26
ภาคผนวก . ประวัติวิทยากร 1. .ดร. ศรีศักดิจามรมาน เขียนบทที1 และบทที10 หนา 88 2. ดร. ณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง เขียนบทที2 หนา 91 3. ดร. จินตวีร มั่นสกุล เขียนบทที3 หนา 94 4. ดร. พูลศรี เวศยอุฬาร เขียนบทที4 หนา 95 5. ดร. ทามินี ชินะชาครีย เขียนบทที5 หนา 97 6. รศ.ภญ.ดร. ปลื้มจิตต โรจนพันธุ เขียนบทที6 หนา 99 7. รศ.ภก.ดร. กอบธัม สถิรกุล เขียนบทที7 หนา 102 8. รศ.ดร. สุวบุญ จิรชาญชัย เขียนบทที7 หนา 105 9. ดร. สันติธร บุญเจือ เขียนบทที8 หนา 108 10. นายธเนศ ขําเกิด เขียนบทที9 หนา 111 - 87 -

ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ภาคผนวก ข. ประวัติวิทยากร

1. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน เขียนบทที่ 1 และบทที่ 10 หนา 88

2. ดร. ณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง เขียนบทที่ 2 หนา 91

3. ดร. จินตวีร มั่นสกุล เขียนบทที่ 3 หนา 94

4. ดร. พูลศรี เวศยอุฬาร เขียนบทที่ 4 หนา 95

5. ดร. ทามินี ชินะชาครีย เขียนบทที่ 5 หนา 97

6. รศ.ภญ.ดร. ปลื้มจิตต โรจนพันธุ เขียนบทที่ 6 หนา 99

7. รศ.ภก.ดร. กอบธัม สถิรกุล เขียนบทที่ 7 หนา 102

8. รศ.ดร. สุวบุญ จิรชาญชัย เขียนบทที่ 7 หนา 105

9. ดร. สันติธร บุญเจือ เขียนบทที่ 8 หนา 108

10. นายธเนศ ขําเกิด เขียนบทที่ 9 หนา 111

- 87 -

Page 2: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน

ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน เปนผูมีความรูความชํานาญในดานการศึกษา ดานธุรกิจ ดานราชการ และดานสมาคมวิชาการ โดยเปนบุตรพระยานิติศาสตรไพศาลย (วัน จามรมาน) ผู เปนอดีตอธิบดี กรมพระอาลักษณ อดีตรองราชเลขาธิการฝายตางประเทศ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชก าลที่ 7 อดี ต รัฐมนตรี ว าก ารกระทรวงยุ ติ ธรรมและรักษ าการน ายกรัฐมนตรี กั บตํ าแหน ง ที่นายกรัฐมนตรีดํารงอยูทั้งหมดระหวางพระยาพหลพลพยุหเสนา ลาปวยประมาณ 6 เดือน รวมทั้ง ตําแหนงประธานคณะราษฎร

ดานการศึกษา ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน จบโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร รุนเดียวกับสมบัติ เมทะนี จบเตรียมอุดมศึกษารุนที่ 16 จบปริญญาตรีวิศกรรมศาสตร สาขาโยธา จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดทุนเรียนและจบมหาบัณฑิตดานวิศวกรรมชลศาสตรสอบไดเปนที่ 1 ของรุนแรกของเอไอที ไดทุนไปเรียนและใชเวลาเพียง 2 ปครึ่งก็เปนคนไทยคนแรกที่จบปริญญาเอกดานคอมพิวเตอร โดยจบจากสถาบันเทคโนโลยีแหงจอรเจีย สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2507 แลวไปเปนผูชวยศาสตราจารยที่มหาวิทยาลัย แมคมาสเตอร แคนาดา เปนรองศาสตราจารยที่มหาวิทยาลัยอัลเบอรตา แคนาดา ตอมาเปนผูอํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอรที่มหาวิทยาลัยมิสซูร่ี เมืองโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา เปนศาสตราจารยเต็มข้ัน (Full

Professor) คนไทยคนแรกในสหรัฐ โดยเปนที่มหาวิทยาลัยแหงรัฐนิวยอรก หลังจากนั้นกลับประเทศไทย ไปเปนศาสตราจารยสถิติประยุกต หัวหนาวิชาคอมพิวเตอร และนายกสโมสรขาราชการที่สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร (นิดา) เปนศาสตราจารยระดับ 11 และประธานสภาคณาจารยที่สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ทั้งนี้ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเปนรองอธิการบดีฝายพัฒนาแลว เปลี่ยนเปนรองอธิการบดีฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอินเทอรเน็ตและอีคอมเมิรซ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ประธานหลักสูตรปริญญาเอกดานคอมพิวเตอร ปจจุบัน เปนประธานกรรมการและประธานผูบริหาร วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เคยเปนประธานโครงการวิจัยที่ไดรับเงินสนับสนุนจากสภาวิจัยแหงชาติแคนาดา มูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติอเมริกัน กองทัพอเมริกัน สภาวิจัยแหงชาติไทย มูลนิธิฟอรด ยูเนสโก USAID, IDRC, UNCTC, IFIP และ ICID เปนตน เปนกรรมการสภามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เคยเปนกรรมการสภามหาวิทยาลัยบูรพา เคยเปนกรรมการสภาสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย เคยเปนประธานกรรมการแตงตําราคอมพิวเตอร กระทรวงศึกษาธิการ เคยเปนประธานกรรมการแตงตําราคอมพิวเตอรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เคยเปนประธาน อกม. หลายชุดพิจารณาตําแหนงศาสตราจารยดานวิศวกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร คอมพิวเตอร สถิติ คณิตศาสตร และบัญชี เปนตน เคยเปนประธานกรรมการเปดดําเนินการสาขาวิทยาการคอมพิวเตอรสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทบวงมหาวิทยาลัย และเคยเปนประธานกรรมการหลักสูตรคอมพิวเตอรมหาวิทยาลัยของรัฐ ทบวงมหาวิทยาลัย เปนตน

- 88 -

Page 3: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ดานธุรกิจ ศ. ศรีศักดิ์ จามรมาน เคยเปนประธานกรรมการบริษัทคอมพิวเตอรและสหวิทยาการจํากัด ใหคําปรึกษาแกหลายหนวยงานอาทิ บริษัท บูช อัลเลน แอนด ฮามิลตัน (บาฮินส) ธนาคารไทยพาณิชย บริษัท นอรธสตาร และบริษัทซันโย เปนตน เคยเปนประธานกรรมการกลุมที่ปรึกษา เอ เอส เค (อนุช ศรีศักดิ์ และกัลยา) ใหคําปรึกษาลูกคาธนาคารกรุงเทพ เคยเปนประธานกรรมการบริษัทอินเตอรเนชันแนล เทคโนโลยี ทรานสเฟออิงค จํากัด เปนที่ปรึกษา ไอ บี ไอ (International Bureau for Informatics) ที่กรุงโรม เคยเปน ที่ปรึกษาสํานักปลัดบัญชีทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด เคยเปนผูแทนประเทศไทยในอีอารเซียน (e-ASEAN) เคยเปนผูกอตั้งและประธานบริษัทเคเอสซี ซึ่งเปนบริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ตเชิงพาณิชยรายแรกและใหญที่สุดในประเทศไทย โดยเคยไดรับการตีราคาประมาณ 40,000 ลานบาท รัฐบาลไทยสง ศ. ศรีศักดิ์ ไปไดรับเลือกตั้งเปนประธานสภาธุรกิจอีอาเซียน (Chairman of e-ASEAN Business Council) เปนผูกอตั้ง และเปนประธานสํานักวิจัยเอแบคโพลล รับทําวิจัยเชิงธุรกิจและทําวิจัยสาธารณประโยชน และเปนประธาน กลุมบริษัทชารมมิ่งมอลล ซึ่งรวมทั้งบริษัท เอแบค-เคเอสซี อินเตอรเน็ต เอ็ดดูเคชั่น จํากัด เปนตน

