37
ภาคผนวกที10 ภาคผนวกที10 สรุปผลการประชุม การระดมความคิดเห็นกลุมยอย (Focus Group) โครงการศึกษาผลกระทบจากการเปดเสรีทางการคาเพื่อเสนอแนะมาตรการ ชวยเหลือผูที่ไดรับผลกระทบใหสามารถปรับตัวโดย สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.) รวมกับ สภาหอการคาแหงประเทศไทย และผูประกอบการในอุตสาหกรรมตางๆ วันที17 -22 มกราคม 2551 สภาหอการคาแหงประเทศไทย 1. อุตสาหกรรมโคเนื้อ หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูเขารวมระดมความคิดเห็นไดให ขอสังเกต และขอเสนอแนะในอุตสาหกรรมโคเนื้อ ดังตอไปนี1.1 ภาพรวมอุตสาหกรรม รัฐควรเขามาจัดการ/ดูแลผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะผลทางลบจากนโยบายการเปดเสรี ทางการคาของไทยกับตางประเทศ มีกฎระเบียบและขอบังคับที่สนับสนุนผูประกอบการในประเทศ และ มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศทั้งระบบเพื่อสนับสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรมใน ภาพรวม ขณะที่ในอุตสาหกรรมโคเนื้อ ปญหาคือ ตนทุนการผลิตในอุตสาหกรรมสูงเนื่องจากภาษี นําเขาวัตถุดิบสูงทําใหราคาเนื้อโคสูงจึงแขงขันไดยาก รัฐจึงควรเขามาดูแลในสวนนี้เปนพิเศษ นอกจากนีการที่มีการลักลอบนําเขาโคเนื้อจากประเทศเพื่อนบานมากกวา 1 ใน 4 ของโคเนื้อทั้งหมด ทําใหมีปญหาสุขอนามันตามมาจึงควรมีมาตรการนําเขาที่ถูกตอง และมีมาตรวจสอบโรคตางๆ กอน นํามาขุนตอไปเพื่อเพิ่มมูลคาของเนื้อโค 1.2 ขอเสนอแนะของผูเขารวมระดมความคิดเห็นตอหวงโซมูลคาอุตสาหกรรมโคเนื้อ a. การผลิตตนน้ํา ที่เกี่ยวกับการพัฒนาพันธุ การจัดหาสูตรอาหาร การจัดการฟารมโคเนื้อ i. การจัดคณะดูงานโคขุนในตางประเทศ เพื่อนําขอมูล การผลิตอาหารสัตว ความกาวหนาทางวิทยาการในการผสมพันธุ การเลี้ยง และการจัดการฟารม มา พัฒนาอุตสาหกรรมโคเนื้อในประเทศ โดยคณะดําเนินงานควรจะประกอบไปดวย กลุมผูประกอบการ วิชาการ และรัฐบาล ซึ่งไปตามประเทศตางๆ ที่มี ความสามารถในการเลี้ยงโคขุน เชน ประเทศอารเจนตินา ประเทศสหรัฐฯ ประเทศ ออสเตรเลีย และประเทศญี่ปุเปนตน 10-1

ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

ภาคผนวกที่ 10 สรุปผลการประชุม

การระดมความคิดเห็นกลุมยอย (Focus Group) “โครงการศึกษาผลกระทบจากการเปดเสรีทางการคาเพื่อเสนอแนะมาตรการ

ชวยเหลือผูที่ไดรับผลกระทบใหสามารถปรับตัว” โดย

สถาบนัวิจัยนโยบายเศรษฐกจิการคลัง (สวค.) รวมกับ

สภาหอการคาแหงประเทศไทย และผูประกอบการในอุตสาหกรรมตางๆ วันที่ 17 -22 มกราคม 2551 ณ สภาหอการคาแหงประเทศไทย

1. อุตสาหกรรมโคเนื้อ

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูเขารวมระดมความคิดเห็นไดใหขอสังเกต และขอเสนอแนะในอุตสาหกรรมโคเนื้อ ดังตอไปนี้

1.1 ภาพรวมอุตสาหกรรม รัฐควรเขามาจัดการ/ดูแลผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะผลทางลบจากนโยบายการเปดเสรี

ทางการคาของไทยกับตางประเทศ มีกฎระเบียบและขอบังคับที่สนับสนุนผูประกอบการในประเทศ และมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศทั้งระบบเพื่อสนับสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรมในภาพรวม ขณะที่ในอุตสาหกรรมโคเนื้อ ปญหาคือ ตนทุนการผลิตในอุตสาหกรรมสูงเนื่องจากภาษีนําเขาวัตถุดิบสูงทําใหราคาเนื้อโคสูงจึงแขงขันไดยาก รัฐจึงควรเขามาดูแลในสวนนี้เปนพิเศษ นอกจากนี้ การที่มีการลักลอบนําเขาโคเนื้อจากประเทศเพื่อนบานมากกวา 1 ใน 4 ของโคเนื้อทั้งหมด ทําใหมีปญหาสุขอนามันตามมาจึงควรมีมาตรการนําเขาที่ถูกตอง และมีมาตรวจสอบโรคตางๆ กอนนํามาขุนตอไปเพื่อเพิ่มมูลคาของเนื้อโค

1.2 ขอเสนอแนะของผูเขารวมระดมความคิดเห็นตอหวงโซมูลคาอุตสาหกรรมโคเนื้อ a. การผลิตตนน้ํา ที่เกี่ยวกับการพัฒนาพันธุ การจัดหาสูตรอาหาร การจัดการฟารมโคเนื้อ

i. การจัดคณะดูงานโคขุนในตางประเทศ เพื่อนําขอมูล การผลิตอาหารสัตว ความกาวหนาทางวิทยาการในการผสมพันธุ การเลี้ยง และการจัดการฟารม มาพัฒนาอุตสาหกรรมโคเนื้อในประเทศ โดยคณะดําเนินงานควรจะประกอบไปดวย กลุม ผูประกอบการ วิชาการ และรัฐบาล ซึ่ ง ไปตามประเทศตางๆ ที่มีความสามารถในการเลี้ยงโคขุน เชน ประเทศอารเจนตินา ประเทศสหรัฐฯ ประเทศออสเตรเลีย และประเทศญี่ปุน เปนตน

ผ10-1

Page 2: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

ii. การต้ังชมรมการพัฒนาและคาเนื้อโค เพื่อรวบรวมเงินทุนในการพัฒนาเนื้อโค

ดวยวิธีการตางๆ เชน การพัฒนาพันธุโค และการพัฒนาอาหารโค เปนตน iii. โครงการวิจัยอาหารเสริมสําหรับโคเนื้อ เชน การพัฒนาสูตรอาหารขน iv. โครงการพัฒนาหญาเนเปย ซึ่งเปนอาหารที่มีคุณภาพสูงสําหรับโคเนื้อ v. โครงการทําปุยอินทรียเพื่อปลูกหญาเนเปย เนื่องจากประเทศไทยมีวัตถุดิบใน

การทําปุยมากมาย เชน มูลสัตวตางๆ แกลบ และ รําขาว เปนตน ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีกําลังการผลิตปุยมากพอที่จะใชภายในประเทศและอาจพอสําหรับการสงออก ดังนั้น ผูเลี้ยงโคเนื้อควรใหความสําคัญในสวนนี้ เพราะปุยที่ดียอมปลูกหญาไดดีและนํามาเปนอาหารอยางดีแกโคได

vi. โครงการวิจัยและพัฒนาวิธีการขุนโคเนื้อ เชน การนวดโคเนื้อ ผูเขารวมฯ ใหความเห็นวา ควรสงบุคลากรไปทําอาชีพนวดโคเนื้อที่ประเทศญี่ปุน และนําความรูกลับมาสอนโรงเลี้ยงโคขุนตอไป นอกจากนี้ การรักษาอุณหภูมิและความชื้น ทําใหโคเนื้อสามารถบริโภคอาหารไดมากขึ้น รวมทั้งการจัดสถานที่ใหโคไดวิ่งและพักผอน จะทําใหเนื้อโคที่มีคุณภาพสูงขึ้นอีกดวย

b. การผลิตกลางน้ําและปลายน้ํา เกี่ยวกับการชําแหละ และแปรรูปผลิตภัณฑ

i. โครงการวิจัยและพัฒนา/จัดสอน การชําแหละชิ้นเนื้อ เพราะการชําแหละที่ผิดวิธีทําใหสูญเสียชิ้นสวนที่สําคัญ หรือ ไดชิ้นเนื้อที่ผิดขนาดและเสียมูลคา ไมสามารถนําไปขายตางประเทศได

c. การตลาดคาปลีก/สง

i. การเปดตลาดเนื้อโคขุนไทยสูตลาดตางชาติ เมื่อพัฒนาคุณภาพเนื้อโคไดคุณภาพสูงแลว รัฐบาลควรเปดตลาดตางประเทศใหและทําตราสินคาเขาไปขาย เชน รัฐบาลอาจทําการสงเสริมการตลาดผานประเทศอื่นๆ วาหากเนื้อโคประเทศไทยมีคุณภาพระดับนี้แลวจะซื้อเนื้อโคจากประเทศไทยมากขึ้น ถาผูประกอบการสามารถผลิตเนื้อโคที่ไดมาตรฐานแลว ก็ติดตราสินคาและสงออกไปขายยังประเทศนั้นๆ โดยสวนที่สําคัญคือ การรักษามาตรฐานสินคา เพื่อสรางความมั่นใจในตราสินคา

ii. การนําเสนอวิธีการเลี้ยงดูแลโคขุนในประเทศแกผูซ้ือ เพื่อเพิ่มความมั่นใจแกผูบริโภค เชน พาผูซื้อโคขุนมาเยี่ยมชมโรงเลี้ยงที่ไดมาตรฐาน และวิธีการเลี้ยงที่พิถีพิถัน มีการพนน้ําลดความรอน การอาบน้ําโค การใหอาหาร การนวดตางๆ ดังนั้น ผูซื้อยอมใหราคาที่สูงขึ้น ในสวนนี้อาจกลาวไดวาคือ การตรวจสอบยอนกลับนั้นเอง

ผ10-2

Page 3: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

iii. โครงการรณรงคการทําอาหารจากเนื้อ โดย นําเสนอสูตรอาหารทีท่าํจากเนือ้โค เชน วิธีการทําเนื้อสเต็กตํารับตางๆ เปนตน

d. ขอแนะนําที่ผูเขารวมระดมความคิดเห็นเสนอในการพัฒนาทั้งหวงโซมูลคา

ผูประกอบการไดเสนอโครงการตอเนื่องเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมโคเนื้อ ดังนี้ เร่ิมจากจัดคณะไปดูงานโคเนื้อโคขุนทั่วโลกและนําแนวคิดมาพัฒนาอุตสาหกรรมเนื้อโค จากนั้นจึงรวบรวมเงินทุนในการพัฒนาโดยการตั้งชมรมคาเนื้อ เมื่อมีเงินทุนมากพอแลวแลวจึงนํามาสรางและพัฒนาพันธุโคเนื้อ ควบคูไปกับ อาหารเสริมและการพัฒนาหญาเนเปย ซึ่งเปนอาหารที่มีคุณภาพสูงสําหรับโคเนื้อ

โครงการวิจัยและพัฒนาการขุนโคเนื้อ เชน การนวดโคเนื้อ การรักษาอุณหภูมิ

และความชื้นเพื่อเนื้อโคที่มีคุณภาพ เปนตน เมื่อพัฒนาคุณภาพเนื้อโคไดสูงแลว รัฐบาลควรเปดตลาดตางประเทศและทําตราสินคา และ โรงเลี้ยงโคขุนควรนําเสนอวิธีการดูแลโคขุนแกผูซื้อ เพื่อเพิ่มความมั่นใจแกผูบริโภค

ต้ังองคกรซึ่งอาจเปนของรัฐหรือเอกชน เพื่อรับซื้อโคเนื้อ มาขุน และ/หรือ

ชําแหละตอไป เพื่อเพิ่มการแขงขันในตลาดเนื้อโค โครงการนี้จะสงเสริมการเลี้ยงโคเนื้ออีกดวย เพราะองคกรนี้จะชําแหละโคเนื้อ แทนผูเลี้ยงโค และควรมีโครงการวิจัยและพัฒนา/จัดสอน การชําแหละชิ้นเนื้อ และสุดทายคือโครงการรณงคการทําอาหารจากเนื้อ โดย นําเสนอสูตรอาหารที่ทําจากเนื้อโค เพื่อเพิ่มความตองการเนื้อโค

ผ10-3

Page 4: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

รูปภาพที่ 1.1: การจัดทําโครงการตอเนื่องของอุตสาหกรรมโคเนื้อของผูประกอบการ การดูงานตางประเทศ

ชมรมคาเนื้อ

รวบรวมเงินทุน

พัฒนาพันธุโค

การขุนโค การนวด

ปรับอุณหภูมิ

สถานที่ออกกําลัง

พัฒนาอาหารโค อาหารขน

พันธุหญา หญา

ที่มา: ที่ประชุมระดมความคิดเห็นกลุมยอยอุตสาหกรรมโคเนื้อ

ปุยอินทรีย

ทําตรา

เปดตลาดตางประเทศ

นําเสนอวิธีการเลี้ยงโคแกผูซื้อ

องคกรรับซ้ือโคเพื่อการชําแหละโค

พัฒนาการตัดชิ้นเนื้อใหไดมาตรฐาน

หญาเนเปย

รณงคการทําอาหารจากเนื้อ

ผ10-4

Page 5: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

2. อุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑนม

ผลการจัดทําการระดมความคิดเห็นกลุมยอยในอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ มีประเด็นที่นาสนใจ ดังตอไปนี้

