12
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ 3/1 สาขาการตลาด ชื่อผู้วิจัย งามตา บุญยะพรรค ตาแหน่ง อาจารย์ประจากลุ่มวิชาทักษะชีวิต วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์บัณฑิต (เอกคณิตศาสตร์) สถานศึกษาที่ติดต่อ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ โทร. 08-9317-9751 [email protected] ปีท่ทาวิจัยเสร็จ ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 1 ประเภทงานวิจัย การเรียนการสอน บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากใช้ชุดฝึกทักษะเรื่อง ลอการิทึม ในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ 3 สาขาการตลาด เก็บ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ 3/1 สาขาการตลาด ในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โดยเลือกแบบเจาะจงท่ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 % จานวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ 3/1 สาขาการตลาด แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม ใน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีท่ 3/1 สาขาการตลาด ซึ่งผู้เรียนมีผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพณิชยกรรม หมวดวิชาทักษะ วิชาชีพ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ จุดมุ่งหมายของหลักสูตรข้อ 1. เพื่อให้มีความรู้ ทักษะและ ประสบการณ์ในงานอาชีพ สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ สามารถนาความรู้ทักษะและประสบการณ์ในงาน อาชีพไปปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ2.เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจ ในวิชาชีพที่เรียน สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ ในมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพกล่าวไว้ว่าคุณภาพของผู้สาเร็จ การศึกษาจะต้องประกอบด้วย ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อ 1.3 ทักษะทางปัญญา ได้แก่ความรู้ในหลัก ทฤษฎี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ข้อ 2.2 แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมาจาก คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะการคิดคานวณ การแก้ปัญหาเรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร สมการกาลังสองตัวแปรเดียว เลขยกกาลัง ลอการิทึม พื้นที่ พื้นที่ผิวและ ปริมาตรในหน่วยมาตราวัดต่างๆ จะเห็นได้ว่าวิชาคณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาคุณภาพคนเนื่อง จากเป็นวิชาที่ต้องใช้เหตุผล กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา ช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นคนมีเหตุผล คิด อย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบมีทักษะการแก้ปัญหา วิเคราะห์ปัญหาได้อย่างรอบคอบ สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม เป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด ชื่อผู้วิจัย งามตา บุญยะพรรค ต าแหน่ง อาจารย์ประจ ากลุ่มวิชาทักษะชีวิต วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์บัณฑิต (เอกคณิตศาสตร์) สถานศึกษาที่ติดต่อ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ โทร. 08-9317-9751 [email protected] ปีท่ีท าวิจัยเสร็จ ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 1 ประเภทงานวิจัย การเรียนการสอน บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม ในรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขาการตลาด เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โดยเลือกแบบเจาะจงที่ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ต่ ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 80% จ านวน 20 คน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยเป็นชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม วิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม ในรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด ซึ่งผู้เรียนมีผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ความส าคัญและความเป็นมาของปัญหา

ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาพณิชยกรรม หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ จุดมุ่งหมายของหลักสูตรข้อ1. เพ่ือให้มีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพ สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ สามารถน าความรู้ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพไปปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ2.เพ่ือให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน สามารถท างานเป็นหมู่คณะได้ ในมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพกล่าวไว้ว่าคุณภาพของผู้ส าเร็จการศึกษาจะต้องประกอบด้วย ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อ1.3 ทักษะทางปัญญา ได้แก่ความรู้ในหลักทฤษฎี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ข้อ 2.2 แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมาจากค าอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะการคิดค านวณ การแก้ปัญหาเรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร สมการก าลังสองตัวแปรเดียว เลขยกก าลัง ลอการิทึม พ้ืนที่ พ้ืนที่ผิวและ ปริมาตรในหน่วยมาตราวัดต่างๆ จะเห็นได้ว่าวิชาคณิตศาสตร์มีบทบาทส าคัญในการพัฒนาคุณภาพคนเนื่อง จากเป็นวิชาที่ต้องใช้เหตุผล กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา ช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นคนมีเหตุผล คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบมีทักษะการแก้ปัญหา วิเคราะห์ปัญหาได้อย่างรอบคอบ สามารถคาดการณ์วางแผน ตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม เป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Page 2: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