ดานราชการ ศ. ศรีศักดิ์ จามรมาน เปนขาราชการระดับสูงสุด คือ ระดับ 11 (ระดับเดียวกับปลัดกระทรวง ระดับเดียวกับจอมพลและสูงกวาผูวาราชการจังหวัด) และอยูในระดับ 11 กวา 10 ป เคยเปนประธานคณะทํางานคอมพิวเตอรหลายคณะในสํานักนายกรัฐมนตรี เคยเปนประธานคณะกรรมการจัดการ ใชอินเทอรเน็ตรายงานสภาพการจราจร สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เคยเปนกรรมการขาราชการพลเรือน ในมหาวิทยาลัย (กม.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานอยู 2 สมัย เคยเปนผูเช่ียวชาญไอทีในคณะกรรมการปฏิรูปและบูรณาการระบบทะเบียนแหงชาติ ซึ่งนายกรัฐมนตรีเปนประธาน เคยเปนหัวหนาคณะทํางาน ปรับปรุงกฎหมายลิขสิทธิ์ในสวนที่เก่ียวกับคอมพิวเตอร เคยเปนรองประธานกรรมาธิการพิจารณาราง พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์แหงสภาผูแทนราษฎร เคยเปนประธานอนุกรรมการ 5 ชุด ดานฝมือแรงงานแหงชาติ กระทรวงแรงงาน เคยเปนผูอํานวยการโครงการนํารองพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทย เคยเปนประธานกรรมการออกขอกําหนดระบบจดทะเบียนพาณิชยทางอินเทอรเน็ต เปนผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการลิขสิทธิ์ระดับชาติ เปนประธานอนุกรรมการคุมครองลิขสิทธิ์ซอฟตแวร เคยเปนประธานกรรมการชมรม ผูพิพากษาสมทบศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศกลาง เคยเปนประธานคณะทํางานดานซอฟตแวรและบุคลากรสารสนเทศแหงสภาการศึกษาแหงชาติ เคยเปนประธานคณะกรรมการศึกษาแนวทาง สงเสริมและพัฒนาระบบคอมพิวเตอรทบวงมหาวิทยาลัย และกรรมการอื่นๆ อีกมากมาย

ดานสมาคมวิชาการ ศ. ศรีศักดิ์ เปนนายกกอตั้งสาขาประเทศไทยของสมาคมคอมพิวเตอรเอซีเอ็ม ซึ่งเปนสมาคมวิทยาการคอมพิวเตอรที่เกาท่ีสุดและใหญที่สุดในโลก เปนนายกกอตั้งสาขาประเทศไทยของสมาคมคอมพิวเตอรแหงสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนสมาคมวิศกรรมคอมพิวเตอรที่เกาท่ีสุด และใหญ ที่ สุ ด ใน โลก เป นนายกสมาคมคอมพิ วเตอรแห งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ พ.ศ. 2545-2547 และ 2549-2551 เปนนายกสมาคมธุรกิจอินเทอรเน็ตไทย เปนนายกสมาคมการศึกษาอิเล็กทรอนิกสภาคพื้นเอเชียแปซิฟค เคยไดรับเลือกตั้งเปนหนึ่งในหากรรมการบริหารผูดูแลอินเทอรเน็ต ในเอเชียแปซิฟก (APNIC) เปนนายกกอตั้งสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย เคยเปน หนึ่งใน 15 กรรมการบริหารสมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ เคยเปนหนึ่งใน 10 กรรมการบริหารสมาพันธ - 89 -

Page 4: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

สมาคมประมวลผลนานาชาติ (IFIP) และเปนนายกสมาพันธสมาคมคอมพิวเตอรเอเชียตะวันออกเฉียงใต พ.ศ. 2550-2551 เคยเปนประธานจัดงานสัมมนาวิชาการนานาชาติหลายครั้ง และเปนประธานมูลนิธิ ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน

ศ . ศรีศักดิ์ จามรมาน ได รับขนานนามวาเปน “บุ รุษคอมพิ วเตอรแห งเอเซีย” พ .ศ . 2524 และมีภาพลงหนาปกวารสารคอมพิวเตอรเอเชียตีพิมพในฮองกง ไดรับขนานนามวาเปน “บิดาอินเทอรเน็ตไทย” โดยบางกอกโพสต และส่ือส่ิงพิมพหลายฉบับ ได รับขนานนามวา “บุ รุษแหงป” โดยนิตยสารจีเอ็ม พ.ศ. 2539 และ พ.ศ. 2540 เปน “บุคคลแหงป” โดยนิตยสารอีคอนนิวส เปน “บุรุษแหงป พ.ศ. 2547” โดยสถาบันประวัติบุคคลอเมริกัน เปน “บิดาอีเลิรนนิ่งไทย” โดยศูนยชีวประวัตินานาชาติแหงเคมบริดจ สหราชอาณาจักร เมื่อ พ .ศ. 2549 และเปนราชบัณฑิตแหงบริเทนใหญโดยมีใบประกาศลงพระนาม โดยดยุคแหงเคนทซึ่งทรงเปนพระอนุชาสมเด็จพระราชินีอังกฤษ

มห าวิ ท ย าลั ย อั ส สั ม ชัญ ป ระก าศ เกี ย รติ คุ ณ ให โด ยส ร า งอ าค าร “ศ รีศั ก ดิ์ จ าม รม าน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ” (www.scBuilding.info) มูลคากวา 650 ลานบาท และกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารประกาศใหเปน “ศูนยแหงความเปนเลิศดานการศึกษาไอที”

ศ. ศรีศักดิ์ จามรมาน ไดเขียนบทความและหนังสือรวมกวา 1,150 เร่ือง บรรยายในประเทศตางๆ กวา 30 ประเทศ เปนผูดําเนินรายการวิทยุ “อินเทอรเน็ตไอทีกับศรีศักดิ์ จามรมาน” AM891 ทุกวันอาทิตย 9.15-10.00 น . รายการวิทยุ “สนทนาภ าษ าไอที กั บศรีศั กดิ์ จามรมาน” FM92.5 ทุ กวันอั งค าร 10.10-11.00 น. และรายการโทรทัศน “อินเทอรเน็ตไอทีกับศรีศักดิ์ จามรมาน” ยูบีซี ชอง DLTV9 และ DSTV89 ทุกวันอาทิตยเวลา 12.00-13.00 น. และเปนประธานบรรณาธิการ International Journal

of the Computer, the Internet and Management (www.ijcim.th.org)

ศ. ศรีศักดิ์ จามรมาน ไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาฯ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ ช้ันสายสะพาย คือ ประถมาภรณมงกุฏไทย พ.ศ. 2530 ประถมาภรณชางเผือก พ.ศ. 2533 มหาวชิรมงกุฏ พ.ศ. 2536 และมหาปรมาภรณชางเผือก พ.ศ. 2539

กรุณาดูรายละเอียดไดที่เว็บ www.charm.au.edu

ติดตอไดที่ [email protected] โทร. 081-621-4526

- 90 -

Page 5: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

ดร. ณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง

การศึกษา • Bachelor of Arts in Business Administration, Kensington University, USA.