2.1 การบริหารจัดการอุปสงคและอุปทาน นมและผลิตภัณฑ • อุตสาหกรรมฯ ประสบปญหาหลัก ไดแก ความผันผวนของราคา และปริมาณน้ํานม

ดิบ โดยสาเหตุสําคัญเกิดจากความไมสอดคลองกันระหวางปริมาณความตองการและปริมาณการผลิต

• มีปจจัยหลายประการที่กอใหเกิดความไมสอดคลองกันดังกลาว โดยเฉพาะปจจัยทางดานฤดูกาล (Seasonal Factor) เชน ลักษณะของการผลิตที่แมโคใหน้ํานมดิบทั้งป ในขณะที่รอยละ 30 ถึง 40 ของปริมาณน้ํานมดิบดังกลาวขายในตลาดนมโรงเรียนที่ไมสามารถรองรับน้ํานมดิบไดทั้งป

รูปภาพที่ 2.1: แบบจําลองการบรหิารจดัการอุปสงคและ

อุปทานตลาดนมพรอมดืม่ (RTD Market)

ที่มา: ที่ประชุมระดมความคิดเห็นกลุมยอยอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑนม

ผ10-5

Page 6: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• ตลาดนมและผลิตภัณฑเปนตลาดที่มีผูผลิตตนน้ํา (เกษตรกร สหกรณโคนม) เปนรายยอยจํานวนมาก ทําใหการควบคุมปริมาณการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของตลาดเปนไปไดยาก จึงปรากฎเหตุการณผลผลิตลนตลาดและราคาตกต่ําอยูเสมอดังเชนผลิตภัณฑทางการเกษตรอื่นๆ

• แนวทางแกไขปญหาความผันผวนของราคาและปริมาณดังกลาว คือ การบริหารจัดการอุปสงคอุปทาน (Supply-Demand Management) ใหเติบโตอยางสอดคลองไปในทางเดียวกัน โดยกลุมผูประกอบการที่ เขารวมระดมความคิดเห็นเสนอแบบจําลองการบริหารจัดการอุปสงคและอุปทานอุตสาหกรรมฯ โดยยกตัวอยางการบริหารจัดการอุปสงคอุปทานในตลาดนมพรอมด่ืม (RTD Market) ซึ่งประกอบดวย นมโรงเรียน และนมในตลาดพาณิชย สามารถแสดงพอสังเขปไดดังรูปภาพที่ 2.1

• รูปภาพที่ 2.1 แสดงแบบจําลองการบริหารจัดการอุปสงคและอุปทานในตลาดนมพรอมด่ืม โดยบริหารจัดการใหปริมาณการผลิตน้ํานมดิบรวมต่ํากวาปริมาณความตองการรวมเปนสัดสวนคงที่ เชน บริหารจัดการใหน้ํานมดิบมีปริมาณเปนรอยละ 80 ของปริมาณความตองการ ในขณะเดียวกันใชการนําเขานมคืนรูป (Recombined Milk) เปนเครื่องมือในการรักษาปริมาณใหพอเพียงกับความตองการของตลาด

• นัยสําคัญของแบบจําลองดังกลาว คือ การกําหนดปริมาณการผลิตที่แนนอนในแตละชวงเวลาเพื่อใหเกษตรกรสามารถวางแผนการผลิตที่สอดคลองกับความตองการของตลาด (เนื่องจากการปรับเปล่ียนปริมาณการผลิตโดยทั่วไปแลวตอบสนองความตองการที่เปลี่ยนแปลงไดลาชากวา) อันจะนําไปสูระดับราคาน้ํานมดิบที่มีเสถียรภาพ

• อยางไรก็ตาม แบบจําลองขางตนมีขอสังเกตที่สําคัญ คือ การกําหนดปริมาณการผลิตเปนการ “ลงโทษ” เกษตรกรที่สามารถพัฒนาพันธุโคนมและกระบวนการผลิตจนใหปริมาณน้ํานมดิบมากขึ้น หรือไม และผูประกอบการนในตลาดอื่น เชน ตลาดโยเกิรต เนย และ นมปรุงแตง จักเขามาแยงน้ํานม จากผูประกอบการในตลาด RTD หรือไม และจักสรางความเชื่อถือ (Trust) ระหวางเกษตกรและผูรับซื้อน้ํานมดิบไดอยางไร

• อยางไรก็ตาม การขาดการบริหารจัดการอุปสงคและอุปทาน เปนเหตุอันทําใหการทําตราสินคา (Branding) ผลผลิตทางการเกษตรของไทยหลายประเภท เชน ขาวหอมมะลิ ไมเกิด เพราะปริมาณผลผลิตที่มากเกินไปในชวงเวลาใดเวลาหนึง่ยอมทาํใหราคาสินคาลดลงและกระทบมลูคาสินคา (Brand Value) ของสินคาดังกลาว

ผ10-6

Page 7: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

2.2 การบริหารจัดการคุณภาพนม • ปจจัยสําคัญอีกประการที่มีผลตอราคาของน้ํานมดิบ ไดแก คุณภาพของน้ํานม (ความ

สด) ทําใหผูผลิตตนน้ําจําเปนตองสงใหศูนยรวบรวมน้ํานมดิบหรือโรงงานแปรรูปภายใน 1 ชั่วโมง เพื่อเก็บรักษาสภาพความสดของน้ํานมดดิบในถังรวมนม (Cooling Tank) ของศูนยรวบรวมน้ํานมดิบหรือสหกรณฯ

• อยางไรก็ตาม การขนสงน้ํานมจากแหลงผลิต (ฟารมโคนมของเกษตรกร) สวนใหญใชการจางรถขนสงเอกชนซึ่งจําเปนตองใชระยะเวลานานในการรวบรวมนมใหเต็มคันรถ สงผลใหระยะเวลาจากแหลงผลิตสูถังรวมนมใชระยะเวลาและมีผลตอคุณภาพน้ํานม

• แนวทางแกไขปญหา คือ การลงทุนสรางถังรวมนมที่ฟารมโคนมเกษตรกร (On-farm Cooling Tank) เพื่อคงสภาพความสดของนม

2.3 บทบาทของหนวยงานกลาง: Milk Board

• ดวยความสําคัญของการบริหารจัดการอุปสงค อุปทานและคุณภาพนมดังกลาว ผูประกอบการที่เขารวมระดมความคิดเห็นจึงเห็นดวยที่จะมีหนวยงานกลางกํากับดูแลทั้งระบบ โดยใหขอคิดเห็นวา คณะกรรมการนโยบายพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ (Milk Board) จักเปนจุดเริ่มตนของการกํากับดูแลอุตสาหกรรมฯ ทั้งหวงโซมูลคา เนื่องจากมีอํานาจตามพระราชบัญญัติ ในการออกเบี้ ยปรับและลงโทษเกษตรกรและผูประกอบการในอุตสาหกรรมฯ ที่ผิดสัญญาธุรกิจระหวางกัน อันอาจจะชวยลดปญหาการตัดราคาและการแกงแยงน้ํานมดิบ

• นอกจากอํานาจในการออกเบี้ยปรับและลงโทษดังกลาวแลว คณะกรรมการฯ ยังสามารถมีบทบาทในการจัดทําฐานขอมูลอุตสาหกรรมฯ เชน การขึ้นทะเบียนเกษตรกร และการเก็บรวบรวมขอมูลตนทุนการผลิตน้ํานมดิบในอุตสาหกรรมฯ ที่ปจจุบันยังมีความคลาดเคลื่อนระหวางขอมูลที่ภาครัฐจัดเก็บได กับขอมูลของภาคเอกชน อันจะนําไปสูการกําหนดนโยบายที่สะทอนขอมูลที่ใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด

2.4 ผลกระทบและการเตรียมพรอมรองรับผลกระทบจาก FTAs

• ผูประกอบการที่เขารวมระดมความคิดเห็นเห็นวา ขอตกลง FTAs ไทยกับประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด จะสงผลกระทบตอเกษตรกรผู เลี้ยงโคนมมากที่สุด เนื่องจากประเทศคูพันธมิตรทั้งสองเปนประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตและสงออกผลิตภัณฑนม โดยเฉพาะนมผงซึ่งมีราคาถูก เมื่อนํามาทําเปนน้ํานมคืนรูปจะมีราคาถูกกวาน้ํานมดิบที่เกษตรกรผลิตได

ผ10-7

Page 8: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• การทดแทนน้ํานมดิบของนมผงนําเขาดังกลาวอาจทําใหเกษตรกรผูเลี้ยงโคนมตองออกจากอุตสาหกรรมฯ หากผูบริโภคนมในประเทศไมทราบความแตกตางระหวางการบริโภคนมผงละลายน้ํา กับการบริโภคนมสดแท 100%

• ดวยเหตุดังกลาว ผูประกอบการที่เขารวมประชุมจึงใหขอมูลเพิ่มเติมวา ปจจุบันกลุมสหกรณโคนมพยายามผลักดันโครงการรณรงคใหประชาชนดื่มนมสด 100% ผานการประชาสัมพันธของหนวยงานภาครัฐ ไดแก สํานักงานสงเสริมสุขภาพ โดยโครงการดังกลาวอยูในขั้นตอนการขออนุมัติจากโครงการเงินชวยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการที่ไดรับผลกระทบจากการเปดเสรีการคาของกระทรวงพาณิชย

3. อุตสาหกรรมผักและผลไมแปรรูป

ผลการจัดทําการระดมความคิดเห็นกลุมยอยในอุตสาหกรรมผักและผลไมแปรรูป มีประเด็นที่นาสนใจ ดังตอไปนี้

3.1 ปญหาหลักในอุตสาหกรรมฯ • มาตรการกีดกันทางการคาที่ไมใชภาษี (NTBs) โดยในกรณีของการสงออกผักและ

ผลไมแปรรูปไปจีนนั้น มีการประเมินวา NTBs ทําใหตนทุนของผักและผลไมไทยสูงกวาจีนกวารอยละ 13

• การที่จีนมีการใชอัตราภาษีที่แตกตางกันในแตละมณฑล ทําใหผูประกอบการไทยไมไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีจากขอตกลงการคาเสรีอาเซียน-จีนมากนัก

• ตนทุนการผลิตผักและผลไมแปรรูปของไทยโดยเปรียบเทียบยังสูงกวาจีนเปนอยางมาก โดยเกิดจากปจจัยหลักคือ โครงสรางภาษีวัตถุดิบนําเขา (Import Duties) ที่สูงกวาคูแขง (ภาษีตนน้ํา/ภาษีที่เกี่ยวของกับปจจัยการผลิตอยูในอัตราสูง) ในขณะเดียวกัน ภาวะการตื่นตัวเรื่องพลังงานทดแทน ทําใหมีการแยงชิงวัตถุดิบ (พืชพลังงาน) จากภาคการผลิตผักและผลไมแปรรูปไปโดยปริยาย

• ปจจุบัน ผูประกอบการในอุตสาหกรรมฯ มีความพยายามรวมกลุมกันเปน Cluster และทํา Contract Farming เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขัน อยางไรก็ตาม ยังไมประสบผลสําเร็จชัดเจนมากนัก

ผ10-8

Page 9: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

3.2 ขอเสนอแนะและการเตรยีมพรอมรองรับผลกระทบจาก FTAs

• ในสวนของกิจกรรมภายใตหวงโซมูลคา ผูประกอบการเชื่อวา แนวทางแกไขปญหาในภาคเกษตร/อุตสาหกรรมการเกษตรคือ การจัดระบบ Logistics ทั้งระบบ ที่ภาคเกษตรกรรมในฐานะผูผลิตตนน้ําสามารถเชื่อมโยงกับ ผูประกอบการ/ผูแปรรูป และระบบตลาด ในหวงโซมูลคาการผลิต และการวิเคราะหและเผยแพรภาวะอุปสงคและอุปทานสินคาเกษตรแปรรูป สินคาเกษตร และวัตถุดิบ เพื่อปองกันปญหาการเอารัดเอาเปรียบดานราคาจากพอคาคนกลาง

• ในเชิงของ Process Upgrading ที่ระบุ 4 กิจกรรมนั้น ผูประกอบการเห็นวา กิจกรรมการขึ้นทะเบียนเกษตรกรและการสงเสริมการปลูกพืชผลที่ใหผลผลิตตอไรสูง เปนแนวคิดเดิมของกระทรวงเกษตรฯ ที่กอใหเกิดปญหามากในทางปฏิบัติที่มองแคดานอุปทาน และอาจกอใหเกิดปญหาดานราคาตามมา จึงควรมองทั้งอุปสงคและอุปทานของสินคาเกษตร

• ในเชิงของ Product Upgrading ที่ระบุ 3 กิจกรรมนั้น ผูประกอบการเห็นวา กิจกรรมการสรางตํารับสินคาใหมและการสรางมูลคาเพิ่มโดยการแปรรูปเปนกิจกรรมที่ผลักภาระไปใหกับผูประกอบการใหไปคิดเองวาจะสรางสินคา/แปรรูปสินคาใด อยางไร