ก่อให้เกิดในการพัฒนาในศาสตร์ต่างๆ (สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,2550) ปัจจุบันพบว่าเด็กไทยขาดทักษะทั้งการใช้ความคิดรวบยอดและทักษะในการแก้ปัญหา โดยปัญหาหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน คือผู้เรียนไม่ชอบคิด และขาดทักษะในการแก้ปัญหาไม่สามารถประยุกต์ความรู้ ไปใช้แก้ปัญหาได้(สมวงษ์ แปลงประสพโชคและคณะ, 2556) ดังนั้นในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์จะช่วยให้ผู้เรียนมีแนวคิดที่หลากหลาย มีนิสัยกระตือรือร้น ไม่ย่อท้อและมั่นใจในการแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ตลอดจนเป็นทักษะพ้ืนฐานที่ผู้เรียนสามารถน าติดตัวไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจ าวันได้ตลอดชีวิต (สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2550)

การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 สาขา วิชาการตลาด จ านวน 20 คน พบว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ ากว่าเกณฑ์จากการทดสอบก่อนเรียนและท าแบบฝึกหัดหลังบทเรียนไม่ถูกต้อง เนื่องจากมีพ้ืนฐานเรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เลขยกก าลังและการตีความจากโจทย์ปัญหาไม่ถูกต้อง ซึ่งต้องใช้หลักการค านวณและผู้เรียนไม่มีทักษะในการค านวณ เพ่ือน าไปสู่เรื่องลอการิทึม ท าให้มีปัญหาในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไม่ประสบความส าเร็จในการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป็นปัญหาส าคัญในการด าเนินการสอนต่อไป ผู้สอนจึงคิดหาวิธีการในการแก้ปัญหาดังกล่าวให้กับผู้เรียนโดยท าการศึกษาทฤษฎีของ Thorndike กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระท าซ้ าๆ (The Law of Exercise or Repetition) ชี้ให้เห็นการกระท าซ้ าๆ หรือการฝึกหัดนี้หากได้ท าบ่อยๆซ้ าๆ จะท าให้การกระท านั้นๆ ถูกต้องและมั่นคง ผู้สอนท าการศึกษาและน าหลักการมาใช้แก้ปัญหาให้กับผู้เรียน และได้ศึกษางานวิจัยของนางสาววิลาวรรณ ผลสัมฤทธิ์ (2553) เรื่องการใช้ชุดฝึกทักษะและการเสริมแรงในวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ โดยให้ผู้เรียนท าชุดฝึกทักษะคณิตศาสตร์ จากง่ายไปหายากโดยผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมา 3 ชุด และบันทึกผลคะแนนผลปรากฏว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นตามเกณฑ์ที่ก าหนด ซึ่งงานวิจัยนี้สามารถน าไปเป็นแนวทางในการวิจัยปัญหาที่พบจากการจัดการเรียนการสอนได้

ผู้ท าการวิจัยจึงได้น าหลักการและทฤษฎีที่ศึกษาดังกล่าวมาแก้ปัญหาให้กับผู้เรียนที่ท าการสอนและท า

การวิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ จ านวน 38 คนส ารวจพบว่าผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ ากว่าเกณฑ์จ านวน 20 คน ต้องได้รับการพัฒนาขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องในการจัดท าชุดฝึกทักษะ เรื่องลอการิทึม เพ่ือให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด ค านวณ และสามารถหาค าตอบได้ถูกต้อง และผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์ร้อยละ 80 ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย วัตถุประสงค ์

เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม ในรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรต้น (Independent variable) ตัวแปรตาม (Dependent variable)

ชุดฝึกทกัษะ เร่ือง ลอการิทมึ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่

3/1สาขาการตลาด

l สาขาการตลาด

Page 3: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

สมมติฐานการวิจัย ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการทึม ในรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน

อาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน นิยามศัพท ์

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่องลอการิทึมในรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ โดยใช้ชุดฝึกทักษะ

ชุดฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ส าหรับผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด จ านวน 20 คน ต้องใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม จ านวน 3 ชุด ตามหน่วยการเรียนรู้และเนื้อหาการเรียน จัดท าขึ้นส าหรับให้ผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ ากว่าเกณฑ์ร้อยละ80 ประกอบด้วย ชุดฝึกทักษะการหาค่าลอการิทึมโดยใช้สมบัติของลอการิทึมโดยตรง ชุดฝึกทักษะลอการิทึมสามัญและลอการิทึมธรรมชาติ และชุดฝึกทักษะการน าลอการิทึมมาประยุกต์ใช้ในการแก้โจทย์ปัญหา

