิดจากกระบวนการกระทําของแมน้ําหรือใกลชายฝงทะเล ทําใหไดเศษหินมีลักษณะกลม

สวนอนุภาคหิน (rock particles) จะเรียกเมื่อขนาดเล็กกวาเศษหิน องคประกอบของอนุภาคหิน คือ แรประกอบในหินที่ขึ้นกับหินตนกําเนิด (parent rock) นั่นเอง อนุภาคหินที่สําคัญและพบมาก ไดแก ควอตซ มัสโคไวต และไบโอไทต หากพบควอตซ และ เฟลดสปาร หินกําเนิดที่ใหนาจะเปนหินแกรนิต ไนส หากพบไมกามากๆ หินกําเนิดนาจะเปน หินชีสต หรือหากพบ การเนต แมกนีไทตมากๆ หินกําเนิดนาจะเปนหินไนส และหินชีสต หากพบไมกา อยูในหินดินดาน จะบงบอกวาตกสะสมอยูในทวีป (ไมใชในทะเล) แตถาหากพบ พีไลต (pelites) อยูในหินดินดาน แสดงวาตองตกสะสมในทะเลหรือใกลชายฝง เปนตน รูปรางของอนุภาคหินจะมีแบบ เม็ดเหล่ียม เม็ดเหล่ียมหนาตัด เม็ดกึ่งเหล่ียม เม็ดกลม หรือ กึ่งกลมก็ได

2.8.5 รอยสัมผัส (Contact)

รอยสัมผัส (contact) เปนส่ิงที่สําคัญมากในการทําแผนที่ธรณีวิทยา การจัดแบง กลุมหิน (group) หมวดหิน (formation) หรือหนวยหิน (unit) จะตองระบุรอยสัมผัสกับ กลุมหิน หมวดหิน หรือหนวยหิน ขางเคียง รอยสัมผัสแบงออกไดเปนประเภทใหญได 5 ประเภท ไดแก รอยสัมผัสแบบรอยเล่ือน (fault contact) ซ่ึงรอยสัมผัสแบบเขตรอยเฉือน (shear zone contact) รอยสัมผัสแบบการตกตะกอนสภาพปกติ (depositional contact) รอยสัมผัสแบบหินอัคนี (igneous contact) และรอยสัมผัสแบบความไมตอเนื่อง (unconformity) รอยสัมผัสทั้ง 5 แบบ คอนขางแตกตางกันอยางชัดเจน แตเมื่อสํารวจในสนาม การพิจารณาบงบอกรอยสัมผัสกับเปนปญหาคอนขางมาก หากบริเวณที่เปนรอยสัมผัสมีดินคลุม สวนใหญในสนามจะสามารถตัดรอยสัมผัสที่ไมนาจะเปนทิ้งไดคงเหลืออยูเพียง 2 ประเภท ที่แยกไมได เชน ระหวางรอยสัมผัสจากรอยเลื่อนกับรอยสัมผัสแบบความไมตอเนื่อง หรือระหวางรอย

Page 48: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

66 ธรณีวิทยาภาคสนาม

สัมผัสแบบความไมตอเนื่องกับรอยสัมผัสแบบหินอัคนี อยางไรก็ตามการที่จะไดคําตอบ ตองเดินสํารวจและหาขอมูลตางๆ ในสนาม การพิจารณา

รอยสัมผัสแบบความไมตอเนื่อง (unconformity contact) ในสนาม หลักฐานที่ใชพิจารณา ความไมตอเนื่องไดแก

♦ ความไมตอเนื่องของชั้นหินตรงรอยสัมผัส

♦ มีการผุกรอนที่รอยสัมผัสของชั้นหิน

♦ มีลักษณะปรากฏของหินกรวดมนฐาน (basal conglomerate) ที่รอยสัมผัส

♦ หากมีรอยเล่ือนจะมีการขาดหายไป

♦ หากมีพนังแทรกชั้น จะเกิดการขาดหายไป

♦ หากพบชุดหินมีพนังแทรกชั้น หรือ พนัง มากมายแตอีกหนวยไมปรากฏเลย

♦ หินอีกหนวยมีการคดโคงและแปรสภาพ แตอีกหนวยไมมีการเปลี่ยนแปลง

♦ ขาดการตอเนื่องของหนวยหินเมื่อเขียนลงในแผนที่ อยางไรก็ดียังมีความผิดพลาดที่เกิดขึ้นเมื่อพิจารณาความไมตอเนื่องในสนามได เชน (1)