• ในเชิงของ Functional Upgrading และ Chain Upgrading นั้น ผูประกอบการเห็นดวยกับกิจกรรมตางๆ ที่ระบุไว แตอยากใหมุงเนน “2 S” คือ “Standard” และ “System” หากทั้ง 2 S พรอมการมุงขยายตลาดสินคาผักและผลไมแปรรูป การใช FTAs ก็ไมมีความจําเปน เนื่องจากตางประเทศจะเปนผูที่เขามาหาผักและผลไมไทยเอง

4. อุตสาหกรรมหนังและเครื่องหนัง

ผลการจัดทําการระดมความคิดเห็นกลุมยอยในอุตสาหกรรมหนังและเครื่องหนัง มีประเด็นที่นาสนใจ ดังตอไปนี้

4.1 ภาพรวม ♦ ควรการใหความสําคัญกับหนังเทียม ( PVC และ PU) รวมทั้งสวนประกอบเครื่องหนัง

เทียมมากขึ้น เนื่องจากที่ผานมามีความเขาใจผิดของภาครัฐวา สมาคมหนังและเครื่องหนังมีแตหนังแทและมีความคิดวาหนังแทสําคัญกวาหนังเทียม ทําใหหนวยงานของรัฐ

ผ10-9

Page 10: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

เปนจํานวนมากใหความสําคัญแตสินคาหนังแท โดยลดความสําคัญกับหนังเทียมไป ทั้งๆ ที่สินคาสวนใหญอาศัยหนังเทียมมาก โดยประมาณหนังเทียมมีถึง 3 ใน 4 ของอุตสาหกรรม แมวามูลคาจะใกลเคียงกัน

♦ หนังฟอกในประเทศไทยนําเขาไมมากเนื่องจากผูผลิตหนังฟอกในไทยปจจุบันสามารถผลิตไดมากขึ้น แตการนําเขาหนังดิบ(หนังเค็ม) มีมากเพื่อนํามาฟอกภายในประเทศ

4.2 การวิเคราะห SWOT

♦ ในปจจุบัน คาจางแรงงานของไทย (แมวาเทียบกับประเทศอยางอิตาลี ฝร่ังเศส หรือประเทศพัฒนาแลว จะต่ํากวาแตประเทศเหลานี้ไมใชคูแขง) หากเทียบกับคูแขงอยางจีนและเวียดนาม ตองถือวาสูงกวาพอสมควร โดยอีกกลุมประเทศที่นาจับตาเนื่องจากประเทศพัฒนาแลวในยุโรปเริ่มไปลงทุนมากคือ กลุมประเทศยุโรปตะวันออก

♦ หนังพิเศษอื่นๆ เชน หนังงู หนังจระเข หรือหนังกระเบน นั้นนาสนใจมาก แตวาหนังนกกระจอกเทศนั้นไทยยังสูแอฟริกาใตไมได

♦ จุดแข็งอีกขอที่นาสนใจของอุตสาหกรรมฟอกหนังคือ จีนซึ่งเปนผูผลิตรายใหญไมมีการตรวจสอบคุณภาพ หนังสวนใหญไมมีการคัดคุณภาพ การที่ไทยมีการคัดคุณภาพนาจะเปนขอไดเปรียบขอหนึ่ง

♦ ภาครัฐใหความสนใจในอุตสาหกรรมฯ แตอยางไรก็ตาม นโยบายที่ออกมายังไมเหมาะสมและสะทอนความตองการที่แทจริงของภาคเอกชน

♦ การจดลิขสิทธิ์ทําไดคอนขางยาก เพราะหากมีการเปลี่ยนรูปแบบเพียงเล็กนอยลิขสิทธิ์ที่จดไปก็ไมครอบคลุม ดังนั้น จึงไมคอยมีคนสนใจที่จะจด ส่ิงที่ทําไดคือ การออกแบบใหไวกวาคูแขงที่จะสามารถลอกเลียนได

4.3 ปญหา มาตรการและขอเสนอแนะ

♦ สถานที่ขายสินคามีคอนขางนอย เครื่องหนังในประเทศไทยมีสถานที่หรือหางรานนอยที่จะสามารถขายสินคาได และสินคาในประเทศยังถูกการเขามาตีตลาดและแยงพื้นที่ขายในหางรานตางๆ ควรแกปญหาดานนี้ โดยการสรางพื้นที่ขายเพิ่มใหแกผูผลิต พื้นที่หนึ่งซึ่งนาจะไดประโยชนอยางมากคือ บริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งเปนสถานที่ที่ถือเปนหองรับแขกของประเทศไทย

ผ10-10

Page 11: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

♦ การตลาด ตลาดสวนใหญเปนตลาดภายในประเทศ ซึ่งคนไทยเองยังไมคอยยอมรับ

สินคาในประเทศ ผูประกอบการคอนขางเห็นดวยกับแนวคิดของงานกรุงเทพเมืองแฟชั่น คือ ใหตางชาติยอมรับกอนแลวคนในประเทศจะยอมรับเอง แตงานแฟร งานโรดแมปตางๆ ที่จัดมาไม ไดผลเทาที่ควร ชองทางโฆษณาประชาสัมพันธที่ผูประกอบการมองวาเหมาะสม คือ ที่สนามบินสุวรรณภูมิและสนามบินตางๆ หากจัดงานแฟรหรือมีการลงโฆษณาในหนังสือของการบินไทยหรือตามพื้นที่ของสนามบินไดจะชวยไดอยางมาก

♦ การพัฒนาเรื่องของ Logistics ของประเทศ เนื่องจากการพัฒนาดานนี้มีความจําเปนอยางมากซึ่งจะสามารถลดตนทุนทั้งดานเวลาและคาใชจายไดอยางมาก โดยผูประกอบการยกตัวอยางวา ในปจจุบัน ประเทศจีนมีระบบ Logistics ที่พัฒนาไปอยางมาก เปนสวนหนึ่งที่ทําใหประเทศจีนมีขีดความสามารถในการแขงขันสูงมาก ฉะนั้น ภาครัฐตองมีบทบาทสนับสนุนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสมัยใหมและระบบโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพ

♦ ปญหาการขาดแคลนนักออกแบบและแรงงานมีฝมือที่ลดลงเร่ือยๆ ปจจุบันปญหาที่สําคัญของการขาดแคลนในดานนี้คือ แรงงานรุนใหมไมใหความสําคัญในการทํางานในโรงงาน ไมคอยมีผูสนใจในงานวิชาชีพ รัฐจึงจําเปนตองสรางคานิยมใหมวา งานดานวิชาชีพนี้มีความจําเปนและเงินเดือนไมตํ่าอยางที่เขาใจกัน และตองเพิ่มสถาบันทางการศึกษาดานการออกแบบผลิตภัณฑตางๆ โดยตรงมากขึ้น รวมทั้งแรงงานมีฝมือในสาขานี้ดวย

5. อุตสาหกรรมแร1

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูประกอบการไดใหขอสังเกตและขอเสนอแนะเพิ่มเติม มีผูประกอบการแรโดยเฉพาะผูผลิตทองแดงใหความคิดเห็น ดังตอไปนี้

1 คณะวิจัยไดจัดประชุมระดมความคิดเห็นกับผูประกอบการในอุตสาหกรรมหินออนและหินแกรนิตและคณะกรรมการสมาคมหินออนและหินแกรนิตแหงประเทศไทย ณ สมาคมหินออนและหินแกรนิตแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2551 โดยสาระสําคัญของการระดมความคิดเห็นดังกลาวไดผนวกไวในอุตสาหกรรมแร ในบทที่ 5 แลว

ผ10-11

Page 12: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

5.1 ภาพรวม

• ผูประกอบการที่เขารวมการประชุม ดําเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิตแผนทองแดง ต้ังแตการนําเขาผงแรมา และนํามาผานกระบวนการจนออกมาเปนทองแดงบริสุทธิ์จนออกมาเปนแผนทองแดง โดยมีกลุมลูกคาคือ บริษัทไทยยาซากิ บริษัทฟูรูกาวา เปนตน โดยในปจจุบัน ไมมีสายแรทองแดงในประเทศไทยแลว

• ปญหาหลักที่ผูประกอบการพบคือ การถูกสั่งปดโรงงาน เนื่องจากชุมชนไมเขาใจ โดยโรงงานยืนยันวามีมาตรฐานสิ่งแวดลอมที่ไดมาตรฐานอยูแลว

• ผลกระทบจากการเปด FTAs ที่ผูประกอบการคํานึงถึงคือ การที่ภาษีนําเขาแรกับภาษีนําเขาทองแดงมีราคาเทากัน

5.2 การวิเคราะห SWOT

o จุดแข็ง มีความพรอมทั้งดานเงินทุน เทคโนโลยี ที่สามารถดําเนินธุรกิจไดตอไป

o จุดออน ขาดขอมูลความเคลื่อนไหวในตลาด เนื่องจากขาดความเชื่อมโยงระหวางภาครัฐและเอกชน

ขาดผูเชี่ยวชาญทางดานแร เชน คนที่จบดานธรณีวิทยา คอนขางมีจํานวนจํากัด นอกจากนี้ ยังตองจางผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศเนื่องจากธุรกิจนี้ไมมีในเมืองไทย

o โอกาส ผูประกอบการใหความเห็นวาธุรกิจทองแดงนี้ หากสามารถดําเนินตอไปได คาดวาจะมีความสามารถในการแขงขัน สามารถแขงขันกับแรทองแดงที่นําเขาไดในเร่ืองของคุณภาพ นอกจากนั้น การที่ลูกคาซื้อทองแดงจากบริษัทของผูประกอบการจะทําใหสามารถประหยัด logistic cost เนื่องมาจากสามารถทํา JIT ได

6. อุตสาหกรรมยา

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูเขารวมระดมความคิดเห็นไดให

ขอสังเกต และขอเสนอแนะในอุตสาหกรรมยา ดังตอไปนี้

ผ10-12

Page 13: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

6.1 อุตสาหกรรมสมุนไพร

• ภาพรวมของอุตสาหกรรม ลักษณะหวงโซมูลคาของอุตสาหกรรมนี้มีความแตกตางจากอุตสาหกรรม

ยาแผนปจจุบันกลาวคือ ตองเริ่มจาก กระบวนการปลูก (เกี่ยวกับดินและพันธุพืช ฯ) เก็บเกี่ยว รักษา เขาโรงงาน (เกี่ยวกับการทดสอบคุณภาพ วัตถุดิบทางยา และปรุงและสรางตํารับยา)

• ปญหาหลักที่พบ

1) หามาตรฐานของยาไมได เนื่องจากการควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบที่ใชทําไดลําบาก เมื่อเปรียบเทียบกับสินคาที่นําเขามาในรูปแบบอาหารเสริมจะมีการรับรองคุณภาพ

2) มีการพัฒนาและการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตในอุตสาหกรรมนี้นอย เนื่องจากคาใชจายที่สูงจากการพัฒนายา และการสงผานถายโอนผลงานขอมูลจากหนวยงานที่มีการทําวิจัยสูผูประกอบการในเชิงพาณิชยมีนอย เนื่องจากความไมมั่นใจในการทําตลาดรองรับของผูประกอบการเองจากสมุนไพรที่มีหลากหลายชนิดแต เปนการยากที่จะระบุชนิดสมุนไพรที่สามารถทําตลาดและสรางผลตอบแทนในเชิงพาณิชยได จึงมีเพียงหนวยงานวิจัยในองคกรวิจัย และมหาวิทยาลัยบางแหงที่มีขอมูลวิจัย

3) การทํา FTAs กระทบตออุตสาหกรรมนี้ เนื่องจากยาสมุนไพรจากตางประเทศไดรับความนิยมเปนอยางสูงจากตลาดภายในประเทศกลาวคือ สินคานําเขามาในลักษณะอาหารเสริม และมีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุน เชน การทําวิจัยในคน ในขณะที่สินคายาสมุนไพรในประเทศไทยขาดการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานการผลิต

4) การกําหนดนโยบายของภาครัฐในอุตสาหกรรมฯ ควรสนุบสนุนดานการตลาดใหมากขึ้น

• ขอสังเกตอื่นๆ

1) ผลิตภัณฑสุขภาพแบงออกเปนสองกลุมหลัก ไดแก ผลิตภัณฑอาหารเสริม และ ยา โดยกลุมแรกอยูภายใตการดูแลของกองควบคุมอาหาร สวนในกลุมที่สอง

ผ10-13

Page 14: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

กํากับดูแลโดยกองควบคุมยา กลยุทธการควบคุมที่แตกตางกันเปนอุปสรรคสวนหนึ่งสําหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมยาสมุนไพรไทย เนื่องจากสินคาตางประเทศนิยมนําเขามาในรูปแบบอาหารเสริม

2) การขึ้นทะเบียนยาเปนการสรางอุปสรรคทางการคากับผูแขงขันรายอื่นวิธีหนึ่ง • ขอแนะนําเชิงนโยบาย

1) ควรมีการรวมมือกันระหวางกรมพัฒนายาแผนไทย องคการอาหารและยา สถาบันการศึกษา/มหาวิทยาลัย และภาคเอกชน

2) การจัดทํา product portfolio เพื่อเปนแนวทางในการเลือกสงเสริมสมุนไพร ซึ่งปจจุบันมีหลากหลายชนิด