ประสิทธิภาพชุดฝึกทักษะ หมายถึง ชุดฝึกทักษะที่มีคุณภาพ สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ด้านการใช้ความรู้ พ้ืนฐานในการเรียนจากง่ายไปหายากจากการแปลความหมายของโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์เพ่ือน าไปสู่การหาค่าของเลขยกก าลังได้ในหน่วยการเรียนเรื่องลอการิทึม ซึ่งพิจารณาได้จากผลการประเมินความแตกต่างของคะแนนการทดสอบก่อนเรียนกับหลังเรียน แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง สกินเนอร์ (Skinner) เป็นผู้คิดทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระท าหรือแบบปฏิบัติการ ซึ่งมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน คือ Operant Conditioning Theory หรือ Instrumental conditioning theory หรือ Type - R Conditioning Theory สกินเนอร์ได้เสนอแนวความคิดโดยจ าแนกทฤษฎีทางพฤติกรรมออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type S (Response Behavior) ซึ่งมีสิ่งเร้า (Stimulus) เป็นตัวก าหนดหรือดึงออกมา เช่น น้ าลายไหลเนื่องจากใส่อาหารเข้าไปในปาก สะดุ้งเพราะถูกเคาะที่สะบ้าข้างเข่า หรือการหรี่ตาเมื่อถูกแสงไฟ พฤติกรรมดังกล่าวเป็นการตอบสนองแบบอัตโนมัติ

2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type R (Operant Behavior) สกินเนอร์ให้ความส าคัญในเรื่องของการเสริมแรงซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้

2.1 ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) หมายถึง สิ่งเร้าใดๆ ซึ่งเมื่อน ามาใช้แล้วท าให้อัตราการตอบสนองเพ่ิมมากข้ึน เช่น ค าชมเชย รางวัล อาหาร

2.2 ตัวเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) หมายถึง สิ่งเร้าใดๆ ทฤษฎีแนวคิดของธอร์นไดค์

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ ที่เชื่อในเรื่องของทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) ธอร์นไดค์ ได้ศึกษาเรื่อง การเรียนรู้ของสัตว์ และต่อมาได้กลายมาเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ทั่วไปโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์นั้น เป็นที่รู้จักกันดีในนามทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยง ในเรื่องนี้

Page 4: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

นอกจากธอร์นไดค์จะได้ย้ าในเรื่องการฝึกหัดหรือการกระท าซ้ าแล้ว เขายังให้ความส าคัญของการให้รางวัลหรือการลงโทษ ความส าเร็จหรือความผิดหวังและความพอใจหรือความไม่พอใจแก่ผู้เรียนอย่างทัดเทียมกันด้วย ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ เน้นที่ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่ งเร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง (Response) ที่ชื่อว่า การเรียนรู้ จะเกิดขึ้นได้ด้วยการที่มนุษย์หรือสัตว์ได้เลือกเอาปฏิกิริยาตอบสนองที่ถูกต้องนั้นมาเชื่อมต่อเข้ากับสิ่งเร้าอย่างเหมาะสม หรือการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ โดยการสร้างสิ่งเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง เรียกทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ว่า ทฤษฎีเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับตอบสนอง (S-R Bond Theory) หรือทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionisms Theory) ทฤษฎีการเรียนรู้ของไทเลอร์

1. ความต่อเนื่อง (continuity) หมายถึง ในวิชาทักษะ ต้องเปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะในกิจกรรม และประสบการณ์บ่อย ๆ และต่อเนื่องกัน

2. การจัดช่วงล าดับ (sequence) หมายถึง หรือการจัดสิ่งที่มีความง่ายไปสู่สิ่งที่มีความยาก ดังนั้นการจัดกิจกรรมและประสบการณ ์จึงควรให้มีการเรียงล าดับก่อนหลัง เพ่ือให้ได้เรียนเนื้อหาที่ลึกซ้ึงยิ่งขึ้น

3. บูรณาการ (integration) หมายถึงการจัดประสบการณ์จึงควรเป็นในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เพ่ิมพูนความคิดเห็นและได้แสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เนื้อหาที่เรียนเป็นการเพ่ิมความสามารถทั้งหมดของผู้เรียนที่จะได้ใช้ประสบการณ์ได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ กัน ประสบการณ์การเรียนรู้จึงเป็นแบบแผนของปฏิสัมพันธ์ (interaction) ระหว่างผู้เรียนกับสถานการณ์ที่แวดล้อม ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่