• Master of Science in Information Technology, Imperial University College, USA.

• Doctor of Science in Information Technology, Imperial University College, USA.

การทํางาน

• ผูชวยผูอํานวยการ ศูนยบริการวิทยาการอินเตอรเนต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

• กรรมการผู จัดการ บริษัท ชารมมิ่ งมอลลดอทคอม จํากัด ทําธุรกิจพาณิ ชย อิ เล็กทรอนิกส 2543-ปจจุบัน

• กรรมการผูจัดการ บริษัท เอแบค-เคเอสซี อินเตอรเนต เอ็ดยูเคชั่น จํากัด ทําธุรกิจการศึกษา ทางอินเทอรเน็ต 2543-ปจจุบัน

• กรรมการผูจัดการ บริษัท เคเอสซี อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ทําธุรกิจระหวางประเทศ 2543-ปจจุบัน

• ผูจัดการสมาคมอินเทอรเน็ต

• ผูรวมผลิตรายการและรวมดําเนินรายการวิทยุ "อินเตอรเนตไอทีทอลค" FM 97 ทุกวันอาทิตย 13.00-14.00 น.

• ผูรวมผลิตรายการและรวมดําเนินรายการวิทยุ “อินเทอรเน็ต ไอที กับศรีศักดิ์ จามรมาน” คลื่น AM

891 ทุกวันอาทิตย เวลา 09.15-10.00 น. • ผูรวมผลิตรายการและรวมดําเนินรายการโทรทัศน “อินเทอรเน็ต ไอที กับศรีศักดิ์ จามรมาน” UBC

13 ทุกวันอาทิตย เวลา 12.00-13.00 น.

สมาคมวิชาการ • สมาชิกสภาที่ปรึกษา สมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ • กรรมการ สมาคมอินเทอรเน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย

• กรรมการ สมาคมคอมพิวเตอรนานาชาติเอซีเอ็ม สาขาประเทศไทย

• กรรมการ สมาคมคอมพิวเตอรไอทริปเปลอี สาขาประเทศไทย

• รองเลขาธิการสมาคมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ • กรรมการ มูลนิธิ ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน

• กรรมการ สมาคมธุรกิจอินเทอรเน็ตไทย

• สมาชิก สมาคมนักวิทยุและโทรทัศนแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

งานเขียนและบรรยาย

รวมกวา 160 รายการ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "ความอยูรอดของไทยในเศรษฐกิจดิจิตอล"

เอกสารประกอบการบรรยายในงาน "สัมมนาทางวิชาการคอมพิวเตอรไทย 2000" เร่ือง "ฟนฟูเศรษฐกิจไทยดวยไอที" จัดโดย สมาคมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ ณ. ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์ ในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2543

2. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธ์ิทอง "พาณิชยอิเล็กทรอนิกส บทบาทและการเปล่ียนแปลงตอ SME" เอกสารประกอบการเสวนาในงานแสดงความกาวหนาดาน อินเตอรเนต การสื่อสาร และพาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ CITE 2001 จัดโดย บริษัท เอ็น.ซี.ซี แมนเนจเมนท แอนด ดีเวลลอปเมนท จํากัด ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ ในวันที่ 7 ธันวาคม 2543

- 91 -

Page 6: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

3. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "ประสบการณ 1 ป จากการใชนโยบายระงับขอพิพาทช่ืออาณาเขตบนอินเตอรเนต" นิตยสารไมโครคอมพิวเตอร ปที่ 19 ฉบับที่ 187 หนา 69-70 กุมภาพันธ 2544

4. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "Telecommunications and Intellectual

Property Right" เอกสารป ระกอบการบ รรยายใน งาน "WICE 2001 Seminar on New

Economy II" จัดโดย สํานักลิขสิทธิ์กรมทรัพยสินทางปญญา ณ ศูนยการคาอิมเพ็ค เมืองทองธานี ในวันที่ 5 กุมภาพันธ 2544

5. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "เทคโนโลยีสารสนเทศ" เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตร "การจัดสงกําลังบํารุง รุนที่ 43" จัดโดย โรงเรียนสงกําลังบํารุงทหารบก ณ ร.ร.สงกําลังบํารุงทหาร ในวันที่ 13 มีนาคม 2544

6. ศ .ดร . ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิ ชา ชอโพธิ์ทอง "กฏหมายวาด วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส" เอกสารประกอบการอภิปรายในงาน "โครงการอบรมผูชวยผูพิพากษาภาควิทยาการ รุนที่ 44" จัดโดย สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการ ณ สถาบันพัฒนา ขาราชการฝายตุลาการ อาคารศาลแขวงพระนครเหนือ ในวันที่ 30 มีนาคม 2544

7. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "ผูกอการรายยุคใหมใชอินเตอรเนตชวยกิจกรรม" นิตยสารไมโครคอมพิวเตอร ปที่ 19 ฉบับที่ 189 หนา 94-95 เมษายน 2544

8. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "บานอัจฉริยะตออินเตอรเนตสั่งไดโดยใชเพียงปลายนิ้ วของคุณ " นิตยสารเปรียว ปที่ 21 ฉบับที่ 452 หนา 158-159 ปกษแรก พฤษภาคม 2544

9. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "อินเตอรเนตระหวางโลกและดาวอังคาร" หนังสือไมโครคอมพิวเตอร ปที่ 19 ฉบับที่ 190 พฤษภาคม 2544

10. Chorpothong, N. and Charmonman, S. Asian Family Adjustment to Information

Technology. Invited Paper present to "Asian Youth Forum" organized by the Student

Union of Assumption University in co-operation with UNESCO at Assumption University

Bangna Campus on May 22, 2001.

11. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "การนําระบบสารสนเทศ IT มาใชในองคกรขนาดใหญ" เอกสารประกอบ "การอบรมหลักสูตรพัฒนาสัมพันธการบริหารงานสงกําลังบํารุงและการอุตสาหกรรมปองกันประเทศ(พสอ) รุนที่ 1" จัดโดย โรงเรียนสงกําลังบํารุงทหารบก ณ โรงเรียนสงกําลังบํารุงทหารบก กรมยุทธศึกษาทหารบก ในวันที่ 27 มิถุนายน 2544

12. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "E-Commerceและการละเมิดสิทธิในทรัพยสินทางปญญาทางอินเตอรเน็ต" เอกสารประกอบการบรรยาย จัดโดย แผนกคดีทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศในศาลฎีกา ณ หองประชุม (ศาลฎีกา)สนามหลวง ในวันที่ 16 สิงหาคม 2544

13. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธ์ิทอง "แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพหนวยงานดวยระบบอินเตอรเน็ต" เอกสารประกอบการอบรมสัมมนาผูบริหารระดับสูงในสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดโดย ศูนยพัฒนากิจการอวกาศกลาโหม สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ณ หองประชุมชั้น 10 อาคารสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในวันที่ 28 สิงหาคม 2544

14. Chorpothong, N. and Charmonman, S. Electronic Communication : An Evolving Tool in

Techning. Invited paper presented to "International Perspectives on Learning Skills

Development" at the Hall of Fame, Assumption University on September 8, 2001.

15. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "Trend of E-Commerce Market in

Thailand" เอกสารประกอบการบรรยาย "งาน COMTECH Thailand 2001" จัดโดย บริษัท

เอ.อาร. อินฟอรเมชัน แอนด พับลิเคชัน (เออารไอพี) ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ ในวันที่ 4 ตุลาคม 2544

16. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "ฝกอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายทรัพยสินทางปญญา รุนที่ 1" เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง "การคุมครองสิทธิในทรัพยสินทางปญญาเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ต" จัดโดย สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา ณ เนติบัณฑิตยสภา ในวันที่ 28 ตุลาคม 2544

17. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "ยอดนวัตกรรมใหมที่นาสนใจ 3 อยาง" นิตยสารเปรียว ปที่ 22 ฉบับที่ 470 หนา 80-81 ปกษแรก กุมภาพันธ 2545

18. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "แปดอันดับเทคโนโลยีสุดฮอตในป 2545" หนังสือไมโครคอมพิวเตอร ปที่ 20 ฉบับที่ 200 หนา 140-141 มีนาคม 2545

- 92 -

Page 7: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

19. Chorpothong, N. and Charmonman, S. “IT and E-Learning in Thailand” Invited paper

presented to IT Management Program, 2002, “e-Learning Utilization in Southeast Asia”

organized by Center of the International Coorperation for Computerization at Tokyo, Japan

on July 22-27, 2002.

20. ศ .ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "สเตกาโนกราฟ " หนังสือไมโครคอมพิวเตอร ปที่ 20 ฉบับที่ 205 หนา 186-189 สิงหาคม 2545

21. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ ตอการพัฒนาองคกร" เอกสารประกอบการบรรยายในโครงการอบรมคอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับผูบริหาร โดย สํานักราชเลขาธิการพระบรมมหาราชวัง 24 เมษายน 2546

22. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง "การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ" เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ณ โรงแรมจอมเทียนปาลมบีชรีสอรท พัทยา ชลบุรี 3 พฤษภาคม 2546

23. ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน และณัฎฐณิชา ชอโพธ์ิทอง "การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในงานศาลยุติธรรม" เอกสารประกอบการบรรยายการจัดฝกอบรมหลักสูตร “ผูพิพากษาศาลฎีกา” โดยสถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม ณ หองประชุมศาลฎีกา เขตพระนคร 13

พฤศจิกายน 2546

24. ณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง และศรีศักดิ์ จามรมาน “นักสารสนเทศที่พึงประสงคในยุคสังคมฐานความรู” เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “บัณฑิตสารสนเทศสําหรับสังคมฐานความรู : ความตองการ คุณภาพ และความคาดหวัง” จัดโดย ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม หองประชุมศาสตราจารย ดร.ม.ล.ตุย ชุมสาย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 18-19 มีนาคม 2547

25. ณัฎฐณิชา ชอโพธิ์ทอง และศรีศักดิ์ จามรมาน “ทิศทางการผลิตบัณฑิตสารสนเทศสําหรับสังคมฐานความรู: วิชาการภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ” เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “บัณฑิตสารสนเทศสําหรับสังคมฐานความรู : ความตองการ คุณภาพ และความคาดหวัง” จัดโดย ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม หองประชุมศาสตราจารย ดร.ม.ล.ตุย ชุมสาย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 18-19 มีนาคม 2547

26. Charmonman, S. and Chorpothong, N. “The Major Roles of Parliament in Promoting IT

for Development”. Keynote address presented to the Second General Assembly of the

International Parliamentarians' Association for Information Technology (IPAIT II), Conrad

Bangkok Hotel, Thailand, 17-19 May 2004.

27. Chorpothong, N. and Charmonman, S. An eLearning Project for 100,000 Students per

Year in Thailand. Proceedings of the International Conference on eLearning for

Knowledge-Based Society. Special Issue of IJCIM. Bangkok, Thailand. August 4-5,

2004.

28. Chorpothong, N. and Charmonman, S. Accreditation of eLearning Degree. Proceedings of

the International Conference on eLearning for Knowledge-Based Society. Special Issue of

IJCIM. Bangkok, Thailand. August 4-5, 2004.

29. Charmonman, S. and Chorpothong, N. "Digital Lifestyle and the Road Ahead" Special

Issue of IJCIM (volume 13 no SP3), Proceeding of the Forth International Conference on

eBusiness, organized by the Ministry of Information and Communication Technology,

Bangkok, Thailand, Pp. 2.1 - 2.8, November 19-20, 2005.

30. Charmonman, S. and Chorpothong, N. "To Develop or Not to Develop New Courseware

for University-Level eLearning Conference on eLearning for Knowledge-Based Society,

Special Issue of IJCIM, Vol. 14, No. SP1. August 2006.

31. ณั ฎฐณิ ชา ช อ โพ ธิ์ ท อ ง “กรรมการและอนุ ก รรมการในการจัด การป ระชุม” คู มื อ การจัดการประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ เครือข ายสหวิทยาการ แหงราชบัณฑิตยสถาน เมษายน 2550

- 93 -

Page 8: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

ดร. จินตวีร มั่นสกุล

การศึกษา

- ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต (เอกประถมศึกษา-ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- ปริญญาโท เทคโนโลยีการเรียนรูและสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอ & เอ็ม (Texas A&M University-Commerece) สหรัฐอเมริกา

- ปริญญาโท การสอนระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอ & เอ็ม สหรัฐอเมริกา - ปริญญาเอก หลักสูตรและการสอนระดับอุดมศึกษาและเทคโนโลยีเพ่ือ

การศึกษา มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอ & เอ็ม สหรัฐอเมริกา

ตําแหนง

- อาจารยประจําภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (2549-ปจจุบัน)

- อาจารยประจํา วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (2548-2549)

- ผูชวยคณบดีฝายตางประเทศ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (2548-2549)

- ผูชวยผูอํานวยการหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ(2548-2549)

- ผูชวยผู อํานวยการศูนยฝกอบรมคณะศึกษาศาสตร คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (2548-2549)

ประสบการณ - ผูชวยนักวิจัย คณะคอมพิวเตอรเพ่ือการศึกษา มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอ & เอ็ม สหรัฐอเมริกา

(2545-2547)

- ผูชวยสอนระดับปริญญาโท สอนวิชา เทคโนโลยีการศึกษาแบบออนไลน ETEC557 มหาวิทยาลัย

เท็กซัส เอ & เอ็ม สหรัฐอเมริกา (2546-2547)

- อาจารยสอนระดับปริญญาตรี สอนวิชา เทคโนโลยีการศึกษา 224 มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอ & เอ็ม

สหรัฐอเมริกา (2545-2547)

Email Address : [email protected]

- 94 -

Page 9: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

ดร. พูลศรี เวศยอุฬาร การศึกษา

- ปริญญาตรี นิเทศศาสตรบัณฑิต (การโฆษณา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

- ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หัวขอวิจัย ผลการเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - ปริญญาเอก Ed.D., Doctor of Education, (Social Science and Planning),