ลักษณะของชั้นเฉียงระดับ และรอยเลื่อนทําใหหินขาดชวง และพิจารณาเปนความไมตอเนื่อง (2) ลักษณะของหินในรอยเลือนที่ถูกบดและหินกรวดเหลี่ยม อาจพิจารณาเปนหินกรวดมนฐาน การแยกหินกรวดเหลี่ยมกับกรวดมนฐานพิจารณาจากเศษหินที่ปะปน หากมีเฉพาะหนวยลาง นาจะเปนหินกรวดมนฐาน แตถาหากพบกรวดทั้งหนวยหินบนและหนวยหินลาง พบมีการเชื่อมประสานกับตะกอนขนาดเล็กๆ และเม็ดกรวดมีรูปเหลี่ยมจะเปนหินกรวดเหลี่ยมรอยเลื่อน (fault breccia) หรืออาจมีหินชุดเดียวเพราะรอยเลื่อนตัดเขาเพียงชุดเดียว เปนตน คําถามที่ตองการคําตอบเมื่อพบความไมตอเนื่องในสนาม ไดแก

♦ ชวงผุกรอนของหนวยหินลางของความไมตอเนื่องเปนหินอะไรที่ผุกรอน

♦ หินนั้นมีการผุกรอนอยางไร มีอัตราเร็วของการผุกรอนมากนอยอยางไร

♦ ผิวของการผุกรอนของหนวยหินมีลักษณะอยางไร

♦ อัตราเร็วของการตกตะกอนปดทับหินหนวยลางเปนอยางไร

♦ แหลงที่มาของตะกอนอยูที่ไหน

♦ ชวงที่ขาดหายไประหวางการผุกรอน และการตกสะสมเปนเวลานานเทาไร

♦ ชวงระหวางการขาดหายไปของการตกสะสม (hiatus)

Page 49: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 67

♦ ความหนาของหินที่ผุกรอนออกไป

♦ มีปรากฏการณอะไรปรากฏในความไมตอเนื่องบาง การที่จะตอบคําถามเหลานี้ได ตองศึกษาหนวยหินที่อยูลางความไมตอเนื่อง และอยูบนความไม

ตอเนื่อง สวนการศึกษาที่ผิวของความไมตอเนื่อง วิเคราะหไดโดยทําแผนที่ธรณีวิทยาออกมาใหสมบูรณกอน (ดูเพิ่มเติมจากคูมือปฏิบัติการธรณีวิทยาโครงสราง) รายช่ือหนังสือการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามที่ดีที่ขอแนะนําใหอาน และควรมีไวเปนคูมือในการศึกษาภาคสนามปรากฏในรูปที่ 2.20 2.9 บทสรุป บทนี้กลาวถึงหลักพื้นฐานในออกภาคสนามที่จํ า เปนสําหรับนักธรณีวิทยาที่ยังขาดประสบการณ การออกสนามประกอบดวยการวางแผนการสํารวจตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวกอนออกสนาม วัตถุประสงคของการสํารวจแบงไดเปนสองประเภทใหญๆ คือ วัตถุประสงคเพื่อการศึกษาธรณีวิทยาของพื้นที่ เปนการศึกษาที่เนนวิชาการ และวัตถุประสงคเพื่อนําแผนที่ธรณีวิทยามาใชประโยชน เชน การสํารวจหาแหลงแร หรือการสํารวจเพื่อสรางถนน อุโมงค หรืออ่ืนๆ อยางไรก็ตาม หลักการสํารวจไมวาจะเปนประเภทใดนักธรณีวิทยาจะตองทําการเลือกแผนที่ฐานที่มีมาตราสวนใหสอดคลองกับความความละเอียด แมนยํา ตามวัตถุประสงค จากนั้นจึงวางแผน และออกสํารวจ เมื่อสํารวจไดขอมูลในภาคสนาม นักธรณีวิทยาตองมีการศึกษาในหองปฏิบัติการเพิ่มเติม จากนั้นจึงนําเสนอผลงานที่ไดสํารวจ โดยเสนอในรูปของแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ และรายงานการสํารวจ

Page 50: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

68 ธรณีวิทยาภาคสนาม

รูปท่ี 2.20 รายช่ือหนังสือการศึกษาธรณีวิทยาภาคสนามที่ควรอาน และมีไวเปนคูมือในการศึกษาภาคสนาม

Page 51: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

การทําแผนที่ธรณีวิทยา 69

คําถามชวนคิด (Questions for thought) คําถามเหลานี้จะไมมีคําตอบที่ตายตัว ดังนั้นควรวิเคราะห และหาเหตุผล ทุกขอควรศึกษาคนควา และไตรตรองใหดีกอนที่จะตอบ (1) หากมีผูกลาววาแผนที่ธรณีวิทยาของประเทศไทยมีเพียงมาตราสวน 1:1,000,000 หรือ 1:250,000 ก็

เพียงพอในการที่จะนํามาใชประโยชนดานธรณีวิทยา จงแสดงเหตุผลโตแยงกับผูที่กลาว พรอมยกตัวอยางใหชัดเจน