กาเย่ (Gagne) ได้เสนอหลักที่ส าคัญเกี่ยวกับการเรียนรู้ว่า ไม่มีทฤษฎีหนึ่งหรือทฤษฎีใดสามารถอธิบายการเรียนรู้ของบุคคลได้สมบูรณ์ ดังนั้น กาเย จึงได้น าทฤษฎีการเรียนรู้แบบสิ่งเร้าและการตอบสนอง (S-R Theory) กับทฤษฎีความรู้ (Cognitive Field Theory) มาผสมผสานกันในลักษะ ของการจัดล าดับการเรียนรู้ดังนี้

1. การเรียนรู้แบบสัญญาณ (Signal Learning) เป็นการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไข เกิดจากความใกล้ชิดของสิ่งเร้าและการกระท าซ้ าผู้เรียนไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเอง

2. การเรียนรู้แบบการตอบสนอง (S-R Learning) คือการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถควบคุมพฤติกรรมนั้นได้การตอบสนองเป็นผลจากการเสริมแรงกับโอกาสการกระท าซ้ า หรือฝึกฝน

3. การเรียนรู้แบบลูกโซ่ (Chaining Learning) คือการเรียนรู้อันเนื่องมาจากการเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนองติดต่อกันเป็นกิจกรรมต่อเนื่องโดยเป็นพฤติกรรมที่เก่ียวกับการเคลื่อนไหว เช่นการขับรถ การใช้เครื่องมือ

4. การเรียนรู้แบบภาษาสัมพันธ์ (Verbol Association Learning) มีลักษณะเช่นเดียวกับการเรียนรู้แบบลูกโซ่ หากแต่ใช้ภาษา หรือสัญลักษณ์แทน

5. การเรียนรู้แบบการจ าแนก (Discrimination Learning) ได้แก่การเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นความแตกต่าง สามารถเลือกตอบสนองได้

6. การเรียนรู้มโนทัศน์ (Concept Learning) ได้แก่การเรียนรู้อันเนื่องมาจากความสามารถในการตอบสนองสิ่งต่างในลักษณะที่เป็นส่วนรวมของสิ่งนั้น เช่นวงกลมประกอบด้วยมโนทัศน์ย่อยที่เกี่ยวกับ ส่วนโค้ง ระยะทาง ศูนย์กลาง เป็นต้น

Page 5: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

7. การเรียนรู้กฎ (Principle Learning) เกิดจากความสามารถเชื่อมโยงมโนทัศน์เข้าด้วยกันสามารถน าไปตั้งเป็นกฎเกณฑ์ได้

8. การเรียนรู้แบบปัญหา (Problem Solving) ได้แก่ การเรียนรู้ในระดับที่ ผู้เรียนสามารถรวบรวมกฎเกณฑ์ รู้จักการแสวงหาความรู้ รู้จักสร้างสรรค์ น าความรู้ไปแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้จากล าดับการเรียนรู้นี้แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรมการเรียนรู้แบบต้นๆ จะเป็นพ้ืนฐาน ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่องของกัทธรี

ทฤษฎีกัทธรีกล่าวว่าการเรียนรู้ของอินทรีย์เกิดจากความสัมพันธ์ต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยเกิดจากการกระท าเพียงครั้งเดียว (One-trial Learning) มิต้องลองท าหลาย ๆ ครั้ง

เขาเชื่อว่าเมื่อใดก็ตามที่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แสดงว่าอินทรีย์เรียนรู้ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า ที่ปรากฏในขณะนั้นทันที และเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างสมบูรณ์ ไม่จ าเป็นต้องฝึกหัดอีกต่อไป เขาค้านว่าการฝึกในครั้งต่อไปไม่มีผลให้สิ่งเร้าและการตอบสนองสัมพันธ์กันแน่นแฟ้นขึ้นเลย (ซึ่งแนวความคิดนี้ตรงกันข้ามกับแนวความคิดของธอร์นไดค์ ที่กล่าวว่าการเรียนรู้จะเกิดจากการลองผิดลองถูกโดยกระท าการตอบสนองหลายๆอย่างและเม่ือเกิดการเรียนรู้คือการแก้ปัญหาแล้วจะต้องมีการฝึกหัดให้กระท าซ้ าบ่อยๆ