Royal Melbourne Institute of Technology University, Australia

หัวขอวิจัย การออกแบบแบบสํารวจบนอินเทอรเน็ตสําหรับนักศึกษาในประเทศไทย : กรณีศึกษา ในมหาวิทยาลัยไทย

ตําแหนงและประสบการณ

2549 - ปจจุบัน

- อาจารยประจําหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิธีวิทยาการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส (eLearning Methodology)

วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2546 - ปจจุบัน

- อาจารยพิเศษระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีส่ือสารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ตัวอยางรายวิชาที่สอน การออกแบบกราฟกสําหรับสื่อคอมพิวเตอร การบริหารอีเลิรนนิ่ง: ประสบการณจากประเทศแคนาดา การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการศึกษา

2545

- นักวิชาการระดับนานาชาติ (Visiting International Scholar), รับผิดชอบงานผลิตมัลติมีเดีย ในฝายปฏิบัติงานเพื่อการสื่อสารและสารสนเทศ คณะสาธารณสุขศาสตร ที่มหาวิทยาลัยบร็อก รัฐออนทาริโอ ประเทศ แคนาดา Brock University,

Ontario, Canada

2542 - 2544

- ผูฝกอบรมการสรางเว็บไซตเพ่ือการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

- 95 -

Page 10: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

2538-2541

- ผูเขียนคําโฆษณา (Copywriter), บ. สตูดิโอ 107 (ประเทศไทย) จก.

ผลงานวิชาการ 2544 ตํ า เร า CourseBuider for Dreamweaver ก า ร ส ร า ง แ บ บ ท ด ส อ บ ใน เว็ บ ไ ซ ต ,

พิมพที่ บมจ.ซีเอ็ดดูเคชั่น กรุงเทพฯ 2545 หนังสือ คลิก ไมตองคิด! เร่ืองนารูเพ่ือการออกแบบเว็บไซตใหไดประโยชนสูงสุด

พิมพที่ บมจ.ซีเอ็ดดูเคชั่น กรุงเทพฯ

ความเชี่ยวชาญ

การเรียนการสอนอีเลิรนนิ่ง

อีเมล [email protected], [email protected]

เว็บไซต http://se-ed.net/plearn

- 96 -

Page 11: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

ดร. ทามินี ชินะชาครีย ประวัติการศึกษา

- Ed.D. (Computer Science) Ball State University, Muncie, IN, USA

- M.S. (Information and Communication Sciences) Ball State University, Muncie, IN, USA

- M.S. (Computer Science) Ball State University, Muncie, IN, USA

- วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประสบการณการทํางาน

2548-ปจจุบัน

- รองผู อํานวยการหลักสูตร Master of Science in ICT วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

- ผูรวมประกาศในรายการ “Internet IT กับศรีศักดิ์ จามรมาน” ออกอากาศทาง True Vision DLF ทุกวันอาทิตย เวลา 12:00-13:00ล

- อาจารยและวิทยากรพิเศษ สถาบันการศึกษาตางๆ

2544- 2545

- ผู ช ว ย ผู อํ า น ว ย ก า ร Software Testing Institute, Center for Information and Communication

Sciences, Ball State University, Muncie, Indiana

บทความทางวิชาการ

- N. Kanchanachaya and T. Shinasharkey, “Instructional Design for eLearning courseware:

The IT Plus system”. Proceedings of the International Conference on eLearning for Knowledge-

Based Society, August 2006.

สมาชิกสมาคมและกรรมการคณะทํางานตางๆ

- สมาชิกสมาคมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทย - สมาชิก ACM

- กรรมการและผูชวยเลขาธิการ คณะทํางานจัดงานสัมมนา The Fourth International Conference

on eLearning for Knowledge-based Society (elearningAP 2007)

- 97 -

Page 12: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

- กรรมการและผูชวยเลขาธิการ คณะทํางานจัดงานสัมมนา The Third International Conference

on eLearning for Knowledge-based Society (elearningAP 2006) - กรรมการและผูชวยเลขาธิการ คณะทํางานจัดงานสัมมนา The Fourth International Conference

on eBusiness (NCEB 2005) - อนุกรรมการจัดทําส่ือการเรียนทางคอมพิวเตอรสําหรับการศึกษาอบรมผูชวยผูพิพากษา - กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการฝายพัฒนาเว็บไซตมูลนิธิ ๕ ธันวามหาราช

- 98 -

Page 13: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

รศ.ภญ.ดร. ปลื้มจิตต โรจนพันธุ ตําแหนง

อาจารยประจําภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

ประวัติการศึกษา

- ปริญญาเอก Ph.D in Pharmaceutics

Liverpool John Moores University, UK.

- ปริญญาโท M.Phil. in Pharmaceutics

University of Wales Institute of Science and Technology, UK.

- ปริญญาตรี ภ.บ. (เภสัชศาสตร) มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร (มหิดล)

ประวัติการทํางาน

- หัวหนาภาควิชาเภสัชกรรม 2538-2546

- ประธานคณะกรรมการวิจัย คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2536-2540

- ประธานโครงการวิจัยยาและเครื่องสําอาง คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2530-2550

- ประธานหลักสูตรปริญญาเอก สาขาเภสัชการ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2544-2546

- ประธานคณะกรรมการพิพิธภัณฑเภสัชศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2545-ปจจุบัน

- กรรมการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2538-2546

- กรรมการหลักสูตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2538-2546

- กรรมการหลักสูตรปริญญาเอก สาขาเภสัชการ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2535-ปจจุบัน ฯลฯ

กิจกรรมเพื่อสังคมในรูปแบบตาง ๆ

ไดชวยกิจกรรมที่ทําเพื่อสังคมในรูปแบบตาง ๆ โดยเปนกรรมการในหนวยงานตาง ๆ อาทิ - กรรมการผูทรงคุณวุฒิพิจารณาหลักสูตรมหาวิทยาลัยเอกชน ทบวงมหาวิทยาลัย

- กรรมการสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมดานเครื่องสําอาง กระทรวงอุตสาหกรรม

- กรรมการที่ปรึกษาคณะกรรมการพัฒนาวิชาชีพเภสัชกรรมโรงพยาบาล กรมการแพทย

- 99 -

Page 14: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

กระทรวงสาธารณสุข

- กรรมการในคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค สภาสตรีแหงชาติในพระบรมราชูปถัมภ - กรรมการที่ปรึกษาฝายวิชาการและวางแผน สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย

ในพระบรมราชูปถัมภ - กรรมการอํานวยการสภายุวพุทธิสมาคมแหงประเทศไทย

- กรรมการพัฒนาคนและสังคม สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ - กรรมการเภสัชกรรมสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ - กรรมการมูลนิธิ คณะเภสัชศาสตร

- กรรมการผูทรงคุณวุฒิพิจารณากําหนดตําแหนง สํานักงานขาราชการพลเรือน (กพ.)