3) หากการถายโอนเทคโนโลยีมีคาใชจายสูง ปจจัยหนึ่งที่อาจนํามาใชในการเลือกบริษัทที่จะรับเทคโนโลยีเหลานั้นคือ production capacity

4) การมีนโยบายมาตรฐานอุตสาหกรรม เชน ในอุตสาหกรรมยาตาม Value Chain ไดแก GAP, GAH, GMP, GCP และ GLP เปนตน

6.2 อุตสาหกรรมยาแผนปจจุบัน

• ภาพรวมอุตสาหกรรม 1) หวงโซมูลคาของ สวค. คอนขางสมบูรณ โดยตําแหนงที่สรางมูลคาเพิ่มสูงสุดไดแก

การวิจัยพัฒนายาใหม และการสงผลิตภัณฑสูผูบริโภค 2) สมัยกอนอุตสาหกรรมนี้ของไทยนับวาเปนหนึ่งในเอเชีย แตหลังจากการเขารวม

สัญญาดานทรัพยสินทางปญญาทําใหไทยสูญเสียความไดเปรียบโดยยอดการจําหนายยา generic ลดลงอยางตอเนื่องในขณะที่ยา original ปรับตัวสูงขึ้น นอกจากนี้ โรงพยาบาลรัฐซึ่งเปนลูกคาหลักของอุตสาหกรรมตองซื้อยาบางสวนจากองคการเภสัชกรรม ทําใหสวนแบงมีขนาดเล็กลงกวาเดิมสงผลใหยิง่ออนแอลง ซึ่งปจจุบันองกการอาหารและยาทราบปญหานี้แลวและกําลังหามาตรการรองรับ (เชน CL, PWL)

3) ผลจากสัญญาในขอที่สองยังผลใหจีนและอินเดีย กลับมีบทบาทมากขึ้น 4) ในขอความที่ สวค.กลาวไวดังนี้ “มาตรฐาน GMP ของประเทศไทย แตกตางกันไป

ในแตละโรงงาน โดยเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา ยาชนิดเดียวกันแตผลิตจากตางโรงงาน/บริษัท มีคุณภาพไมเทาเทียมกัน”

ผ10-14

Page 15: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

ผูประกอบการไดชี้แจงวา GMP เปนมาตรฐานขั้นต่ํา ดังนั้น มาตรฐานขั้นต่ํา

ตาม specification ของยาทุกตัวที่ผลิตจึงเทากันตามที่อย.ไดกําหนด แตหากกลาวถึงคุณภาพในการรักษา ยาแตละตัวจะมีคุณภาพในการรักษาตางกันตามสูตรผสมตัวยาของแตละบริษัท 5) รัฐควรมีนโยบายกํากับการแขงขันในตลาด โดยสนับสนุนใหมีการแขงขันเสรีใน

ตลาดยามากขึ้น

• ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ผูประกอบการไมเห็นดวยกับการลงนามในสัญญาเกี่ยวกับ MRA ซึ่งเปน

การยอมรับมาตรฐานระหวางประเทศ แมจะสงผลดีกับไทย แตขอสัญญานี้ในทางปฎิบัติกลับขัดกับเจตนาหลักของสัญญา เพราะเปนการใหการยอมรับมาตรฐานของ Pharmaceutical Inspection Cooperation Scheme (PICS) ซึ่งทางสิงคโปรและมาเลเซียไดทําการเจรจาไวแลว

7. อุตสาหกรรมไมและของทําดวยไม

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูเขารวมระดมความคิดเห็นไดใหขอสังเกต และขอเสนอแนะในอุตสาหกรรมไมและของทําดวยไม ดังตอไปนี้

• ผลกระทบจาก FTAs เปนเรื่องของการเขามาตีตลาดไมและของทําดวยไมในประเทศไทยของคูแขงตางประเทศ อยางไรก็ตาม ยังไมมีหลักฐานปรากฎชัดเจนมากนัก

• ในสวนของผูประกอบการกิจการโรงเลื่อยที่จัดวาเปนผูประกอบการตนน้ํานั้นปญหาการหามการสงออกทําใหมีโรงเลื่อยบางโรงยายฐานการผลิตไปยังประเทศที่อนุญาตใหสงออกได เชน เวียดนาม และพมา ขณะที่การหาวัตถุดิบก็ทําไดยากขึ้นและมีราคาสูงเนื่องจากในทางปฏิบัตินั้น การซื้อขายไมวัตถุดิบ (ไมซุง) ใชวิธีการประมูล

• ปญหาการแกงแยงวัตถุดิบปรากฎในกรณีของไมยางพาราเชนเดียวกัน เนื่องจากเกษตรกรผูปลูกยางสวนใหญจะนิยมเก็บรักษาตนยางเพื่อกรีดยางมากกวาการโคนตนยางไปขายกับโรงงานเฟอรนิเจอร เนื่องจากไดราคาดีกวาและไมจําเปนตองโคนตนยาง

ผ10-15

Page 16: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• ปญหาเรื่องวัตถุดิบดังกลาวทําใหปจจุบันมีผูประกอบการจํานวนมากปดกิจการหรือเปลี่ยนกิจการ โดยมีหลักฐานคือจํานวนสมาชิกในสมาคมฯ ลดลงจากจํานวนกวา 100 ราย เหลือประมาณ 50 ราย โดยประมาณ 20 -30 รายจาก 50 ราย เทานั้นที่ทําการผลิต/แปรรูปจริง สมาชิกที่เหลือประกอบกิจการเพียงแคการซื้อมา –ขายไป เทานั้น

8. อุตสาหกรรรมเยื่อกระดาษและกระดาษ

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูเขารวมระดมความคิดเห็นไดใหขอสังเกต และขอเสนอแนะในอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ ดังตอไปนี้

8.1 ภาพรวมอุตสาหกรรม กลุมผูประกอบการจากหลายบริษัท ไดใหรายละเอียดเพิ่มเติมในสวนของ หวงโซ

มูลคาไทยของอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและผลิตภัณฑวา จากขั้นตอนของโรงงานทํากระดาษนั้น เมื่อไดกระดาษแลว จะมีกลุมคนที่เรียกวา Converter ซึ่งหมายถึง ผูแปรรูปกระดาษที่มาจากโรงงานทํากระดาษใหเปนสินคาสําเร็จรูป อยางเชน กระดาษ A4 โรงพิมพ โรงทําบรรจุภัณฑกระดาษ เปนตน กอนขั้นหนึ่ง กอนที่จะสงใหผูคาสงและคาปลีก และการกระจายสินคาสู end users

รูปภาพที่ 8.1: การปรับหวงโซมูลคาไทยของอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและผลติภัณฑ

ที่มา: ที่ประชุมระดมความคิดเห็นกลุมยอยอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและผลิตภัณฑ

ผ10-16

Page 17: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

8.2 การวิเคราะห SWOT ผูประกอบการไดใหขอเสนอแนะในหัวขอการวิเคราะห SWOT ตอไปนี้ o จุดแข็ง

ปจจุบัน ผูประกอบการไทยสามารถผลิตกระดาษเพื่อทดแทนการนําเขาไดเกือบทั้งหมดยกเวนกระดาษ specialty และสามารถผลิตไดในทุกขั้นตอนตั้งแตอุตสาหกรรมตนน้ําถึง อุตสาหกรรมปลายน้ํา

คุณภาพที่โรงงานกระดาษในประเทศที่ผลิตไดยังเทาเทียมกับตางประเทศ ในสวน ปญหาดานการผลิตและดานคุณภาพเกิดมาจากขอจํากัดดานเงินทุน ขณะที่ กรรมวิธีการผลิตไมเปนปญหาของโรงงานผูผลิตกระดาษ

โรงงานในประเทศไทยสามารถผลิตกระดาษไดตามขอกําหนดดานสิ่งแวดลอมของ EU o จุดออน

การลงทุนวิจัยนั้นมีไมมาก เนื่องมาจากตนทุนที่สูงมาก และเมื่อวิจัยแลว ก็ไมมีขนาดการผลิตของประเทศไทยที่ใหญพอ ประกอบกับตลาดในประเทศที่เล็ก ส่ิงนี้สงผลใหไมสามารถผลิตใหเกิดการประหยัดตอขนาด (economies of scale) และแขงขันกับประเทศจีนได

กลุม converters นั้นยังมีปญหาดานการผลิต การขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะทางดานเยื่อกระดาษ เชน ผูที่จบดานวนศาสตร ซึ่งการขาดแคลนผูเชี่ยวชาญนั้น นอกจากจะทําใหโรงงานขาดแคลนบุคลากรที่จะมาทํางานแลว ยังสงผลใหการวิจัยและพัฒนาเปนไปอยางยากลําบาก ดังนั้น การรวมมือกันระหวางสถานศึกษาและผูประกอบการ ใหตางฝายตางทราบถึงความตองการเกี่ยวกับบุคลากรก็จะเปนสิ่งหนึ่งที่ชวยสนับสนุนการวิจัยได รวมถึงการที่สถานศึกษาและผูประกอบการจะรวมกันทําวิจัยดวย หากรัฐเขามาชวยตรงนี้ ผูประกอบการเชื่อวาจะทําใหสถานการณดานการวิจัย และบุคลากรดีข้ึน

o โอกาส ผูประกอบการสามารถพัฒนาพันธุยูคาลิบตัสที่ไมทําลายสภาพดินไดแลว

o อุปสรรค นโยบายภาษีตางๆ ของภาครัฐ ทั้งดานการนําเขา และภาษีเกี่ยวกับส่ิงแวดลอม กฎหมาย Anti-trust ทําใหไมเอื้อตอการรวมกลุมเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ผูประกอบการเสนอปญหาการเขามาของกระดาษที่มีแหลงที่มาไมถูกกฎหมาย

ผ10-17

Page 18: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

เชน กระดาษที่ ไดมาจากการตัดไมทําลายปา ผูประกอบการยกตัวอยางอินโดนีเซียเปนประเทศที่ผลิตสินคาเหลานี้ ซึ่งสินคาเหลานี้ไมเปนที่ตองการของกลุม EU และสุดทายสินคาเหลานี้สวนใหญจะทะลักเขามาในเอเซียและมีราคาถูก ซึ่งในเมืองไทยก็มีผูประกอบการสวนหนึ่งที่ซื้อของเหลานี้เนื่องจากเหตุผลดานราคา ส่ิงเหลานี้จะสงผลกระทบตอภาพพจนของประเทศในระยะยาว นอกจากนี้ ผูผลิตที่ผลิตกระดาษที่ไดมาตรฐานทางสิ่งแวดลอมที่มีตนทุนสูงกวา ก็ไมสามารถแขงขันทางราคากับสินคาที่มีแหลงที่มาที่ไมไดมาตรฐาน และสุดทาย หากปลอยไวก็อาจจะทําใหผูผลิตที่ดีอยูไมได ดังนั้น ทางผูประกอบการจึงตองการการดูแลจากภาครัฐในเรื่องนี้อยางจริงจัง

ผูประกอบการดานกระดาษพิมพเขียน ไดชี้แจงวา ในการผลิตกระดาษพิมพเขียนนั้น จําเปนจะตองใช วัตถุดิบสําคัญอยางหนึ่งคือ แปงมันสัมปะหลัง ซึ่งในปจจุบันแปงมันสัมปะหลังนั้นขาดตลาดอยางมาก และตนทุนยังสูงขึ้นอีกดวย แตกอน เนื่องจากมีการนํามันสัมปะหลังไปใชผลิตพลังงาน

8.3 ขอเสนอแนะ

♦ ขอใหรัฐมีนโยบายการจัดสรรพื้นที่การปลูกไมสําหรับผลิตกระดาษอยางเหมาะสม ทางผูประกอบการเห็นวา รัฐควรจัดหาเจาภาพรับผิดชอบเร่ืองการใชพื้นที่อยางชัดเจนและเหมาะสม

♦ ผูประกอบการเห็นดวยวา ในอุตสาหกรรมมีจุดออนในเรื่อง การขาดการวิจัยลงทุนเพื่อผลตอบแทนในระยะยาว

♦ ดานหัวขอการวิจัยนั้น ขอใหเร่ิมจากการวิจัยเรื่องของวัตถุดิบที่มีอยูในประเทศกอน โดยเฉพาะวัตถุดิบที่เหลือจากการผลิตอยางอื่นที่สามารถนํามาทําเยื่อกระดาษได ถาเราเริ่มวิจัย และคนพบพืชที่สามารถใชทําเยื่อได ก็จะสงผลดีตออุตสาหกรรมอยางมาก

♦ ประเทศไทยควรมีมาตรการงดการสงออกเศษกระดาษ เพราะกระดาษคราฟตมีวัตถุดิบเปนเศษกระดาษรอยละ 80

♦ มาตรการในการแยกขยะก็เปนสิ่งจําเปนที่รัฐควรสนับสนุนใหเกิดขึ้นอยางจริงจัง ♦ มาตรการ recycle กระดาษอยางนอยรอยละ 70 ทําใหมีปริมาณเศษกระดาษไม

เพียงพอ ♦ ปญหาเครื่องจักรที่ตองตามเทคโนโลยี เชน เมื่อมีเครื่องพิมพ (printer) ที่มีคุณภาพสูง

แลว กระดาษเองก็ตองพัฒนาคุณภาพใหสอดรับกับเครื่องพิมพดวย ♦ ภาษีเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมเก็บจาก BOD ที่เรียกเก็บจากผูประกอบการที่ทํามาตรฐาน

