2
วิพากษ์รายงาน นโยบาย ยาเสพติดสากล กำ�ลังใจในพระดำ�ริ ส�านักกิจการในพระด�าริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา 10 ว�รส�รยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560 ส�านักกิจการในพระด�ารพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ร่วมกับศูนย์วิชาการสารเสพติดภาคเหนือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, IDPC และส�านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จัดการประชุมเพื่อเปิดรายงานประจ�าปี ของคณะกรรมาธิการสากลว่าด้วยนโยบายยาเสพติด (Global Commission on Drug Policy) ฉบับที่ 6 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรกล่าวเปิดการประชุมว่า นางรุธ เดรฟัส (Madam Ruth Dreifuss) ประธานคณะกรรมาธิการสากล ว่าด้วยนโยบายยาเสพติด อดีตประธานาธิบดีประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตัดสินใจเลือกประเทศไทยเป็นเวทีในการเปิดตัวรายงานประจ�าปี ฉบับที่ 6 เพราะพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงผลักดันเรื่องการแก้ปัญหายาเสพติดมาตลอด และเห็นความมุ ่งมั่น เปลี่ยนนโยบายยาเสพติดของรัฐบาล โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ปี ที่ผ่านมา จนท�าให้นโยบายมีความโดดเด่น ทั้งนี้คณะกรรมาธิการฯ มีศักยภาพในการท�างานทั้งในกลุ่มประเทศยุโรปและลาตินอเมริกา จึงเสนอให้คนในภูมิภาคอาเซียนมีโอกาสร่วมเป็นกรรมการ เพื ่อให้สมาชิกที่ร่วมต่อสู้เรื่องนโยบายยาเสพติดมีความภาคภูมิใจว่า สิ่งที่ต ่อสู้มากกว่า 2 ปี เป็นสิ่งที่เวทีโลกจับตา และที่ผ ่านมา ไทยแสดงออกต่อเวทีโลกชัดเจนถึงการปรับเปลี่ยนนโยบายแก้ปัญหา ยาเสพติด พลเอก ไพบูลย์ฯ กล่าวว่า เราสามารถท�าให้โลกปลอดจาก ยาเสพติดได้จริงหรือไม่ หากจริงก็ท�าในแบบเดิม ๆ คือ ปราบและจับคนเข้าคุกเป็นแสน ๆ คน แต่หากบอกว่าไม่สามารถ ท�าให้โลกปลอดจากยาเสพติดได้ก็ต้องเปลี่ยนวิธีคิด ประเทศไทย ท�าสงครามยาเสพติดยาวนานมากกว่า 20 ปี สร้างความรับรู้เรื่อง ยาเสพติดว่าเป็นอาชญากรมาตลอด กระทั่งภูมิภาคอาเซียนประกาศว่า นโยบายการปราบปรามยาเสพติดล้มเหลว โดยประเทศไทย เป็นประเทศที่ผลักดันให้อาเซียนเขียนยุทธศาสตร์ใหม ่ 10 ปี

วิพากษ์รายงาน นโยบาย ยาเสพติดสากลประมวลกฎหมายยาเสพติด การแก้ไข

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิพากษ์รายงาน นโยบาย ยาเสพติดสากลประมวลกฎหมายยาเสพติด การแก้ไข

วิพากษ์รายงาน นโยบาย

ยาเสพติดสากล

กำ�ลังใจในพระดำ�ริ ส�านักกิจการในพระด�าริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

10 ว�รส�รยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม

เม่ือวันที่ 5 เมษายน 2560 ส�านักกิจการในพระด�าร ิพ ร ะ เ จ ้ า ห ล า น เ ธ อ พ ร ะ อ ง ค ์ เ จ ้ า พั ช ร กิ ติ ย า ภ า ร ่ ว ม กั บ ศู น ย ์ วิช า ก า ร ส า ร เ ส พ ติ ด ภ า ค เ ห นื อ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, IDPC และส� า นักงานป ้อง กันและปราบปรามยาเสพติด จั ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่อ เ ป ิ ด ร า ย ง า น ป ร ะ จ� า ป ีของคณะกรรมาธิการสากลว่าด้วยนโยบายยาเสพติด (Global Commission on Drug Policy) ฉบับท่ี 6 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร

พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา องคมนตรี กล่าวเปิดการประชุมว่า นางรธุ เดรฟัส (Madam Ruth Dreifuss) ประธานคณะกรรมาธิการสากล ว่าด้วยนโยบายยาเสพตดิ อดตีประธานาธบิดปีระเทศสวสิเซอร์แลนด์ ตัดสินใจเลือกประเทศไทยเป็นเวทีในการเปิดตัวรายงานประจ�าป ีฉบับที่ 6 เพราะพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงผลกัดนัเรือ่งการแก้ปัญหายาเสพตดิมาตลอด และเหน็ความมุง่มัน่ เปล่ียนนโยบายยาเสพติดของรัฐบาล โดยเฉพาะในช่วง 2-3 ปี ที่ผ่านมา จนท�าให้นโยบายมีความโดดเด่น ทั้งนี้คณะกรรมาธิการฯ มีศักยภาพในการท�างานทั้งในกลุ่มประเทศยุโรปและลาตินอเมริกา จึงเสนอให้คนในภูมิภาคอาเซียนมีโอกาสร ่วมเป ็นกรรมการ เพื่อให้สมาชิกที่ร่วมต่อสู้เรื่องนโยบายยาเสพติดมีความภาคภูมิใจว่า สิ่งที่ต ่อสู ้มากกว่า 2 ปี เป็นสิ่งที่เวทีโลกจับตา และท่ีผ่านมา ไทยแสดงออกต่อเวทโีลกชดัเจนถงึการปรบัเปล่ียนนโยบายแก้ปัญหา ยาเสพติด

พลเอก ไพบูลย์ฯ กล่าวว่า เราสามารถท�าให้โลกปลอดจาก ยาเสพติดได ้จริ งหรือไม ่ หากจริ งก็ท� า ในแบบเดิม ๆ คือ ปราบและจับคนเข้าคุกเป็นแสน ๆ คน แต่หากบอกว่าไม่สามารถ ท�าให้โลกปลอดจากยาเสพติดได้ก็ต้องเปลี่ยนวิธีคิด ประเทศไทย ท�าสงครามยาเสพติดยาวนานมากกว่า 20 ปี สร้างความรับรู้เรื่อง ยาเสพตดิว่าเป็นอาชญากรมาตลอด กระทัง่ภมูภิาคอาเซียนประกาศว่า นโยบายการปราบปรามยาเสพติดล้มเหลว โดยประเทศไทย เป็นประเทศที่ผลักดันให้อาเซียนเขียนยุทธศาสตร์ใหม่ 10 ปี

Page 2: วิพากษ์รายงาน นโยบาย ยาเสพติดสากลประมวลกฎหมายยาเสพติด การแก้ไข

กำ�ลังใจในพระดำ�ริ

11Justice Magazine Ministry of Justice

เพื่อก�าหนดว่า เราจะอยู่กับยาเสพติดได้อย่างไร ในเมื่อไม่สามารถ ท�าให ้โลกปลอดยาเสพติดได ้ การปราบปราม การป ้องกัน และการบ�าบัดยังต้องคงอยู่ แต่ต้องลดทอนความเป็นอาชญากรรม ของยาเสพติดลง และให้มีการพิจารณาโทษอย่างสอดคล้อง เหมาะสมและเป็นธรรม