กัทธรี กล่าวว่า “สิ่งเร้า ที่ท าให้เกิดอาการเคลื่อนไหวเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขที่แท้จริง” กัทธรีและฮอร์ตัน (Horton) ได้ร่วมกันทดลองการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง โดยใช้แมวและสร้างกล่องปัญหาขึ้น ซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ มีกล้องถ่ายภาพยนตร์ติดไว้ที่กล่องปัญหาด้วย นอกจากนี้ยังมีเสาเล็ก ๆ อยู่กลางกล่อง และมีกระจกที่ประตูทางออก ผลที่ได้จากการทดลอง สรุปได้ดังนี้

1. แมวบางตัวจะกัดเสาหลายครั้ง 2. แมวบางตัวจะหันหลังชนเสาและหนีจากกล่องปัญหา 3. แมวบางตัวอาจใช้ขาหน้าและขาหลังชนเสาและหมุนรอบ ๆ เสา จากผลการทดลองดังกล่าว กัทธรีได้สรุปเป็นกฎการเรียนรู้ ดังนี้

พฤติกรรมของมนุษย์มีสิ่งเร้าควบคุม และการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองจะเปลี่ยนไปตามกฎเกณฑ ์เขายอมรับว่าพฤติกรรมหลายอย่างมีจุดมุ่งหมาย พฤติกรรมใดที่ท าซ้ า ๆ เกิดจากกลุ่มสิ่งเร้าเดิมมาท าให้เกิดพฤติกรรมเช่นนั้นอีก กัทธรีจึงได้สรุปกฎการเรียนรู้ต่างๆไว้ดังนี้

1. กฎแห่งความต่อเนื่อง (Law of Contiguity) 2. กฎของการกระท าครั้งสุดท้าย (Law of Recency) 3. การเรียนรู้เกิดข้ึนได้แม้เพียงครั้งเดียว (One trial learning) 4. หลักการจูงใจ (Motivation) จากการทดลองและแนวความคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ ดังกล่าวมาข้างต้น เขาได้

เสนอกฎการเรียนรู้ที่ส าคัญขึ้นมา 3 กฎ อันถือว่าเป็นหลักการเบื้องต้นที่น าไปสู่เทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนกฎทั้ง 3 ได้แก่

1. กฎแห่งการฝึกหัดหรือการกระท าซ้ า (The Law of Exercise or Repetition) ชี้ให้เห็นว่าการกระท าซ้ าหรือการฝึกหัดนี้ หากได้ท าบ่อย ๆ ซ้ า ๆ ซาก ๆ จะท าให้การกระท านั้น ๆ ถูกต้องสมบูรณ์และม่ันคง

2. กฎแห่งผล (The Law of Effect) เป็นกฎที่มีชื่อเสียงและได้รับความสนใจมากท่ีสุด ใจความส าคัญของกฎนี้ก็คือรางวัลหรือความสมหวัง จะช่วยส่งเสริมการแสดงพฤติกรรมนั้นมากขึ้น แต่การท าโทษหรือความผิดหวังจะลดอาการแสดงพฤติกรรมนั้นลง

Page 6: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

3. กฎแห่งความพร้อม (The Law of Readiness) กฎนี้หมายถึงความพร้อมของร่างกาย ในอันที่จะแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกมา งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง

ยุพิน สะอาดยิ่ง (2555:บทคัดย่อ) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการบวก การลบ การคูณและการหารเศษส่วนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ส านักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 2) เพ่ือหาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก การลบ การคูณและการหารเศษส่วน 3) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วนโดยใช้แบบฝึกทักษะ 4) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน หลังการใช้แบบฝึกทักษะเรื่องการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน ประชากรและกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน อนุบาลรัตนบุรีภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จ านวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพ 77.45/78.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 ที่ตั้งไว้ 2) ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ มีค่าเท่ากับ 0.75 แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้เพ่ิมขึ้น ร้อยละ 75 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย ส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่องการบวก การลบ การคูณ และ การหารเศษส่วนโดยใช้แบบฝึกทักษะอยู่ในระดับมาก

เทพสถิตย์ มะโนรัตน์ (2555 : บทคัดย่อ ) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะแคลคูลัสเรื่อง การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1/6 วิทยาลัยเทคโนโลยียานยนต์ ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1/6 หลังเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะแคลคูลัสเรื่อง การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01