ผ10-18

Page 19: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

ทางดานสิ่งแวดลอมอยูแลว ทําใหผูประกอบการรูสึกวารัฐควรจะเรียกเก็บเพิ่มจากผูประกอบการที่ไมไดทําเรื่องสิ่งแวดลอมมากกวา

9. อุตสาหกรรมการพิมพ

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูประกอบการไดใหขอสังเกตและขอเสนอแนะเพิ่มเติม ดังตอไปนี้

9.1 ภาพรวมของอุตสาหกรรม

• จุดแข็งของอุตสาหกรรมนี้อยูที่สินคาระดับธรรมดาไทยมีตนทุนต่ํากวาในหลายๆ ประเทศ แตสินคาที่ใชเทคโนโลยีระดับสูงในการผลิต เชน สมุดภาพสําหรับเด็ก 3 มิติ ไทยมีตนทุนสูงกวาประเทศอยางญี่ปุน เยอรมนี และสหรัฐฯ เนื่องจากคาเครื่องจักรที่สูงกวา

• ตนทุนหลัก ไดแก เครื่องจักร หมึกพิมพ น้ํายาลางเครื่อง และกระดาษ ซึ่งอุปกรณสวนใหญตองนําเขายกเวนกระดาษ โดยเครื่องจักรสวนใหญนําเขาจากเยอรมนี สินคาอื่นๆ จะนําเขาจากญี่ปุน และสหรัฐฯ

• ปจจุบันไทยอยูในชวงของการผลิตสินคาคุณภาพมาตรฐานระดับกลาง ซึ่งจีนและอินเดียอยูในตลาดนี้เชนกัน แตมีกําลังการผลิตสูงกวา เนื่องจากจีนมีกําลังซื้อสูงและสามารถผลิตเครื่องจักรการพิมพหลายชนิดไดเอง

• ปญหาความลาชาในการคืนภาษี • ปญหาไทยยังมีความรูในเชิงธุรกิจ (Know How) นอย ที่จะแขงขันกับประเทศญี่ปุน

เยอรมนี และสหรัฐฯ ฉะนั้น รัฐควรสงเสริมการพัฒนาระบบการจัดการ/ความรูธุรกิจสมัยใหม

• ความจําเปนในการมีสถาบันเพื่อสรางผูเชี่ยวชาญหรือชางดานการพิมพ ทั้งเรื่องของเครื่องจักรและเรื่องของการพิมพ ซึ่งในปจจุบันอุตสาหกรรมนี้ขาดทั้งผูเชี่ยวชาญ และแรงงานมีฝมือ

• ความจําเปนในการมีที่ปรึกษาที่มีความรูในอุตสาหกรรมนี้ โดยที่ผานมา ที่ปรึกษายังขาดความรูจริงในอุตสาหกรรมทําใหเกิดตนทุนสูงขึ้น และไดรับผลตอบแทนไมคุมคากับตนทุนที่สูงขึ้น จึงมีความจําเปนที่จะตองไดที่ปรึกษาที่จะสามารถแนะนําเพื่อการ

ผ10-19

Page 20: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

พัฒนาใหอุตสาหกรรมการพิมพของไทยพัฒนาขึ้นไปในอีกระดับ เชน การสรางความรูในเชิงธุรกิจแกผูประกอบการสิ่งพิมพในไทยได

• การเพิ่มการวิจัยและขอมูลของประเทศคูคาตางๆ จะเพิ่มความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการไทยได

9.2 มาตรการที่เสนอแนะ

♦ การสรางสถาบันเพื่อผลิตชางพิมพ ใหมีผูเชี่ยวชาญในหลายๆ ดาน เชน ดานเครื่องจักร การใชเครื่องจักร การพิมพ หมึกพิมพ เปนตน และแรงงานมีฝมือดานการพิมพ

♦ การมีที่ปรึกษาที่มีความรูความเขาใจในอุตสาหกรรมนี้จริง ซึ่งควรเปนที่ปรึกษาที่แนะนําไดตรงจุดและไดประสิทธิภาพที่แทจริง และสามารถพัฒนาใหเกิดความรูในเชิงธุรกิจ (Know How)

♦ การเพิ่มการแขงขันในอุตสาหกรรมตนน้ํา ทั้งกระดาษและระบบขนสง โดยผูประกอบการการพิมพเสนอใหลดภาษีนําเขากระดาษตอเนื่อง เปนตน

♦ ใหมีการวิจัยเพื่อใหไดขอมูลของตางชาติ เชน ราคาตนทุน เทคโนโลยี และสภาพตลาดของตางประเทศ เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินธุรกิจ และการกําหนดทิศทางของอุตสาหกรรม เชน รัฐอาจจะสรางองคกรที่สงเสริมสนับสนุนการเขาถึงดานขอมูลขาวสาร ทักษะ ความรู และการใชเทคโนโลยี รวมทั้งคําแนะนําดานการเงินสําหรับผูประกอบการ

10. อุตสาหกรรมไหม

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูประกอบการไดใหขอสังเกตและขอเสนอแนะเพิ่มเติมในอุตสาหกรรมไหม ดังนี้

10.1 ภาพรวมอุตสาหกรรม o สินคาไหมเปนสินคาฟุมเฟอย o ผูสงออกที่สําคัญในตลาดโลกคือ ประเทศจีน และบราซิล o ผลกระทบจากกําแพงภาษีนําเขาเสนไหมดิบ: อัตราภาษีนําเขาเสนไหมขาวสูงมาก

สงผลตอผูประกอบการกลางน้ําและปลายน้ําที่ตองซื้อไหมขาวในประเทศในราคา 1,200 บาท/กิโลกรัม จากผูผลิตตนน้ํา ในขณะที่ราคาเสนไหมขาวในตลาดโลกเชน

ผ10-20

Page 21: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

จากจีน อยูที่ 800 บาท/กิโลกรัม ดังนั้น กําแพงภาษีนําเขาไหมดิบไดสรางผลกระทบตางๆ ดังนี้ ทําใหมีการลักลอบนําเขาไหมขาวจากประเทศจีน ผูประกอบกิจการทอผาไหมเพื่อสงออกที่มีโรงงานเสนไหมดิบไดรับประโยชน เพราะสามารถนําเขามาแลวคืนภาษีในภายหลังไดเมื่อสงออก ซึ่งสวนใหญเปนรายใหญ เชน JIM THOMSON

ผูประกอบการซึ่งไมมีโรงงานทําเสนไหม ตองซื้อเสนไหมขาวในราคาแพง ในกลุมนี้จะเปนผูทอไหมรายเล็ก

อุตสาหกรรมผลิตภัณฑผาไหมไมสามารถแขงขันกับตลาดโลก คือ ไมสามารถสงออกไดมาก อุตสาหกรรมไหมจึงมีขนาดเล็กลง ซึ่งสามารถสังเกตไดจากอุตสาหกรรมไหมสิ่งทอหดตัวจากป 2530 ที่สงออกรวม 40 ลานเหรียญสหรัฐฯ แตในปจจุบัน สงออกไดเพียง 10 ลานเหรียญสหรัฐฯ และจํานวนผูประกอบการไหมส่ิงทอไมเพิ่มข้ึนเลย รวมทั้งไมมีการลงทุนเพิ่มของผูที่อยูในอุตสาหกรรมอีกดวย

o ไหมเหลืองขาดการดูแลจากภาครัฐ: จากเกษตรกรทั้งหมด 1 แสนครัวเรือน สวนใหญเปนผูเลี้ยงไหมเหลือง ดังตารางที่ 10.1 แตไหมเหลืองกลับขาดการดูแลจากภาครัฐ

ตารางที่ 10.1: จํานวนผูเลี้ยงไหมขาว และ ไหมเหลือง

จํานวนผูเลี้ยงไหม (คน) ไหมเหลือง 95,000 ไหมขาว 5,000

ที่มา: นายกสมาคมไหมไทย นายเศรษฐ วานิชวงศ o การทํา Contract Farming ไมสงผลประโยชนเต็มที่แกเกษตรกร: รัฐบาลไมมีการดูแล

ผลประโยชนอยางจริงจัง ทําใหเกษตรกรไดผลประโยชนนอย โดยผูประกอบการไดยกตัวอยางการทํา Contract Farming ในประเทศญี่ปุนในป 2519 วาเกษตรกรไดรับประโยชนสูงมากเพราะวารัฐบาลกําหนดผลประโยชนของเกษตรกรที่ควรไดรับสูงกวาโรงงานมาก และรัฐบาลยังเขาไปดูแลจัดการเพื่อใหเกษตรกรไดรับผลประโยชนเต็มที่

o เกษตรกรไดรับความไมเปนธรรมในราคาไหม: ราคาไหมที่เกษตรกรไดรับคือ ราคาของเสนใย โดยไมคํานึงถึงสวนอื่นๆ ไดแก รังไหม ดักแด ข้ีไหม และเศษไหม

ผ10-21

Page 22: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

o ความตองการในประเทศมีจํานวนไมมาก: ความตองการเสนไหมในตลาดมีเพียง 500 ตันตอปในปจจุบัน นอกจากนี้ ผูประกอบการไดนําเสนอตอไปวา ปริมาณนําเขาและผลิตรวมกันในชวงหลายปที่ผานมาไมเคยเกิน 1,500 ตันตอป

o เวียดนามเปนคูแขงที่ไมนากลัว: เวียดนามเปนประเทศที่มีความเสี่ยงทางการลงทุนสูงกวาไทย แตไทยมีกําแพงภาษีนําเขาทําใหนักลงทุนไหมไปลงทุนในเวียดนามแทน ดวยเหตุนี้ทําใหอุตสาหกรรมไหมในเวียดนามเจริญเติบโต แตผูประกอบการใหความเหน็วา เวียดนามเปนคูแขงที่ยังไมนากลัว

10.2 การวิเคราะห SWOT

o จุดแข็ง ผูประกอบการสิ่งทอไหมมีความพรอมในการขยายตลาด เมื่อนโยบายของรัฐเอื้อประโยชน

o จุดออน มาตรการของรัฐทําใหราคานําเขาไหมดิบสูง รัฐบาลเขามาแทรกแซงกลไกการตลาดในการกําหนดราคาไหมดิบ ทําใหราคาไหมดิบสูงเกินจริง ซึ่งเปนอุปสรรคแกผูประกอบการไหมสิ่งทอ

o โอกาส การเปดเสรีการคาจะทําใหราคาไหมในหลายรายการลดลง เคหะสิ่งทอ เปนสินคาที่ไดรับความยอมรับจากตางชาติมากกวา จึงเปนสินคา Hi-End

o อุปสรรค การหดตัวของการทอผาไหมในประเทศ เทคนิคการทําไหมที่ดีนั้นเปนสิ่งที่ยาก และเปนความลับทางการคา

10.3 ขอเสนอแนะ

o เกษตรกรผูปลูกหมอนเลี้ยงไหมควรรวมกลุมเพื่อสรางความเขมแข็งทั้งทางดานเงินทุน ตนทุน การผลิต และการตลาด

o ผูประกอบการควรสรางเอกลักษณในตัวสินคาไทย (Differentiation) o รัฐบาลควรสนับสนุนอุตสาหกรรมเคหะสิ่งทอ o รัฐควรจัดโครงการใหความรูความเขาใจแกเกษตรกรผูเลี้ยงไหมเหลือง ในเรื่องการผลติ

และการทําตลาด เปนตน

ผ10-22

Page 23: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

o ขอใหรัฐดําเนินนโยบายกํากับการแขงขันในตลาดที่เปนธรรม โดยควรลดการบิดเบียนกลไกตลาดในระดับตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําในอุตสาหกรรรมลง เนื่องจากจะสงผลกระทบทางลบทําใหอุตสาหกรรมโดยรวมไมเติบโต

o รัฐควรยกเลิกมาตรการกําหนดภาษีโควตานําเขาเสนไหมดิบ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันในอุตสาหกรรมปลายน้ําในตลาดโลก ซึ่งการยกเลิกภาษีดังกลาวจะสงผล ดังนี้ เกษตรกรไหมขาวไดรับผลกระทบ แกไขโดย “การสนับสนุนการเลี้ยงไหมเหลือง” คือ ใหผูเลี้ยงไหมขาวหันมาเลี้ยงไหมเหลืองใหมากขึ้น

ราคาไหมดิบถูกลง ทําใหอุตสาหกรรมผาไหมสามารถแขงขันไดมากขึ้น ขนาดของตลาดจะกวางขึ้น มีความตองการสิ่งทอไหมมากขึ้น จํานวนโรงงานทอผาไหมจะมีมากขึ้น ทําใหจํานวนโรงงานกรอเสนไหม ทําใจไหม และสาวไหมเพิ่มข้ึนตาม ดังนั้น เกษตรกรสามารถขายรังไหมไดมาขึ้น และอุตสาหกรรมไหมในภาพรวมในไทยจะเติบโตขึ้น

10.4 บทสรุป ส่ิงที่เปนคอขวดในอุตสาหกรรมไหมตอนนี้คือ กําแพงภาษีนําเขาเสนไหมดิบ การ

ทําลายกําแพงภาษีนําเขาลงจะสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมไหมไดทั้งหวงโซมูลคา ดังรูปภาพที่ 10.1