ต่อมานายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กล ่ าวถึ งสถานการณ ์การลดทอนความเป ็นอาชญากรรม ในประเทศไทยว่า กรอบนโยบายการแก้ไขปัญหายาเสพตดิม ี 4 กรอบ ประกอบด ้วย 1.เน ้นการป ้องกันบ�าบัดฟ ื ้นฟู ไม ่ ให ้ เสพซ�้า กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้เสพและผู้ค้ารายย่อย ส่วนการปราบปราม เน้นผูค้้ารายใหญ่และผูผ้ลติ 2.เร่งพฒันาระบบบ�าบดัให้มปีระสทิธภิาพ เข ้าถึงได ้อย ่างจ�าเป ็นและเท่าเทียม และบริการอย่างทั่วถึง 3.น�ากระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนตามแนวคิดประชารัฐร่วมใจ มาใช ้ร ่วมกัน และน�าผู ้ เสพมาบ�าบัดและส่งคืนสู ่ สังคม และ 4.ใช้มาตรการอื่นแทนการลงโทษจ�าคุกมาใช้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยการก�าหนดโทษให้น�าพฤติการณ์ผู ้กระท�าผิดมาประกอบการ พิจารณาโทษ ทั้งนี้ ประเทศไทยยังต ้องพยายามอย่างหนัก เพ่ือด�าเนินการให้เป็นไปตามกรอบสากลของรายงานประจ�าปี ของคณะกรรมาธิการฯ โดยต้องเร่งท�าความเข้าใจเรื่องการลดทอน ความเป็นอาชญากรรมให้ชัดเจน สิ่งท่ีเดินหน้าไปแล้ว คือ การออก ประมวลกฎหมายยาเสพติด การแก้ไข พ.ร.บ.วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิต และประสาทและแก้ไข พ.ร.บ.ยาเสพตดิให้โทษ (ฉบบัท่ี 6 ) พ.ศ. 2560 ซึ่ ง เปลี่ ยนนิ ติ วิ ธี เ ก่ี ย ว กับ เ รื่ อ งการน� าสื บและการลง โทษ นับเป็นความก้าวหน้าของกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดของไทย

นางรุธ เดรฟัส ประธานคณะกรรมาธิการสากลว่าด้วย นโยบายยาเสพติด อดีตประธานาธิบดีประเทศสวิสเซอร์แลนด์ กล่าวว่า กฎหมายห้ามสิ่งเสพติดแทบไม่มีผลต่ออัตราการเสพ ระหว่างปี 2549-2556 จ�านวนผู้เสพท่ัวโลกเพิ่มข้ึน 246 ล้านคน

หรือ 20% ขณะที่การจับกุมคุมขังในคดียาเสพติดท�าให้มีผู้เสียชีวิต เกือบ 200,000 คนต่อปี ปัจจุบันหลายประเทศเริ่มใช้ทางเลือกอ่ืน แทนการลงโทษทางอาญา เช ่น การบ�าบัดทางการแพทย ์ และมาตรการทางสังคม ส�าหรับรายงานการขับเคล่ือนการปฏิรูป นโยบายยาเสพติดแนวทางใหม่ที่คณะกรรมาธิการฯ เสนอแนะ ประกอบด้วย 1.รัฐต้องยกเลิกโทษประหารชีวิตส�าหรับทุกความผิด ที่ เกี่ ยวข ้องกับยาเสพติด 2 .รัฐต ้องยุติการลงโทษทั้ งหมด ทั้งทางแพ่งและอาญาส�าหรับการมียาเสพติดอันตรายต่อผู ้อื่น 3.รัฐต้องด�าเนินมาตรการทางเลือกแทนการลงโทษ 4.ประเทศ สมาชิกองค์การสหประชาชาติหรือยูเอ็นต้องเพิกถอนการลงโทษ ส�าหรับการมียาเสพติดในครอบครองตามสนธิสัญญาภายใต ้ระบบการควบคุมยาเสพติดระหว่างประเทศ และ5.รัฐต้องศึกษา แม่แบบการควบคุมยาเสพติดผิดกฎหมายทุกประเภท