สุมนต์ชัย สุวรรณหงษ์ ( 2555 : บทคัดย่อ ) ได้ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ทั่วไปเรื่องตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ทั่วไป เรื่องตรรกศาสตร์เบื้องต้น หลังการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะส าหรับฝึกทักษะตรรกศาสตร์เบื้องต้น มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตะวัน ทองสรรค์ (2556 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนารีนุกูล ผลการศึกษา พบว่า 1. ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 77.27/77.13 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 จากคะแนนเต็ม 5 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ .37

Page 7: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

กุหลาบ สีชาลี (2556 : บทคัดย่อ) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และเพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสังฆประชานุสสรณ์ ส านักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/2 ปีการศึกษา 2556 จ านวน 64 คน ผลการวิจัยพบว่า แบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 85.31/80.10 เป็นไปตามเกณฑ์สมมติฐานที่ก าหนด นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

นิตยา อินทรชุมนุม (2557:บทคัดย่อ) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แบบฝึกทักษะ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือสร้างและพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มเป้าหมายของการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนสะบ้าย้อย อ าเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จ านวน 42 คน ผลการศึกษาพบว่า 1 ) แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้ศึกษาพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 83.21 / 82.95 2) นักเรียนที่เรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จ านวน 1 ห้องเรียน จ านวนผู้เรียนทั้งสิ้น 38 คน

ผู้เรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โดยเลือกแบบเจาะจง ที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนด จ านวนทั้งสิ้น 20 คน

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล

- แบบทดสอบก่อนเรียน (ใช้ข้อสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จ านวน 10 ข้อ จ านวน 2 ชุด) - แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน (แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ) - ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม(แบบฝึกหัดเสริมทักษะใช้ข้อสอบแบบเติมค าตอบ 10 ข้อ จ านวน 3 ชุด) - แบบทดสอบหลังเรียน(ใช้ข้อสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก จ านวน 10 ข้อ จ านวน 2 ชุด)

Page 8: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

การรวบรวมข้อมูล ขั้นเตรียมการ 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับทักษะในการคิดวิเคราะห์เพ่ือหาค าตอบของผู้เรียนในการเรียนการสอนสาระ

การเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ

2. ก าหนดหัวข้อที่จะจัดท าวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนา 3. ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องท่ีจะท าการวิจัย 4. ก าหนดกรอบโครงร่างในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม 5. สร้าง และพัฒนาเครื่องมือ ขั้นด าเนินการ 1. จัดการเรียนการสอนตามปกติและท าการทดสอบ เพื่อวัดความรู้และความเข้าใจก่อนเรียน เพ่ือเก็บ

เป็นข้อมูลก่อนการพัฒนา 2. ผู้สอนอธิบายความรู้ เรื่องลอการิทึม แล้วท าแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยให้

กลุ่มตัวอย่างฝึกทักษะ ถ้าผ่านเกณฑ์ก็จะฝึกทักษะต่อไปตามขั้นตอน แต่ถ้าไม่ผ่าน ผู้สอนก็จะอธิบายให้เข้าใจเพ่ือท าชุดฝึกทักษะต่อไป จนมีผลสัมฤทธิ์ตามต้องการ

3. น าแบบทดสอบหลังบทเรียนไปทดสอบเพ่ือเก็บข้อมูลน ามา วิเคราะห์ผลหลังจากที่ด าเนินการมาครบทุกขั้นตอนเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากที่ได้ใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม

ภาพที่ 1 ผังมโนทัศน์แสดงกระบวนการวิจัย

ทดสอบก่อนเรียน

ผู้สอนอธิบายการเรียนรู้

แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน

ชุดฝึกทักษะ

ทดสอบหลังเรียน

วัดผลใหม่

ไม่ผ่าน

ไม่ผ่าน

ไม่ผ่าน

ฝึกทักษะ

ผ่าน

ผ่าน

Page 9: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

สถิติที่ใช้ในการวิจัย ค่าเฉลี่ย (�̅�) และค่าสถิติร้อยละ (Percentage) ในการหาสัดส่วนกลุ่มตัวอย่าง

สูตร P = f

n × 100

เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ f แทน จ านวนหรือความถี่ที่ต้องการหาค่าร้อยละ n แทน จ านวนข้อมูลทั้งหมด ค่าเฉลี่ย