ผ10-23

Page 24: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

รูปภาพที่ 10.1: โครงสรางการพัฒนาเมื่อยกเลกิภาษีนําเขาเสนไหมดิบ

ทลายกําแพงภาษีไหมดิบ เกษตรกร/ผูประกอบการไหมขาวเดือดรอน

ที่มา: ที่ประชุมระดมความคิดเห็นกลุมยอยอุตสาหกรรมไหม

เพิ่มศักยภาพในการแขงขัน

ขยายตลาดไดกวางขึ้น

มีความตองการไหมไทยมากขึ้น

โรงงานกรอเสนไหม ทําใจไหม และ สาวไหมเพิ่มขึ้น

โรงงานสิ่งทอเพิ่มขึ้น

ความตองการไหมดิบเพิ่มขึ้น เกษตรกรมีตลาดที่เพิ่มขึ้น

เกษตรกรไหมเหลืองขยายตัวขึ้น

อุตสาหกรรมปลูกหมอนเลี้ยงไหมพัฒนาขึ้น

อุตสาหกรรมปลูกหมอนเลี้ยงไหมขาวพัฒนาขึ้น

อุตสาหกรรมปลูกหมอนเลี้ยงไหมเหลืองพัฒนาขึ้น

ปรับตัว

เกษตรกรไหมขาวขยายตัวขึ้น

อุตสาหกรรมปลายน้ําเติบโต

ผ10-24

Page 25: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

11. อุตสาหกรรมเครื่องนุงหม

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูประกอบการไดใหขอสังเกตและ

ขอเสนอแนะเพิ่มเติมในอุตสาหกรรมเครื่องนุงหม ดังนี้

11.1 ภาพรวม • อุตสาหกรรมเครื่องนุงหมในไทยรอยละ 90 เปนการรับจางผลิตและเจาของเปนคนไทย

ลวนเกือบทั้งรอยละ 90 • โรงงานสวนใหญเปนโรงงานขนาดเล็ก หรือโรงงานหองแถว สวนที่เปนตราสินคาของ

ตนเองมีนอย • บริษัทขนาดใหญที่รับจางผลิตเมื่อทดลองสรางตราสินคาของตนเองก็ยังไมประสบ

ความสําเร็จในการสรางและรักษาตราสินคาของตนใหติดตลาดได • ผูประกอบการสนับสนุนใหเปด FTAs กับสหภาพยุโรป และสหรัฐฯ เนื่องจากเปนกลุม

ประเทศที่วาจางผลิตจากไทยอยู • รูปแบบการจางผลิตในตลาดโลก เปนระบบเครือขายที่ผูวาจางผลิตและผูรับจางผลิต

จะทราบราคาและกําลังการผลิตของแตละประเทศอยูแลว ดังนั้น ผูวาจางผลิตรายใหญจะวาจางจากผูผลิตที่มีราคาและกําลังการผลิตเหมาะสมที่สุดกอน (ซึ่งไดแกประเทศจีน) แลวจึงสงออเดอรสวนที่เหลือไปยังประเทศลําดับรองลงมา ดังนั้น ประเทศไทยในปจจุบันจึงเปนการรับจางผลิตสินคาที่มีจํานวนนอย (ตอแพทเทอรน) และมีความยุงยากกวา ที่ประเทศจีนรับจางผลิต (เนื่องจากจีนไมรับทําสินคาจํานวนนอยและมีความยุงยาก)

• บุคลากรสองประเภทที่ประเทศวาจางผลิตมี แตประเทศรับจางผลิตยังขาดแคลน คือ นักออกแบบแฟชั่นที่ดีที่มีความสามารถ และผูที่สามารถมองจาก แบบเสื้อผาที่ไดรับการออกแบบ 3 มิติ ลงเปนการวางแบบแปลนบนผา 2 มิติ และมองยอนกลับจากแบบแปลนบนผาเปนแบบเสื้อผาอีกที

• เนื่องจากตลาดสวนใหญเปน OEM ดังนั้น ผูประกอบการจึงแขงกันบน Quality (Q) Cost (C) และ Delivery (D) อยางไรก็ดี ปจจุบันไดมีการใชการบริการที่ดีกวาเขามาแขงขันกันมากขึ้น

ผ10-25

Page 26: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• จุดเดนของไทยที่ผูวาจางตองการจางผลิตคือ การที่ไทยมีการผลิตครบทั้งหวงโซ ดังนั้น เพื่อเสริมจุดเดนดังกลาวจึงควรพัฒนาระบบโลจิสติกสในไทยใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

• ตลาดสงออกเครื่องนุงหมที่สําคัญของโลก คือ ยุโรป กับสหรัฐฯ ที่มีกําลังซื้อสูงสุด • ปญหาของไทยในปจจุบันคือ ไมทราบแนวโนมความเคลื่อนไหวของตลาดเครื่องนุงหม

โลก อยางไรก็ตาม การศึกษาตลาดตางชาติเปนไปไดยาก เนื่องจากตลาดมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วมาก ปจจุบันผูผลิตจึงแกไขดวยการจางนักออกแบบตางชาติแทน จึงมีขอเสนอแนะวาหากตองการเปน OBM ควรออกแบบที่มีความโดดเดนเปนของตัวเองเพื่อสรางจุดขายและตลาดของตนขึ้นมาเอง

11.2 มาตรการขอเสนอแนะ

• หากรัฐดําเนินนโยบายการเปดเสรีทางการคา รัฐควรจัดตั้งกองทุนแรงงานเหมือนอยางประเทศที่พัฒนาแลวเชน สหรัฐฯ โดยกองทุนนี้ นอกจากจะใหเงินชวยเหลือผูวางงาน ยังมีการฝกอบรมวิชาชีพทั้งลวงหนากอนตกงาน (คาดวาจะมีเหตุการณทําใหตกงาน เชน มีการลงนาม FTAs เปนตน) และหลังตกงาน รวมทั้งหางานที่เหมาะสมใหแกผูวางงาน

• การพัฒนา OEM ตองการใหมีการสรางโรงงานหรือบริษัทตัวอยางเพื่อเปนภาพใหผูประกอบการโดยสวนใหญตองทราบวาควรปรับตัวอยางไร

• ทางหนึ่งในการพัฒนา OEM คือ ควรพัฒนาใหเปนโรงงานที่มีความพิเศษเฉพาะตน (specialization) เพื่อเปนจุดขายในการแขงขัน โดยไมควรแขงดานราคา (เนื่องจากไมสามารถลดได ตํ่ากวาประเทศ เชน จีนและเวียดนาม ) สวนดานการพัฒนาประสิทธิภาพแรงงานหรือดานอื่นๆ ควรพัฒนาควบคูไปดวย

• การพัฒนา ODM และ OBM ตองสนับสนุนสราง นักออกแบบแฟชั่น และผูวางแบบแปลนผาที่มีความสามารถ โดยควรสรางสถาบันการศึกษาดานนี้ และทําเสนทางความกาวหนาในอาชีพ (career path) เพื่อจูงใจใหมีผูเขามาศึกษา

• การนําระบบวิศวอุตสาหการ (Industrial Engineering) เขาไปในโรงงานตางๆ โดยหากเปนโรงงานขนาดเล็กควรรวมกันเปนกลุมและจางวิศวอุตสาหการรวมกันเพื่อเปนการประหยัดตอขนาด ระบบที่ดีนี้จะสามารถลดตนทุนใหแกผูประกอบการได

• การศึกษา วิจัย และพัฒนา ระบบหวงโซอุปทาน (supply chain) ใหผูประกอบไทยเขาใจระบบการผลิตโลก และมีแนวทางในการที่จะพัฒนาเขาไปเปนสวนหนึ่งของระบบการผลิตและการคาดังกลาว

ผ10-26

Page 27: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• การตั้งสถาบันที่ เปนศูนยกลางทั้งการศึกษาวิจัยทั้งดานการตลาด การพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ และดานอื่นๆ รวมทั้ง วางแผน พัฒนา และกําหนดแนวทางของอุตสาหกรรมนี้

• ควรใหเอกชนมีบทบาทในการกําหนดนโยบายมากกวานี้ เนื่องจากเปนผูรูถึงปญหาที่เกิดขึ้นจริงๆ ในอุตสาหกรรม

• การเชื่อมโยงระหวางหนวยงานตางๆ ของภาครัฐใหมากขึ้น และการพัฒนากฎและขอบังคับที่สนับสนุนผูประกอบการ

• การปรับปรุงกฎหมาย เชน กฎหมายแรงงาน กฎหมายการแขงขัน และกฎหมายทรัพย สินทางปญญา ที่ เอื้ อตอการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ

• ในภาพรวม รัฐควรพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนนอุตสาหกรรรมตางๆ โดยเฉพาะโครงสรางพื้นฐานพลังงานและพลังงานทดแทน และระบบโลจิสติกส

• นโยบายดานแรงงาน กับระบบการศึกษา ควรใหมีความสัมพันธกันในลักษณะอุปทานแรงงานจากภาคการศึกษาสามารถตอบโจทยอุปสงคแรงงานได

12. อุตาหกรรมรองเทา

ผลการจัดทําการระดมความคิดเห็นกลุมยอยในอุตสาหกรรมรองเทา มีประเด็นที่นาสนใจ

ดังตอไปนี้

12.1 ภาพรวม • การวิเคราะหภาพรวมและ GVC ของอุตสาหกรรมนี้ อาจแบงออกไดเปน 3 สวนไดแก

การรับจางผลิต (OEM) การออกแบบไดเอง (ODM) และการมีตราสินคาเปนของตนเอง (OBM)

• OEM ในไทยเปนผูผลิตรายกลางและใหญ ที่รับจางผลิตใหสินคาแบรนดเนมรายใหญ เชน Nike และ Adidas เปนตน

• ODM สวนใหญเปนผูผลิตรายเล็กๆ เดิมมีอยูเปนจํานวนมากและมีระบบที่คอนขางดีเปนของตนเอง กลาวคือ มีการทําคลัสเตอรเปนของตนเอง ที่เปนคลัสเตอรธรรมชาติที่ไมมีหนวยงานรัฐเขาไปควบคุมหรือปรับปรุงระบบ มีคนกลางทําหนาที่เปน supplier

ผ10-27

Page 28: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

และมีคนกลางที่ทําหนาที่เปนคนรับ order และ design แตตอมาระบบนี้เร่ิมสูญหายไป เนื่องจากผูประกอบการหลายรายยายไปอยูใน OEM และผูประกอบการหลายรายประสบปญหาจากระเบียบพิธีการทางราชการ เชน ระบบภาษีเงินได ภาษีโรงเรือน และภาษีมูลคาเพิ่ม เปนตน ทําใหหลายรายยังไมจดทะเบียนเปนโรงงาน โดยผูประกอบการนิยมเรียกกันเองวาโรงงานหองแถว ซึ่งปจจุบันมีจํานวนมากกวาโรงงานขนาดเดียวกันที่จดทะเบียนถูกตอง เมื่อไมเปนโรงงานถูกตอง การประกอบธุรกิจธุรกรรมตางๆ จึงเปนไปดวยความยุงยาก ระบบจึงสูญหายไป

• OBM ในประเทศไทยมีนอยราย เกือบทั้งหมดเปนผูประกอบการที่มีพรสวรรคมากกวาประสบการณ ผูประกอบการยอมรับวาการจะใหผูรับจางผลิตพัฒนาเปนการสรางตราสินคาของตนเองนั้นเปนเรื่องที่ยาก การจะสนับสนุนใหผูประกอบการรายใหมๆ ที่มีพรสวรรคสามารถสรางตราสินคาของตนเองไดดูจะเปนสิ่งที่สามารถทําไดมากกวา

รูปภาพที่ 12.1: หวงโซมูลคาโลกของอตุสาหกรรมรองเทา

การออกแบบรองเทาการออกแบบรองเทา

การผลติรองเทาการผลติรองเทา

การผลติหนังดิบการผลติหนังดิบ ((โรงฆาสตัวโรงฆาสตัว))การปศุสตัวการปศุสตัว

ผูบริโภคผูบริโภค

ผูคาสงคาผูคาสงคา //ปลกีปลกี

การผลติหนังฟอกการผลติหนังฟอก

ประเทศผูนํา จีน, อาตาลี ฮองกง , เวียดนาม บ.ผูนํา Nike, Reebok - adidas, Fila, Convers, Puma, Yue Yuen, Pou Chen, Christian Dior, Louise Vuitton, Gucci, Channel, Hermes, Prada

ผูนํา: สหรฐัอเมรกิา , เยอรมัน.ฮองกง. สหราชอาณาจักร. ฝรัง่เศษ. อิตาลี

สวนยางพารา

ยางแผนดิบ

ยางแปรรูป

ปลกูฝายและอื่นๆปนดาย

สิง่ทอ

ปโตรเคมีและเคมีภัณฑ

การผลติผงหรือเม็ดPU,PVCและโพลเิมอรอื่นๆ

สวนประกอบรองเทา

การผลติหนังเทียมทั้งPUและPVC

ที่มา: ที่ประชุมระดมความคิดเห็นกลุมยอยอุตสาหกรรมรองเทา

ผ10-28

Page 29: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• GVC ของ ODM ตองการใหแสดงเปนรูปภาพที ่12.2

รูปภาพที่ 12.2: หวงโซมูลคาโลกของ ODM อุตสาหกรรมรองเทา

ลูกคาตางชาติ

บ.รับออเดอรและออกแบบ supplier

รง.ข.รง.ก.