- กรรมการผูทรงคุณวุฒิพิจารณาหลักสูตรการอบรมนักวิจัยระดับตาง ๆ สภาวิจัยแหงชาติ - กรรมการสหวิทยาการเพื่อการวิจัยพัฒนาราชบัณฑิตยสถาน

- ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมผูผลิตเครื่องสําอาง - ASEAN Senior Expert in the PMS/PSE on Safety and Efficacy Evaluation Assessment in cosmetic

- นายกสมาคมนักประดิษฐแหงประเทศไทย ฯลฯ

สาขาที่เช่ียวชาญและสนใจ :

Pharmaceutical Technology การพั ฒ น ายาและเค รื่ อ ง สํ าอ าง Drug Discovery and Development การพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพร

รางวัลทางสังคม

1. รางวัล “ความประพฤติดี” พุทธสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ พ.ศ.2511

รับโลเกียรติยศจาก ฯพณฯ กรมหมื่นพิทยาลาภพฤธิยากรณ ประธานองคมนตรี 2. รางวัล “ลูกผูมีความกตัญูอยางสูง” สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยในพระบรมราชูประถัมภ

พ.ศ.2542 รับประทานโลจาก พระองคเจาโสมสวลีพระวรชายาธินัดดามาตุ

ผลงานดีเดน รางวัลผลงานประดิษฐคิดคน ประจําป 2545

- “รางวัลดีเย่ียม” ดานการแพทยและสาธารณสุข สาขาวิทยาศาสตรเคมีและเภสัช สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ เร่ือง “เจลฟาทะลายโจรเพื่อใชเสริมการรักษาโรคปริทันตอักเสบ”

รับเกียรติบัตรจาก ฯพณฯ พันตํารวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี

- 100 -

Page 15: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ผลงานสิทธิบัตร - ประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา

ยาสมุนไพรแผนปจจุบันตํารับแรกของประเทศไทย และ ตํารับยาแรกของโลก เพ่ือใชเสริม การรักษาโรคปริทันตอักเสบ

สถานที่ติดตอ

ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

เบอรโทรศัพท02-644-8964 , 02-644-9902, 02-644-8677-88 ตอ 1300, 1305

โทรสาร 02-247-4696, 02-644-8694

- 101 -

Page 16: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

รศ.ภก.ดร. กอมธัม สถิรกุล

ตําแหนงปจจุบัน

รองศาสตราจารย ระดับ 9

สถานที่ทํางานปจจุบัน

ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษา 1996-1997 Cert. Industrial Biotechnology National Institute of Bioscience and Human

Technology (N.I.B.H), Tsukuba, Japan

1993-1989 M.S.-Ph.D. (Biopharmaceutics and Pharmacokinetics), University of Tokyo,

Tokyo, Japan

1986-1987 M.B.A. (Finance and International Business), SASIN of Chulalongkorn

University, Bangkok, Thailand (joint corporation with KGBM, Northwestern

University and Wharton School of Management, University of Pennsylvania)

1986-1981 ภบ. (เกียรตินิยม), จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการทํางาน 2002-present King Golden Jubilee Thailand Research Fund Ph.D. Advisor

2002-present Thai FDA reviewer/expert for BA/BE protocol and report approval

2002-present Research collaborator with University of Paris V for QSAR and Molecular

Modeling of antimalarial Compound

2002-present Consultant to Clinical Management Unit under Thailand Research Fund (TRF),

WHO Tropical Medicine (T-2), and BIOTEC (Ministry of Science and

Technology for antimalarial compound

2002-present ที่ปรึกษาศูนยวิจัยคลินิค คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

1999-2001 Guest Visiting Professor in Pharmacokinetics at Faculty of Medicine, National

University of Singapore

- 102 -

Page 17: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

1999-2001 Senior Pharmacokineticist Scientist, Eli-Lilly-National University of Singapore

(Lilly-NUS) Centre for Clinical Pharmacology, NUS, Singapore

2002-present รองศาสตราจารย ระดับ 9 มหาวิทยาลัยมหิดล

2000-2002 รองศาสตราจารย ระดับ 8 มหาวิทยาลัยมหิดล

1995-2000 ผูชวยศาสตราจารย ระดับ 8 มหาวิทยาลัยมหิดล

1997-Present Adjunct Associate Professor at Faculty staff of Bioprocess Technology Program,

Asian Institute of Technology (A.I.T.), Bangkok, Thailand

1995-1997 Guest Researcher at National Institute of Bioscience and Human Technology

(N.I.B.H.), Tsukuba, Japan

1995-Present รองหัวหนาภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 1994-Present อาจารยพิเศษ หลายมหาวิทยาลัยทั้งของรัฐและเอกชน 1994-1995 ผูชวยศาสตราจารย ระดับ 7 มหาวิทยาลัยมหิดล

1993-1994 อาจารยระดับ 5 มหาวิทยาลัยมหิดล

Recent publications: List only the five most important publications over the last five years

1. Noosoongnoen W, Sathirakul K, Pratuangdejkul, Guerin GA, Conti M, Vouldoukis L,

Launay JM, and Manivet P. Intermolecular Electron Distributions of Artemisinin Peroxide

Bridge Upon Conformational Changes Promotes Antimalarial Activity. Chem Phys Letter

submitted.

2. Noosoongnoen W, Manivet P , , Pratuangdejkul, Guerin GA, Conti M, Vouldoukis L,

Launay JM, and Sathirakul K. Molecular Dynamic Simulation to Demonstrate

The Interaction between Chitosan and Antimalarial Artemisinin to Increase Artemsisnin

Solubility. Febs Lett manuscript preparation.

3. Sangtawesin V, Sangtawesin C, Raksasinborisut C, Sathirakul K, Kanjanapattanakul W,

Khorana M, and Horpaopan S. Oral ibuprofen prophylaxis for symptometic patent ductus

arteriosus of prematurity. J Med Assoc Thai 2006; 89 (3): 314-321.

4. Skinner MH, Kuan HY, Pan A, Sathirakul K, Gonzales GR, Yeo KP et al. Duloxetine is

Both an Inhibitor and a Substrate of CYP2D6 in Healthy Volunteers. Clin Pharmacol Ther

2003; 73: 170-177.

5. Sathirakul K, Teng LL, Bergstrom RF, Wise SD, and Chan C. Olanzapine Assessment of the

Pharmacokinetic in Chinese and Caucasian Subjects. Br J Clin Phrmacol 2003; 56(2):

184-187.

6. Sathirakul K, Nosoongnoen

W, and Chirachanchai S. Assessment of Various Sources of

Chitosan Polymers as Intranasal and Rectal Permeability Enhancers for Insulin. AAPS

PharmSci 2000 elctronic journal ; 2(4)

- 103 -

Page 18: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

7. Sathirakul K, Teng L, Bergstrom RF, and Wise SD. Olanzapine: Assessment of the

Pharmacokinetics in Chinese and Caucasian Subjects. AAPS PharmSci 2000 elctronic

journal ; 2(4)

8. Wise SD, Sathirakul K, Yeo KP, Fisher JM, and Afring PR. Smoking Increase Bioavailability

of Inhaled Insulin but Relative Insulin Resistance Ameliorates Differences Action. Diabetes

2001; 50 (Suppl 2).

9. J.Y. Chien, S.D. Wise, K. Sathirakul, K.P. Yeo, D. Muchmore, R.P. Aftring. TIME ACTION

PROFILE OF INHALED INSULIN VIA SPIROS DRY POWDER INHALER IS

CONSISTENT AMONG USER INHALATION TECHNIQUES. Diabetologia 2001; 44

(Suppl. 1):811.