สูตร x̅ = ∑ x

n

เมื่อ x̅ แทน คะแนนเฉลี่ย

∑ x แทน ผลรวมคะแนนทั้งหมด n แทน จ านวนคนในกลุ่มตัวอย่าง

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางท่ี1 แสดงผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ เรื่องลอการิทึม

เลขที่ ผลสัมฤทธิ์คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ค่า D ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบหลังเรียน

1 3 8 +5 2 2 6 +4 3 3 9 +6 4 4 7 +3 5 2 7 +5 6 4 9 +5 7 3 7 +4 8 3 8 +5 9 4 7 +3 10 3 7 +4 11 2 7 +5 12 1 6 +5 13 3 9 +6 14 3 8 +5 15 4 7 +3 16 2 8 +6

Page 10: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

17 4 9 +5 18 2 7 +5 19 2 8 +6 20 4 7 +3 �̅� 2.90 7.55 4.65

ค่าร้อยละ 29.00 75.50 สรุปผลการวิจัย

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้เรียนทุกคน มีผลคะแนนทดสอบหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะเพ่ิมข้ึนทุกคน มีค่าเฉลี่ย 7.55 คิดเป็นร้อยละ 75.50 และมีค่าเฉลี่ยผลต่างคะแนนทดสอบก่อนและหลังการใช้กิจกรรมโดยใช้ชุดฝึกทักษะเท่ากับ 4.65 ดังนั้น การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด หลังจากที่มีการใช้กิจกรรมชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อภิปรายผล

การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม ส าหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 ปีการศึกษา 2560 สาขาการตลาด วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ในพระอุปถัมภ์ฯ ระหว่างวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมชุดฝึกทักษะ ซึ่งสามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียน ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะเรื่องลอการิทึม จากการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3/1 สาขาการตลาด พบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ยุพิน สะอาดยิ่ง (2555:บทคัดย่อ) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการบวก การลบ การคูณและการหารเศษส่วนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ส านักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ผลการวิจัยพบว่า 1)แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพ 77.45/78.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 75/75 ที่ตั้งไว้ 2) ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ มีค่าเท่ากับ 0.75 แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้เพ่ิมขึ้น ร้อยละ 75 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย ส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่องการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วนโดยใช้แบบฝึกทักษะอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับ กุหลาบ สีชาลี(2556:บทคัดย่อ) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ผลการวิจัยพบว่า แบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 85.31/80.10 เป็นไปตามเกณฑ์สมมติฐานที่ก าหนด นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับ ตะวัน ทองสรรค์ (2556

Page 11: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

: บทคัดย่อ) ได้พัฒนาชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที ่5 โรงเรียนนารีนุกูล ผลการศึกษา พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 77.27/77.13 , ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01, นักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 จากคะแนนเต็ม 5 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ .37

ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาความพึงพอใจในการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม

2. ผู้สอนสามารถน าแนวทางการสอนนี้ไปใช้กับผู้เรียนระดับชั้นอ่ืน โดยอาจจะก าหนดเนื้อหาสาระที่ต้องการตามเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอน

Page 12: ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ชุดฝก ...58.82.156.60/quality/research/r/การพัฒนาผลสัมฤทธิ์...ชื่อผลงานวิจัย

บรรณานุกรม กุหลาบ สีชาลี. (2556). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ

หารระคนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. โรงเรียนสังฆประชานุสสรณ์ ส านักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร

ตะวัน ทองสรรค์. (2556). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาเรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. โรงเรียนนารีนุกูล.

นิตยา อินทรชุมนุม. (2557). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้แบบฝึกทักษะ. โรงเรียนสะบ้าย้อย อ าเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา.

พัศนีย์ นันตา . คณิตศาสตร์พืน้ฐาน. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์, 2556. 219 หน้า. มนัส ประสงค;์นันทา เศรษฐปราโมทย์. คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ :จิตรวฒน์, 2557. 232 หน้า. ยุพิน สะอาดยิ่ง. (2555). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการบวก

การลบ การคูณและการหารเศษส่วนโดยใช้แบบฝึกทักษะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. โรงเรียนอนุบาลรัตนบุรี ส านักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2.

สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์และคณะ. คณิตศาสตร์พื้นฐาน . กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2556 . 235 หน้า.