รง.ค.

กลุมคลสัเตอรโรงงานรองเทาขนาดเลก็และกลาง

โรงงานฟอกหนัง

โรงงานโพลิเมอรและหนังเทียมโรงงานสวนประกอบ

รองเทาโรงงานอื่นๆ

สั่ง สง

สั่งสั่ง

สั่งสง

สงสง

ที่มา: ที่ประชุมระดมความคิดเห็นกลุมยอยอุตสาหกรรมรองเทา

• บทบาท Polymer ใน GVC ของ OEM ผูประกอบการกลาววา GVC ของสินคารองเทาที่ สวค. ไดจัดทําขึ้นมาเหมาะสมสําหรับ OEM แตควรจะเพิ่มบทบาทของ polymer และกลุมหนังสังเคราะหเขาไปดวย เนื่องจากปจจุบันรองเทาเกินกวารอยละ 50 เปนหนังเทียม

12.2 ปญหา ขอเสนอแนะ และมาตรการรองรับ

OEM OEM ในไทยมีจุดแข็งคือ ผูประกอบการไทยที่เปน OEM มีความซื่อสัตยตอผูวาจาง ซึ่งตางจากประเทศอยางจีนและเวียดนาม ที่มีการลอกแบบจากผูวาจางไปทําการผลิตตอเปนสินคาของตนเอง หรืออาจมีปญหาอื่นๆ เร่ืองจริยธรรมทางธุรกิจเกิดขึ้นไดงาย

ปญหาของ OEM ในประเทศไทยคือ มีตนทุนที่สูงกวาประเทศคูแขงอยางจีนและเวียดนาม ทั้งคาจางแรงงาน และสวนของวัตถุดิบสังเคราะหตางๆ แตผูวาจางใหคาแรงที่ไมไดแตกตางกับทั้ง 2 ประเทศมากนัก

ผ10-29

Page 30: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

มาตรการตองเปนมาตรการที่เพิ่มศักยภาพในการแขงขันใหแก OEM ในประเทศ กลาวคือ ควรมุงเนนเรื่องของคุณภาพสินคาใหผูวาจางผลิตที่รับสินคาจากไทยไปขายสามารถขายสินคาไดดีกวาการจางผลิตในประเทศอื่น (เพิ่มสวนแบงตลาดหรืออาจเพิ่มราคาหรือยอดขายได) จึงเสนอใหมีการวิจัย เชน การวิจัยวา CSR2 อยางไรที่ตลาดใหความสนใจ หรือการวิจัยการตลาดอื่นๆ เชน รองเทาที่เหมาะสมกับคนเอเชีย (Asian Size) เนื่องจากคนเอเชียมีสรีระที่ผิดกับคนยุโรปหรือเผาพันธอ่ืนๆ โดยหากผูผลิตสามารถเพิ่มดานนี้ไดจะเปนการเพิ่มจุดเดนและความสามารถในการแขงขันใหแกผูรับจางผลิตชาวไทย

ODM ตองการใหคลัสเตอรที่กําลังจะสูญหายไปกลับมา โดยตองมีมาตรการรองรับที่ดีเพิ่มเติมข้ึนมา เพื่อไมใหสูญหายไปเพราะเหตุปจจัยเดิม หรือปจจัยใหมที่กําลังจะเกิดขึ้น

สรางคลัสเตอรอุตสาหกรรมรองเทาใหม โดยแบงกลุมชนิดรองเทาเปนกลุมตางๆ มีการวางระบบคลัสเตอรดังกลาวใหเปนมาตรฐาน มีหนวยงานรองรับ มีการจัดเก็บขอมูลที่มีประสิทธิภาพและสะดวกตอการใชงาน

พัฒนาระบบโลจิสติกสที่ดี เพื่อลดตนทุนระหวางการขนสงวัตถุดิบและสินคาไปยังผูผลิตตางๆ

มีการศึกษาแนวทางการวางกรอบมาตรการที่เหมาะสมแกผูประกอบการที่ไมไดจดทะเบียนโรงงานเขาสู ระบบที่ถูกตองตามกฏหมาย โดยจะตองมีมาตรการที่สมเหตุสมผล และตองสรางแรงจูงใจใหผูประกอบการเขาสูระบบดังกลาว

สงเสริมการออกแบบและความเชื่อมโยงระหวางการออกแบบกับการคนควาวิจัย ทั้งดานการออกแบบเพื่อความสวยงามและการออกแบบดานนวัตกรรมใหมๆ

OBM เนื่องจากสวนใหญ OBM ที่จะเกิดขึ้นไดจะเปนผูประกอบการที่มีพรสวรรค จึงควรมีมาตรการสงเสริมและสรางผูประกอบการดังกลาว

จัดเวทีประกวดประชันความสามารถของนักออกแบบตางๆ ทั้งรุนเกาและรุนใหมเพื่อเปนเวทีใหไดแสดงผลงาน

2 ความรับผิดชอบของบริษัทและองคกรธุรกิจตอสังคมและสิ่งแวดลอม หรือ CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY (CSR)

ผ10-30

Page 31: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

สรางพื้นที่ขายสินคาใหแกนักออกแบบรุนใหมหรือรุนเกา ซึ่งเปนรายเล็กเหลานี้ใหมีสถานที่ขายสินคา

สนับสนุนโรงเรียนทางวิชาชีพแกนักออกแบบเครื่องหนัง โดยควรมี เสนทางความกาวหนาในอาชีพ (career path) แสดงใหนักศึกษาหรือผูสนใจไดทราบ นอกจากนั้น ควรยกระดับใหมีการศึกษาตอในสายอาชีพนี้ โดยยกระดับใหเปนระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา

12.3 นโยบายโดยรวม

สนับสนุนใหมีโรงเรียนหรือวิทยาลัยชางหนัง ทําใหเกิดภาพลักษณที่ดีและแสดง เสนทางความกาวหนาในอาชีพใหรับทราบ

อยากใหเลิก Local Content เพราะเรื่องของตนทุนวัตถุดิบตางๆ เปนเรื่องที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการแขงขันดานราคา

ควรมีการวิจัยกําหนดมาตรการ ระเบียบ ลดความยุงยากซับซอน ในเรื่องของภาษีตางๆ ในประเทศใหเหมาะสม

ไมควรเนนการผลิตแบบจํานวน (mass production) เพียงอยางเดียว เนื่องจากอุตสาหกรรมนี้ไมควรขึ้นอยูกับการรับจางผลิตตลอดไป ซึ่งในปจจุบันก็เปนที่ยอมรับแลววาประเทศไทยกําลังเสียเปรียบหลายๆ ประเทศในการเปนผูรับจางผลิต

สนับสนุนใหมีการวิจัยและขยายตลาดไปยังหลายๆ กลุมประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศในแถบแอฟริกา

13. อุตสาหกรรมเหล็กและผลิตภัณฑ

ผลการจัดทําการระดมความคิดเห็นกลุมยอยในอุตสาหกรรมเหล็กและผลิตภัณฑ มีประเด็นที่นาสนใจ ดังตอไปนี้

• ในการวิเคราะหผลกระทบ FTAs ตออุตสาหกรรมเหล็กและผลิตภัณฑนั้นควรวิเคราะหผลกระทบรายสินคาในระดับพิกัด HS 6 หลัก เนื่องจากจะใหภาพผลกระทบรายสินคาที่ชัดเจนกวาการวิเคราะหในระดับ HS 4 หลัก เชน 7219: ผลิตภัณฑแผนรีดเหล็กไมเปนสนิม นั้น การวิเคราะหในระดับ HS 6 หลัก จะทําใหทราบวา เหล็กรีดเย็นในผลิตภัณฑดังกลาวไดรับผลกระทบจาก FTAs ในขณะที่เหล็กรีดรอนไมไดรับผลกระทบ

ผ10-31

Page 32: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• ผลกระทบจาก FTAs สวนใหญจะเกิดกับผูประกอบการที่เปนขนาดกลางและขนาดยอมมากกวาผูประกอบการรายใหญ

• ในสวนของแผนภาพแสดงหวงโซมูลค าอุตสาหกรรมเหล็กและผลิตภัณฑ ผูประกอบการเห็นดวยกับการจัดแบงดังกลาวแตควรยกตัวอยางผลิตภัณฑในแตละชวงของหวงโซมูลคา

• การจําแนกกลุมผลิตภัณฑเหล็กเปน 3 กลุม ไดแก กลุมผลิตภัณฑเหล็กรูปทรงแบน กลุมผลิตภัณฑเหล็กรูปทรงยาว และ กลุมผลิตภัณฑลวดเหล็กและสกรู มีความเหมาะสมดีแลว แตอาจจําแนกเพิ่มกลุมผลิตภัณฑทอเหล็กออกมาจากเหล็กรูปทรงแบน

• ปญหาที่แทจริงของอุตสาหกรรมฯ คือ การขาดยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กและผลิตภัณฑที่ชัดเจนจากภาครัฐ โดยผูประกอบการเชื่อวาการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศทุกสาขาการผลิตขึ้นอยูกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กของประเทศ

• แนวทางการใหความชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจาก FTAs ในอุตสาหกรรมฯ ควรที่จะมุงเนนเรื่อง Market Access โดยเฉพาะในประเด็น NTBs เชน มาตรการตางๆ ของสหภาพยุโรป เปนตน มากกวาการใหเงินสนับสนุนการฝกอบรม คนควา วิจัยทั่วไป โดยสามารถนําเงินกองทุนฯ สวนหนึ่งมาใชสําหรับการติดตาม วิเคราะหและเผยแพรประเด็น NTBs ในตลาดตางๆ ใหผูประกอบการโดยเฉพาะผูประกอบการที่เปนขนาดกลางและขนาดยอม

14. อุตสาหกรรมประมง

ผลการจัดทําการระดมความคิดเห็นกลุมยอยในอุตสาหกรรมประมง มีประเด็นที่นาสนใจ ดังตอไปนี้

14.1 ภาพรวม • ผูประกอบการประมงเห็นวา อุตสาหกรรมประมงไทยไมซับซอนอยางที่เขาใจกลาวคือ

แมเรือประมงหรือเคร่ืองมือจับสัตวน้ํารวมทั้งใบอณุญาตประกอบกิจการประมงตางๆ จะมีความหลากหลาย แตก็มีความชัดเจนในตัวอยู กลาวคือ หากตองการจับสัตวชนิดใด ก็จักตองใชเรือประมง เครื่องจักร หรือแมแตใบอนุญาตในนานน้ํา และวิธีการที่เหมาะสมกับสัตวน้ําชนิดนั้นๆ ดังนั้น กิจกรรมประมงจึงไมซับซอน

• การตอเรือควรเขาไปใน GVC/TVC และสวนที่สําคัญคือ สวนของการตรวจสอบ

ผ10-32

Page 33: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

ยอนกลับและการควบคุมคุณภาพ สําหรับ GVC ที่ สวค. ไดทําไป ขอใหเพิ่มเร่ืองของการตอเรือเขาไปดวย เพราะเรือเปนตนทุนหลักของผูประกอบการประมง อีกสวนประกอบสําคัญคือ เร่ืองของการตรวจสอบยอนกลับและการควบคุมคุณภาพ (Traceability and Quality Control)

• การที่มีกองเรือประมงเปนจํานวนมากอาจเปนไดทั้งผลดีและผลเสีย กลาวคือ หากมีเรือมากก็จะมีการแขงขันกันเองมากและอาจเปนผลเสียตอส่ิงแวดลอมได หากไมมีนโยบายดานการรักษาสิ่ งแวดลอมที่ เหมาะสมและเด็ดขาด ซึ่ งจะสงผลตออุตสาหกรรมประมงในอนาคตอยางมาก ยกตัวอยางเชน การที่มีเรือประมงมาก และแยงกันจับปลาจนหมด อนาคตก็จะเกิดปญหากับอุตสาหกรรมประมง เปนตน

• จุดแข็งของอุตสาหกรรมปลาปนไทย คือ ประเทศไทยสามารถผลิตเครื่องจักรที่มีคุณภาพสูงสําหรับโรงงานปลาปนไดเอง และสามารถสงออกเครื่องจักรดังกลาวไปยังประเทศในกลุมอาเซียน

14.2 ปญหา มาตรการ และขอเสนอแนะ

• ปญหาเรื่องของกฏวาดวยแหลงกําเนิดสินคา (Rules of Origin) ยกตัวอยางเชน ปลาทูนากระปองในไทยเคยมีการสงออกมากระดับโลก ทั้งๆ ที่ประเทศไทยไมสามารถจับปลาทูนาได (เพราะไมมีเรือจับปลาทูนา) ปจจุบันไดมีการนํากฏวาดวยแหลงกําเนิดสินคาขึ้นมาใชสําหรับการใชสิทธิประโยชนจากการเจรจา FTAs ดังนั้น ปลาทูนากระปองของไทยซึ่งอาศัยการนําเขาเนื้อปลาทูนาจึงไมสามารถใชสิทธิประโยชนได เนื่องจากขัดเรื่องแหลงกําเนิดสินคานั้นเอง ผูประกอบการจึงเสนอใหตองมีเรือจับปลาทูนาเพิ่มข้ึน (ปจจุบันมีเรือจับปลาทูนาเพียง 5 ลําเทานั้น)