10. Sathirakul K, Voelker, JR, Teng LL, Yeo KP, Chan C and Wise SD. Chronic renal

insufficiency does not affect the pharmacokinetics of LY333531 or that of its active

metabolite, compound LY338522. Clin Pharmacol Ther 2002; 71(2):P10.

11. Sathirakul K, Teng LL, Yeo KP, PhD, Chan C, and Wise SD. Impact of gastric pH and the

presence of activated charcoal on the absorption of duloxetine. Clin Pharmacol Ther 2002;

71(2):P18.

12. Lowe S, McGill JM, Sathirakul K, Sinha VP, Soon D, Teng CH, and Wise SD. Clinical

Evaluation of Dose Response to Antihepatitis B Therapy using Viral Dynamic Modeling.

Gastroenterology 2002; 123(1) Suppl. S: 69-71.

13. Korbtham Sathirakul, Pramote Trakulpienkit, and Krittika Tanyasansook. Pharmacology of

Cancer Chemotherapy. In: Vasant Linasmita and Somkeart Srisupundit (editors).

Gynecological Oncology. Bangkok: Holistic Publishing 1999: 313-340.

(ISBN 9747803-73-9) (Thai Version)

14. Wah Wah Th, Sathirakul K, Nosoongnoen W, Chandrkrachang S, Ng CH and Stevens WF.

Chitosan as matrix for nasal delivery of peptide drug insulin. In: Suchiva K, Chandrkrachang

S, Mathacanon P and Peter MG (editors). Advances in Chitin Science Volume V. Bangkok,

Thailand: MTEC 2002: 674-677. (ISBN 974-229-412-7).

15. Nosoongnoen W and Sathirakul K. The Study of Pharmacokinetics and Pharmacoynamics of

Intranasal, Intrarectal, and Intracolonic Insulin in Rat Using Chitosan obtained from Squid

Pens as a Permeability Enhancer . In: Suchiva K, Chandrkrachang S, Mathacanon P and Peter

MG (editors). Advances in Chitin Science Volume V. Bangkok, Thailand: MTEC 2002:

703-711. (ISBN 974-229-412-7).

16. Chandrkrachang S, Anal AK, Wanichpaongpan P, Sathirakul K, and Stevens WF.

Permeability of drug and plasma bound drug through chitosan membrane. In: Varum KM,

Domard A and Smidsrod O (editors). Advances in Chitin Science Volume VI. Trondheim,

Norway: 2002: 177-180. (ISBN 974-229-412-7)

- 104 -

Page 19: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

รศ.ดร. สุวบุญ จิรชาญชัย

ประวัติการศึกษา (วุฒิการศึกษา/สถาบัน/ปที่จบการศึกษา):

- Ph.D. (Applied Fine Chem., Functional Polymer)/Osaka University, Japan/1995

- M. Eng. (Applied Fine Chem., Functional Polymer)/Osaka University, Japan/1991

- B. Eng. (Applied Fine Chem.)/Osaka University, Japan/1989

ประวัติการทํางาน:

ต.ค. 2547 - ปจจุบัน รองผูอํานวยการฝายวิจัย วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ก.พ. 2546 - ปจจุบัน รองศาสตราจารย ที่ วิทยาลัยป โตรเลียมและป โตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มิ.ย. 2545 - ปจจุบัน รองหัวหนาศูนยวัสดุยอยสลายทางชีวภาพ ไคติน-ไคโตซาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ต.ค. 2543 - ปจจุบัน External Expertise, the Processing Technology Program, The School of

Environment, Resources and Development, Asian Institute of

Technology

ต.ค. 2542 - ก.พ. 2546 ผูชวยศาสตราจารย ที่วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ต.ค. 2543 - ต.ค. 2545 ผูชวยผูอํานวยการฝายวิจัย วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ต .ค . 2542 - มี .ค . 2543 Visiting Scientist for Japan Society of Scientific Promotion (JSPS),

Department of Macromolecules, Osaka University, Osaka, Japan

ก.พ. 2535 - ก.ย. 2542 อาจารย ที่วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

รางวัลและเกียรติยศ:

1. Micrograph Award (3rd prize), Microscopy Society of Thailand, ป 2549

2. Visiting Professor, Venture Business Laboratory, Hiroshima University, ป 2547.

3. Science and Technology Research Grant Award, Toray Science Foundation, ป 2546.

4. Overseas Research Grant Award, The Asahi Glass Foundation, ป 2546.

5. Micrograph Award (1st prize), Microscopy Society of Thailand, ป 2545

- 105 -

Page 20: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

6. Hitachi Fellowship Scholar from Hitachi Scholarship Foundation, ป 2538 - ปจจุบัน

7. Editorial Board, Journal of Scientific Research, Chulalongkorn University, ป 2545 - ปจจุบัน

8. Visiting Scientist Scholar from Japan Society of Scientific Promotion (JSPS), ป 2542.

การเปนสมาชิกในสมาคมวิจัย:

ระดับชาติ : Thai Academy of Science and Technology Foundation, Chitin Chitosan Center

of Excellence (Thailand)

ระดับนานาชาติ : Japan Chemical Society, Japan Polymer Society, American Chemical Society,

Chitin-Chitosan Society of Japan, Material Research Society Japan, Material

Research Society USA

งานวิจัยที่มีความชํานาญ:

ซุปปราโมเลกุล พอลิเมอรยอยสลายทางชีวภาพ วัสดุไคติน-ไคโตซาน การปรับปรุงโครงสรางและหมูฟงกชันของพอลิเมอร การทดสอบคุณสมบัติของพอลิเมอร วัสดุนาโน เซลลเช้ือเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปล่ียนโปรตอน

วิชาที่สอน:

Composite Materials (ป 2545 - ปจจุบัน) Polymer Characterization (ป 2540) Polymer Processing

(ป 2538-2539) Introduction to Polymer (ป 2538) ในหลักสูตรสํ าห รับนิ สิตระดับปริญญาโท วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ทุกวิชาสอนเปนภาษาอังกฤษ).

ผลงานวิจัย:

สิทธิบัตร : 1. Pattamamongkolchai, Y., Thuamthong, W., Nakaya, D., Kongkhlang, T., Chirachanchai, S.,

Sunaga, D., and Nagai, S. (2006), Japanese patent on Polyoxymethylene nanocomposite

(2006-246068).

2. Fungkangwanwong, J., Yoksan, R., and Chirachanchai, S. (2006), Preparation of chitosan

aqueous solution. Thai Patent Application, patent pending.

3. Pasanphan, W. and Chirachanchai, S. (2006), Material for the breeding prevention of Apple

Snails. Thai Patent Application, patent pending.

ผลงานวิจัยเดน (เฉพาะในชวง 2 ปหลัง): (* : Corresponding Author)

- Phongying, S., Aiba, S., and Chirachanchai, S.*, “Direct Chitosan Nanoscaffold Formation via

Chitin Whiskers”, Polymes, 48, 393-400, 2007.

- 106 -

Page 21: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

- Phongtamrug, S., Tashiro, K., Miyata, M., and Chirachanchai, S.*, “Supramolecular Structure

of N,N-Bis (2-hydroxybenzyl) alkylamine: Flexible Molecular Assembly Framework for Host

without Guest and Host with Guest”, J. Phys. Chem. B., 110, 21365-21370, 2006.