(2) หาตัวอยางของแผนที่ธรณีวิทยาเฉพาะทางทําขึ้นเพื่อประยุกตใชในโครงการตางๆ ซ่ึงการปองกันภัยพิบัติจากน้ําทวม การหาแหลงแร การจัดการน้ําบาดาล หรืออ่ืนๆ

(3) จงเขียนแผนการทํางาน (flow chart) หากตองการออกสํารวจธรณีวิทยาในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง จะมีลําดับที่จะตองทําอยางไรบาง

(4) จงเขียนรูปแบบ (format) ที่พึงพอใจของตนเอง ในการบรรยายหินลงในสมุดบันทึกสนามวามีลําดับ และลักษณะการบรรยายอยางไร

(5) จงแสดงความคิดเห็นกับประโยคที่วา “no substitute for geologic map-absolutely none. There never was and there never will be.”

(6) จงใหเหตุผลวาทําไมทางธรณีวิทยาจึงถือเอาความหนาของดินจะตองมากกวา 1 เมตร หรือ 1.5 เมตร ในการกําหนดวาจะแสดง (map) ใหเปนดิน หากจะเปลี่ยนเปนตัวเลขอื่นๆ เชน 0.3, 2.5, 5 เมตร หรืออ่ืนๆ ไดหรือไม และมีขอดีขอเสียอยางไร

(7) อุปสรรคในการสํารวจธรณีวิทยาใน (1) ภาคกลางและภาคตะวันตก (2) ภาคเหนือ (3) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (4) ภาคตะวันออก และ (5) ภาคใต มีอยางไรบาง ใหลําดับและเปรียบเทียบเปนขอๆ

(8) จากแผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราสวน 1:1,000,000 หากถูกกําหนดใหทําการสํารวจธรณีวิทยาในมาตราสวน 1:10,000 ของแผนที่ระวางใดระวางหนึ่งที่แสดงลักษณะธรณีวิทยาที่ซับซอนที่สุดที่อยูใน (1) ภาคกลางและภาคตะวันตก (2) ภาคเหนือ (3) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (4) ภาคตะวันออก และ (5) ภาคใต ใหบงบอกวาระยะเวลาที่ตองการใชในการสํารวจในสนามและเขียนงานจนเสร็จสิ้นของพื้นที่ในแตละภาคจะใชเวลามากนอยตางกันอยางไร ทําตารางเปรียบเทียบพรอมใหเหตุผล ถึงความแตกตางของระยะเวลาที่กําหนด

Page 52: การทําแผนที่ีวิธรณ ทยาedit).pdf · การทําแผนที่ีวิธรณ ทยา19 “นักธรณีวิทยาส

70 ธรณีวิทยาภาคสนาม

(9) จงบงบอกประโยชนของภาพถายโทรสัมผัส (remote sensing) หากตองการทําแผนที่ธรณีวิทยาในมาตราสวน 1:5,000

(10) ความลึกใตผิวดินที่แสดงในภาพตัดขวางของพื้นที่ธรณีวิทยาใด จะแสดงดวยความลึกเทาใด ทําไมไมแสดงไปจนถึงชั้นโมโฮ

(11) จงแสดงความคิดเห็นและเรียงลําดับความสําคัญจากมากไปหานอยของความรูทางธรณีวิทยาดาน (1) ธรณีวิทยาของหินตะกอน (2) ธรณีวิทยาของหินอัคนี (3) ธรณีวิทยาของหินแปร (4) ธรณีวิทยาโครงสราง (5) ธรณีวิทยาสัณฐาน และ (6) ธรณีประวัติ (ใหเรียงใหม พรอมใหเหตุผลวาทําไม)

(12) ทําไมเมื่อตองออกทําการสํารวจธรณีวิทยาจึงตองศึกษางานเกา (literature review) คําถามนี้เพราะนักศึกษาสวนใหญไมใหความสนใจอานรายงานการศึกษาที่มีผูที่ทํามาแลว

เอกสารที่ควรศึกษาเพิ่มเติม (Further readings) Barnes, J. W. 1981. Basic geological mapping. Geological Society of London Handbook Series 1.

Open University Press. Compton, R. R. 1985. Geology in the field. New York: John Wiley & Sons, Inc. Davis, G. H., and Reynolds, S. J. 1996. Structural geology of rocks and regions. 2nd ed. New York:

John Wiley & Sons, Inc. Fry, N. 1984. The field description of metamorphic rocks. Geological Society of London Handbook

Series 3. Open University Press. Lahee, F. H. 1961. Field geology. 6th ed. New York: McGraw-Hill Book Company. McClay, K. R. 1987. The mapping of geological structures. New York: John Wiley & Sons, Inc. Thorpe, R. S., and Brown, G. C. 1985. The field description of igneous rocks. Geological Society of

London Handbook Series 4. Open University Press. Tucker, M. E. 1996. Sedimentary rocks in the Field. 2nd New York: John Wiley & Son, Inc.