• ปญหาพอคาคนกลางมีนอยราย สําหรับผูผลิตปลาปนมองวา ตลาดปลาปนคอนขางเปนตลาดผูซื้อนอยราย (Oligopsony) โดยผูผลิตปลาปนมีจํานวนมากเมื่อผลิตแลวตองนําไปขายยังคนกลางนอยรายที่มีศักยภาพและอํานาจในการเก็บ กําหนด และตรวจสอบมาตรฐานของสินคา รวมทั้งการกําหนดราคา ในขณะเดียวกัน ผูซื้อก็จําเปนตองซื้อผานคนกลางดังกลาวเชนกัน ซึ่งคนกลางดังกลาวมีนอยรายทําใหสามารถกําหนดราคาได ซึ่งหากมีการแขงขันมากกวานี้จะเปนผลดีตออุตสาหกรรมนี้และเศรษฐกิจโดยรวม ซึ่งอาจแกไขไดโดยการเพิ่มการแขงขันหรือพัฒนาใหโรงงานปลาปนทําการตรวจสอบคุณภาพและควบคุมมาตรฐานไดดวยตนเอง

• เร่ืองของการอนุรักษส่ิงแวดลอม นโยบายเพิ่มความยั่งยืน เชน ความหางของตาขาย

ผ10-33

Page 34: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

ชวงเวลาของการจัดเก็บสัตวน้ําควรลดลง เชน ใหหยุดจับปลาในฤดูวางไข โดยนโยบายตางๆ ตองมีการบังคับใชอยางจริงจัง

• ปญหาของการกีดกันที่มิใชภาษี ผูผลิตผลิตภัณฑประมงแชแข็งกังวลเรื่องปญหาซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังการทํา FTAs เชน กุงซึ่งทางออสเตรเลียไดใชนโยบายการกีดกันที่มิใชภาษีหลายประการเขามากีดกันสินคากุง

• ใหมีการจัดตั้งสถาบันประมงขึ้น โดยสถาบันนี้จะมีหนาที่ในการวิจัย ควบคุม และกําหนดมาตรการทิศทางดานตางๆ ใหแกทั้งอุตสาหกรรมประมง โดยมีความคลอบคลุมทุกกลุมอุตสาหกรรมประมง ซึ่งผูประกอบการเสนอใหเปนหนวยงานอิสระมิใชของภาครัฐ

• การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานทางน้ํา ที่สนับสนุนอุตสาหกรรมทางน้ําและเชื่อมตอกับอุตสาหกรรมอื่นๆ

• มาตรการลงทุนรวมเอกชนและภาครัฐ ยกตัวอยางเชน การรวมลงทุนซื้อหรือตอเรือจับปลาทูนา เชน รัฐออกรอยละ 30 เอกชนรอยละ 70 โดยผลกําไร เอกชนตองแบงคืนใหแกภาครัฐดวย เปนตน

15. อุตสาหกรรมเครื่องจักรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

หลังการนําเสนอผลการศึกษาตามโครงการฯ ของ สวค. ผูเขารวมระดมความคิดเห็นไดใหขอสังเกต และขอเสนอแนะ ในอุตสาหกรรมเครื่องจักรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ดังตอไปนี้

15.1 ปญหา มาตรการ และขอเสนอแนะ • ขอใหรัฐบาลตั้งคณะทํางานเรื่อง Rules of Origin โดยมีเปาหมายที่จะสราง Thai

Rules of Origin เพื่อปกปองตัวเองจากสินคาตางประเทศได • เร่ืองกฎหมาย Transfer pricing3 ผูประกอบการเห็นวา กฎหมาย Transfer pricing

นั้น มีทั้งขอดี และขอเสีย ซึ่งขอเสียคือ การที่ทําใหสินคาไมสามารถสราง Value Creation ได

3 Transfer Pricing คือ การที่คูสัญญาทําธุรกรรมระหวางกัน โดยกําหนดราคาซื้อ-ขาย สินคาหรือใหบริการที่แตกตางไปจากราคาตลาด หรือ Arm's Length Price ซ่ึงราคาตลาด หรือ Arm's Length Price หมายถึง ราคาของคาตอบแทน คาบริการ หรือดอกเบี้ย ซ่ึงคูสัญญาที่เปนอิสระตอกันพึงกําหนดโดยสุจริตในทางการคา กรณีโอนทรัพยสิน ใหบริการหรอืใหกูยืมเงินที่มีลักษณะประเภท และชนิดเดียวกัน ณ วันที่โอนทรัพยสิน ใหบริการ หรือใหกูยืมเงิน

ผ10-34

Page 35: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• ผูประกอบการใหความเห็นถึงปญหาของหวงโซมูลคาไทย ในสวนที่เปนปญหา คือ ผูประกอบการไมสามารถทํา One Single Window ได โดยในที่นี้ One Single Window หมายถึง Cluster ของภาครัฐหลายๆ กระทรวงรวมมือกัน และสรุปวาเมื่อไมมี One Single Window โอกาสที่จะเกิด paperless ก็นอย

• ผูประกอบการใหความเห็นเกี่ยวกับเร่ืองแนวโนมสินคาที่จะมาแทน HDD โดยผูประกอบการเห็นวา Flat Drive กําลังจะมาแทนที่ HDD เนื่องจากมีขนาดเล็กกวา แตมีความจุมากกวา โดยมีผูนําในการพัฒนาอยางประเทศญี่ปุน ในขณะนี้ HDD นั้นราคาลดลงอยางตอเนื่อง ทางผูประกอบการมองเห็นความเสี่ยงของ HDD ที่เราเปนผูผลิตหลักอันดับ 1 ในโลก จะสูญเสียตลาดในอนาคตใหแก Flat Drive ส่ิงนี้เปนสิ่งที่ตองเตรียมรับ นั่นคือเตรียมทรัพยากรบุคคลใหพรอมเพื่อดึงดูดการลงทุน FDI จากตางประเทศ

• บุคลากรทางดาน NANO Technology ในดานตางๆ ยังขาดแคลน เชน NANO Physics, NANO Biology และ NANO Chemistry เปนตน

• ผูประกอบการในฐานะผูผลิตแสดงความเปนหวงเรื่อง Product Liability Law (PL Law) หรือ “กฎหมายวาดวยความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัย”4 ที่มีแนวโนมจะบังคับใชในอนาคต ใน 2 ประเด็น คือ 1. เร่ืองของ Technology และ 2. เร่ืองของการรับผิด ที่ตองการใหชัดเจน เนื่องจากความผิดพลาดเหลานี้สามารถเกิดจากความผิดพลาด ใน 2 ลักษณะ คือ ความผิดพลาดของผูผลิต และความผิดพลาดของผูติดตั้ง ซึ่งตรงนี้เปนประเด็นที่สําคัญ

• ประเด็นหนึ่งที่ผูประกอบการชี้ใหเห็นคือ การที่มาตรการตองการใชวัตถุดิบ recycle ใหถึงรอยละ 70 เปนปญหา ยกตัวอยางเชน ตอนนี้บังคับใหรถยนตใชตะกั่วที่ recycle ไดถึงรอยละ 99.99 แตคนไทยยัง recycle ไดไมถึงขนาดนั้น แตการที่รัฐบังคับใชกฎเหลานี้ ในขณะที่ผูประกอบการไมสามารถทําไดส่ิงนี้ยังเปนปญหา และควรไดรับการแกไขโดยรัฐควรสงเสริมเร่ืองการ recycle ในหลายๆ ผลิตภัณฑอยางจริงจัง นอกจากนี ้การควบคุมสภาพแวดลอมในสถานประกอบการใหดีก็เปนสิ่งสําคัญ

4 หมายถึง ความรับผิดทางแพงของผูผลิตและจําหนายสินคาตอความเสียหายในชีวิต รางกาย และทรัพยสินอื่น ของบุคคล อันเกิดจากสินคาที่ขาดความปลอดภัยของตน

ผ10-35

Page 36: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

• เ ร่ืองของหองทดลองก็เปนปญหาที่ผูประกอบการใหความสําคัญ ในปจจุบันมีหองทดลองที่ไดมาตรฐานยอมรับเพียง 2 - 3 แหงเทานั้น ซึ่ง หองทดลองจริงๆ แลว เปนเครื่องมือที่สําคัญอยางหนึ่งที่ใชในอุตสาหกรรม

• จุดแข็งของอุตสาหกรรมฯ 1. ความเชี่ยวชาญในการผลิต 2. เร่ืองคุณภาพที่ไดมาตรฐาน แตแคนี้คงไมพอตองพัฒนาทางยุทธศาสตรในขางตน ผูประกอบการเห็นวา ประเทศไทยควรเคลื่อนจากจุดความเปน OEM สูความเปน ODM

• Technology “Electronic Management Service” (EMS) สามารถนํามาตอยอดการทํา R&D ได

• ผูประกอบการเห็นวา ภาคการศึกษานั้นไมสามารถผลิตคนอยางเพียงพอ และไมสามารถตอบสนองความตองการของผูประกอบการอยางตรงจุดได เพราะฉะนั้น ควรมีความรวมมือกันใหมากขึ้น

15.2 ยุทธศาสตรที่สมาคมเครื่องใชไฟฟาฯ เสนอตอ กระทรวงอุตสาหกรรมทั้งหมด 6 ขอ

Human Resource Development (HRD) แบงปญหาไดเปน 2 แบบ คือ มี unskilled labors ไมเพียงพอ และ skilled labors ที่มีไมมีคุณภาพ การขาดบุคลากรเหลานี้ทําใหตางชาติที่จะเขามาลงทุนเกิดความไมมั่นใจ เนื่องจากทรัพยากรบุคคลเปนเรื่องใหญ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่มีเทคโนโลยีสูงๆ เชน Hard Disk Drive (HDD) ผูประกอบการตองสรางหลักสูตรเฉพาะเพื่ออบรมคนเมื่อตางชาติตัดสินใจเขามาลงทุน มิฉะนั้น เขาจะไมมาลงทุนในประเทศไทย นอกจากนี้ ผูประกอบการยังยกตวัอยางเรือ่งของ IC โดยชี้ใหเห็นวา ไมมีบุคลากรในเรื่อง IC Design ในประเทศไทยเลยซึ่ง IC Design มี Value added ที่สูงมาก ซึ่งในขณะนี้ ประเทศไทยทําไดเพียง IC package ซึ่งมี Value ที่ตํ่ามาก นอกจากนี้ HRD ยังเปนปจจัยสําคัญของ R&D ดวย ยิ่งไปกวานั้น ยังมีความตองการของ multi-skills อีกดวย

Productivities การสราง productivities ใหสูงขึ้นเปนหัวใจสําคัญในการแขงขันอยางหนึ่ง ปญหาของเรื่องนี้ คือ การที่ SMEs ยังไมคอยเห็นความสําคัญในเรื่องนี้

Standard ตราบใดที่สินคายังไมไดมาตรฐาน การแขงขันในตลาดโลกก็เปนไปไดยาก ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยเองก็ไมสามารถปกปองประเทศจากการเขามาของสินคาดอยคุณภาพไดเลย

Logistics เปนที่ทราบกันดีวาปจจุบันนี้ logistic costs เปนเรื่องสําคัญมาก และถาไม

ผ10-36

Page 37: ภาคผนวกที่ 10 · 2009-06-09 · ภาคผนวกที่ 10 2. อุตสาหกรรมนมและผลิัตภณฑ นม ผลการจัดทําการระดมความค

ภาคผนวกที่ 10

มี logistics ที่เขมแข็ง การแขงขันก็เกิดไดยากเชนกัน โดย logistics ที่ดีมีหลักสําคัญ คือ ครบถวน ถูกเวลา และราคาเหมาะสม ทันเหตุการณ ซึ่งผูประกอบการใหความเห็นเพิ่มเติมวา paperless จะสามารถชวยตรงนี้ได แตส่ิงนี้จะสําเร็จไดตองการความรวมมือจากหนวยงานหลายภาคสวน

Environment เร่ืองการตกลงทําตามกรอบของ EU นั้น เมื่อประเทศไทยตกลงแลวจะสามารถทําไดตามที่ตกลงหรือไม โดยเฉพาะ SMEs ที่ทางผูประกอบการรายใหญรูสึกวาอาจจะไมสามารถปรับตัวใหพรอมรับกับกฎระเบียบดังกลาว

Excise Tax and Regulations กฎหมายที่ลาสมัย ซึ่งเรื่องของกฎหมายนั้นมิใชเปนเพียงแคเปนกฎระเบียบที่ตองทําตามเทานั้น แตยังสงผลในดานอื่นๆ ดวย เชน มีการนํากฎหมายหรือกฎระเบียบเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมมาใชหลังจากการตกลงตามกรอบระหวางประเทศ ซึ่งเปนกฎระเบียบที่เขมงวด แตกฎหมายสิ่งแวดลอมในประเทศเองยังลาหลัง เพราะฉะนั้น จึงเกิดความไมสอดคลองกันขึ้น สังคมไทยไมพัฒนาทางดานส่ิงแวดลอมเพื่อรับกับกฎที่เขมงวดของตางประเทศ นอกจากนี้ กฎระเบิยบในเรื่องเดียวกันของแตละหนวยงานนั้นก็เปนปญหาหนึ่งที่ทําใหผูประกอบการตองประสบความยุงยากและสับสน เชน กฎหมายของกรมศุลกากร และกรมสรรพสามิต

ผ10-37