- Gosalawit, R.; Chirachanchai, S.*; Manuspiya, H, and Traversa, E., “Krytox-Silica-Nafion®

Composite Membrane: A Hybrid System for Maintaining Proton Conductivity in A Wide Range

of Operating Temperature”, Catalysis Today, 118, 259-265, 2006.

- Fangkangwanwong, J.; Akashi, M.; Kida, T. and Chirachanchai, S.*, “One-pot Synthesis in

Aqueous System for Water-soluble Chitosan-graft-Poly(Ethylene Glycol ) Methyl Ether”,

Biopolymers, 82(6), 580-586, 2006.

- Fangkangwanwong, J.; Akashi, M.; Kida, T. and Chirachanchai, S.*, “Chitosan-

hydroxybenzotriazole Aqueous Solution: A Novel Water-based System for Chitosan

Functionalization”, Macromol. Rapid Commun., 27, 1039-1046, 2006

- 107 -

Page 22: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

ดร. สันติธร บุญเจือ

ประวัติการศึกษา

- Ph.D. (Electrical and Computer Engineering), Georgia Institute of Technology, Atlanta, GA,

USA

- M.S.ECE (Electrical and Computer Engineering), Georgia Institute of Technology, Atlanta,

GA, USA

- วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร), มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประสบการณการทํางาน

2547-ปจจุบัน

- ผู อํ านวยการหลัก สูตร Master of Science in ICT วิทยาลัยการศึ กษาทางไกลอิน เทอร เน็ ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

- กรรมการ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและกํากับมาตรฐานการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

- กรรมการและเลขานุการ คณะทํางานจัดงานสัมมนา 3rd International Conference on eLearning

for Knowledge-based Society (eLearningAP 2006)

- กรรมการและเลขานุการ คณะทํางานจัดงานสัมมนา 2nd International Conference on eLearning

forKnowledge-based Society (eLearningAP 2005)

- กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการจัดงานสัมมนา 4th International Conference on eBusiness

(NCEB 2005)

- กรรมการ คณะกรรมการดําเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพคณาจารยและนักศึกษาโดยความรวมมือของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทากับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

- อาจารยและวิทยากรพิเศษ สถาบันการศึกษา และ ศูนยอบรม IT ตางๆ

2538-2542

- ผูอํานวยการเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท ExtremeNet จํากัด

2537-2539

- ที่ปรึกษาดานระบบเครือขายและอินเทอรเน็ต บริษัท KSC Commercial Internet จํากัด

- 108 -

Page 23: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

2538-2539

- อาจารยประจํา ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

2536-2539

- รองผูอํานวยการ ศูนยเอยูเน็ต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประสบการณการฝกอบรม

- Internet Workshop (INET’94), Internet Society, Czech Republic

สมาชิกสมาคมวิชาชีพ

- IEEE and IEEE Computer Society, member

- ACM, professional member

- Internet Society, member

- สมาชิกสมาคมคอมพิวเตอรแหงประเทศไทยฯ

บทความวิชาการ

- S. Bunchua, D.S. Wills, L.M. Wills, “Reducing Operand Transport Complexities of Superscalar

Processors using Distributed Register Files,” Proceedings of International Conference on

Computer Design (ICCD), October 2003.

- J. Kim, S. Bunchua, D.S. Wills, “Fast Color Image Processing using Quantized Color

Instruction Set,” Proceedings of the 4th IEEE International Conference on Information

Technology: Coding and Computing (ITCC), pp. 529-535, April 2003.

- P. May, S. Bunchua, D.S. Wills, “HIPER: A Compact Narrow Channel Router with Hop-by-

Hop Error Correction,” IEEE Transactions on Parallel and Distributed Systems, vol. 13, no. 5,

pp. 485-498, May 2002.

- C.K. Toh, S. Bunchua, “Ad Hoc Mobile Multicast Routing using the Concept of Long-Lived

Routes,” Journal of Wireless Communications and Mobile Computing, vol. 1, no. 4, pp. 361-

379, 2001.

- C.K. Toh, G. Guichal, S. Bunchua, “ABAM: On-Demand Associativity-Based Multicast

Routing for Ad Hoc Mobile Networks,” Proceedings of IEEE Semiannual Vehicular

Technology Conference (VTC Fall 2000), pp. 987-993, September 2000.

- C.K. Toh, S. Bunchua, “Performance Evaluation of Flooding-Based and Associativity-Based

Ad Hoc Mobile Multicast Routing Protocols,” Proceedings of IEEE Wireless Communications

and Networking Conference (WCNC), pp. 1274-1279, September 2000.

- 109 -

Page 24: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

รางวัลอ่ืนๆ

- เกียรตินิยมดีเลิศ รางวัลเหรียญทอง, วศ.บ., มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

- รางวัลเหรียญทองแดง การแขงขันคอมพิวเตอรโอลิมปกวิชาการ ครั้งท่ี 3 ณ ประเทศกรีซ ป 2534

ติดตอไดที่

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอรเน็ต

อาคารศรีศักดิ์ จามรมาน สถานเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

โทรศัพท (02) 723-2955, (081) 860-7084

โทรสาร (02) 723-2959

Email: [email protected]

- 110 -

Page 25: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

ประวัติวิทยากร

นายธเนศ ขําเกิด

ตําแหนงปจจุบัน

ศึกษานิเทศก วิทยฐานะเชี่ยวชาญ (ระดับ 9)

(ทําหนาที่เปนที่ปรึกษาทางวิชาการ สพท.นบ.ข.1)

การศึกษา

ปริญญาโท 2 สาขา คือ 1. ศึกษาศาสตร-การสอน(ศศ.ม.) 2. บริหารการศึกษา(ศษ.ม.)

การรับราชการ

- ครูโรงเรียนมัธยมศึกษา 10 ป - ศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา 25 ป - หัวหนาหนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1

- หัวหนาหนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา (คนสุดทาย)

- ดํารงตําแหนงศึกษานิเทศกระดับ 9 (เช่ียวชาญ) รวม 10 ป

ประสบการณ

- เขียนหนังสือตีพิมพสํานักพิมพตางๆไมนอยกวา 15 เลม

- เขียนบทความทางวิชาการตีพิมพในวารสารตางๆ ไมนอยกวา 150 เร่ือง - บันทึก Blog Gotoknow อยางตอเนื่อง - วิทยากรบรรยาย

- ผูทรงคุณวุฒิ ก.ค.ศ/สกศ./สมศ./สพฐ. - ผูทรงคุณวุฒิ /ที่ปรึกษาดานวิจัยและดานวิชาการ - อาจารยพิเศษในมหาวิทยาลัยราชภัฎฯ

- กรรมการ/คณะทํางานทั้งในและนอกกระทรวงศึกษาธิการ

- 111 -

Page 26: ภาคผนวก ข ประวัติวิ ทยากรinrit.net/ConferenceManual/PDF/appendixB.pdf · 2016-11-16 · ภาคผนวก ข. ประวัติวิ

เกียรติประวัติ

- ศึกษานิเทศกดีเดนของคุรุสภา กทม. (พ.ศ. 2534)

- บุคคลดีเดนของสํานักงาน ก.ค. ออกรายการ “หัวใจสีขาว” ทีวีสี ชอง 7 วันที่ 15 ตุลาคม 2545

- กรรมการเขียนหนังสือประวัติครู ของคุรุสภา รวม 10 ป ฯลฯ

- 112 -